ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ

1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตำแหน่งประเภทบริหาร ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการ
และรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง กรม และตำแหน่งอื่นที่
ก.พ.กำหนดเป็นตำแหน่งประเภทบริหาร

ตำแหน่งประเภทอำนวยการ

ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการ
ที่ต่ำกว่าระดับกรม และตำแหน่งอื่นที่ ก.พ.กำหนดเป็นตำแหน่งประเภทอำนวยการ

ตำแหน่งประเภทวิชาการ

ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษา
ระดับปริญญาตามที่ ก.พ.กำหนดเพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น

ตำแหน่งประเภททั่วไป

ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ตามที่ ก.พ.กำหนด

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
2. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
ข้าราชการผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีรวมตลอดถึงผู้ช่วยผู้พิพากษา
โดยตำแหน่งข้าราชการตุลาการมีดังนี้ เช่น ประธานศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา ผู้พิพากษา
หัวหน้าคณะในศาลฎีกา ผู้พิพากษาศาลฎีกา ประธานศาลอุธรณ์ รองประธานศาลอุธรณ์ ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุธรณ์
อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น ฯลฯ

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ

3. ข้าราชการฝ่ายอัยการ
ข้าราชการฝ่ายอัยการ คือ ข้าราชการที่บรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการในสำนักงานอัยการสูงสุด
เป็นคณะกรรมการกลางในการกำกับดูแล
ข้าราชการฝ่ายอัยการแบ่งออกเป็น
-ข้าราชการอัยการ
-ข้าราชการธุรการ ในหน่วยงานของอัยการ

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
4. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
คือ ข้าราชการที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง
ให้ปฏิบัติราชการในสถานศึกษา หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

ผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา
เช่น ครู อาจารย์ ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์
ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
เช่น ผู้อำนวยการสถานศึกษา ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ฯลฯ
บุคลากรทางการศึกษาอื่น
เช่น ศึกษานิเทศก์ และตำแหน่งที่เรียกชื่อตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
5. ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คือ ข้าราชการพลเรือนในสังกัดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
แบ่งออกเป็นประเภทย่อย 3 ประเภท

ประเภทวิชาการ

เช่น ศาสตราการย์ รองศาสตราจารย์ อาจารย์

ประเภทผู้บริหาร

เช่น อธิการบดี รองอธิการบดี คณะบดี

ประเภททั่วไป

วิชาชีพเฉพาะ หรือเชี่ยวชาญตามที่ ก.พ.อ. กำหนด

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
6. ข้าราชการรัฐสภา
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

ข้าราชการรัฐสภาสามัญ

คือ ข้าราชการซึ่งรับการบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประจำ
โดยได้รับเงินเดือนในอัตราสามัญ ใช้วิธีการจำแนก
และกำหนดประเภทตำแหน่งแบบเดียวกับข้าราชการพลเรือนสามัญ

ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง 

คือ ข้าราชการซึ่งรับราชการในตำแหน่งการเมืองของรัฐสภา

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
7. ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง
ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง คือ ข้าราชการที่รับราชการและดำรงตำแหน่งในศาลปกครองและสำนักงานศาลปกครอง
มีคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเป็นคณะกรรมการบริหารงานบุคคล ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง
แบ่งออกเป็น

ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง

คือ ข้าราชการที่มีอำนาจพิจารณาและพิพากษาคดีในศาลปกครอง

ข้าราชการสำนักงานศาลปกครอง

คือ ข้าราชการที่ทำหน้าที่ด้านธุรการในสำนักงานศาลปกครอง

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
8. ข้าราชการสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
ข้าราชการฝ่ายศาลรัฐธรรมนูญ
คือ ข้าราชการที่รับราชการและดำรงตำแหน่ง
ในศาลรัฐธรรมนูญและสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
ข้าราชการฝ่ายศาลรัฐธรรมนูญ แบ่งออกเป็น
ข้าราชการตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
คือ ข้าราชการที่มีอำนาจพิจารณาและพิพากษาคดีในศาลรับธรรมนูญ
ข้าราชการสำนักงานศาลปกครอง
คือ ข้าราชการที่ทำหน้าที่ด้านธุรการในสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
9. ข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ข้าราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
เป็นข้าราชการซึ่งได้รับบรรจุ และแต่งตั้งให้เป็นข้าราชการ
มีฐานะเป็นกรมและมีหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ข้าราชการในสายกระบวนการยุติธรรม
ได้แก่ ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมาย
และข้าราชการทั่วไป 
ซึ่งแบ่งเป็น ประเภทวิชาการ และประเภททั่วไป

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ

10. ข้าราชการทหาร
ข้าราชการทหาร คือ บุคคลที่เข้ารับราชการทหารประจำการ
ข้าราชการกลาโหมและพลเรือนที่บรรจุในอัตราทหาร
ในหน่วยงานทางการทหารซึ่งสังกัดกระทรวงกลาโหมหรือกองทัพไทย
ข้าราชการฝ่ายทหารแบ่งออกเป็น

ข้าราชการทหาร

คือ ข้าราชการที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง
เพื่อปฏิบัติราชการทหารแบ่งชั้นยศออกเป็นชั้นประทวนและชั้นสัญญาบัตร
ซึ่งจะมีชื่อเรียกยศต่างกันตามกองทัพที่สังกัด

ข้าราชการกลาโหมพลเรือน

คือ ข้าราชการที่ได้รับการบรรจุ
และแต่งตั้งเพื่อปฏิบัติราชการในกระทรวงกลาโหม
แต่ไม่ได้มียศแบบข้าราชการทหาร

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
11. ข้าราชการตำรวจ
ข้าราชการตำรวจ คือ ข้าราชการในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี
กระทรวงหรือทบวงมีฐานะเป็นกรมและอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี
ข้าราชการฝ่าทหารแบ่งออกเป็น
ชั้นประทวนและชั้นสัญญาบัตร

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ

12. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น คือ ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล พนักงานเมืองพัทยา พนักงานส่วนตำบล
ตำแหน่งของข้าราชการส่วนท้องถิ่น มี 4 ประเภท ประกอบด้วย
ประเภทบริหารท้องถิ่น และ ประเภทอำนวยการท้องถิ่น
มี 3 ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง

ประเภทวิชาการ มี 4 ระดับ ได้แก่
ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ
ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ

ประเภททั่วไป มี 3 ระดับ ได้แก่
ระดับปฏิบัติงาน ระดับชำนาญงาน ระดับอาวุโส

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
13. ข้าราชการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่ ในการตรวจสอบเงินของแผนดิน เช่นการตรวจสอบรายรับจ่ายตรวจสอบจัดซื้อจัดจ้าง ตรวจสอบการทุจริต ฯลฯ
สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบใคร?
-กระทรวง ทบวง กรม
-ราชการส่วนภูมิภาค
-ราชการส่วนท้องถิ่น
-รัฐวิสาหกิจ
-กองทุนเงินหมุนเวียน
-หน่วยงานอื่นๆของรัฐ

ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 คือ
15. ข้าราชการการเมือง
ข้าราชการการเมืองและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
คือ ข้าราชการและผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางการเมืองตามมติของคณะรัฐมนตรี
ข้าราชการการเมืองกรุงเทพมหานคร
คือ ข้าราชการและผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ในการปกครองท้องถิ่นของกรุงเทพมหานคร
ข้าราชการการเมืองท้องถิ่นและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น
คือ ข้าราชการและผู้ที่ดำรงตำแหน่งราชการทางการเมือง
ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น