จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

ยินดีต้อนรับสู่ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

เรียนรู้วิถีชีวิตผ่านกระบวนการคิดและการสื่อสารบนฐานความดี ความงามและความจริง

ยินดีต้อนรับสู่ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

เรียนรู้แนวคิดทางศาสนาเพื่อความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ

สู่บทบาทผู้นำทางด้านชีวิตและจิตวิญญาณ

สานเสวนา...เปรียบเทียบศาสนา...การพัฒนาสังคม

คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

สู่ความเป็นเลิศทางด้านศาสนาและปรัชญา

เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2564

มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการนำหลักการสู่การปฏิบัติ

ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

เกี่ยวกับเรา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ และประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยนี้ จึงมีชื่อตามกฎหมายว่า “มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” คณะพุทธศาสตร์ เป็นคณะแรกของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่เปิดการศึกษาเน้นหนักในด้านภาษาบาลี พระพุทธศาสนา ศาสนาและปรัชญา ในชั้นแรกแบ่งหลักสูตรออกเป็น ๔ ภาควิชา คือ :-
๑. ภาควิชาภาษาบาลี
๒. ภาควิชาพระพุทธศาสนา
๓. ภาควิชาศาสนาและปรัชญา
๔. ภาควิชาภารตวิทยา
ใน พ.ศ. ๒๔๙๗ มีผู้สำเร็จปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) รุ่นแรก จำนวน ๔ รูป และอนุปริญญา (อนุ พธ.บ.) จำนวน ๒ รูป

งานวิชาการ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

หลักสูตรระดับปริญญาตรี, ปริญญาโท, ปริญญาเอก

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

รูปแบบการเรียนรู้แบบศาสนาเปรียบเทียบ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

งานวิจัยและวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับศาสนาเปรียบเทียบ

คณาจารย์ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

บุคลากร

คณาจารย์ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

Religious Methodology

Special Lecture

บรรยายพิเศษ

"...ศาสนาคือเครื่องมือ (tool) เราใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์..."

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

ศ.ดร.สมภาร พรมทา

ศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

"...นักศึกษาศาสนาต้องศึกษาศาสนาด้วยทัศนะที่ไร้อัตตา เป็นกลาง และวิเคราะห์ ..."

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

พระมหาพรชัย สิริวโร,ผศ.ดร.

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ศาสนาไม่ได้เริ่มต้นที่ความดีความชั่ว แต่เริ่มที่ความตระหนักรู้ตนเอง (self-awareness)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

รศ.ดร.กฤต ศรียะอาจ

หัวหน้าภาควิชาศาสนาและปรัชญา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรัชญา

ข้อมูลหนังสือ

Barcode : 9789740340829

ISBN : 9789740340829

ปีพิมพ์ : 3 / 2564

ขนาด ( w x h ) : 145 x 210 mm.

จำนวนหน้า : 412 page

หมวดหนังสือ : ปรัชญา


รายละเอียดสินค้า :

ปรัชญาภาษา

ภาษากับความหมายเป็นสิ่งสำคัญยิ่งของมนุษย์ ซึ่งหากปราศจากภาษากับความหมายแล้ว มนุษย์ก็ยากที่จะดำรงความเป็นมนุษย์อยู่ได้ ปัญหาต่างๆ ของปรัชญาเองก็ถือได้ว่าสามารถทอนลงไปเป็นปัญหาเกี่ยวกับภาษาและความหมายได้ทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น การถกเถียงเกี่ยวกับธรรมชาติที่แท้จริงของความเป็นจริงหรือความรู้ หรือความดีกับความงาม ก็เป็นไปได้ว่าเป็นการถกเถียงเกี่ยวกับความหมายที่แท้จริงของคำ เช่น “ความดี” หรือ “ความเป็นจริง” หรือ “ความรู้”