โดน ยกเลิก สิทธิ ประกันสังคม

ต้องการหยุดส่งประกันสังคมได้อะไรไหมครับ

กระทู้คำถาม

มนุษย์เงินเดือน ทรัพยากรบุคคล

1  คือมีญาติต้องการยกเลิกประกันสังคม มาตรา3[ส่งเองไม่มีนายจ้าง] ต้องการยกเลิกทำอย่างไรบ้างครับ / คือไม่คิดจะใช้ประกันสังคมแล้ว ตัดขาดเลย แต่เสียดายเงินที่ส่งไป
2  ถ้าหยุดส่งเขายึดเงินที่ส่งไปหมดเลยถูกไหม
3  ถ้าเราแจ้งขอยกเลิกก่อน อายุ55 ไม่ได้เงินที่เราเคยส่งไปคืนเลยใช่ไหมครับ ถูกยึดหมด หรือรอครบอายุ55 โดยไม่ส่งเงินสบทบ ม.39ต่อได้จึงได้เงิน
4 หรือสามารถขอเงินคืนที่เคยส่งไปทั้งหมดได้เลยหลังจากขอยกเลิกประกันสังคม ไม่ส่งต่อ
5 ขอบคุณครับ

แก้ไขข้อความเมื่อ

0

0

โดน ยกเลิก สิทธิ ประกันสังคม

snowvywine

โดน ยกเลิก สิทธิ ประกันสังคม

อย่าเสียรู้ ทิ้งเงินก้อนโต เงื่อนไขรับเงินคืนจาก ”ประกันสังคม” บางคนได้เกือบแสนสำหรับคนที่เป็นมนุษย์เงินเดือน ที่จะต้องจ่ายเงินประกันสังคม จะต้องสมทบเงินประกันสังคมทุกเดือน

ซึ่งจะหักจากเงินเดือนประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์แต่สูงสุดได้ไม่เกิน 750 บาท นั่นก็คือคนที่ได้รับเงินเดือน

15,000 บาทขึ้นไปนั้นเอง แต่เราเคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ว่า สำนักงานประกันสังคมนั้น เขาเอาเงินที่เราจ่ายทุกเดือนไปทำอะไรกันบ้างระบบงานประกันสังคม

โดน ยกเลิก สิทธิ ประกันสังคม

เป็นสิ่งที่ต่างประเทศมีมานานแล้ว แต่บ้านเรานั้นเพิ่งจะเริ่มมี โดยประกันสังคมนั้นเป็นระบบที่บังคับให้ทุกคนออมเงินส่วนหนึ่ง มันก็คือ 5 เปอร์เซ็นต์ของเงินเดือนข้อดีของเงินประกันสังคม คือลูกจ้างอย่างเราจะจ่ายเงินประกันสังคมอย่างนี้เพียง 1 ใน 3 ส่วนเท่านั้น เพราะผู้ที่มีหน้าที่จะต้องจ่ายประกันสังคมสมทบกองทุนประกันสังคม ประกอบด้วย 3 ฝ่ายนั้นก็คือ

1. ฝ่ายรัฐบาล

2. ส่วนนายจ้าง

3. ลูกจ้าง

ดังนั้นลูกจ้างจึง จ่ายเงินเข้ากองทุนเพียง 5% ของค่าจ้าง และรัฐบาลสมทบอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งทำให้เราได้รับผลประโยชน์มากขึ้น คุ้มค่าเกินกว่ามูลค่าเงินที่เราลงไป

โดน ยกเลิก สิทธิ ประกันสังคม

2. 75 บาท สำหรับใช้ประกันการว่างงาน ถ้าว่างงานเมื่อไหร่ สามารถเอาเงินส่วนนี้มาใช้ในระหว่างตกงานหรือรอหางานใหม่ แต่ถ้าไม่ว่างงานเลย เงินส่วนนี้ก็จะหายไป ไม่ได้รับคืน

เงิน 750 บาท ในแต่ละเดือนของประกันสังคม จะถูกแบ่งเป็น

– 225 บาท ดูแลเรื่องเจ็บป่วย ทุพพลภาพ คลอดบุตร และเสีย ถ้าไม่ใช้สิทธิ เงินส่วนนี้ก็จะหายไป ไม่ได้คืน

– 75 บาท ใช้ประกันการว่างงาน ถ้าว่างงานเมื่อไหร่ ก็เอาเงินส่วนนี้มาใช้ในระหว่างที่หางานใหม่ แต่ถ้าไม่ว่างงานเลย เงินส่วนนี้ก็จะหายไป ไม่ได้คืน

โดน ยกเลิก สิทธิ ประกันสังคม

– 450 บาท เก็บเป็นเงินออม จะได้คืนเมื่ออายุครบ 55 ปี

โดยเงื่อนไขการได้เงินก้อนสุดท้าย (เงินออม เมื่ออายุครบ 55 ปี) คืน คือ

1. จ่ายประกันสังคมไม่ครบ 1 ปี ได้คืนส่วนที่จ่ายเป็นเงินก้อน เรียกว่าบำเหน็จชราภาพ เช่น จ่ายเดือนละ 750 บาทมาโดยตลอด 10 เดือน (750 บาท จะถูกหักเป็นเงินออม 450 บาท) เมื่ออายุครบ 55 ปี จะได้คืน 450 บาท x 10 เดือน = 4,500 บาท

2. จ่ายครบ 1 ปี แต่ไม่ถึง 15 ปี จะได้เป็นเงินก้อนเรียกว่าบำเหน็จเช่นกัน แต่จะมากกว่าข้อ 1. คือ ได้ส่วนที่นายจ้างสมทบด้วย เช่น จ่าย 750 บาท ตลอด 7 ปี (84 เดือน) ที่จะได้รับคืนเมื่ออายุครบ 55 ปี คือ 450 บาท (ส่วนที่ตนเองจ่าย) + 450 บาท (ส่วนที่นายจ้างจ่าย) x 84 เดือน = 75,600 บาท

3. จ่ายตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จะได้รับเป็นเงินรายเดือน เรียกว่า บำนาญชราภาพ โดยคำนวณ 2 กรณี คือ– กรณีจ่ายครบ 15 ปีเป๊ะๆ จะได้รับรายเดือน คือ 20% ของเฉลี่ยเงินเดือน 60 เดือนสุดท้าย สมมติ 60 เดือนสุดท้าย เฉลี่ยแล้วเท่ากับ 15,000 บาท จะได้รับ 20% คือ เดือนละ 3,000 บาท ไปจนเสีย– กรณีสมทบมากกว่า 15 ปี จะได้รับโบนัสเพิ่ม 1.5% ของเงินเดือน 60 เดือนสุดท้าย หากครบปี เช่น จ่ายครบ 20 ปี รายเดือนที่จะได้รับ คือ 20% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน + 1.5% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน x 5 ปี (จ่าย 20 ปี เกินจากที่กำหนดขั้นต่ำมา 5 ปี)สมมติเฉลี่ยเงินเดือน 60 เดือนสุดท้าย เท่ากับ 15,000 บาท จะได้รายเดือน คือ (20% x 15,000 บาท = 3,000 บาท) + (1.5% x 15,000 บาท x 5 ปี) = 3,375 บาท รวมเป็น 6,375 บาท ต่อเดือน ไปจนเสียกรณีที่ได้รับเงินบำนาญชราภาพแล้ว ยังไม่ครบ 5 ปีเลย แต่เสียซะละ กรณีนี้จะได้รับบำเหน็จ 10 เท่าของเดือนสุดท้ายของเงินบำนาญที่ได้รับ เช่น รับรายเดือน เดือนล่าสุด 6,375 บาท เสียปุ๊บ รับ 63,750 บาท

เรียบเรียงโดย : Postsara
แหล่งที่มา : http://siamama.com/?p=4313

ผู้ประกันตนมาตรา 33 ที่ถูกเลิกจ้างหรือลาออก รีบขึ้นทะเบียนใช้สิทธ์รับเงินทดแทนกรณีว่างงาน

นางกนกนันท์ วีริยานันท์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาการจากระบบการจ่ายประโยชน์ทดแทน สำนักงานประกันสังคม กล่าวว่า ผู้ประกันตนมาตรา 33 ที่ถูกเลิกจ้างหรือออกจากงาน หรือหมดสัญญาจ้าง ซึ่งส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน จะได้รับเงินทดแทนกรณีว่างงาน ไม่ว่าจะถูกเลิกจ้างหรือลาออก ยังคงได้รับความคุ้มครองต่ออีก 6 เดือน แต่ต้องไปขึ้นทะเบียนว่างานที่สำนักงานจัดหางานของรัฐทั่วประเทศหรือทางเว็บไซต์ https://empui.doe.go.th ภายใน 30 วันหลังออกจากงาน เพื่อรับสิทธิประโยชน์ในกรณีว่างงาน

จากนั้นนำเอกสารไปยื่นที่สำนักงานประกันสังคมจังหวัด/สาขาที่สะดวก ได้แก่ สำเนาบัตรประชาชน สำเนาสมุดเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ และสำเนาหนังสือรับรองการออกจากงาน หรือคำสั่งของนายจ้างให้ออกจากงาน (ถ้ามี) หลังจากนั้นจะมีการนัดรายงานตัวเดือนละ 1 ครั้งผ่านระบบออนไลน์ โดยหลังการรายงานตัวก็จะได้รับเงินทดแทนเข้าบัญชีที่แจ้งไว้ ในส่วนเงินทดแทนกรณีว่างงานจากการถูกเลิกจ้างและกรณีลาออกจะได้รับไม่เท่ากัน กรณีถูกเลิกจ้าง จะได้รับเงินทดแทนในอัตราร้อยละ 70 ของค่าจ้างที่นำส่งเงินสมทบ ครั้งละไม่เกิน 200 วัน (6 เดือน 20 วัน) ตัวอย่างเช่น ผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 7,000 บาท ส่วนกรณีลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง จะได้รับเงินทดแทนในอัตราร้อยละ 45 ของค่าจ้างที่นำส่งเงินสมทบ ครั้งละไม่เกิน 90 วัน (3 เดือน) ตัวอย่างเช่น ผู้ประกันตนมีเงินเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 4,500 บาท อย่างไรก็ตาม กรณีที่ผู้ประกันตนไม่ทราบสิทธิ์กรณีว่างงาน ยังสามารถไปยื่นเรื่องขอรับเงินกรณีว่างงานย้อนหลังได้ ภายใน 2 ปีนับแต่วันที่ว่างงาน

นอกจากนี้ หากผู้ประกันตนประสงค์จะใช้สิทธิประกันสังคมต่อไป สามารถสมัครเป็นผู้ประกันตน โดยสมัครใจตามมาตรา 39 โดยต้องไปยื่นแบบคำขอสมัครด้วยตนเองที่สํานักงานประกันสังคมจังหวัด/สาขาที่สะดวก ภายในระยะเวลา 6 เดือนนับแต่วันที่ออกจากงาน ซึ่งผู้ประกันตนมาตรา 39 จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายประกันสังคมต่อไปรวม 6 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย,ทุพพลภาพ ,เสียชีวิต, คลอดบุตร,สงเคราะห์บุตร และชราภาพ โดยผู้ประกันตนต้องนำส่งเงินสมทบในอัตราเดือนละ 432 บาท ปัจจุบันได้ปรับลดเหลือเดือนละ 235 บาท ตั้งแต่เดือนกันยายน-พฤศจิกายน 2564 ซึ่งสามารถส่งเงินสมทบได้หลายช่องทาง

ข้อมูลข่าวและที่มา

ผู้สื่อข่าว : นิตยา คุณสิม

ผู้เรียบเรียง : ธนพิชฌน์ แก้วกา

แหล่งที่มา : Radio-สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย