พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.85การลงทุนระหว่างประเทศ

การลงทุนระหว่างประเทศ - การค้าและการลงทุนเป็นหัวใจหลักในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ - มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ที่สูงกว่าในประเทศของตน การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง •การลงทุนในการผลิตสินค้าและบริการโดยตรง •มีการนำหลักทรัพย์หรือเงินตราต่างประเทศเข้ามาลงทุนในธุรกิจหรือกิจการ •เป็นการลงทุนในภาคการผลิตหรือภาคที่แท้จริงก่อให้เกิดการจ้างงานและสวัสดิภาพของประชาชน •แรงจูงใจ คือ ประเทศที่มีราคาปัจจัยการผลิตต่ำและมีนโยบายเอื้ออำนวยความสะดวกแก่นักลงทุนต่างประเทศ •เป็นการลงทุนในระยะยาว (นานกว่า 1 ปี) การลงทุนระหว่างประเทศทางอ้อม •การลงทุนที่เกิดจากนักลงทุนต่างประเทศ •การโยกย้ายเงินทุนไปลงทุนในตลาดเงินหรือ ตลาดทุน อยู่ในรูปของเงินฝากธนาคาร การให้กู้ยืมหรือซื้อหลักทรัพย์ •แรงจูงใจ คือ อัตราดอกเบี้ยภายในประเทศ ผลตอบแทนในตลาดหลักทรัพย์ และอัตราแลกเปลี่ยนที่มีเสถียรภาพ •เป็นการลงทุนในระยะสั้น *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.ciia.org/ 😁🙏

09:38

February 27, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.84การค้าระหว่างประเทศ3(ดุลการชำระเงินและอัตราแลกเปลี่ยน)จบ

ดุลการชำระเงิน เงินทุนเคลื่อนย้ายสุทธิ คือ รายการลงทุน หรือการกู้เงินข้ามชาติที่ปรากฏมูลค่าในบัญชีทุนและการเงิน ดุลบัญชีเดินสะพัด คือ บัญชีที่แสดงรายรับ รายจ่าย (ดุลการค้า ดุลบริการ ดุลรายได้ และเงินโอน)ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ ข้อมูลที่ต้องพิจารณา ดุลการค้า คือ การเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าออกกับมูลค่าสินค้าเข้าของประเทศในระยะ เวลา 1 ปี มี 3 ลักษณะ 1 ดุลการค้าสมดุล = มูลค่าส่งออกเท่ากับมูลค่านำเข้า 2 ดุลการค้าขาดดุล = มูลค่าส่งออกน้อยกว่ามูลค่านำเข้า 3 ดุลการค้าเกินดุล = มูลค่าส่งออกมากกว่ามูลค่านำเข้า ดุลบริการ คือ ผลต่างสุทธิที่แสดงถึงการค้าระหว่างประเทศ ในด้านบริการ ท่องเที่ยว รายได้ คือ รายได้ในรูปของค่าจ้าง เงินเดือน และสวัสดิการ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน และรายได้จากการลงทุน เงินโอน คือ เงินบริจาค หรือเงินช่วยเหลือต่าง ๆ ดุลการชำระเงิน คือ บัญชีหรือรายการที่แสดงการรับและการจ่ายเงินตราต่างประเทศจากการค้า การบริการ และการเงินด้านอื่น ๆ ของประเทศที่เกิดจากการติดต่อกับประเทศอื่นในระยะเวลาหนึ่ง (ปกติมีระยะเวลา 1 ปี) มี 3 ลักษณะ 1 ดุลการชำระเงินสมดุล = ยอดรายรับเงินตราต่างประเทศเท่ากับยอดรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ 2 ดุลการชำระเงินขาดดุล = ยอดรายรับเงินตราต่างประเทศน้อยกว่ายอดรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ 3 ดุลการชำระเงินเกินดุล = ยอดรายรับเงินตราต่างประเทศมากกว่ายอดรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน คือ ราคาของเงินสกุลท้องถิ่นหนึ่งหน่วยในรูปของเงินตราต่างประเทศ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่และระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว ในทางปฏิบัติแบ่งเป็น 3 ระบบ 1ระบบที่ผูกค่ากับเงินสกุลอื่น 2ระบบที่มีความยืดหยุ่นจำกัด 3ระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง ได้แก่ ระบบลอยตัวเสรี และ ระบบลอยตัวภายใต้การจัดการ *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://krungthai.com/th/corporate/international-financial-services/export-business-services/ 😁🙏

11:41

February 26, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.83การค้าระหว่างประเทศ2

ความสำคัญของการค้าระหว่างประเทศ •ก่อให้เกิดการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศ •ช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรของโลกมีประสิทธิภาพมากขึ้น •เป็นช่องทางในการหารายได้จากการส่งออก และการขยายตลาดการค้าจากในประเทศสู่ตลาดต่างประเทศ •ช่วยให้ประเทศต่าง ๆ ได้บริโภคหรือนำเข้าสินค้าจำเป็นที่ขาดความสามารถในการผลิตหรือผลิตได้ไม่มีประสิทธิภาพมาใช้ในการบริโภคหรือพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ 1ความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ เช่น ไทยปลูกข้าว บราซิลปลูกกาแฟ คูเวตผลิตน้ำมัน 2ความแตกต่างทางทรัพยากรธรรมชาติ คือ ปริมาณและคุณภาพของทรัพยากรที่มีอยู่จะเป็นปัจจัยพื้นฐาน ในการกำหนดโครงสร้างการผลิต 3ความได้เปรียบทางการผลิต คือ การผลิตที่มีประสิทธิภาพ (ต้นทุนต่ำกว่า) เช่น ญี่ปุ่นมีความรู้ความชำนาญในการผลิตเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://krungthai.com/th/corporate/international-financial-services/export-business-services/ 😁🙏

08:40

February 25, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.82การค้าระหว่างประเทศ1

การค้าระหว่างประเทศ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ •การค้าระหว่างประเทศเป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศ •การที่แต่ละประเทศมีความได้เปรียบในการผลิตสินค้าและบริการที่แตกต่างกันจึงทำให้เกิดการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศขึ้น •การค้าระหว่างประเทศจะทำให้คู่ค้าได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้น *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://krungthai.com/th/corporate/international-financial-services/export-business-services/ 😁🙏

07:49

February 25, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

การว่างงาน มี 2 ประเภท 1.การว่างงานโดยเปิดเผยมี 5 ลักษณะ 1.1การว่างงานชั่วคราว เป็นการว่างงานในระยะเวลาสั้น ๆอยู่ระหว่างการย้ายงาน 1.2การว่างงานตามฤดูกาล เช่น ทำนา 1.3การว่างงานที่เกิดจากโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เช่น บริษัทผู้ผลิตกล้องถ่ายรูปที่ใช้ฟิล์มลด การผลิตลง ทำให้ผู้ที่เคยทำการผลิตฟิล์มต้องกลายเป็นคนว่างงาน 1.4การว่างงานที่เกิดจากวัฏจักรเศรษฐกิจ เช่น เศรษฐกิจรุ่งเรืองการจ้างงานจะขยายตัว เศรษฐกิจหดตัวการจ้างงานจะลดลง 1.5การว่างงานเนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เกิดจากการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการผลิตแทนแรงงานคน 2.การว่างงานโดยแอบแฝง คือ ผู้ที่มีงานทำ แต่เป็นการทำงานต่ำกว่าระดับความรู้ความสามารถ *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.chonlatee.com 😁🙏

11:44

February 19, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.80 ปัญหาเศรษฐกิจ2(เงินเฟ้อ-เงินฝืด)

แนวทางการแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด •ลดปริมาณเงินที่หมุนเวียนในประเทศ ให้อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น เพิ่มอัตราเงินสดสำรองฯ ขายพันธบัตร •เพิ่มอุปทานรวมของประเทศ โดยเพิ่มปริมาณการผลิต นโยบายการคลัง แบบหดตัว •ลดอุปสงค์รวมของประเทศด้วยการเพิ่มอัตราภาษีอากรและลดรายจ่ายของรัฐบาล •เลื่อนการลงทุนในโครงการที่ไม่จำเป็น เงินฝืด คือ ภาวะราคาสินค้าและบริการโดยเฉลี่ยลดลงเรื่อย ๆ ประชาชนใช้จ่ายน้อยแต่เก็บออมมาก ปัญหาทางเศรษฐกิจ>>>การว่างงานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แนวทางการแก้ไขปัญหาเงินฝืด 1.ธนาคารกลาง แก้ไขโดย ใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เช่น ลดอัตราดอกเบี้ย ซื้อคืนพันธบัตร ลดอัตราเงินสดสำรองฯ 2.รัฐบาล แก้ไขโดย ใช้นโยบายการคัลงแบบขยายตัว เช่น เพิ่มการใช้จ่ายในการลงทุน ลดอัตราภาษี *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.chonlatee.com 😁🙏

12:22

February 13, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.79 ปัญหาเศรษฐกิจ1(เงินเฟ้อ)

เงินเฟ้อ คือ ภาวะราคาของสินค้าและบริการโดยเฉลี่ยสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้เงินจำนวนเท่าเดิมซื้อสินค้าได้ในปริมาณที่น้อยลง สาเหตุของเงินเฟ้อ 1.เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์เพิ่มขึ้น •เกิดจากอุปสงค์รวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น 2.เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนสูงขึ้น •เกิดจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น •สาเหตุสำคัญ คือ ค่าจ้างของแรงงานสูงขึ้นและการที่ผู้ผลิตต้องการกำไรเพิ่มขึ้น 3.เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านโครงสร้าง •รสนิยมและคุณภาพของสินค้าเปลี่ยน 4.เงินเฟ้อที่เกิดจากการบวกส่วนเพิ่ม •เกิดจากผู้ผลิตบวกส่วนเพิ่มเข้าไปกับต้นทุนสินค้า 5.เงินเฟ้อชนิดรุนแรงหรือแบบลมกรด •ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง •อาจเกิดขึ้นในระหว่างสงคราม *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.chonlatee.com 😁🙏

10:52

February 13, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

การกู้ยืม ภายในประเทศ มีแหล่งเงินกู้ 4 แหล่ง คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน และสถาบันการเงินอื่น ๆ วิธีการกู้ยืม ได้แก่ •การออกตั๋วเงินคลัง = กู้ระยะสั้น1-6เดือน •การออกพันธบัตร = กู้ระยะยาว 5,10,20 ปี •การออกตั๋วสัญญาใช้เงิน = ขายให้ธ.ออมสินที่เดียว 10 ปี ต่างประเทศ วิธีการกู้ยืม ได้แก่ •การกู้โดยตรงของรัฐบาล •การกู้โดยองค์กรอื่น ๆ ของรัฐ แต่มีรัฐบาลค้ำประกัน •การกู้โดยองค์กรอื่น ๆ ของรัฐ แต่รัฐบาลมิได้ค้ำประกัน งบประมาณรายจ่าย การจำแนกตามลักษณะงาน มี 4 ประเภท 1.การบริหารทั่วไป เช่น การป้องกันประเทศ รักษาความสงบภายใน 2.การบริการชุมชนและสังคม เช่น การศึกษา การสาธารณสุข นันทนาการ 3.การเศรษฐกิจ เช่น พลังงาน การคมนาคม การเกษตร 4.อื่นๆ การจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ •รายจ่ายลงทุน คือ การจ่ายเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ •รายจ่ายประจำ คือ รายจ่ายเพื่อใช้ในการบริหารประจำ เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.matichon.co.th/article/news_868504 😁🙏

08:47

February 10, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.77 นโยบายการคลัง6(การกู้เงินของรัฐบาล)

เงินกู้ กู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ หรือเมื่อมีรายจ่ายสูงกว่ารายได้ วัตถุประสงค์ของการกู้เงินของรัฐบาล 1.เพื่อชดเชยการขาดดุลของรายได้–รายจ่ายของรัฐบาล 2.เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรของประเทศ คือ ใช้เพื่อการลงทุนในโครงการที่จำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ 3.เพื่อสร้างเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ทำให้เกิดการว่างงาน รัฐบาลต้องเพิ่มการใช้จ่ายเพื่อให้เกิดการจ้างงาน 4.เพื่อเร่งรัดความจำเริญทางเศรษฐกิจ เช่น โครงการชลประทาน การสร้างถนน การสร้างโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า หลักในการกู้เงินของรัฐบาล 1. หลักผลประโยชน์ของเงินกู้ = ได้มาใช้ประโยชน์มากกว่าเสียประโยชน์ คุ้มค่ากับอัตราดอกเบี้ยที่เสีย 2. หลักภาระภาษี = ไม่กู้มากเกินไปจนเป็นภาระของประชาชน 3. หลักเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ = ไม่ให้เกิดปัญหาระดับราคาสินค้าสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.matichon.co.th/article/news_868504 😁🙏

11:29

February 10, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.76นโยบายการคลัง5(รายได้ของรัฐ)

รายได้ของรัฐ จำแนกตามการจัดเก็บได้ 4 ลักษณะ 1.ภาษีอากร ได้แก่ 1.1ภาษีทางตรง 1.2ภาษีทางอ้อม 2.การขายสิ่งของและบริการ เช่น การขายหรือเช่าที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ ของกลางที่ยึดมาได้ เป็นต้น 3.รายได้จากรัฐพาณิชย์ คือ รายได้จากองค์กรของรัฐ เช่น กำไรจากรัฐวิสาหกิจ 4.รายได้อื่น เช่น ค่าแสตมป์ฤชากร(ค่าธรรมเนียมศาล) ค่าปรับ เงินคืน เป็นต้น *กรมสรรพสามิต มีหน้าที่หลักในการจัดเก็บภาษีจากสินค้าและบริการเฉพาะอย่าง ได้แก่ สุรา ไพ่ ยาสูบ *อบจ. , อบต. มีหน้าที่หลักในการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น ได้แก่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย *กรมศุลกากร จัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาในและส่งออกไป รวมถึงจับกุมของหนีภาษีได้ *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.matichon.co.th/article/news_868504 😁🙏

10:34

February 07, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.75 นโยบายการคลัง4(ความสำคัญของงบประมาณแผ่นดิน)

1.เป็นเครื่องมือบริหารของรัฐบาล (ทั้งด้านรับและจ่าย) •รัฐบาลจะใช้นโยบายงบเกินดุล เมื่อเกิดภาวะเงินเฟ้อ •รัฐบาลจะใช้นโยบายงบขาดดุล แก้ปัญหาเงินฝืด 2.รัฐบาลกำหนดงานของหน่วยราชการให้ประสานงานกับทรัพยากรของประเทศ •เพื่อใช้จ่ายเงินของรัฐบาล ไม่ให้เกิดการทำงานแบบทับซ้อนกัน หรือเกิดการสิ้นเปลืองเงินและเวลาโดยเปล่าประโยชน์ 3.เป็นสื่อกลางให้เกิดความเข้าใจกัน ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร •รัฐบาลแถลงแผนการใช้จ่ายและแผนการดำเนินงาน ให้ประชาชนและรัฐสภาได้ทราบ 4.เป็นเครื่องมือที่ช่วยวัดประสิทธิภาพในการดำเนินงานของรัฐบาล •ชี้ให้เห็นถึงการล้มเหลวหรือบรรลุเป้าหมายของรัฐบาล *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.matichon.co.th/article/news_868504 😁🙏

07:33

February 07, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.74 นโยบายการคลัง3(ประเภทของนโยบาย)

นโยบายการคลัง มี 2 แบบ 1.แบบขยายตัว •นโยบายการคลังที่เพิ่มงบประมาณรายจ่ายและลดภาษี เป็นการใช้งบประมาณแบบขาดดุล ใช้ในภาวะเงินฝืด •ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว เกิดการจ้างงาน รายได้ประชาชาติเพิ่มสูงขึ้น 2.แบบหดตัว •นโยบายการคลังที่ลดงบประมาณรายจ่ายและเพิ่มภาษี เป็นการตั้งงบประมาณเกินดุล ใช้ในภาวะเงินเฟ้อ •ทำให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลง และลดความเฟื่องฟูของเศรษฐกิจ *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.matichon.co.th/article/news_868504 😁🙏

05:58

February 06, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.73 นโยบายการคลัง2(ประเภทงบประมาณ)

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง คนปัจจุบันคือ นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ “งบประมาณแผ่นดิน” หรือ “งบประมาณประจำปี” เป็นหน้าที่ของสำนักงบประมาณในการจัดทำ เริ่มวันที่ 1 ตุลาคม–30 กันยายนของปีถัดไป ประเภทของงบประมาณ 1งบประมาณเกินดุล (รายรับมากกว่ารายจ่าย) •เกิดขึ้นในภาวะเงินเฟ้อ •ลดการใช้จ่ายในระบบและเก็บภาษีให้มากกว่ารายจ่ายที่เกิดขึ้น 2งบประมาณสมดุล(รายรับเท่ากับรายจ่าย) •เกิดขึ้นในภาวะปกติ 3งบประมาณขาดดุล (รายจ่ายมากกว่ารายรับ) •เกิดขึ้นในภาวะเงินฝืด •เพิ่มการใช้จ่ายในระบบและจัดเก็บภาษีให้น้อยกว่ารายจ่ายที่เกิดขึ้น *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.matichon.co.th/article/news_868504 😁🙏

10:05

February 06, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

นโยบายการคลัง นโยบายการคลังเป็นการดำเนินงานของรัฐบาลโดยใช้การจัดเก็บภาษีและการใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นเครื่องมือ การใช้รายได้และรายจ่ายของรัฐเป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดแนวทาง เป้าหมาย และดำเนินงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ ได้แก่ • เศรษฐกิจมั่นคง • รายได้ประชาชาติสูงขึ้น • ประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพที่ดี *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.matichon.co.th/article/news_868504 😁🙏

07:11

February 06, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

การดำเนินนโยบายการเงินของประเทศ มีเป้าหมายสำคัญ 3 ประการ 1.การรักษาเสถียรภาพทางการเงิน ภาวะเงินเฟ้อใช้มาตรการทางการเงินแบบเข้มงวด (ทำให้ชะลอตัว) ภาวะเงินฝืดใช้มาตรการทางการเงินแบบผ่อนคลาย (ทำให้ขยายตัว) 2.การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันการเงิน ใช้มาตรการต่าง ๆ เช่น -กำหนดอัตราเงิน กองทุนต่อสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยง -จำกัดการถือหุ้นของบุคคล -ส่งเสริมการกระจายการถือหุ้นไปยังประชาชน -ควบคุมการให้สินเชื่อแก่ธุรกิจของผู้ถือหุ้น 3.การสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มาตรการที่ใช้ เช่น • ส่งเสริมให้ธนาคารพาณิชย์ให้สินเชื่อเพื่อการเกษตร • เขตรอบนอกต้องให้สินเชื่อไม่น้อยกว่าร้อยละ60ของเงินฝาก *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : ซีเอแอลลิสซิ่ง.com 😁🙏

12:14

January 18, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

เครื่องมือของนโยบายการเงิน คือ วิธีการหรือแนวทางที่ธนาคารกลางจะเลือกใช้ตามความเหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบการเงินอันจะนำไปสู่ผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ 1.การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง •ธ.พาณิชย์ ต้องดำรงสภาพคล่องได้แก่ 1.1ยอดรวมเงินฝากทุกประเภท 1.2ยอดรวมเงินกู้ภายใน 1.3ยอดรวมเงินกู้ต่างประเทศ 1.4ยอดรวมเงินกู้ที่จ่ายผลตอบแทนอ้างอิงกับตัวแปร 2.การดำเนินการผ่านตลาดเงิน •เป็นการรักษาระดับดอกเบี้ยนโยบายและดูแลสภาพคล่องในระบบให้เพียงพอต่อความต้องการของ ธ.พาณิชย์ ผ่านเครื่องมือ4ประเภท 2.1การซื้อ/ขายพันธบัตรแบบทวิภาคี 2.2การออกพันธบัตร ธปท. 2.3สวอปเงินตราต่างประเทศ 2.4ซื้อขาด/ขายขาดหลักทรัพย์ 3.หน้าต่างตั้งรับ •ธปท. เปิดช่องทางให้ธนาคารกู้หรือฝากกับ ธปท. ในระยะข้ามคืนได้เพื่อปรับสภาพคล่องในช่วงสิ้นวัน โดยมีพันธบัตรเป็นหลักประกัน หรือในกรณีที่มีสภาพคล่องส่วนเกินก็สามารถฝากได้ *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : ซีเอแอลลิสซิ่ง.com 😁🙏

05:41

January 17, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

นโยบายการเงินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.นโยบายการเงินแบบเข้มงวด ใช้ในกรณีเกิดภาวะเงินเฟ้อ ดุลการค้าและดุลการชำระเงินขาดดุล • เพื่อทำให้เงินมีขนาดเล็กลง • เช่น ขายพันธบัตร เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน เพิ่มอัตราเงินสดสำรอง ทำให้การลงทุนและเศรษฐกิจชะลอตัว 2.นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ใช้ในกรณีภาวะเงินฝืด การใช้จ่ายของประชาชนอยู่ในระดับต่ำ • การใช้เครื่องมือต่าง ๆ ทางการเงินเพื่อทำให้เงินมีขนาดใหญ่ขึ้น • เช่น ซื้อคืนพันธบัตร ปรับลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ลดอัตราเงินสดสำรอง *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : ซีเอแอลลิสซิ่ง.com 😁🙏

12:34

January 13, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

ธนาคารกลางใช้นโยบายการเงิน ในการดูแลปริมาณเงินและสินเชื่อโดยธนาคารกลาง เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ • การรักษาเสถียรภาพทางราคา • การส่งเสริมให้มีการจ้างงานเต็มที่ • การรักษาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • การรักษาดุลยภาพของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ • การกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม หมายเหตุ : GDP ย่อมาจากคำว่า Gross Domestic Product คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ คำนวณมาจากมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตในประเทศ ณ ช่วงเวลานั้น หรือพูดง่าย ๆ ว่า GDP เป็นมูลค่าเศรษฐกิจทั้งหมดที่เกิดขึ้นในประเทศ ถ้าตัวเลข GDP ของไทยสูงขึ้น ก็แปลได้ว่ามีรายได้เกิดขึ้นในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งอาจจะมาจากการจับจ่ายใช้สอยของคน รายได้ประชาชาติ หมายถึง มูลค่าที่เป็นตัวเงินของผลผลิตหรือสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ระบบเศรษฐกิจได้ผลิตขึ้นในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : ซีเอแอลลิสซิ่ง.com 😁🙏

08:57

January 13, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

นโยบายการเงินเป็นนโยบายการบริหารเศรษฐกิจของประเทศให้มีเสถียรภาพ เงิน คือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันว่า เป็นสิ่งที่สามารถใช้จ่ายในการซื้อขายสินค้าและบริการ รวมถึงใช้ในการชำระหนี้และอื่น ๆ ได้ตามต้องการ ความสำคัญของเงิน 1.สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน •การเป็นสื่อกลางเป็นหน้าที่ที่สำคัญที่สุดของเงิน •เป็นสื่อกลางในการเชื่อมโยงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (สภาพคล่อง) 2. มาตรฐานในการวัดมูลค่า •ผู้บริโภคทราบถึงจำนวนเงินที่ต้องจ่ายออกไป •ผู้ขายตัดสินใจได้ว่าจะขายหรือไม่ ราคาเท่าใด 3.เครื่องรักษามูลค่า •การเก็บผลตอบแทนในรูปของเงินเป็นหนทางที่ดี สะดวกกว่าการเก็บรักษา และไม่เปลืองเนื้อที่ 4.มาตรฐานในการชำระหนี้ เช่น การแบ่งชำระค่าสินค้าเป็นงวดๆ *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : ซีเอแอลลิสซิ่ง.com 😁🙏

10:30

January 13, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.66 วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ2(จบ)

๒) เทศกาลออกพรรษา ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ วันออกพรรษา เรียกว่าอย่างหนึ่งว่า “วันปวารณา” หรือ “วันมหาปวารณา” คือเปิดโอกาสให้เพื่อนพระภิกษุว่ากล่าวตักเตือนกันด้วยเมตตาจิตได้ เมื่อได้เห็นได้ทั้งหรือสงสัยในพฤติกรรมของกันและกัน หลังจากออกพรรษา 1 วัน ตอนเช้าจะมีการตักบาตรที่เรียกว่า “ตักบาตรเทโว” (วันเทโวโรหณะ) เป็นวันเปิดโลก หลักธรรมและคติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง : หลักการปวารณา และ ความกตัญญู ความเสียสละ ความสามัคคี ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ๓) เทศกาลสงกรานต์ กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำในวันนี้ ๑) ตักบาตร ๒) บังสุกุล ๓) สรงน้ำพระ ๔) รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ หลักธรรมและคติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง : บังสุกุล(กตัญญู) / รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่(กตัญญูและมีสัมมาคารวะ) **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/12469.html

09:10

January 04, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.65 วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ1

วันธรรมสวนะ หรือวันพระ สมัยพุทธกาลเรียกว่า วันอุโบสถ ความสำคัญ – เป็นวันแห่งการทำความดี หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องคือ สังคหวัตถุ ๔ คือ หลักปฏิบัติตนที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจผู้อื่นไว้ ได้แก่ 1ทาน 2ปิยวาจา 3อัตถจริยา 4สมานัตตตา ๑) เทศกาลเข้าพรรษา ระยะเวลา3เดือน(แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ - ขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑) ฤดูฝนพระสงฆ์ต้องหยุดจาริก ๓ เดือน หลักธรรมและคติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง : ขันติ(ความอดทน)/จาคะ(ความเสียสละ)/สามัคคี **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/12469.html

10:53

January 04, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์ตามหลักปฏิสันถาร ๒ 1.การปฏิสันถารด้วยอามิส (อามิสปฏิสันถาร) การต้อนรับด้วยสิ่งของตามความเหมาะสม 2.การปฏิสันถารด้วยธรรม (ธรรมปฏิสันถาร) การต้อนรับด้วยการกล่าวธรรมด้วยปิยวาจา ทำให้เกิดความยินดีกับผู้รับ ** เป็นอุบายเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน ** การปฏิสันถารข้อนี้พระพุทธเจ้าทรงกระทำเป็นกิจวัตร การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์ 1.ไปบิณฑบาตตอนเช้า 2.ไปแสดงธรรมแก่ชาวพุทธที่สนใจศึกษาธรรม 3.ไปประกอบพิธีกรรมทางศาสนาตามที่รับนิมนต์ คุณค่าการปฎิสันถาร 1.ผู้ต้อนรับและแขกผู้มาเยี่ยมเยียนได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย 2.ผู้ต้อนรับมีความสุขและมีความยินดีเมื่อได้ทำการต้อนรับ 3.ผู้ต้อนรับได้รับการยอมรับ มีคนอยากคบหาสมาคมด้วย และพร้อมจะให้การช่วยเหลืออย่างเต็มที่เมื่อร้องขอ 4.แขกผู้มาเยี่ยมเยียนมีความยินดีและมีไมตรีจิตกับผู้ต้อนรับตน 5.กิจการงานสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : http://marayadchawpudrvb23.blogspot.com/2014/01/blog-post_3853.html 😁🙏

08:54

January 04, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.63 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา2(จบ)

3.วันอัฐมีบูชา แรม 8 ค่ำ เดือน 6 เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า หลักธรรม : สุจริต 3 = ประพฤติดีทั้ง กาย วาจา และใจ 4.วันอาสาฬหบูชา ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 เป็นวันที่พระรัตนตรัยครบ 3 คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นวันที่ปฐมเทศนาหลักธรรม : ธัมมจักรกัปวัฒนสูตร,จักร4(ธรรมที่เสมือนล้อรถนำสู่ความรุ่งเรือง) ได้แก่ 1การอยู่ในถิ่นเหมาะสม 2การคบคนดี 3การเป็นผู้ทำความดีไว้ก่อน 4การตั้งตนไว้ชอบ **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://pubhtml5.com/zpcw/uuyv/basic 😁🙏

09:30

January 03, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.62 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา1

1.วันมาฆบูชา (วันแห่งความรักของชาวพุทธ) ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 เป็นวันจาตุรงคสันนิบาต มีความมหัศจรรย์ 4 ประการ หลักธรรม : โอวาทปาฏิโมกข์(หัวใจของพุทธศาสนา),บุญกิริยาวัตถุ3 ได้แก่ 1ทานมัย(การให้) 2สีลมัย(การรักษาศีล) 3ภาวนามัย(การฝึกอบรมจิตใจให้สงบสุข) 2.วันวิสาขบูชา (วันสำคัญของโลก) ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 เป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า หลักธรรม :อริยสัจ 4(ทุกข์,สมุทัย,นิโรธ,มรรค) , พละ 5 ได้แก่ 1ศรัทธา(เชื่อในความถูกต้อง) 2วิริยะ(ความเพียรพยายาม) 3สติ(ความระลึกได้) 4สมาธิ(สงบนิ่งไม่ฟุ้งซ่าน) 5ปัญญา(ความรอบรู้) **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://pubhtml5.com/zpcw/uuyv/basic 😁🙏

10:45

January 03, 2022

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.61 คุณค่าและประโยชน์ของการสวดมนต์ไหว้พระ

คุณค่าและประโยชน์ของการสวดมนต์ไหว้พระ 1.จิตเป็นสมาธิ (จิตตั้งมั่นกับการสวด) 2.เกิดวินัยในตนเอง 3.ไล่ความเกียจคร้าน (สวดแล้วกระฉับกระเฉง) 4.ตัดความเห็นแก่ตัว (อารมณ์ตั้งมั่นกับการสวด) 5.เกิดปัญญา (ต้องรู้ความหมายเพื่อให้เกิดปัญญา ไม่ใช่การท่องจำ) 6.ได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ขณะสวดประกอบด้วยไตรสิกขาเท่ากับได้เข้าเฝ้าพระพุทธองค์ 7.เป็นการสร้างเสริมความเป็นมงคลให้ตนเอง 8.ช่วยรักษาระเบียบแบบแผนที่ดีงามของสังคมไทยไว้ เพราะการสวดมนต์เป็นส่วนหนึ่งของประเพณีพิธีกรรม 9.ช่วยให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr.รูปภาพ : https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=angelonia17&month=05-2013&date=11&group=43&gblog=20 😁🙏

09:42

December 19, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.60 การปฏิบัติตัวตามหลัก “ทิศ 6”

การปฏิบัติตนตามหลักทิศ6 ในทิศเบื้องล่าง *การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในฐานะผู้อยู่ในปกครอง(ลูกน้อง) ๑. มาทำงานตรงหรือก่อนเวลา ๒. เลิกงานตามเวลาที่กำหนด ๓. ถือเอาแต่สิ่งของที่เขาให้ ไม่ลักขโมย ๔. ทำงานที่ได้รับมอบหมายให้เรียบร้อยและมีคุณภาพ ๕. นำคุณงามความดีของผู้ปกครองไปสรรเสริญเผยแพร่ *การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในฐานะผู้ปกครอง(เจ้านาย) ๑. มอบหมายงานให้ทำตามความเหมาะสมแก่กำลังและความสามารถ ๒. ให้ค่าจ้างรางวัลสมควรแก่งานและความเป็นอยู่ ๓. จัดสวัสดิการดีและช่วยค่ารักษาพยาบาลให้ในยามเจ็บป่วย ๔. มีของดีหรือพิเศษมาแบ่งปันให้อยู่เสมอ ๕. กำหนดให้มีวันหยุดและพักผ่อนตามโอกาสที่สมควร **ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล : สำนักพิมพ์ วพ. Cr. ภาพ : ทิศทั้ง 6 มีอะไรบ้าง และมีแนวทางที่ลูกควรปฏิบัติอย่างไร? - amarinbabyandkids 😁🙏

08:47

December 15, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.59 ท่านปัญญานันทภิกขุ2(จบ)

คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของท่านปัญญานันทภิกขุ ได้แก่ 1.มีความขยันและรับผิดชอบต่อหน้าที่ 2.ใฝ่เรียนใฝ่รู้และตั้งใจจริง 3.เป็นนักคิด **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : รำลึกหลวงพ่อปัญญา ที่ "วัดชลประทานรังสฤษฎ์" (mgronline.com) 😁🙏

06:42

December 02, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.58 หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ1

หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ ชาวพุทธตัวอย่าง พระนักเทศน์ นักเขียน ได้รับรางวัล สังข์เงิน ในฐานะพระภิกษุผู้เผยแพร่ธรรมะยอดเยี่ยม จากสมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : รำลึกหลวงพ่อปัญญา ที่ "วัดชลประทานรังสฤษฎ์" (mgronline.com) 😁🙏

08:51

December 01, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.57 ท่านพุทธทาสภิกขุ(พระธรรมโกศาจารย์)2จบ

ท่านพุทธทาสภิกขุได้รับการยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกในปี พ.ศ.2549 โดยที่ท่านมีคุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ได้แก่ 1.มีความเสียสละและรับผิดชอบ 2.ใฝ่เรียนใฝ่รู้ 3.มีความกตัญญูกตเวที 4.มีความมั่นใจในตัวเองและตั้งใจจริง **ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.mokkalana.com/3683/ 😁🙏

10:57

November 30, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.56 ท่านพุทธทาสภิกขุ(พระธรรมโกศาจารย์)1

ท่านพุทธทาสภิกขุนับเป็นชาวพุทธตัวอย่างที่มีความแตกฉานในพระไตรปิฎก เป็นพระนักปฏิบัติที่รักความสันโดษรักธรรมชาติ ถือได้ว่าท่านเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนา **ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ภาพ : https://www.mokkalana.com/3683/ 😁🙏 

09:38

November 30, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของ ดร.อัมเบดการ์ ได้แก่ 1.มีความมุมานะพยายามในการศึกษาเล่าเรียน 2.มีความอดทนเป็นเลิศ 3.มีสติปัญญาดี 4.ยึดมั่นในพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : ด.ร.อัมเบดการ์ ผู้นำพุทธศาสนากลับคืนสู่อินเดียอีกครั้ง – Learning Pune

09:13

November 25, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

ดร.อัมเบดการ์ ผู้นำแห่งการเปลี่ยนศรัทธา สู่วิถีพุทธชาวอินเดีย **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏 Cr.ภาพ : ด.ร.อัมเบดการ์ ผู้นำพุทธศาสนากลับคืนสู่อินเดียอีกครั้ง – Learning Pune

09:44

November 25, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.53 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช2(จบ)

คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้แก่ 1.ทรงมีความรอบคอบและไม่ประมาท 2.ทรงมั่นคงในพระรัตนตรัยและพระพุทธศาสนา 3.ทรงเป็นอุบาสกตัวอย่าง **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : สมเด็จพระนารายณ์มหาราช (thairath.co.th)

10:19

November 25, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.52 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช1

ว่ากันว่าแผ่นดินในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งราชวงศ์ปราสาททอง เป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดในทุกๆด้าน ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็ราชธานี รวมถึงความเจริญทางด้านพระพุทธศาสนาด้วย **ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล 😁🙏 Cr.ภาพ : สมเด็จพระนารายณ์มหาราช (thairath.co.th)

08:04

November 25, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของพระอนุรุทธะมี3ข้อดังนี้ 1.เป็นคนตั้งใจจริง 2.เป็นคนมีวาทศิลป์ในการพูด 3.เป็นคนที่มีความเพียรพยายาม **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.winnews.tv/news/8649

07:41

November 22, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

พระอนุรุทธะ พุทธสาวกผู้ได้รับการยกย่องสรรเสริญจากพระพุทธเจ้าว่า ยอดเยี่ยมกว่าพระภิกษุทั้งหลายในด้านมีทิพพจักขุญาณ(ตาทิพย์) **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูลสำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.winnews.tv/news/8649

08:21

November 22, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของท่านจิตตคหบดี มีดังนี้ 1.มีสติปัญญา 2.มั่นคงในพระรัตนตรัย 3.มีอัธยาศัยโอบอ้อมอารี **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. วพ. Cr.ภาพ : https://www.facebook.com/W.Indhasara/posts/1024760077713827?comment_tracking=%7B%22tn%22%3A%22O%22%7D

07:09

November 16, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

จิตตคหบดี พุทธสาวกซึ่งเป็นให้ อุปถัมภ์พระพุทธเป็นอย่างดีเสมอมา ใจกว้าง เป็นที่รักที่ชื่นชอบชื่นชมต่อผู้พบเห็นทั้งมนุษย์และเทวดา ศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างที่สุด เป็นผู้ทำให้เกิดโรงครัวและโรงทานเป็นครั้งแรกในพระพุทธศาสนา **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. Cr.ภาพ : https://www.facebook.com/W.Indhasara/posts/1024760077713827?comment_tracking=%7B%22tn%22%3A%22O%22%7D

08:39

November 16, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.47 พระธัมมทินนาเถรี 2(จบ)

คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของพระธัมมทินนาเถรี ได้แก่ 1.เป็นผู้มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา 2.เป็นผู้มีความกตัญญูกตเวที 3.เป็นคนช่างสังเกตและรู้จักกาละเทศะ 4.เป็นคนฉลาด **ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล 😁🙏 Cr.รูปภาพ : พระธัมมทินนาเถรี ภิกษุณีที่พระพุทธเจ้าทรงชมเชยว่าเป็นนักปราชญ์อธิบายตอบธรรมได้ฉาดฉาน - TheBuddhaPictures

09:20

November 11, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

พระธรรมทินนาเถรี พุทธสาวิกา ผู้ได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่าเป็นยอดทางด้านธรรมกถึก(การแสดงธรรม) มีปัญญาเฉลียวฉลาดแสดงธรรมได้อย่างแตกฉาน **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล 😁🙏Cr.รูปภาพ : พระธัมมทินนาเถรี ภิกษุณีที่พระพุทธเจ้าทรงชมเชยว่าเป็นนักปราชญ์อธิบายตอบธรรมได้ฉาดฉาน - TheBuddhaPictures 

07:07

November 11, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างของพระองคุลิมาล มี4ข้อ ได้แก่ 1.เป็นคนขยันหมั่นเพียร 2.เป็นคนมีสติปัญญาและมีเหตุผล 3.เป็นคนมักน้อย 4.เป็นคนที่มีความอดทน *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏 Cr.ภาพ : https://m.facebook.com/794922683982998/posts/1060362064105724/

08:51

November 09, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

พุทธสาวกท่านแรกที่รายการนำเสนอ คือ “องคุลิมาล” โจรผู้มีนิ้วเป็นพวงมาลัย ต่อมาได้รับการสรรเสริญว่าเป็นเระเถระประเภท “ต้นคดปลายตรง” *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล😁🙏 Cr.ภาพ : https://m.facebook.com/794922683982998/posts/1060362064105724/

07:53

November 08, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.43แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ2(จบ)

ฉบับที่ 10 แนวคิด : คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา, ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมาย : มุ่งการพัฒนาสู่สังคมสังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ผล : ประเทศเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน ปรับตัวได้เป็นที่น่าพอใจ แต่ต้องให้ความ สำคัญอย่างต่อเนื่อง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) การพัฒนาประเทศภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีแนวทาง การสร้างภูมิคุ้มกันใน 3 ประเด็นหลัก 1.การพัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพ 2.การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ทิศทางการเติบโตรูปแบบใหม่ 3.การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน *ปัจจุบันใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564) https://www.youtube.com/watch?v=s5xPo84KmhA *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

08:42

September 23, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.42แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ1

“สภาพัฒน์” หน่วยงานวางแผนชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “สภาพัฒน์” หรือ “สภาพัฒนาฯ” ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493ในสมัย จอมพลแปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยในระยะแรกใช้ชื่อว่า “สภาเศรษฐกิจแห่งชาติ” มีหน้าที่เสนอความเห็นและคำแนะนำ ตลอดจนข้อชี้แจงต่อรัฐบาลในเรื่องเกี่ยวกับเศรษฐกิจของประเทศ โดยอยู่ภายใต้สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504–2509) ถึงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535–2539) ได้มุ่งพัฒนาเพื่อสร้างความมั่งคั่งและรายได้มาสู่ประเทศเป็นหลัก •สภาวะแวดล้อม: การเมือง/ปกครองรวมศูนย์อำนาจ, เศรษฐกิจนำสังคม, ใช้ทรัพยากรแรงงาน •บริหารแบบควบคุม สั่งการเป็น top–down •ผล: เศรษฐกิจดี, สังคมมีปัญหา, การพัฒนาไม่ยั่งยืน * ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540–2544) ปรับเปลี่ยนกระบวนการวางแผนพัฒนาประเทศใหม่ เน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา *ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549) เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศ แนวคิด : คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา, ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมาย : ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยสู่ความอยู่ดีมีสุข, เศรษฐกิจเข้มแข็ง ผล : เศรษฐกิจขยายตัว, ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยดีขึ้น, มีปัญหาโครงสร้างระบบเศรษฐกิจ *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

07:33

September 23, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.41เศรษฐกิจพอเพียง3(จบ)

การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาคอุตสาหกรรม เน้นการปฏิบัติอย่างพอประมาณ มีเหตุผล และสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ตนเองและสังคม อาทิ ผู้ผลิตในภาคอุตสาหกรรมไม่ควรขยายการลงทุนหรือเพิ่มการผลิตที่เกินตัวและนำไปสู่การเพิ่มความเสี่ยงที่ต้องพึ่งพิงผู้อื่นหรือภายนอกมากเกินไปจนขาดความสมดุลในระยะยาว แต่ควรดำเนินการด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังอย่างเป็นขั้นตอน มีการกระจายความเสี่ยงและสร้างเครือข่ายธุรกิจเพื่อร่วมมือกันในกิจกรรมต่างๆ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาคการค้าและบริการ การค้าขายหรือดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เน้น 2 อย่าง 1.การมีคุณธรรม คือ ความซื่อสัตย์ ความเพียร ความอดทน ความรับผิดชอบต่อสังคม 2.มีการพัฒนา คือ ประสิทธิภาพการผลิต การปรับปรุงสินค้าและคุณภาพ ธุรกิจมั่นคง และยั่งยืน = ปรับตัวอย่างพอ ประมาณ>มีเหตุมีผล>มีภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับธุรกิจ สรุป เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นในการดำเนินชีวิตของตนเองและครอบครัว ภาคอุตสาหกรรม และภาคการค้าและบริการ โดยเน้นการปฏิบัติตามทางสายกลางและการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

07:17

September 22, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง : พระองค์ได้ทรงอธิบายความหมายของคำว่า เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสามารถสรุปกรอบความคิดได้ 3 ประการ คือ 1.พอเพียงในความเป็นอยู่ คือ ให้แต่ละคนพอมีพอกิน 2.พอเพียงในความคิด คือ ให้หันหน้าปรึกษาหารือกัน เป็นการใช้ปัญญา 3.พอเพียงในจิตใจ คือ พอเพียงในความต้องการ ไม่โลภมาก การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตของตนเองและครอบครัว คือ ใช้คุณธรรมและวัฒนธรรมเป็นตัวนำ ไม่ใช้เงินเป็นตัวตั้ง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาคเกษตร คือ เกษตรทฤษฎีใหม่ การแบ่งพื้นที่อัตราส่วน 30:30:30:10 •ส่วนที่ 1 ขุดสระน้ำและเลี้ยงปลา •ส่วนที่ 2 ปลูกข้าว •ส่วนที่ 3 ปลูกพืชไร่พืชสวน •ส่วนที่ 4 ที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ หัวใจสำคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ การพัฒนาตามลำดับขั้น ดังนี้ สร้างความมั่นคงให้แก่เกษตรกรและครอบครัว>พออยู่พอกิน>รวมตัวกันทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสร้างความสามัคคี>ชุมชนเข้มแข็ง *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

08:29

September 22, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

เศรษฐกิจพอเพียง 1กรอบแนวคิด •เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น •มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย •นำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและเป็นการมองโลกเชิงระบบ •มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต 2คุณลักษณะ •นำมาประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ •เน้นการปฏิบัติตามทางสายกลางและการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3นิยาม ได้แก่ พอประมาณ, มีเหตุผล, มีภูมิคุ้มกันที่ดี 4เงื่อนไข ได้แก่ ความรู้ และ คุณธรรม 5แนวทางปฏิบัติ : ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

08:16

September 22, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

วิวัฒนาการของสหกรณ์ในประเทศไทย •มีมูลเหตุมาจากการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ •ระบบเศรษฐกิจของชนบทเปลี่ยนจากแบบเลี้ยงตัวเองมาสู่แบบการค้า •ชาวนากู้ยืมเงินจากนายทุนจนนำ ไปสู่ปัญหาหนี้สินและขาดแคลนที่ดินทำกิน จากสภาพปัญหาความยากจนของชาวนาในสมัยนั้น ทำให้ราชการต้องจัดหาเงินทุนมาให้กู้และคิดดอกเบี้ยในอัตราต่ำ โดยกำหนดวิธีการช่วยเหลือชาวนาไว้ 2 วิธี 1.จัดตั้งธนาคารเกษตร เพื่อให้เงินกู้แก่ชาวนา แต่ขัดข้องในเรื่องเงินทุนและหลักประกันเงินกู้ ความคิดนี้จึงระงับไป 2.จัดตั้งธนาคารให้กู้ยืมแห่งชาติ ดำเนินการให้กู้ยืมโดยมีที่ดินและหลักทรัพย์อื่นเป็นหลักประกัน เพื่อป้องกันการหลบหนี้สิน สหกรณ์แห่งแรกของไทยมีชื่อว่า สหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก จดทะเบียนเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459 โดยมีพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณเป็นนายทะเบียนพระองค์แรก นับเป็นการเริ่มต้นแห่งการสหกรณ์ในประเทศไทยอย่างสมบูรณ์ *สหกรณ์ในประเทศไทย 2 ปรพเภทใหญ่ 1.สหกรณ์ภาคการเกษตร ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร,สหกรณ์ประมง,สหกรณ์นิคม 2.สหกรณ์ภาคนอกการเกษตร ได้แก่ สหกรณ์ร้านค้า,สหกรณ์ออมทรัพย์,สหกรณ์บริการ,สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน *ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

10:57

September 15, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

หลักการสหกรณ์(ต่อ) 4.การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ •เป็นองค์กรช่วยเหลือตนเองและปกครองตนเอง (ควบคุมโดยสมาชิก) •สหกรณ์ต้องเป็นอิสระในการตัดสินใจหรือทำสัญญาตามเงื่อนไขที่สหกรณ์ยอมรับได้กับบุคคลภายนอกหรือรัฐบาล 5.การศึกษา ฝึกอบรม และสารสนเทศ •สหกรณ์พึงให้การศึกษาและฝึกอบรมแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น สมาชิก ผู้แทนจากการเลือกตั้ง •สหกรณ์พึงให้ข่าวสารความรู้ในเรื่องลักษณะและประโยชน์ของสหกรณ์แก่บุคคลทั่วไป 6.การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ •สหกรณ์พึงรับใช้สมาชิกอย่างมีประสิทธิผลสูงสุดและทำให้ขบวนการสหกรณ์เข้มแข็ง •หลักการนี้ก่อให้เกิดการประหยัดด้วยขนาด มีอำนาจต่อรอง และนำไปสู่การรับใช้สมาชิกอย่างมีประสิทธิผล 7.การเอื้ออาทรต่อชุมชน •สหกรณ์พึงดำเนินการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนที่สหกรณ์ตั้งอยู่ตามนโยบายที่สมาชิกได้ให้ความเห็นชอบ •การพัฒนาต้องไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ *ฟังน้อย แต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

08:19

September 14, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

สหกรณ์เป็นรูปแบบของธุรกิจที่มีการเป็นเจ้าของและการบริหารโดยกลุ่มคนที่เป็นสมาชิก ความหมายและความสำคัญ สหกรณ์ คือ องค์การของบรรดาบุคคลซึ่งรวมกลุ่มกันโดยสมัครใจในการดำเนินวิสาหกิจที่พวกเขาเป็นเจ้าของร่วมกัน และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย เพื่อสนองความต้องการอันจำเป็นและความหวังร่วมกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อุดมการณ์สหกรณ์ คือ ความเชื่อร่วมกันที่ว่าการช่วยเหลือตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จะนำไปสู่การกินดีอยู่ดี มีความเป็นธรรม และสันติสุขในสังคม หลักการสหกรณ์ 1.การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง •เป็นองค์กรโดยสมัครใจ •เปิดรับบุคคลทุกคนที่จะมาใช้บริการ •การเข้าและออกจากการเป็นสมาชิกเป็นไปด้วยความสมัครใจ 2.การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย •เป็นองค์กรประชาธิปไตย •สมาชิกมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ •สมาชิกมีสิทธิออกเสียงเท่ากัน “หนึ่งคนหนึ่งเสียง” 3.การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก •สมาชิกมีส่วนให้ทุนและควบคุมการใช้ทุนของสหกรณ์ตามแนวทางประชาธิปไตย •มุ่งเน้นให้สมาชิกพึงตระหนักว่า ตนเองเป็นทั้งเจ้าของและลูกค้าในคนเดียวกัน *ฟังน้อย แต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

07:22

September 14, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.35 ตลาดแรงงานกับการกำหนดค่าจ้าง2(จบ)

การกำหนดค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจที่มีระบบตลาด มี 2 ลักษณะ 1.ในตลาดเสรี การกำหนดค่าจ้างมีวิธีการดังนี้ •การกำหนดค่าจ้างตามอุปสงค์และอุปทาน •การกำหนดค่าจ้างตามค่าครองชีพ •การกำหนดค่าจ้างแตกต่างกัน 2.โดยการแทรกแซงของรัฐ โดยรัฐบาลจึงต้องออกกฎหมายกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำไว้ สำหรับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับค่าจ้างแรงงานของไทย คือ พระราช-บัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2554 *การแทรกแซงราคาของรัฐ 1.การกำหนดราคาขั้นต่ำ = ช่วยผู้ผลิต -การลดปริมาณการผลิต -การให้เงินอุดหนุนแก่เกษตรกร 2.การกำหนดราคาขั้นสูง = ช่วยผู้บริโภค -ตลาดมืด (การซื้อในราคาที่สูงกว่ารัฐกำหนด) **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

06:23

August 31, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.34 ตลาดแรงงานกับการกำหนดค่าจ้าง1

ตลาดแรงงานกับการกำหนดค่าจ้าง การกำหนดค่าจ้าง อุปสงค์ของแรงงาน(D) คือ ความต้องการจ้างงาน - ถ้าค่าจ้างสูง ผู้ผลิตจะต้องการแรงงานน้อย - ถ้าค่าจ้างต่ำ ผู้ผลิตจะต้องการแรงงานมาก อุปทานของแรงงาน(S) คือ ความต้องการเข้าทำงาน -ถ้าค่าจ้างสูง แรงงานจะเสนอตนเข้าทำงานมาก -ถ้าค่าจ้างต่ำ แรงงานจะเสนอตนเข้าทำงานน้อย D = S จะเกิดดุลยภาพการจ้างงาน (E) ส่งผลให้ไม่มีการตกงาน D > S จะเกิดแรงงานขาดตลาด S > D จะเกิดแรงงานล้นตลาด (ภาวะการตกงานสูง) **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

06:40

August 31, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.33 การกำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ในสังคมไทย

การกำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ในสังคมไทย แบ่งเป็น 2ส่วน 1.นโยบายการกำหนดราคา คือ การกำหนดราคาที่ต้องการขายจริง ผู้ประกอบธุรกิจเป็นผู้กำหนด 2.การกำหนดราคาสินค้าและบริการบางรายการ คือ การกำหนดราคาเพื่อดึงดูดลูกค้าให้มาซื้อสินค้าและบริการ 2.1การกำหนดราคาโดยใช้ส่วนลด เหมาะกับการขายสินค้าที่ล้าสมัยหรือต้องการลดสต๊อก 2.2การกำหนดราคาโดยใช้เลขคี่ เช่น ตั้งราคาเสื้อยืด 99 บาท 2.3การกำหนดราคาต่ำกว่า เพื่อดึงดูดลูกค้าเข้าร้านและอาจซื้อสินค้าที่ไม่ได้ลดราคาด้วย 2.4การกำหนดราคาสูงกว่า เหมาะกับสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะ แปลก และแตกต่างจากคู่แข่ง 2.5การกำหนดราคาเพื่อเจาะตลาด มุ่งเน้นการเข้าสู่ตลาด เป็นสินค้าและบริการใหม่ที่ยังไม่เป็นที่รู้จัก **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

09:15

August 31, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์(D) คือ ความต้องการซื้อ อุปทาน(S) คือ ความต้องการขาย E คือ จุดดุลยภาพ PE คือ ราคาดุลยภาพ QE คือ ปริมาณดุลยภาพ เมื่อ D = S คือ จุดดุลยภาพ(E) เมื่อ D > S คือ อุปสงค์ส่วนเกิน จะทำให้สินค้าขาดตลาด ราคาจะแพงขึ้น เมื่อ S > D คือ อุปทานส่วนเกิน จะทำให้สินค้าล้นตลาด ราคาสินค้าจะถูกลง **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

05:24

August 27, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

อุปทาน คือ ความต้องการขาย *กฎของอุปทาน 1.เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้น ความต้องการขายจะสูงขึ้น 2.เมื่อราคาสินค้าลดลง ความต้องการขายจะลดลง *ตัวกำหนดอุปทาน 1.ราคาสินค้าชนิดนั้นๆ 2.กรรมวิธีในการผลิต 3.ราคาของปัจจัยการผลิต 4.การคาดคะเนของราคาสินค้า 5.ภาษีหรือเงินช่วยเหลือ **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. 😁🙏

07:59

August 25, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

อุปสงค์ คือ ความต้องการซื้อ *กฎของอุปสงค์ 1.เมื่อราคาสูงขึ้น ความต้องการซื้อจะลด 2.เมื่อราคาลดลง ความต้องการซื้อจะเพิ่ม *ตัวกำหนดอุปสงค์ 1.ราคาสินค้าชนิดนั้น 2.รายได้เฉลี่ยนของผู้บริโภค 3.รสนิยมของผู้บริโภค 4.ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง 5.ฤดูกาล **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. 😁🙏

07:54

August 25, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.29 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ3(จบ)

2.2ตลาดผู้ขายน้อยราย เช่น ตลาดเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ ปูน น้ำมัน น้ำอัดลม เป็นต้น •มีผู้ผลิตไม่กี่ราย •แต่ละรายครองส่วนแบ่งตลาดเป็นส่วนมาก •จะไม่ใช้ราคาเป็นกลยุทธ์ในการขาย •เป็นสินค้าที่ลงทุนสูง ขนาดใหญ่ ตลาดผูกขาด=มีผู้ผลิตเพียงรายเดียว เช่น การไฟฟ้า การประปา การรถไฟ เป็นต้น **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

08:26

August 19, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.28 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ2

ตลาดประเภทที่2 "ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์" –มีการกีดกันทางการค้า –เข้า-ออกไม่เสรี แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 2.1ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด 2.2ตลาดผู้ขายน้อยราย 2.3ตลาดผูกขาด ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด •ผู้ซื้อผู้ขายจำนวนมาก •สินค้าจะแตกต่างกันที่ราคาและรูปลักษณ์ •เป็นสินค้าที่ต้องใช้ในชีวิตประจำวัน •ผู้ผลิตบางรายครองส่วนแบ่งตลาดมาก **ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

08:15

August 19, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.27 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ1

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่สำคัญประกอบด้วย 3 ด้าน 1.จะผลิตสินค้าอะไร 2.ผลิตสินค้าอย่างไร 3.จะผลิตสินค้าเพื่อใคร ความหมายของตลาด -ในความหมายทั่วไป คือ สถานที่ใด ๆ ที่สามารถซื้อขายสินค้าและบริการ -ในทางเศรษฐศาสตร์ คือ กิจกรรมการซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย โดยไม่คำนึงว่าต้องใช้สถานที่ใด ๆ อาจสั่งซื้อทางจดหมาย โทรศัพท์ เว็บไซต์ ตลาดในระบบเศรษฐกิจ มี 2 ประเภท •1.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ –มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก –สินค้าเหมือนกันทุกประการ –ข้อมูลสินค้าเปิดเผย –การติดต่อซื้อขายสะดวก –เข้า-ออกได้โดยเสรี *สินค้าทดแทน คือ สินค้าที่ประโยชน์ในการใช้ใกล้เคียงกัน *สินค้าประกอบกัน คือ สินค้าที่ต้องใช้ด้วยกัน **ฟังน้อยแต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. 

09:45

August 19, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.26 ระบบเศรษฐกิจแบบผสม2(จบ)

ข้อดี ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสม ข้อดี • การกระจายรายได้และทรัพยากรเป็นไปอย่างทั่วถึง • ผู้ใช้แรงงานได้รับค่าจ้างตามความเหมาะสม • เอกชนมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ • ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าและบริการ ข้อเสีย • รัฐบาลไม่สามารถสั่งการแบบรีบด่วนได้ • การวางแผนจากรัฐบาลให้เอกชนทำตามเป็นไปได้ยาก • รัฐบาลมีอำนาจกำหนดนโยบายทำให้เอกชนขาดความมั่นใจในการลงทุน • การดำเนินกิจการขนาดใหญ่โดยรัฐมักขาดประสิทธิภาพ *ฟังน้อยแต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

09:37

August 16, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.25 ระบบเศรษฐกิจแบบผสม1

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม • เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินบางอย่าง • ธุรกิจบางอย่างมีการแข่งขันเสรี • ผู้บริโภคมีเสรีภาพในการเลือกซื้อสินค้า • รัฐควบคุมธุรกิจที่มีความสำคัญต่อความเป็นอยู่ของประชาชน • รัฐเข้ามาเพื่อขจัดปัญหาการผูกขาด ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบผสม • เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่หามาได้ • ทั้งรัฐบาลและเอกชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ • รัฐบาลปล่อยให้เอกชนเป็นผู้ผลิตสินค้าและบริการ • กิจการบางอย่างรัฐเป็นผู้ดำเนินการเอง • ใช้กลไกราคาหรือระบบตลาดควบคู่ไปกับการชี้นำของภาครัฐ **ฟังน้อย แต่ได้มากโดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ. 

08:10

August 12, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.24 ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม3(จบ)

ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมประชาธิปไตย •รัฐเป็นเจ้าของหรือเข้าดำเนินการในอุตสาหกรรมหลักทั้งหมด •ผู้บริโภคมีสิทธิเลือกซื้ออะไรก็ได้ที่ต้องการ โดยรัฐบาลเป็นผู้จัดสวัสดิการต่างๆ ให้ *ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย •เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินได้บ้าง เอกชนมีเสรีภาพในสินค้าที่ไม่เกี่ยวข้องกับคนส่วนใหญ่ •ผู้ผลิตเลือกผลิตสินค้าบางชนิดได้ •ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าบางชนิดได้ •ใช้การวางแผนจากส่วนกลางและกลไกราคาเป็นหลัก •การตัดสินใจในการผลิตขึ้นอยู่กับส่วนกลาง ยกเว้นบางธุรกิจที่อนุญาตให้เอกชนดำเนินการได้ ข้อดี 1เกิดการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม 2ประชาชนได้รับสวัสดิการอย่างทั่วถึงและเพียงพอ ข้อเสีย 1ขาดแรงจูงใจในการทำงาน 2ไม่มีเสรีภาพในการทำงาน 3รัฐบาลเก็บภาษีในอัตราสูง >//

07:06

August 06, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.23 ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 2

*ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ •เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และไม่มีเสรีภาพในการเลือก •ผลิตเฉพาะที่สั่งให้ผลิตและบริโภคเฉพาะที่มีให้บริโภคเท่านั้น •ใช้การวางแผนจากส่วนกลาง •ไม่มีกลไกราคา ไม่มีระบบตลาด •ไม่มีการแข่งขัน •กิจการทุกอย่างดำเนินการโดยรัฐบาล ข้อดี •ไม่มีความแตกต่างระหว่างรายได้ •ประชาชนได้รับสวัสดิการอย่างทั่วถึงและเพียงพอ •ตัดสินใจได้รวดเร็ว ไม่สิ้นเปลืองทรัพยากร ข้อเสีย •ขาดเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ •ขาดแรงจูงใจในการทำงาน >//

09:04

August 06, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.22 ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม1

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมคอมมิวนิสต์และระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมประชาธิปไตย *ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ใช้การวางแผนจากส่วนกลางโดยมีเป้าหมายเพื่อจัดสวัสดิการให้กับประชาชนของประเทศ •รัฐบาลเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทุกชนิด •เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน •เสรีภาพของประชาชนถูกจำกัด >//

07:29

August 06, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.21 ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม2(จบ)

*ลักษณะสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม •ทุกคนมีสิทธิ์เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต •มีสิทธิและเสรีภาพที่จะใช้หรือจ่ายแจกปัจจัยการผลิต •กลไกราคาเป็นเครื่องมือสำคัญในการตัดสินใจต่าง ๆ •เอกชนจะดำเนินการผลิตโดยมีกำไรสูงสุดเป็นเป้าหมายสำคัญ •การแข่งขันเป็นปัจจัยสำคัญ *ข้อดี ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ข้อดี 1.เอกชนสามารถเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต 2.มีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ ข้อเสีย 1.การกระจายรายได้ไม่เป็นธรรม 2.มีการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืองและผูกขาด >~

07:47

August 05, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.20 ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม1

ระบบเศรษฐกิจเป็นวิธีการในการแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่แต่ละสังคมยอมรับร่วมกัน ความสำคัญ = ระบบเศรษฐกิจก่อให้เกิดการควบคุม ดูแล ให้การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางที่สังคมต้องการ ปัจจัยการผลิต ได้แก่ 1.ที่ดิน ผลตอบแทนคือ ค่าเช่า 2.ทุน ผลตอบแทนคือ ดอกเบี้ย 3.แรงงาน ผลตอบแทนคือ ค่าจ้าง 4.ผู้ประกอบการ ผลตอบแทนคือ กำไร รูปแบบของระบบเศรษฐกิจ แบ่งเป็น 3 ระบบ ได้แก่ 1.ทุนนิยม 2.สังคมนิยม 3.ผสม *ประเด็นสำคัญระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม -มีชื่อเรียกว่า ระบบตลาด -เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่หามาได้ตามกฎหมายและมีอิสระในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ -รัฐบาลมีบทบาทจำกัดเฉพาะทำหน้าที่ให้บริการทางสังคม >~

08:45

August 05, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.19 อริยสัจ4 หลักธรรมใหญ่ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้

อริยสัจ4 คือ ความจริงอันประเสริฐ4ประการ ได้แก่ 1.ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ(ธรรมที่ควรรู้) 2.สมุทัย คือ สาเหตุแห่งความทุกข์(ธรรมที่ควรละ) 3.นิโรธ คือ ทางดับทุกข์(ธรรมที่ควรบรรลุ) 4.มรรค คือ วิธีปฏิบัติสู่ทางดับทุกข์(ธรรมที่ควรเจริญ) *ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล ขอบคุณข้อมูลจาก สำนักพิมพ์ วพ. 😁🙏

07:44

July 12, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.18 พระไตรปิฎก และการสังคายนา3(จบ)

การสังคายนา ในประเทศไทย มีทั้งสิ้น ๕ ครั้ง ครั้งที่ 1 พ.ศ. ๒๐๒๐ ณ เชียงใหม่(อาณาจักรล้านนา) สมัยพระเจ้าติโลกราช ชำระและจารลงในใบลาน ครั้งที่ 2 พ.ศ. ๒๓๓๑ ณ กรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ ๑ ชำระและจารลงในใบลาน ครั้งที่ 3 พ.ศ. ๒431-2436 ณ กรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ ๕ คัดอักษรขอมให้เป็นอักษรไทยในใบลาน ครั้งที่ 4 พ.ศ.2468-2473 ณ กรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ 7 ชำระและพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นรูปเล่ม ครั้งที่ 5 พ.ศ.2528-2530 ณ กรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ 9 ชำระและพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นรูปเล่ม *รัชกาลที่ ๘ มีการแปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาไทยครั้งแรกเพื่อความสะดวกในการศึกษา แต่มีข้อบกพร่องคือแปลแล้วได้จำนวนเล่มมากเกือบเป็นสองเท่าของจำนวนต้นฉบับ ภายหลังใน พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้ปรับจำนวนเล่มให้เท่ากัน คือมีจำนวนทั้งหมด 45 เล่ม *ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

07:12

June 28, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.17 พระไตรปิฎก และการสังคายนา2

การสังคายนาครั้งที่ ๑ (หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ๓ เดือน) เหตุ : หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ๗ วัน พระภิกษุชราชื่อ สุภัททะ ได้กล่าวคำไม่เหมาะสม จาบจ้วงพระธรรมวินัย การสังคายนาครั้งที่ ๒ เหตุ เพราะความหย่อนยานทางพระธรรมวินัยของพระภิกษุวัชชีบุตร โดยกระทำขึ้นหลังพุทธปรินิพพาน ๑๐๐ ปี การสังคายนาครั้งที่ ๓ (กระทำขึ้นหลังพุทธปรินิพพานประมาณ ๒๓๔–๒๓๕ ปี) เหตุ : สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชมีผู้ปลอมบวชในพระพุทธศาสนา การสังคายนาครั้งนี้มีการแยกพระธรรมวินัยเป็นพระไตรปิฎกอย่างชัดเจน หลังการสังคายนาครั้งนี้ได้ส่งสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาถึง ๙ สาย การสังคายนาครั้งที่ ๕ พ.ศ. 433 เหตุ : มีการให้จารึกพระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อักษรเนื่องจากความคลาดเคลื่อนของวิธีถ่ายทอดมุขปาฐะ(เป็นครั้งแรกที่มีการจารึกพระไตรปิฎก) *ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูลจาก สำนักพิมพ์ วพ. 😁🙏

08:55

June 24, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.16 พระไตรปิฎก และการสังคายนา1

ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีคำว่า ไตรปิฎก แต่เรียกว่า พระธรรม พรหมจรรย์ พระธรรมวินัย ฯลฯ การถ่ายทอดใช้วิธีมุขปาฐะ(การท่องจำแบบปากต่อปาก) ไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เมื่อเกิดข้อสงสัยจะใช้วิธีทูลถามกับพระพุทธเจ้าโดยตรง *ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูลจาก สำนักพิมพ์ วพ. 😁🙏

07:45

June 24, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

ชวนฟัง Ep.4 กฎลับสร้างสุข Rules of Jante

กฏของยานเต้ (Rules of Jante) 1. อย่าคิดว่าตัวเองพิเศษ 2. อย่าคิดว่าตัวเองดี 3. อย่าคิดว่าตัวเองฉลาดกว่าคนอื่น 4. อย่าบอกตัวเองว่าตัวเองดีกว่าใคร 5. อย่าคิดว่าตัวเองมีมากกว่าใคร 6. อย่าคิดว่าตัวเองสำคัญกว่าใคร 7. อย่าคิดว่าตัวเองเก่งทุกอย่าง 8. ห้ามหัวเราะเยาะคนอื่น 9. อย่าคิดว่ามีคนสนใจเกี่ยวกับตัวเองนัก 10. อย่าคิดว่าตัวเองสามารถสอนคนอื่นได้. *ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr. Nation Books 😁🙏❤️

07:51

June 23, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.14 พุทธศาสนากับสันติภาพ

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)ได้กล่าวถึงการจองเวรและการมีสันติภาพในโลกมี ๓ ระดับ ๑. การก่อเวรจนอีกฝ่ายหนึ่งพ่ายแพ้ ไม่สามารถก่อเวรตอบโต้ได้อีก ๒. คนที่ถูกกระทำเรียนรู้ที่จะยอมหรือเลิกหายต่อกัน ๓.ในระยะยาว สันติภาพอาจเกิดได้โดยไม่มีการก่อเวรขึ้นมาเลย *ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูลจาก สำนักพิมพ์ วพ.😁🙏

06:32

June 21, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

06:47

June 13, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

06:36

June 13, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

พุทธจริยา คือ การบำเพ็ญประโยชน์ของพระพุทธเจ้า 3 ประการ 1.โลกัตถจริยา = การบำเพ็ญประโยชน์แก่ชาวโลก 2.ญาตัตถจริยา = การบำเพ็ญประโยชน์แก่พระประยูรญาติ 3.พุทธัตถจริยา = การบำเพ็ญประโยชน์แก่พระองค์เองและบุคคลอื่นตามหน้าที่ *ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล Cr.ข้อมูล สำนักพิมพ์ วพ.

06:16

June 13, 2021

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ สรุป

Ep.10 พระพุทธศาสนากับการเมือง2(จบ)

ฟังน้อย แต่ได้มาก โดย กานน เลื่อนสกุล ขอขอบคุณข้อมูลจากสำนักพิมพ์ วพ. ราชสังคหวัตถุ ๕ หลักธรรมสำหรับนักปกครอง ๑.สัสสเมธะ บำรุงเกษตรกรรม ๒. ปุริสเมธะ ฉลาดใช้คน ๓. สัมมาปาสะ ดูแลทุกข์ สุข ส่งเสริมอาชีพ ๔. วาชเปยยะ วาจาไพเราะ อ่อนหวาน ๕.นิรัคคฬะ ปราศจากความลำเอียง4ประการ ๑. ฉันทาคติ ลำเอียงเพราะชอบ ๒. โทสาคติ ลำเอียงเพราะความชัง ๓. โมหาคติ ลำเอียงเพราะหลงหรือเขลา ๔. ภยาคติ ลำเอียงเพราะขลาดกลัว

08:43

June 08, 2021