อุปกรณ์ในห้อง แล ป ชีววิทยา

คือ ห้องที่คอยตรวจสอบเชื้อจุลินทรีย์หรือแบคทีเรีย เพื่อทดสอบหาตัวเชื้อที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น โดยการหาเชื้อจุลินทรีย์ไปทำยา หรือ นมเปรี้ยว เป็นต้น

     ประโยชน์ของห้องแลปจุลชีววิทยา มีเอาเพื่อหาตัวเชื้อ หรือ สปอร์ของดอกเห็ด โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ในการส่องมองหา และสามารถใช้กล้องจุลทรรศ์ได้อย่างถูกต้อง

     การเตรียมตัวก่อนเข้าห้องแลปจุลชีววิทยา 

1.ควรใส่เสื้อกาวส์ (สีขาว) เพื่อความปลอดภัย

2.ควรเช็ดโต๊ะให้สะอาดด้วยแอลกอฮอล์ 70%

3.ผู้หญิงที่ผมยาวควรจะมัดผมให้เรียบร้อยเพื่อไม่ให้เส้นผมโดนตะเกียงแอลกอฮอล์

4.ไม่่นำกระเป๋ามาวางไว้บนโต๊ะ

5.ไม่นำอาหารและเครื่องดื่นมารับประทานในห้องแลปจุลชีววิทยา
6.ใส่รองเท้าที่หุ้มส้นเพื่อความปลอดภัยจากสารเคมี

     อุปกรณ์ในห้องแลปจุลชิววิทยา

1.ห่วงเขี่ยเชื้อและเข็มเขี่ยเชื้อ (Inoculating loop and needle)

2.ตะเกียงแอลกอฮอล์  

3.จานเพาะเชื้อ (Petri dish)

4.หลอดทดลอง (Test tube) หรือหลอดเลี้ยงเชื้อ (Culture tube) 

5.หลอดดักก๊าซ (Durham tube) 

6.เครื่องกรองแบคทีเรีย (Bacteriological filter)

7.ปิเปตและไมโครปิเปต (Pipette and Micropipette)

8.ตู้บ่มเชื้อ (Incubator)

9.หม้อนึ่งฆ่าเชื้อภายใต้ความดันไอน้ำ (Autoclave)

10.ตู้ปลอดเชื้อ (Biological safety cabinet: BSC)และตู้เขี่ยเชื้อ (Laminar flow clean bench) 

11.เครื่องชั่งไฟฟ้า

12.ตู้อบความร้อน (Hot air oven)

13.เครื่องวัดค่าความเป็นกรด – ด่าง หรือ pH meter

14.อ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิ (Water bath) 

15.ตู้เย็น และตู้แช่แข็ง (Refrigerator and Freezer) 

16.กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light microscope)
17.ชุดย้อมสี (Staining set)

       ห้องแลปเคมี คือ ห้องที่คอยทดลองสารที่ทำปฎิกิริยากันชนิดที่รุนแรง หรือ ทดสอบหาความเป็น
กรด - เบส เป็นต้น
        ประโยชน์ของห้องแลปเคมี มีเอาไว้คอยศึกษาคอยทดลองเกี่ยวกับการทำปฎิกิริยาเคมีกับของ 2 สิ่งเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ผลการทดลองที่ถูกต้อง
        การเตรียมตัวก่อนเข้าห้องแลปเคมี 
1.ควรใส่เสื้อกาวส์ (สีขาว) เพื่อความปลอดภัย
2.ใส่รองเท้าที่หุ้มส้นเพื่อความปลอดภัยจากสารเคมี

3.ผู้หญิงที่ผมยาวควรจะมัดผมให้เรียบร้อยเพื่อไม่ให้เส้นผมโดนตะเกียงแอลกอฮอล์

4.ไม่่นำกระเป๋ามาวางไว้บนโต๊ะ

5.ไม่นำอาหารและเครื่องดื่นมารับประทานในห้องแลปจุลชีววิทยา
6.ใส่แว่นตาขณะทำการทดลองเพื่อไม่สารเคมีกระเด็นเข้าตาได้
          อุปกรณ์ในห้องแลปเคมี
1. Beaker (บีกเกอร์)
2.Cylinder (กระบอกตวง)
3.Erlenmeyer Flask (ขวดรูปชมพู่)
4.Dropper (หลอดหยด)
5.Glass Rod (แท่งแก้วคนสาร)
6.Buret (บิวเรต)
7.Graduated Pipette (ปิเปต)
8.Volumetric Pipette 10 ml (ปิเปต 10 ml)
9.Test Tube  (หลอดทดลอง)
10. Funnel (กรวยกรอง)
11.Volumetric Flask (ขวดวัดปริมาตร)
12.Suckion Flask (ขวดลดความดัน)
13.Bunsen Burner (ตะเกียงบุนเสน)
14.Condenser (ตัวควบแน่น)
15.Stand & Clamp (ขาตั้งและแคลมป์)



      สุดท้ายนี้ ห้องแลปจุลชีววิทยาเป็นห้องที่คอยศึกษาหรือตรวจสอบเชื้อแบคทีเรีย หรือ จุลินทรีย์ที่เข้ามาแทรกตัวอยู่ในเชื้อตัวนั้น ว่าเป็นชื่อเชื้ออะไร แล้วมันมีโทษ หรือมี ประโยชน์อย่างไรกับเราบ้าง ในขณะทำการทดลองอยู่นั้น  ส่วนห้องแลปเคมีเป็นห้องที่คอยทำปฎิกิริยาเคมี หรือ ทดสอบสารการเกิดกรด - เบส เราจะต้องดูแลความปลอดภัยของตนเองอยู่ตลอด เพื่อให้ไม่เป็นอันตรายกับตัวเองและผู้อื่นให้เกิดการบาดเจ็บ จึงทำให้เกิดข้อแตกต่างระหว่าง 2 ห้องแลปนี้ เช่น ห้องแลปจุลชีววิทยา เป็นห้องที่ไม่ค่อยใช้สารเคมีทีเป็นอันตรายมากนะจึงทำให้ลักษณะภายในห้องสามารถติดแอร์ได้  แต่ ห้องแลปเคมีเป็นห้องที่ใช้สารเคมีที่อันตรายเป็นค่อนข้างมากจึงทำให้ลักษณะภายในห้องโปร่งเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้ดีในการทำการทดลองได้อย่างปลอดภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตรายภายในห้องแลปทั้ง 2 ห้องนี้

อุปกรณ์ในห้องแลปมีอะไรบ้าง

เช็กลิสต์ อุปกรณ์ในห้องแล็ปมีอะไรบ้าง.
อุปกรณ์จำเป็นในห้องแล็ป ที่คุณต้องรู้จัก.
บีกเกอร์ (Beaker).
กระบอกตวง (Cylinder).
ขวดรูปชมพู่ (Erlenmeyer Flask).
หลอดหยด (Dropper).
แท่งแก้วคน (Glass Rod).
หลอดทดลอง (Test Tube).
ตะเกียงบุนเสน (Bunsen Burner).

อุปกรณ์ใดใช้ในการตรวจสอบจุลินทรีย์

กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light microscope) เป็นเครื่องมือสำคัญของนักจุลชีววิทยา เพราะกล้องจุลทรรศน์ช่วยให้ศึกษาโครงสร้างและส่วนประกอบของเซลล์และสิ่งมีชีวิตเล็กที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าได้ กล้องจุลทรรศน์ทั่วไปสามารถขยายภาพได้ 10 - 1,000 เท่า โดยกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการกันอย่างแพร่หลายเป็นแบบเชิงซ้อน ( ...

อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง

มารู้จักกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์กัน (กับ 3 ประเภท ตามการใช้งาน).
ประเภททั่วไป มักจะผลิตมาจากแก้ว ช่วยป้องกันการทำปฏิกิริยากับสารเคมี ซึ่งได้แก่ บีกเกอร์ แท่งแก้วคนสาร หลอดทดลอง หลอดหยดสาร บิวเรต ปิเปตต์ กระบอกตวง เครื่องชั่ง.
ประเภทเครื่องมือช่าง ... .
ประเภทวัสดุสิ้นเปลือง.

ข้อควรระวังในการปฏิบัติการทางจุลชีววิทยามีอะไรบ้าง

สวมเสื้อคลุมปฏิบัติการทุกครั้ง.
ห้ามน าอาหารและเครื่องดื่มมารับประทานในห้องปฏิบัติการ.
วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งของที่ไม่เกี่ยวข้องกับการท าปฏิบัติการให้วางไว้.
ใต้โต๊ะ.
ล้างมือและฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล์ 70 %ก่อนและหลังท าปฏิบัติการ.
ท าความสะอาดโต๊ะปฏิบัติการด้วยแอลกอฮอล์ 70 %ก่อนและหลัง.
ท าปฏิบัติการ.