สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์Bachelor of Science in Computer Science (CS) (English Program)

          CS@SIT หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ‘คอมซายอินเตอร์ บางมด’ จัดการเรียนการสอน Computer Science เป็นภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร มุ่งเน้นผลิตบัณฑิต CS ที่สามารถทำงานในตลาดงานโลกได้อย่างมีสมรรถภาพ มีชุดความคิดเชิงนวัตกรรมที่พร้อมใช้ เน้นเรื่องทำความเข้าใจทฤษฎีทาง Computer Science การพัฒนาซอฟต์แวร์ ระบบฐานข้อมูล ระบบเครือข่าย รวมถึงผลิตซอฟต์แวร์สมัยใหม่ที่มีคุณภาพ รวมถึงคิดค้นและสร้างนวัตกรรมใหม่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน มุ่งเน้นในการเป็นนักวิชาชีพด้าน Computer Science ที่ดี มีความรู้ ความสามารถและทำงานร่วมกับผู้อื่นในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยนักศึกษาทุกคนต้องฝึกงานวิชาชีพภาคฤดูร้ อนอย่างน้อย 300 ชั่วโมง เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความรับผิดชอบและเป็นแบบอย่างที่ดี สร้างสรรค์งานด้าน Computer Science ที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาประเทศต่อไป

โอกาสในการประกอบอาชีพ/Career Opportunities

  • นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Engineer / Developer)
  • โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
  • นักพัฒนาระบบ (System Engineer / Developer)
  • นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
  • ผู้บริหารเครือข่าย (Network Administrator)
  • ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator)
  • ผู้จัดการโครงการ (Project Manager)

คุณสมบัติของผู้สมัคร/Qualifications

  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษา หรือเป็นผู้ที่จะสำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
  2. เกณฑ์การรับสมัคร ผลการเรียน อย่างน้อย 4 ภาคการศึกษา ต้องมีหน่วยกิตขั้นต่ำ ดังนี้ 
    –    กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ต่ำกว่า 12 หน่วยกิต
    –    กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่ต่ำกว่า 20 หน่วยกิต

** ผู้สมัครควรมีความถนัดทางด้านคณิตศาสตร์และสนใจทางด้านคอมพิวเตอร์ มีทักษะภาษาอังกฤษเป็นอย่างดีและต้องผ่านการสอบสัมภาษณ์เป็นภาษาอังกฤษโดยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าผู้สมัครมีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษพร้อมที่จะเรียนสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์**

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ชื่อหลักสูตร
     ภาษาไทย:  วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
     ภาษาอังกฤษ:  Bachelor of Science Program in Computer Science

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
     ชื่อเต็ม (ภาษาไทย):  วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
     ชื่อย่อ (ภาษาไทย):  วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
     ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ):  Bachelor of Science (Computer Science)
     ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ):  B.Sc. (Computer Science)

วิชาเอกของหลักสูตร
  -

จุดเด่นของหลักสูตร

  • คณาจารย์มีความเข้มแข็งทางวิชาการ
  • มีความร่วมมือกับภาคเอกชนทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
  • สถานที่เรียนมีความทันสมัยและตั้งอยู่ใจกลางธุรกิจ
  • ความสัมพันธ์ระหว่างคณาจารย์และนิสิตมีความยั่งยืนตลอดชีวิต

อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
  2. ผู้เชี่ยวชาญซอฟปวร์ประยุกต์
  3. ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อสารข้อมูล
  4. ผู้เชี่ยวชาญด้านฐานข้อมูล
  5. ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยไอที
  6. วิศวกรซอฟต์แวร์
  7. โปรแกรมเมอร์
  8. เว็บมาสเตอร์
  9. ผู้สนับสนุนด้านไอทีหรือเทียบเท่า

3. มีผลงานเขียนโปรแกรมเข้าประกวดระดับนานาชาติ หรือระดับประเทศ หรือระดับพื้นที่ หรือโครงงานเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยลักษณะของผลงานหรือโครงงานต้องใช้ทักษะการเขียนโปรแกรมไม่น้อยกว่า 70% และผู้สมัครต้องเป็นผู้ดำเนินงานหลักในผลงานหรือโครงงานนั้น ๆ

4. วิดีโอคลิปความยาวไม่เกิน 5 นาที แสดงผลงานหรือโครงงานตามข้อ 3 ทุกผลงานหรือโครงงาน ซึ่งเนื้อหาในวิดีโอคลิปต้องมีการอธิบายหลักการการออกแบบและพัฒนา รวมถึง source code ส่วนที่สำคัญของผลงานหรือโครงงานนั้น ๆ

ผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (ไม่รับวุฒิ ปวช.) มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX 5 ภาคเรียน) ไม่ต่ำกว่า 2.75 จะต้องมีหน่วยกิตการเรียนในกลุ่มสาระต่าง ๆ ดังนี้

1.ผ่านการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 10 หน่วยกิต
2.ผ่านการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ทางทางภาษาต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 7 หน่วยกิต
3.มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และด้านภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน กระตือรือร้น
ใฝ่หาความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ มีตรรกะในการวิเคราะห์แก้ปัญหา อย่างเป็นลำดับขั้นตอน และต้องมีความพร้อมที่จะเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา (การปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริงเป็นระยะเวลาประมาณ 4 เดือน)
4.แฟ้มสะสมผลงาน

ผู้สมัครเข้าศึกษาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (ไม่รับวุฒิ ปวช.) มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX 5 ภาคเรียน) ไม่ต่ำกว่า 2.75 จะต้องมีหน่วยกิตการเรียนในกลุ่มสาระต่าง ๆ ดังนี้

1.ผ่านการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 10 หน่วยกิต
2.ผ่านการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ทางทางภาษาต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 7 หน่วยกิต
3.มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และด้านภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน กระตือรือร้น
ใฝ่หาความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ มีตรรกะในการวิเคราะห์แก้ปัญหา อย่างเป็นลำดับขั้นตอน และต้องมีความพร้อมที่จะเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา (การปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริงเป็นระยะเวลาประมาณ 4 เดือน)

ผู้สมัครเข้าศึกษาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (ไม่รับวุฒิ ปวช.) มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX 6 ภาคเรียน) ไม่ต่ำกว่า 2.75 จะต้องมีหน่วยกิตการเรียนในกลุ่มสาระต่าง ๆ ดังนี้

1.ผ่านการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 12 หน่วยกิต
2.ผ่านการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ทางทางภาษาต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 9 หน่วยกิต
3.มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และด้านภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน
กระตือรือร้น ใฝ่หาความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ มีตรรกะในการวิเคราะห์แก้ปัญหา อย่างเป็นลำดับขั้นตอน และต้องมีความพร้อมที่จะเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา (การปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริงเป็นระยะเวลาประมาณ 4 เดือน)

4.ผู้ที่สมัครสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จะต้องมีคะแนนดัง ต่อไปนี้
4.1 ค่าคะแนนวิชา TGAT
4.2 ค่าคะแนนวิชา TPAT3

หลักสูตร/แผนการเรียน

ชื่อปริญญา

ภาษาไทย: วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ชื่อย่อภาษาไทย: วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Science (Computer Science)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ: B.Sc. (Computer Science)

คำอธิบายสาขาวิชา

วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science: CS) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฏีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฏีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้อง เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฏีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และทฤษฏีเครือข่าย

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติ

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติ
 
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร

  1. บัณฑิตมีความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
  2. บัณฑิตมีความสามารถในการวิเคราะห์ปํญหาและเลือกวิธีการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
  3. บัณฑิตมีความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สามารถค้นคว้าหาความรู้ ได้ด้วยตนเอง
  4. บัณฑิตมีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
  5. บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสารและการนำเสนอข้อมูลทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  6. บัณฑิตมีจรรยาบรรณและจริยธรรมในวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

เล่มหลักสูตร

  • วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 (ดาวน์โหลด)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 (ดาวน์โหลด)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 (ดาวน์โหลด)

การเปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฉบับปี 2559 คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

  • วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร์) ฉ.2559

รูปแบบการศึกษา

  • เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
  • ภาษาที่ใช้จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย

โครงสร้างหลักสูตร (132 หน่วยกิต)

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 30 หน่วยกิต

  • กลุ่มวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร 12 หน่วยกิต
  • กลุ่มวิชาอัตลักษณ์และคุณภาพชีวิตบัณฑิตบูรพา 4 หน่วยกิต
  • กลุ่มวิชาทักษะชีวิตและความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 7 หน่วยกิต
  • กลุ่มวิชานวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ 4 หน่วยกิต
  • กลุ่มวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 หน่วยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 96 หน่วยกิต

  • กลุ่มวิชาแกน จำนวน 18 หน่วยกิต
  • กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน จำนวน 57 หน่วยกิต
  • กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก จำนวน 21 หน่วยกิต
  • หมวดเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร/เทอมละประมาณ

ประมาณการค่าใช้จ่าย

  • ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรแบบเหมาจ่าย 184,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 23,000 บาท)

อาจารย์ประจำสาขาวิชา

ชื่อEmailห้องทำงานหมายเหตุผศ.ดร.โกเมศ อัมพวัน[email protected](ประธานหลักสูตรฯ)ดร.พิเชษ วะยะลุน[email protected]
IF-908Eอาจารย์ภูสิต กุลเกษม[email protected]
IF-908Dอาจารย์เบญจภรณ์ จันทรกองกุล[email protected]อาจารย์วรวิทย์ วีระพันธุ์[email protected]อาจารย์จรรยา อ้นปันส์[email protected](เลขานุการหลักสูตร)

อนาคตหลังสำเร็จการศึกษา

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จะเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีทางระบบ คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีเครือข่าย การประยุกต์ใช้ทฤษฎีเพื่อสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อปรับปรุงพัฒนาขั้นตอนวิธี ให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น แต่จะเน้นทักษะด้านซอฟต์แวร์เป็นหลัก ไม่เน้นทางด้านฮาร์ดแวร์ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล สร้างระบบจัดการข้อมูล

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะอะไร

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

เรียนวิทยาการคอมพิวเตอร์ต้องมีความรู้อะไรบ้าง

Computer Sciences จะเรียนเกี่ยวกับระบบของคอมพิวเตอร์และการพัฒนาซอฟแวร์ในเครือข่าย ด้วยการใช้อุปกรณ์และการบริการต่าง ๆ ในสอนการประมวลผลข้อมูลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์และการพัฒนาเครือข่ายของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่าย

วิทย์คอม ม.ปลาย เรียนอะไรบ้าง

ม.4 วิชาพื้นฐานทั่วไป เช่น คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ และวิชาพื้นฐานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ได้แก่ วิชาคอมพิวเตอร์และการซ่อมบำรุง และ คอมพิวเตอร์กราฟิก.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม.
ฟิสิกส์.
ชีววิทยา.
พลศึกษา.
ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาต่อ.
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร.

วิทย์คอม มกใช้คะแนนอะไรบ้าง

1.1 ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) รวม 4 ภาคการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 3.00. 1.2 ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 3.25..
คุณสมบัติทั่วไป.
คุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัคร.
ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สาขาวิชากำหนด.
การสอบสัมภาษณ์.