เฉลยพระพุทธศาสนา ม.1 บทที่2

  1. คำอธิบายรายวิชา
  2. เนื้อหา
    • หน่วยที่ 1 ประวัติและความเป็นมาของพระพุทธศาสนา
      • ประวัติและการสังคายนา  / แบบฝึกหัด
      • การสังคายนาในประเทศไทย / แบบฝึกหัด
      • การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย  /  แบบฝึกหัด
      • ความสำคัญของพระพุทธศาสนา  / แบบฝึกหัด
      • วิเคราะห์พุทธประวัติ  / แบบฝึกหัด
      • แบบทดสอบ
    • หน่วยที่ 2 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
      • พุทธคุณ 9 / แบบฝึกหัด
      • อริยสัจ 4 / แบบฝึกหัด
        • ทุกข์ / แบบฝึกหัด
        • สมุทัย / แบบฝึกหัด
        • นิโรธ  / แบบฝึกหัด
        • มรรค  / แบบฝึกหัด
      • การคบบัณฑิต / แบบฝึกหัด
      • บูชาผู้ควรบูชา  / แบบฝึกหัด
      • พุทธศาสนสุภาษิต / แบบฝึกหัด
      • แบบทดสอบ
    • หน่วยที่ 3 
      • ประวัติพุทธสาวก
        • พระมหากัสสปะ /แบบฝึกหัด
        • พระอุบาลี /แบบฝึกหัด
        • อนาถบิณฑิกเศรษฐี /แบบฝึกหัด
      • ประวัติพุทธสาวิกา
        • นางวิสาขา /แบบฝึกหัด
      • ชาดก
        • อัมพชาดก /แบบฝึกหัด
        • ติตติรชาดก /แบบฝึกหัด
      • แบบทดสอบ
    • หน่วยที่ 4 หน้าที่ชาวพุทธ / แบบฝึกหัด
      • การปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม / แบบฝึกหัด
      • การเป็นเพื่อนที่ดี / แบบฝึกหัด
      • การเข้าร่วมพิธีกรรม / แบบฝึกหัด
      • การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ / แบบฝึกหัด
      • การไปวัด / แบบฝึกหัด
      • การแสดงความเคารพ / แบบฝึกหัด
      • การฟังเจริญพระพุทธมนต์ / แบบฝึกหัด
      • ชาวพุทธตัวอย่าง / แบบฝึกหัด
      • แบบทดสอบ
    • หน่วยที่ 5 การบริหารจิตและเจริญปัญญา / แบบฝึกหัด
      • การสวดมนต์ การแผ่เมตตา  / แบบฝึกหัด
      • วิธีปฏิบัติและประโยชน์ / แบบฝึกหัด
      • การบริหารจิตฯ หลักสติปัฏฐาน/ แบบฝึกหัด
      • วิธีการนำการไปใช้ในชีวิตประจำวัน / แบบฝึกหัด
      • วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ/ แบบฝึกหัด
      • แบบทดสอบ
    • หน่วยที่ 6 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา / แบบฝึกหัด
      • แบบทดสอบ
    • หน่วยที่ 7 สัมมนาพระพุทธศาสนาฯ / แบบฝึกหัด
      • แบบทดสอบ

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

Like Loading...

สารบัญ ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา พุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก ๒หน่วยการเรียนรู้ที่ หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๓หน่วยการเรียนรู้ที่ พุทธศาสนสุภาษติ ๔หน่วยการเรียนรู้ที่ หน้าท่ชี าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ๕หน่วยการเรียนรู้ที่ วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาและศาสนพธิ ี ๖หน่วยการเรียนรู้ท่ี การบริหารจติ และการเจริญปัญญา ๗หน่วยการเรียนรู้ที่ ศาสนสัมพนั ธ์ ๘หน่วยการเรียนรู้ที่

๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ประวตั แิ ละความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาไดก้ ่อกาเนิดข้ึน ในประเทศอินเดียมากว่า ๒,๕๐๐ ปี โดยหลงั จากการทาสังคายนาคร้ังที่ ๓ พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผไ่ ปยงั ดินแดน ต่างๆ รวมถึงดินแดนสุวรรณภูมิด้วย นบั จากน้นั มาชาวไทยส่วนใหญ่ก็ ไดย้ อมรับนบั ถือพระพทุ ธศาสนามาเป็น หลกั ในการดาเนินชีวติ

๑. การทาสังคายนา การทาสงั คายนา หมายถึง การร้อยกรองหรือการจดั หมวดหมู่พระธรรมวนิ ยั ซ่ึงการ ทาสงั คายนา ไดม้ ีการกระทาติดต่อกนั มาหลายคร้ังเป็นระยะ ท้งั ในประเทศอินเดียและประเทศ อื่นๆ รวมท้งั สิ้น ๑๐ คร้ัง

การทาสังคายนา คร้ังที่ ๑ สาเหตุ เนื่องจากพระภิกษุช่ือ สุภทั ทะ ไดก้ ล่าววาจาดูหมิ่นพระพทุ ธองค์ และแสดงความดี ใจเมื่อไดย้ นิ ข่าววา่ พระพทุ ธเจา้ ปรินิพพาน พระมหากสั สปะเกรงวา่ จะทาใหพ้ ระธรรมวนิ ยั เส่ือมสูญจึงเรียกประชุมพระสงฆเ์ พอ่ื การทาสงั คายนา เวลาทกี่ ระทา เร่ิมหลงั จากพระพทุ ธเจา้ ปรินิพพานได้ ๓ เดือน กระทาอยู่ ๗ เดือน จึงสาเร็จ พระสงฆผ์ กู้ ระทา มีพระมหากสั สปะเป็นประธาน พระอุบาลีเป็นผตู้ อบดา้ นพระวินยั และ พระอานนทเ์ ป็นผตู้ อบพระธรรม และมีพระสงฆเ์ ขา้ ร่วมการสงั คายนา จานวน ๕๐๐ รูป สถานทแี่ ละผู้อุปถัมภ์ ถ้าสตั ตบรรณ ขา้ งภูเขาเวภาระ ใกลก้ รุงราชคฤห์ โดยมีพระเจา้ อชาติศตั รู เป็นองคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังท่ี ๒ สาเหตุ เนื่องจากกลุ่มพระภิกษุท่ีชื่อวา่ พระวชั ชีบุตร ปฏิบตั ิหยอ่ นทางวนิ ยั ๑๐ ประการ พระยสกากณั ฑบุตรจึงชกั ชวนพระเถระใหร้ ่วมวนิ ิจฉยั แกค้ วามผดิ คร้ังน้ี เวลาทกี่ ระทา กระทาใน พ.ศ. ๑๐๐ และกระทาอยู่ ๘ เดือน จึงเสร็จ พระสงฆ์ผู้กระทา พระยสกากณั ฑบุตรเป็นผชู้ กั ชวนพระเถระท้งั หลายใหก้ ระทาสงั คายนา พระเรวตะเป็นผซู้ กั ถาม และพระสพั พกามีเป็นผตู้ อบปัญหาเก่ียวกบั พระธรรมวนิ ยั โดยมี พระสงฆร์ ่วมประชุมกนั ๗๐๐ รูป สถานทแ่ี ละผู้อุปถมั ภ์ วาลิการาม เมืองเวสาลี แควน้ วชั ชี โดยมีพระเจา้ กาฬาโศกเป็นองค์ อุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังท่ี ๓ สาเหตุ มีพวกนอกศาสนาปลอมเขา้ มาบวชในพระพทุ ธศาสนามาก จนอาจทาให้ พระพทุ ธศาสนามวั หมองได้ พระโมคคลั ลีบุตรติสสเถระจึงคิดท่ีจะทาการสงั คายนา เวลาทกี่ ระทา กระทาใน พ.ศ. ๒๓๔ (บางแห่งวา่ พ.ศ. ๒๓๕) และกระทาอยู่ ๙ เดือน จึงเสร็จ พระสงฆ์ผู้กระทา พระโมคคลั ลีบุตรติสสเถระเป็นประธาน และมีพระสงฆเ์ ขา้ ร่วมประชุม ๑,๐๐๐ รูป สถานทแี่ ละผู้อุปถัมภ์ อโศการาม กรุงปาฏลีบุตร โดยมีพระเจา้ อโศกมหาราชเป็นองคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังที่ ๔ สาเหตุ ตอ้ งการวางรากฐานพระพทุ ธศาสนาในประเทศลงั กา เวลาทกี่ ระทา เร่ิมกระทาใน พ.ศ. ๒๓๘ไม่ปรากฏวา่ ใชร้ ะยะเวลาเท่าใด พระสงฆ์ผู้กระทา พระมหินทเถระเป็นประธาน พระอริฏฐะเป็นผสู้ วดวนิ ยั และมีพระสงฆร์ ่วม ประชุมท้งั สิ้น ๖๘,๐๐๐ รูป สถานทแ่ี ละผู้อุปถมั ภ์ ถูปาราม เมืองอนุราธปุระ ประเทศลงั กา พระเจา้ เทวานมั ปิ ยะติสสะ เป็น องคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังท่ี ๕ สาเหตุ พระสงฆใ์ นลงั กาเห็นพอ้ งวา่ พระพทุ ธวจนะท่ีถ่ายทอดมาเป็นเวลานานอาจขาดตก บกพร่องได้ ประกอบกบั สถานการณ์ทางการเมืองตอนน้นั อยใู่ นความไม่สงบ จึงมีการจดบนั ทึก พระไตรปิ ฎกเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร เวลาทก่ี ระทา เริ่มกระทาใน พ.ศ. ๒๓๓ (บางแห่งวา่ พ.ศ. ๔๕๐ ) ไม่ปรากฏวา่ ใชร้ ะยะเวลา เท่าใด พระสงฆ์ผู้กระทา พระสงฆช์ าวลงั กา สถานทแ่ี ละผู้อุปถัมภ์ อาโลกเลณสถาน มตเลณชนบท ประเทศลงั กา พระเจา้ วฏั ฏคามณีอภยั เป็นองคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังท่ี ๖ สาเหตุ ในประเทศอินเดียมีแต่เพียงพระไตรปิ ฎก ไม่มีอรรถกถา พระพทุ ธโฆษาจารย์ จึงทาการ แปลพระอรรถกถาพระไตรปิ ฎกจากภาษาลงั กาเป็นภาษาบาลี เวลาทก่ี ระทา เร่ิมกระทาใน พ.ศ. ๙๕๖ ไม่ปรากฏวา่ ใชร้ ะยะเวลาเท่าใด พระสงฆ์ผู้กระทาพระพทุ ธโฆษาจารย์ และพระเถระแห่งวดั มหาวหิ ารจานวนหน่ึง สถานทแี่ ละผู้อุปถมั ภ์ วดั มหาวหิ าร ประเทศศรีลงั กา โดยมีพระเจา้ มหานามเป็นองคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังท่ี ๗ สาเหตุ ในลงั กายงั ขาดคมั ภีร์ฎีกา พระเถระท้งั หลายจึงประชุมกนั เพอื่ รจนาคมั ภรี ์ข้ึน เวลาทกี่ ระทา เริ่มกระทาใน พ.ศ. ๑๕๘๗ ไม่ปรากฏวา่ ใชร้ ะยะเวลาเท่าใด พระสงฆ์ผู้กระทา พระกสั สปะเถระเป็นประธานสงฆ์ ร่วมกบั พระสงฆอ์ ีก จานวน ๑,๐๐๐ รูป สถานทแ่ี ละผู้อุปถมั ภ์ ประเทศศรีลงั กา โดยมีพระเจา้ ปรากรมพาหุมหาราชเป็นองคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังที่ ๘ สาเหตุ พระไตรปิ ฎกยงั ขาดตกบกพร่อง ผดิ เพ้ยี น และไม่ครบ พระเถระผทู้ รงพระไตรปิฎก หลายร้อยรูป จึงร่วมกนั ชาระพระไตรปิ ฎกใหส้ มบูรณ์ยง่ิ ข้ึน เวลาทกี่ ระทา เริ่มกระทาใน พ.ศ. ๒๐๒๐ ใชเ้ วลากระทา ๑ ปี จึงแลว้ เสร็จ พระสงฆ์ผู้กระทา พระธรรมทินนเถระเป็นประธานสงฆ์ ทาร่วมกบั พระเถระหลายร้อยรูป สถานทแ่ี ละผู้อุปถมั ภ์ วดั โพธาราม จงั หวดั เชียงใหม่ ประเทศไทย (เป็นการสงั คายนาคร้ังแรก ในประเทศไทย) โดยมีพระเจา้ ติโลกราชเป็นองคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังที่ ๙ สาเหตุ พระผใู้ หญถ่ ูกถอดถอนและจบั ศึก เพราะประพฤติหยอ่ นในธรรมวนิ ยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงมีพระราชประสงคใ์ หช้ าระลา้ งพระไตรปิ ฎกข้ึน เวลาทก่ี ระทา เริ่มกระทาใน พ.ศ. ๒๓๓๑ ใชเ้ วลากระทา ๕ เดือน จึงแลว้ เสร็จ พระสงฆ์ผู้กระทา พระเถระ ๒๑๘ รูป และบณั ฑิตคฤหสั ถ์ อีก ๓๒ คน สถานทแ่ี ละผู้อุปถมั ภ์ วดั มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎ์ิ โดยมีพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชเป็นองคอ์ ุปถมั ภ์

การทาสังคายนา คร้ังท่ี ๑๐ สาเหตุ เพ่ือชาระพระไตรปิ ฎก แลว้ จดั พิมพใ์ นวโรกาสท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาล ปัจจุบนั ทรงเจริญพระชนมายคุ รบ ๖๐ พรรษาใน พ.ศ. ๒๕๓๐ เวลาทก่ี ระทา เร่ิมกระทาใน พ.ศ. ๒๓๒๘ ไม่ปรากฏระยะเวลาที่กระทา พระสงฆ์ผู้กระทา สมเดจ็ พระสงั ฆราชเป็นองคป์ ระมุข ร่วมกบั พระสงฆท์ ้งั ฝ่ายมหานิกาย และ ธรรมยตุ ิกนิกาย สถานทแ่ี ละผู้อุปถมั ภ์ วดั มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎ์ิ โดยมีรัฐบาลเป็นผอู้ ุปถมั ภ์

๒. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย การนบั ถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยน้นั สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ยคุ ดงั น้ี ยคุ เถรวาทสมยั พระเจา้ อโศกมหาราช ยคุ มหายาน ยคุ เถรวาทแบบพกุ าม ยคุ เถรวาทแบบลงั กาวงศ์

ยุคเถรวาทสมยั พระเจ้าอโศกมหาราช ในสมยั ของพระเจา้ อโศกมหาราช พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการทานุบารุงจนมีความรุ่งเรือง อยา่ งมาก พระราชกรณียกิจที่สาคญั ของพระองค์ คือ ทรงจดั ใหม้ ีการทาสงั คายนา คร้ังที่ ๓ และไดส้ ่งคณะ สมณทูตเดินทางไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนายงั ดินแดนต่างๆ รวมถึงดินแดนอนั เป็นที่ต้งั ของประเทศไทยในปัจจุบนั ดว้ ย

ยุคมหายาน ประมาณ พ.ศ. ๑๓๐๐ อาณาจกั รศรีวชิ ยั เรืองอานาจมาก มีอิทธิพลครอบคลุมพ้นื ท่ีทางคาบสมุทรตอนใต้ ท้งั น้ีกษตั ริย์ ศรีวชิ ยั นบั ถือพระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน จึงทาใหพ้ ้ืนที่ภาคใต้ ของไทยท่ีอยใู่ นอาณาจกั รของพระองค์ ต่างนบั ถือนิกายมหายาน ตามไปดว้ ย ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๑๕๕๐ กษตั ริยก์ มั พชู าผทู้ รง นบั ถือพระพทุ ธศาสนานิกายมหายานเรืองอานาจ ไดแ้ ผข่ ยาย อิทธิพลมายงั ดินแดนละโว้ (ลพบุรี) จึงทาใหเ้ กิดการนบั ถือ พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานในบริเวณน้ีข้ึน

ยุคเถรวาทแบบพกุ าม ประมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐ พระเจา้ อนุรุทธมหาราช พระมหากษตั ริยแ์ ห่งพกุ าม ไดแ้ ผข่ ยายอานาจเขา้ ครอบครอง อาณาจกั รทางตอนเหนือของประเทศไทย จึงทาให้ พระพทุ ธศาสนาแบบเถรวาทเฟื่ องฟูในพ้นื ที่แถบน้ี โดยเรียกวา่ “นิกายเถรวาทแบบพกุ าม” หลกั ฐานสาคญั ที่พบในบริเวณน้ี เช่น เจดียว์ ดั เจด็ ยอด จงั หวดั เชียงใหม่ ที่สร้างเลียนแบบ เจดียพ์ ทุ ธคยาในอินเดีย เป็นตน้

ยุคเถรวาทแบบลงั กาวงศ์ ใน พ.ศ. ๑๖๙๖ พระเจา้ ปรากรมพาหุมหาราช กษตั ริยล์ งั กา ไดท้ รงทานุบารุง พระพทุ ธศาสนา โดยรวมพระสงฆเ์ ป็นนิกายเดียว และโปรดใหม้ ีการสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั คร้ังท่ี ๗ ข้ึน ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมากท้งั ดา้ นการศึกษาและปฏิบตั ิ สาหรับประเทศไทย ไดน้ บั ถือพระพทุ ธศาสนาแบบลงั กาวงศเ์ ป็นศาสนาประจาชาติ จนถึงปัจจุบนั แบ่งเป็นสมยั ต่างๆ ดงั น้ี ๑. สมยั สุโขทยั ๒. สมยั ลา้ นนา ๓. สมยั อยธุ ยา ๔. สมยั ธนบุรี ๕. สมยั รัตนโกสินทร์

๓. ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทย พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาหลกั ของสงั คมไทย หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนามี ความสมั พนั ธต์ ่อการดาเนินชีวติ ของคนไทยมาโดยตลอด ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทยสามารถแบ่งไดเ้ ป็น ๓ ดา้ น ดงั น้ี • ในฐานะท่ีเป็นศาสนาประจาชาติ • เป็นสถาบนั หลกั ของสงั คมไทย • เป็นสภาพแวดลอ้ มที่กวา้ งขวางครอบคลุมสงั คมไทย

พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาตไิ ทย เหตุผลของการยอมรับนบั ถือพระพทุ ธศาสนามาเป็นศาสนาประจาชาติ มีดงั น้ี ๑. คนไทยส่วนใหญ่ใหก้ ารยอมรับนบั ถือ ๒. มีสญั ลกั ษณ์แทนพระพทุ ธศาสนาในสถานท่ีราชการ ๓. พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นพทุ ธมามกะและอคั รศาสนูปถมั ภก ๔. กาหนดใหว้ นั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาเป็นวนั หยดุ ราชการ

พระพุทธศาสนาเป็ นสถาบนั หลกั ของสังคมไทย เหตุผลของการยอมรับนบั ถือพระพทุ ธศาสนามาเป็นศาสนาประจาชาติ มีดงั น้ี ๑. พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบนั คู่ชาติไทย ๒. พระมหากษตั ริยไ์ ทยทรงเป็นพทุ ธมามกะ ๓. พระมหากษตั ริยไ์ ทยทรงอคั รศาสนูปถมั ภก ๔. รัฐบาลไทยส่งเสริมสนบั สนุนพระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนาเป็ นสภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลมุ สังคมไทย เหตุผลของการที่พระพทุ ธศาสนาเป็นสภาพแวดลอ้ มที่กวา้ งขวางและครอบคลุม สงั คมไทย มีดงั น้ี ๑. มีวดั และสานกั สงฆม์ ากมายทวั่ ประเทศ ๒. มีปูชนียสถานและปูชนียวตั ถุมากมาย ๓. มีประเพณีและพธิ ีกรรมต่างๆ ของไทย ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนา ๔. ลกั ษณะนิสยั และมารยาทของคนไทยมีรากฐานจากพระพทุ ธศาสนา ๕. ภาษาและวรรณคดีไทยมีอิทธิพลมาจากพระพทุ ธศาสนา ๖. การนบั ศกั ราชของไทยใชห้ ลกั การนบั แบบพทุ ธศกั ราช

๔. พระพุทธศาสนากบั การพฒั นาตนเองและครอบครัว พระพทุ ธศาสนากบั การพฒั นาตน การพฒั นาตนน้นั มองได้ ๒ ทาง คือ พฒั นาตนใหเ้ ป็นคนดี กบั การพฒั นาตนให้ เป็นคนเก่ง มีความสามารถ ซ่ึงการพฒั นาตนท้งั ๒ ทางน้ี สามารถ นาหลกั ธรรมทาง พระพทุ ธศาสนามาใช้ ซ่ึง สามารถสรุปได้ ดงั น้ี การพฒั นาตนเป็ นคนดี หลกั ธรรมที่สามารถนามาใช้ ไดแ้ ก่ เบญจศีล เบญจธรรม • เวน้ จากการฆ่า • เวน้ จากการฆ่า • เวน้ จากการถือเอาส่ิงของที่เขามิไดใ้ ห้ • เวน้ จากการถือเอาส่ิงของที่เขามิไดใ้ ห้ • เวน้ จากการประพฤติผดิ ในกาม • เวน้ จากการประพฤติผดิ ในกาม • เวน้ จากการพดู เทจ็ • เวน้ จากการพดู เทจ็ • เวน้ จากการดื่มน้าเมา • เวน้ จากการด่ืมน้าเมา

การพฒั นาตนให้เป็ นคนเก่งมคี วามสามารถ หลกั ธรรมที่สามารถนามาใช้ ไดแ้ ก่ อิทธิบาท ๔ • ฉนั ทะ คือ ความมีใจรักในส่ิงท่ีกาลงั ต้งั ใจทา • วริ ิยะ คือ ความพยายามเขม้ แขง็ อดทนที่จะทา • จิตตะ คือ ความต้งั ใจแน่วแน่ท่ีจะทา • วมิ งั สา คือ การวางแผน ไตร่ตรองตามเหตุผล พละ ๕ • สทั ธา คือ ความเช่ือมน่ั ในส่ิงที่ตนกาลงั ทา • วริ ิยะ คือ ความเพยี ร • สติ คือ ความระลึกไดไ้ ม่ประมาท • สมาธิ คือ มีจิตใจต้งั มนั่ • ปัญญา คือ มีความรู้ชดั เจนเก่ียวกบั เร่ืองท่ีทา

พระพุทธศาสนากบั การพฒั นาครอบครัว หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาที่ส่งเสริมใหม้ นุษยพ์ ฒั นาครอบครัวมีอยมู่ ากมาย ซ่ึงหลกั ธรรมท่ีน่าสนใจ มีดงั น้ี กลุ จิรัฏฐิตธิ รรม ๔ ประการ เป็นหลกั ธรรมเพ่อื พฒั นาใหส้ กลุ ยง่ั ยนื มี ๔ ประการ ดงั น้ี ๑. ของหมดใหร้ ู้จกั หามาไว้ ๒. ของเก่ารู้จกั บูรณะซ่อมแซม ๓. รู้จกั ประมาณการกินการใช้ ๔. ต้งั ผมู้ ีศีลธรรมเป็นพอ่ บา้ นแม่เรือน

๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี พุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก การศึกษาพทุ ธประวตั ิ ประวตั ิพระสาวก ศาสนิกชนตวั อยา่ ง และชาดกต่างๆ มีความสาคญั ดงั น้ี • ช่วยทาใหเ้ ราเห็นแบบอยา่ งในการดาเนินชีวติ ท่ีดี มีคุณค่า • สามารถนาไปใชเ้ ป็นแบบยา่ งในการดาเนินชีวติ ของเรา • เพอ่ื การดารงชีวติ ไดอ้ ยา่ งสงบสุขและ เจริญรุ่งเรือง

๑. พุทธประวตั ิ พทุ ธประวตั ิ เป็นเรื่องราวความเป็นมาของพระพทุ ธเจา้ ต้งั แต่ประสูติ เสดจ็ ออกผนวช ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา ประกาศพระศาสนา จนถึงปรินิพพาน

ประสูติ พระพทุ ธเจา้ ทรงมีพระนามเดิมวา่ สิทธัตถะ (แปลวา่ ผสู้ าเร็จในสิ่งที่ประสงค)์ ประสูติเมื่อวนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ โดย พราหมณ์ผเู้ ช่ียวชาญไดท้ านายวา่ หากเจา้ ชายสิทธตั ถะครองเรือน จะเป็นพระเจา้ จกั รพรรดิผยู้ งิ่ ใหญ่ หากเสดจ็ ออกผนวชจะไดเ้ ป็น ศาสดาเอกของโลก เจา้ ชายสิทธตั ถะไดร้ ับการศึกษาศิลปวทิ ยาเกือบทุกแขนง เมื่อพระชนมายไุ ด้ ๑๖ พรรษา กท็ รงอภิเษกสมรสกบั พระนางยโสธรา หรือพมิ พา มีพระโอรสพระนามวา่ ราหุล

เสดจ็ ประพาสอทุ ยาน คร้ังหน่ึงเจา้ ชายสิทธตั ถะเสดจ็ ประพาส อุทยาน ทอดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจบ็ คนตาย และสมณะตามลาดบั จึงทรงดาริวา่ ชีวติ ของทุกคนตอ้ งตกอยู่ ในสภาพเช่นน้นั ไม่มีใครหลีกเล่ียงได้ และวถิ ีทาง ท่ีจะพน้ ทุกขเ์ ช่นน้ี คือ ตอ้ งสละเพศผคู้ รองเรือน

ออกผนวช ในที่สุดพระองคก์ ต็ ดั สินพระทยั เสดจ็ ออกผนวช และเสดจ็ ไปศึกษายงั สานกั ต่างๆ เมื่อ ทรงเห็นวา่ ไม่ใช่ทางตรัสรู้ พระองคจ์ ึงเปลี่ยนมาใชว้ ธิ ีบาเพญ็ ทุกกรกิริยา ถงึ กระน้นั กย็ งั ไม่พบ ทางตรัสรู้ จึงดาริวา่ ไม่ใช่ทางท่ีถูกตอ้ ง จึงทรงเลิกแลว้ กลบั มาเสวยพระกระยาหารตามเดิม ทาใหป้ ัญจวคั คียท์ ี่คอยปรนนิบตั ิเสื่อมศรัทธาและพากนั หนีไป

ตรัสรู้ พระสิทธตั ถะทรงบาเพญ็ เพียรทางจิตจนความรู้แจ่มแจง้ น้นั ปรากฏข้ึน สิ่งท่ี พระองคต์ รัสรู้เรียกวา่ อริยสัจ มี ๔ ประการ ไดแ้ ก่ • ทุกข์ คือ ความทุกข์ • สมุทยั คือ สาเหตุของทุกข์ • นิโรธ คือ ความดบั ทุกข์ • มรรค คือ ทางดบั ทุกข์

ทรงประกาศพระศาสนาและมอบความเป็ นใหญ่ให้พระสงฆ์ เม่ือตรัสรู้แลว้ พระพทุ ธเจา้ ทรงพิจารณาธรรมเป็นเวลา ๗ วนั ก่อนเสดจ็ ไปเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา โดยแสดงธรรมโปรดปัญจวคั คีย์ การแสดงธรรมคร้ังน้ีเรียกวา่ “ปฐมเทศนา” ธรรมที่ทรงแสดงเรียกวา่ “ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสูตร”

ภายหลงั การตรัสรู้ • ภายหลงั การตรัสรู้ มีผเู้ ล่ือมใสศรัทธาเขา้ มาขอบวชเป็นจานวนมาก การบวชในระยะแรก พระพทุ ธเจา้ จะทรงบวชให้ เรียกวา่ “เอหิภกิ ขุอุปสัมปทา” • ต่อมาพระองคม์ อบหนา้ ท่ีน้ีใหพ้ ระสาวก เรียกวา่ “ติสรณคมนูปสัมปทา” • ต่อมาทรงมอบหมายใหค้ ณะสงฆเ์ ป็นผดู้ าเนินการ เรียกวา่ “ ญตั ติจตุตถกรรมอุปสัมปทา”

ปรินิพพาน ทรงสถาปนาพทุ ธบริษทั ๔ ข้ึน ไดแ้ ก่ เมื่อแต่ละบริษทั กม็ ีความรู้ความสามารถท่ีจะ  ภิกษุ  ภิกษุณี สืบสานเจตนารมณ์ของพระองค์ และสืบทอด  อุบากสก พระพุทธศาสนาให้ยืนยาวต่อไปได้ พระองค์จึง  อุบาสิกา ตดั สินพระทยั เสด็จดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน ในวนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ พระพทุ ธรูปปางปรินิพพาน เมืองกสุ ินารา ประเทศอนิ เดยี

บทวเิ คราะห์พระพทุ ธประวตั ิ พทุ ธประวตั ติ อนประสูติ • พระนางสิริมหามายาทรงพระสุบินเห็นชา้ งเผอื ก สามารถตีความไดว้ า่ ชา้ งเผอื กเป็นสญั ลกั ษณ์ ของบารมี เป็นสญั ลกั ษณ์แห่งความยงิ่ ใหญ่ ยอ่ มแปลความหมายไดว้ า่ การเสดจ็ อุบตั ิข้ึนของ พระพทุ ธเจา้ คือ การเกิดของพระมหาบุรุษท่ียง่ิ ใหญ่ • เจา้ ชายสิทธตั ถะเสดจ็ พระดาเนิน ๗ กา้ ว อาจเป็นนิมิตหมายใหร้ ู้วา่ พระพทุ ธเจา้ จะไดท้ รง ประกาศศาสนาใหข้ ยายกวา้ งไปใน ๗ แควน้ หรือตีความไดว้ า่ จะทรงบรรลุโพชฌงค์ ๗ คือ ธรรม ท่ีเป็นองคแ์ ห่งการตรัสรู้

พทุ ธประวตั ติ อนทอดพระเนตรเห็นพระเทวทูต • การเห็นภาพคนเจบ็ คนแก่ คนตาย ทาใหพ้ ระองคค์ ิดพิจารณาใคร่ครวญไตร่ตรองจนเห็น ความจริงของชีวติ คือ การเกิด แก่ เจบ็ ตาย เป็นเร่ืองธรรมชาติท่ีทุกคนมิอาจหลีกเลี่ยงได้

พทุ ธประวตั ติ อนทรงแสวงหาความรู้ และการบาเพญ็ ทุกกรกริ ิยา • การบาเพญ็ ทุกกรกิริยาน้นั เป็นการทรมานตนเอง ทาใหส้ มองและร่างกายไม่มีกาลงั คิดหรือ ทาสิ่งใดเพอ่ื แสวงหาความจริงแห่งการดบั ทุกขไ์ ด้ • เม่ือพระองคท์ รงคน้ พบวา่ ทุกส่ิงตอ้ งกระทาอยา่ งพอเหมาะพอดี จึงจะสาเร็จผล ส่งผลให้ พระองคค์ น้ พบหลกั ธรรมมชั ฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง

๒. ประวตั พิ ุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า พระมหากสั สปะ พระมหากสั สปะ มีนามเดิมวา่ ปิ ปผลิ ท่านมีนิสยั ชอบความสงบ ชอบปลีกตวั อยตู่ ามป่ า และถือธุดงคอ์ ยา่ งเคร่งครัด คุณธรรมทค่ี วรถือเป็ นแบบอย่าง • เป็นบุตรที่ดีของบิดามารดา • เป็นผมู้ ีสจั จะ • เป็นผมู้ ีความกตญั ญูกตเวทีอยา่ งยงิ่ • มีชีวติ เรียบง่าย • เป็นตวั อยา่ งในทางท่ีดีงาม

พระอุบาลี พระอุบาลี เป็นผทู้ รงอภิญญาและแตกฉานในปฏิสมั ภิทา ๔ มีความสนใจในพระวนิ ยั เป็น พเิ ศษ ไดศ้ ึกษาพระวนิ ยั จากพระพทุ ธองคจ์ นมีความเช่ียวชาญ มีความสามารถในการพิจารณาอธิกรณ์ เป็นเอตทคั คะดา้ นพระวนิ ยั คุณธรรมทค่ี วรถือเป็ นแบบอย่าง • เป็นผเู้ ชี่ยวชาญพระวนิ ยั • เป็นครูท่ีดี • ใฝ่ความรู้เสมอ

อนาถบิณฑิกะเศรษฐี อนาถบิณฑิกเศรษฐี มีนามเดิมวา่ สุทตั ตะ เป็นผใู้ จบุญสุนทาน โดยไดต้ ้งั โรงทาน ใหแ้ ก่ยาจกวณิพกเป็นประจา จึงเป็นที่มาของชื่อ อนาถบิณฑิกะ (ผมู้ ีกอ้ นขา้ วเพ่อื คน อนาถา) คุณธรรมทค่ี วรถือเป็ นแบบอย่าง • เป็นผมู้ น่ั คงในการทาบุญ • เป็นทายกตวั อยา่ ง • เป็นพอ่ ท่ีดีของลูก • เป็นผมู้ ีความต้งั ใจแน่วแน่

นางวสิ าขา เมื่ออายุ ๗ ขวบ นางวสิ าขาไดฟ้ ังธรรมจากพระพทุ ธเจา้ และบรรลุโสดาบนั กล่าวกนั วา่ นางวสิ าขาน้นั มีลกั ษณะงามพร้อม ๕ ประการ เรียกวา่ “เบญจกลั ยาณี” นางวสิ าขาเป็นสาวิกาที่มนั่ คง ในพระรัตนตรัยมาก นางไดข้ อพรจากพระพทุ ธเจา้ ๘ ประการ เป็นเอตทคั คะ ดา้ นการถวายทาน คุณธรรมทคี่ วรถือเป็ นแบบอย่าง • มีคารวธรรมอยา่ งยง่ิ • เป็นผมู้ ีปัญญาและมีกศุ โลบายในการแนะนาคนเขา้ หาพระธรรม • จริงใจต่อเพอ่ื นและช่วยเหลือเพื่อนเสมอ • เป็นสาวกิ าที่มน่ั คงในพระรัตนตรัย • ช่วยปกป้องพระศาสนา • เป็นผมู้ ีวจิ ารณญาณรอบคอบยง่ิ

๓. ศาสนิกชนตวั อย่าง พระเจ้าอโศกมหาราช พระเจา้ อโศกมหาราชเป็นพระราชโอรสของ พระเจา้ พนิ ทุสาร เมื่อพระราชบิดาสวรรคต พระเจา้ อโศก ไดส้ าเร็จโทษพระภาดาต่างพระชนนีถึง ๙๙ พระองค์ ตอ่ มา ไดป้ ราบดาภิเษกข้ึนเป็นกษตั ริย์ ดว้ ยเหตุน้ี จึงทรงมี ช่ือเรียกขานอีกอยา่ งหน่ึงวา่ “จัณฑาโศก” แปลวา่ “อโศกผู้ โหดร้าย” ต่อมาเมื่อพระองคห์ นั มานบั ถือพระพทุ ธศาสนา แลว้ ทรงประกอบกรรมอนั เป็นกศุ ลเป็นอนั มาก ทรงทานุ บารุงพระพทุ ธศาสนาเป็นการใหญจ่ นไดพ้ ระนามใหม่วา่ “ธรรมโศก” แปลวา่ “อโศกผู้ทรงธรรม” เสาหินอโศก

เป็นผมู้ นั่ คงในพระรัตนตรัยและ ทรงมีความรับผดิ ชอบอยา่ งยง่ิ เป็ นอุบาสกที่ดี คุณธรรมทค่ี วรถือเป็ นแบบอย่าง ของพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงมีน้าพระทยั กวา้ งขวางให้ ทรงเป็ นมหาราชในอุดมคติ เสรีภาพในการนบั ถือศาสนา

พระโสณะและพระอุตตระ พระโสณะและพระอุตตระเป็นชาวชมพทู วปี มีชีวติ อยใู่ นรัชสมยั ของพระเจา้ อโศกมหาราช เป็นผแู้ ตกฉานในพระไตรปิ ฎก มีส่วนร่วมในการสงั คายนาคร้ังที่ ๓ เมื่อเสร็จสิ้นการสงั คายนา ไดร้ ับ การแต่งต้งั เป็นธรรมทูตเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศต่างๆ คุณธรรมทคี่ วรถือเป็ นแบบอย่าง • เป็นสาวกท่ีดีของพระพทุ ธเจา้ • เป็นผมู้ ีขนั ติธรรมสูงยงิ่ • เป็นผมู้ ีความสามารถในการถ่ายทอดพระธรรม

๔. ชาดก อมั พชาดก อมั พชาดกใหข้ อ้ คิดวา่ ความกตญั ญูกตเวที รู้คุณคน และตอบแทนพระคุณเป็น พ้ืนฐานของคนดี

ตติ ติรชาดก ติตติรชาดก ใหข้ อ้ คิดในเร่ืองการเคารพนบนอบผอู้ าวโุ ส จะทาใหเ้ กิดความยาเกรง เชื่อฟัง และสามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติสุข ดงั ท่ีพระพทุ ธเจา้ ไดต้ รัสวา่ “ คนเหล่าใดฉลาดในธรรม เคารพนบนอ้ มต่อผเู้ จริญดว้ ยวยั วฒุ ิ คนเหล่าน้นั ยอ่ มไดร้ ับ ยกยอ่ งสรรเสริญในปัจจุบนั และมีทางไปท่ีดี ไดร้ ับความเจริญต่อไปในภายภาคหนา้ ”

๓หน่วยการเรียนรู้ที่ หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ศาสนาทุกศาสนายอ่ มมีหลกั คาสอน อนั เป็ นหวั ใจของศาสนา สาหรับพระพุทธศาสนาน้นั พระพุทธองค์ทรงตรัสไวว้ ่า “ผใู้ ดเห็นธรรม ผู้น้ัน เ ห็ น เ รา ” แส ดงให้เ ห็ น ว่า หลักธรรมเ ป็ น สิ่ ง ส า คัญย่ิงใน พระพทุ ธศาสนา หลกั ธรรมเป็ นความจริงท่ีมีอยู่แลว้ พระพุทธองค์เป็ นเพียงผู้ คน้ พบ แลว้ นามาเผยแผ่แก่มวลมนุษย์ หลกั ธรรมจึงเป็ นสิ่งไม่เนื่องดว้ ย เวลา กล่าวคือ เป็ นจริงเสมอ ไม่มีอดีต ปัจจุบนั และอนาคต แมไ้ ม่มีใคร คน้ พบเลย หลกั ธรรมน้ีกย็ งั เป็นจริงอยนู่ น่ั เอง พุทธศาสนิกชนท่ีดีพึงศึกษาและปฏิบตั ิตนตามหลกั คาสอนใน พระพุทธศาสนา แลว้ นาหลกั ธรรมน้นั มาเป็ นเคร่ืองมือนาทางสร้างความ เจริญรุ่งเรืองในการดาเนินชีวติ ของตน

๑. พระรัตนตรัย พระรัตนตรัย แปลวา่ แกว้ ประเสริฐ ๓ ดวง ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบสาคญั ของ พระพทุ ธศาสนา ไดแ้ ก่ พระพุทธ องคส์ มเดจ็ สมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผทู้ รงเป็นศาสดาของศาสนา พระธรรม ความจริงท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบ พระสงฆ์ สาวกของพระพทุ ธเจา้

คุณของพระพุทธเจ้า คุณของพระพุทธเจ้า มี ๙ ประการ เรียกวา่ “พทุ ธคุณ ๙” ประกอบดว้ ย พุทธคุณ ๙ อรหัง หมายถึง เป็นผบู้ ริสุทธ์ิ ปราศจากกิเลส สัมมาสัมพทุ โธ หมายถึง เป็นผตู้ รัสรู้เองโดยชอบ วชิ ชาจรณสัมปันโน หมายถึง เป็นผพู้ ร้อมดว้ ยความรู้และความประพฤติ สุคโต หมายถึง เป็นผเู้ สร็จไปดีแลว้ โลกวทิ ู หมายถึง เป็นผรู้ ู้แจง้ โลก อนุตตโร ปุริสทมั มสารถิ หมายถึง เป็นผฝู้ ึกคนท่ีควรฝึกอยา่ งยอดเยย่ี ม สัตถา เทวมนุสานัง หมายถึง เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษยท์ ้งั หลาย พทุ โธ หมายถึง เป็นผตู้ ่ืนแลว้ ภควา หมายถึง เป็นผมู้ ีโชค ผจู้ าแนกธรรม