เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม

1. "คอมพิวเตอร์ชุดหนึ่งๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใด ภาษาหนึ่ง" ข้อความนี้มีความสัมพันธ์กับเรื่องใด ?
ก. ซอฟต์แวร์ระบบ
ข. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ค. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
ง. โปรแกรมคอมพิวเตอร์

2. ข้อใดกล่าวถึงซอฟต์แวร์ระบบได้ถูกต้องที่สุด ?
ก. ชุดคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
ข. ซอฟต์แวร์ที่มีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้น และวางขายทั่วไป
ค. ซอฟต์แวร์ที่มีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะ
ง. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะ

3.ซอฟต์แวร์ระบบสัมพันธ์กับเรื่องใดต่อไปนี้ ?
ก. ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบปฏิบัติการ
ข. ซอฟต์ด้านการประมวลผลคำ
ค. ซอฟต์แวร์วิทยาศาสตร์ และวิศกรรม
ง. ซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก และนำเสนอข้อมูล

4.ข้อใดกล่าวถึงซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ถูกต้องที่สุด ?
ก. ซอฟต์แวร์ที่มีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้น และวางขายทั่วไป
ข. ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูปซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด
ค. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่ต้องการ
ง. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์

5. ซอฟต์แวร์ประเภทใดที่มักจะใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา ?
ก. ซอฟต์แวร์ระบบ
ข. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ค. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
ง. ซอฟต์แวร์ประยุกต์กึ่งสำเร็จ

6. ซอฟต์แวร์ใดสามารถแบ่งออกหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้ ?
ก. ซอฟต์แวร์ระบบสำเร็จรูป
ข. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ค. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
ง. ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำเร็จรูป

7. ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคใดที่ใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล ?
ก. ภาษาเครื่อง
ข. ภาษาระดับสูง
ค. ภาษาธรรมชาติ
ง. ภาษาระดับสูงมาก

8. ภาษาเครื่องและภาษาแอสเซมบลี้แตกต่างกันอย่างไร
ก. ภาษาเครื่องใช้ตัวอักษรในภาษาอังกฤษมาแทนคำสั่งที่เป็นเลขฐานสอง
ข. ภาษาเครื่องใช้เลขฐานสองมาแทนคำสั่งที่เป็นตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
ค. ภาษาแสเซมบลี้ใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษมาแทนคำสั่งที่เป็นเลขฐานสอง
ง. ภาษาแอสเซมบลี้ใช้เลขฐานสองมาแทนคำสั่งที่เป็นตัวอักษรในภาษาอังกฤษ

9.สัญลักษณ์ MP ในภาษาแอสเซมบลี้สามารถใช้แทนความหมายใด ?
ก. การลบ
ข. การคูณ
ค. การเปรียบเทียบ
ง. การเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ

10. การแปลภาษาแอสเซมบลี้ให้กลายเป็นภาษาเครื่องก่อน ควรใช้ตัวแปลใด ?
ก. ตัวแปลภาษา
ข. คอมไพเลอร์
ค. แอสเซมเบลอ
ง. อินเตอร์พลีเตอร์

11.ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดที่ผู้เขียนโปรแกรม ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์ ?
ก.ภาษาเครื่อง
ข. ภาษาระดับสูง
ค. ภาษาแอสเซมบลี
ง. ภาษาระดับต่ำ

12. โปรแกรมใดที่แปลงภาษาระดับสูงให้กลายเป็นภาษาเครื่อง ?
ก. คอมไพเลอร์
ข. แอสเซมเบลอ
ค. คอมเพรสเซอร์
ง. อินเตอร์ไพเลอร์

13. ข้อใดกล่าวถึงข้อดีของการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาขั้นสูงได้ถูกต้อง ?
ก. เขียนง่าย
ข. รวดเร็ว
ค. ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องฮาร์ดแวร์
ง. ผู้เขียนต้องมีความชำนาญเฉพาะตัว

14.ภาษาใดคล้ายกับภาษาพูดของมนุษย์ ?
ก. ภาษาเครื่อง
ข. ภาษาระดับต่ำ
ค. ภาษาระดับสูง
ง. ภาษาระดับสูงมาก

15. ภาษาใดสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีผู้เชี่ยวชาญด้านระบบซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์ ?
ก. ภาษาระดับต่ำ
ข. ภาษาระดับสูง
ค. ภาษาธรรมชาติ
ง. ภาษาระดับสูงมาก

16. จงวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดที่สามารถนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ ?
ก. ข้อมูลภาพ
ข. ข้อมูลสื่อสาร
ค. ข้อมูลวิทยุ
ง. ข้อมูลจากดาวเทียม

17. "ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้" จากข้อความนี้มีความสัมพันธ์กับข้อใด ?
ก. บิต
ข. ไบต์ 7
ค. ฟิลด์
ง. เรคคอร์ด

18. 1 ไบต์ เท่ากับกี่บิต ?
ก. 1 บิต
ข. 4 บิต
ค. 6 บิต 5
ง. 8 บิต

19. ข้อใดสัมพันธ์กับหลักการพัฒนาการเขียนโปรแกรมที่นำเอาผลลัพธ์ของการออกแบบโปรแกรมไปใช้ ?
ก. การวิเคราะห์ปัญหา
ข. การออกแบบโปรแกรม
ค. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
ง. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

20. ข้อใดที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเผ้าดูและหาข้อมผิดพลาดระหว่างใช้งานโปรแกรม ?
ก. การบำรุงรักษาโปรแกรม
ข. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
ค. การทำเอกสารประกอบโปรแกรม
ง. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

1.ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน   1. 3 ขั้นตอน 2. 4 ขั้นตอน   3. 5 ขั้นตอน 4. 6 ขั้นตอน       2. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาได้ถูกต้อง   1. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้   2. สิ่งที่ต้องการ => ข้อมูลนำเข้า => ตัวแปรที่ใช้ =>รูปแบบผลลัพธ์ => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้   3. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => ข้อมูลนำเข้า => วิธีการประมวลผล => ภาษาที่ใช้   4. สิ่งที่ต้องการ => รูปแบบผลลัพธ์ => ตัวแปรที่ใช้ => วิธีการประมวลผล => ข้อมูลนำเข้า => ภาษาที่ใช้     3. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการแก้ปัญหา   1. การแจ้งปัญหาให้ผู้ดูแลตรวจสอบปรับปรุงระบบ   2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา   3. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา   4. การดำเนินการแก้ปัญหา       4. ข้อใดไม่ได้อยู่ในหลักเกณฑ์ที่ต้องดำเนินการวิเคราะห์ปัญหา   1. รูปแบบผลลัพธ์ 2. ข้อมูลนำเข้า   3. ข้อมูลนำออก 4. ตัวแปรที่ใช้     5. การเขียน Flowchart มีความหมายตรงกับข้อใด   1.  การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา   2. การดำเนินการแก้ปัญหาโดยคำพูด   3.  การแสดงการทำงานของคอมพิวเตอร์   4. การใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ที่ใช้เขียนแทนคำอธิบาย       6. ข้อใดคือการจำลองขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาในรูปของคำบรรยาย   1. Flowchart 2. Algorithm   3. Pseudocode 4. Refinement       7. สัญลักษณ์ที่นิยมในการเขียน Flowchat แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม   1. 3  กลุ่ม 2. 4 กลุ่ม   3. 6 กลุ่ม 4. 7 กลุ่ม     8.

เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด   1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล   3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล       9.
เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด   1. การเริ่มต้น 2. การรับ – ส่งข้อมูล   3. การตัดสินใจ 4. การประมวลผล       10.
เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
สัญลักษณ์นี้มีความหมายตรงกับข้อใด  

1. แสดงการเก็บข้อมูล

2. การรับ – ส่งข้อมูลโดยใช้แถบแม่เหล็ก

 

3. แสดงการหน่วงเวลาการประมวลผล

4. การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ

      11. สัญลักษณ์ใดคือการเริ่มเขียน Flowchart   1.
เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
2.
เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
  3.
เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
4.
เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
      12. คำสั่ง if, if…else, switch, case อยู่ในลักษณะโครงสร้างใด   1. โครงสร้างแบบลำดับ

2. โครงสร้างแบบทางเลือก

 

3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข

4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ

      13.
เฉลย บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
จากภาพคือลักษณะโครงสร้างใด   1. โครงสร้างแบบลำดับ     2. โครงสร้างแบบทางเลือก     3. โครงสร้างแบบเงื่อนไข     4. โครงสร้างแบบทำซ้ำ     14. การระบุข้อมูลเข้าข้อมูลออกอยู่ในกระบวนการใดของการแก้ปัญหา   1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา     2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน     3. การดำเนินการแก้ปัญหา     4. การตรวจสอบและปรับปรุง     15. หากนักเรียนต้องการหาคะแนนเฉลี่ยวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน 30 คน ข้อมูลนำเข้าคือข้อใด   1. คะแนนของนักเรียนแต่ละคน
2. สูตรหาค่าเฉลี่ย   3. ผลลัพธ์ที่ได้
4. วิชาคอมพิวเตอร์      

16. ข้อใด ไม่ใช่ สิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา

  1. ข้อมูลที่ต้องนำเข้า
    2. รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ     3. ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาคำตอบ     4. ขั้นตอนหรือวิธีการที่ต้องใช้ในการหาคำตอบ         17. นิลินต้องการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 3 จำนวน 2 7 9 สิ่งแรกที่ควรทำคือข้อใด   1. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน     2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา     3. การตรวจสอบและปรับปรุง     4. การดำเนินการแก้ปัญหา         18. โปรแกรมสำเร็จรูปหรือภาษาคอมพิวเตอร์มักถูกนำมาช่วยในขั้นตอนใดของการแก้ปัญหา   1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบวิธีขั้นตอน   3. การดำเนินการแก้ปัญหา 4. การตรวจสอบและปรับปรุง       19. การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ เรียกว่าอะไร   1. การระบุข้อมูลเข้า    2. การระบุข้อมูลออก   3. การกำหนดวิธีการประมวลผล 4. การขจัด       20. การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา คือข้อใด   1. การระบุข้อมูลออก 2. การกำหนดวิธีการประมวลผล   3. การระบุข้อมูลเข้า 4. การขจัด       21. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ อยู่ในขั้นตอนการเขียนโปรแกรม   1. การสร้างปัญหา 2. การเขียนอัลกอริทึม   3. การเขียนโปรแกรม 4. การทดสอบโปรแกรม       22. ข้อใดต่อไปนี้ ถือเป็นกระบวนการทำซ้ำ    1. ตื่นนอน ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน้ำ ไปโรงเรียน 2. เรียนหนังสือ ง่วงนอน แอบหลับ   3. อ่านหนังสือจนเวลาเที่ยงแล้วจึงไปทานข้าวกลางวัน 3. ถ้าหิวจะทานข้าวก่อนแล้วค่อยนอน       23. ข้อใดต่อไปนี้ "มิใช่" อัลกอริทึม   1. หลักการคำนวณสูตรคูณแม่ 12 2. จงหาผลรวมของเลขคู่   3. คำนวณค่าล่วงเวลาของพนักงานทั้งหมด 4. ทุกข้อล้วนเป็นอัลริทึม       24. ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม สามารถวัดจากข้อใดต่อไปนี้   1. ต้องใช้หน่วยความจำมาก 2. ใช้เวลาพัฒนานาน เพื่อความรอบคอบ   3. ต้องง่ายต่อการทำความเข้าใจ 4. ถูกทุกข้อ       25. ตัวแปรชนิดใดเหมาะสมที่สุดสำหรับเก็บชื่อและนามสกุลของนักเรียน   1. จำนวนเต็ม (int) 2. ข้อความ (char)   3. จำนวนทศนิยม (float) 4. จำนวนทศนิยม (double)       26. เมื่อต้องการพัฒนาโปรแกรมจะต้องทำสิ่งใดก่อน   1. วิเคราะห์ปัญหา 2. เขียน Flowchar   3. เขียนโปรแกรม 4. เลือกภาษาที่ต้องใช้เขียน       27. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมได้ถูกต้อง   1. เขียนโปรแกรม > ทำเอกสาร > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > วิเคราะห์ปัญหา   2. เขียนโปรแกรม > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > วิเคราะห์ปัญหา > ทำเอกสาร > เขียนผังงานและซูโดโค้ด   3. วิเคราะห์ปัญหา > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > เขียนโปรแกรม > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > ทำเอกสาร   4. วิเคราะห์ปัญหา > เขียนโปรแกรม > เขียนผังงานและซูโดโค้ด > ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม > ทำเอกสาร       28. ข้อใดคือข้อแตกต่างระหว่างซูโดโค้ดกับผังงาน   1. ซูโดโค้ดกับผังงานเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน   2. ซูโดโค้ดกับผังงานเป็นแผนภาพของโปรแกรม   3. ผังงานเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน แต่ซูโดโค้ดเป็นแผนภาพของโปรแกรม   4. ซูโดโค้ดเป็นคำอธิบายขั้นตอนการทำงาน แต่ผังงานเป็นแผนภาพของโปรแกรม      

29. การจำลองความคิดเป็นสัญลักษณ์หรือผังงาน

  ก. การเขียน Dictionary ข. การเขียน Applications   ค. การเขียน Flowchart ง. การเขียน Software       30. ข้อใดต่อไปนี้ คือคำสั่งที่ต้องใช้หยุดการทำซ้ำและออกจากลูปของโปรแกรมได้   1. continue 2. break   3. while 4. for       31. กิจกรรมใดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์น้อยที่สุด   1. แก้ปัญหา 2. ประดิษฐ์คิดค้น   3. ค้นคว้าหาความรู้ 4. ฝึกทักษะพิมพ์โดยใช้คอมพิวเตอร์       32. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ตรงกับข้อใด   1. เป็นการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 2. เป็นการตรวจสอบและปรับปรุง   3. เป็นการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกข้อมูลออกมา 4. เป็นการลงมือดำเนินการแก้ปัญหา       33. ความหมายของอัลกอริทึม ตรงกับข้อใด   1. เป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนาระบบ 2. เป็นการวางแผนงาน การแก้ปัญหา   3. เป็นการจำลองความคิดเป็นข้อความหรือคำบรรยาย 4. ถูกทุกข้อ       34. จุดประสงค์การเขียนอัลกอริทึม คือข้อใด   1. เพื่อจัดลำดับขั้นตอนการแก้ไขปัญหาของโปรแกรม 2. เพื่อให้ทุกคนได้มีตัวเลือกในการใช้โปรแกรม   3. เพื่อเป็นตัวเลือกของการตัดสินใจของผู้บริหาร 4. เพื่อให้ป้องกันการ Copy โปรแกรม       35. ผังงาน (Flowchart) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ มีดังนี้   1. ผังงานระบบ , ผังงานโปรแกรม 2. ผังงานระบบ , ผังงานแสดงผล   3. ผังงานโปรแกรม , ผังงานแสดงผล 4. ผังงานแสดงผล , ผังงานโปรแกรม       36. การเขียนผังงาน (Flowchart) ไม่เหมาะกับลักษณะงานแบบใด   1. งานที่ไม่มีความซับซ้อน 2. งานที่มีความซับซ้อน   3. งานที่มีความยากง่ายปะปนกัน 4. ผิดทุกข้อ       37. การเขียนผังงาน (Flowchart) ที่ดี ตรงกับข้อใด   1. มีความซับซ้อน 2. มีความเป็นเชื่อมโยงที่หลากหลาย   3. การนำข้อความต่อเรียงกันให้เกิดความซับซ้อน 4. มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยเข้าใจง่าย       38. Flowchart มีบทบาทต่อขั้นตอนใด   1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ   3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4. เขียนโปรแกรม       39. ข้อใดคือขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาโปรแกรม   1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ   3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4. เขียนโปรแกรม       40. ขั้นตอนใดที่สามารถตรวจสอบได้ว่าโปรแกรมมีข้อผิดพลาด   1. วิเคราะห์ปัญหา 2. จัดทำเอกสารประกอบ   3. การทดสอบโปรแกรม 4. เขียนโปรแกรม