อิเหนา บทพระ ราช นิพนธ์ ในรัชกาลที่ 2 ดำเนิน เรื่องตาม ต้นฉบับ ของใคร

Ẻ���ͺ��͹���¹ ����ͧ���˹�


 �) ��͹���Ф�����ͧ���˹��դس����ԧ��ó����ô�����
 �. ���ͧ��ԧ㹾���Ҫ����Ǵ�âͧ���
 �. �á��������������ླբͧ���������
 �. �á����ͧ��Ƿ���繻��ླյ�ҧ� �ͧ��������
 �. �繷����㹡�èѴ�������Ф���ͧ�������ѹ��ѹ

 �) "���˹�"  ������Ҫ�Ծ�����Ѫ��ŷ�� �   ���Թ����ͧ����鹩�Ѻ�ͧ��
 �. �Ѫ��ŷ�� �
 �. ��ҿ��˭ԧ�س��
 �. ��ҿ��˭ԧ���خ
 �. �����ҡ�ا������

��ҹ�ӻ�оѹ����仹��   ���ǵͺ�Ӷ����� �-�
   "���������ѡ��˧ѹ               ��ǧ����ѭ����
   �˵�������͹ت�               �Ѻ�ǧ�һ�С���
   ����˹�觾�觨����繹�ͧ      ���§��ͧ�ѡ�ѹ��䩹
   ��ҤԴ��繼Դ�����Ҵ�      ���͡����ԧ�Ѵ���"
 �) ����� "���"  㹷�������¶֧��
 �. �á�
 �. ���ǻ���ѹ
 �. ������С�
 �. �ѧ�����е�

 �) ���繼��ٴ
 �. �á�
 �. �ԧ�Ѵ������
 �. ����ѧ��˹ԧ
 �. ������С�

 �) ���ٴ�ըش���ʧ�����ҧ��
 �. ������ѹ
 �. ����´����
 �. ��������㹷�
 �. ��Ъ���Ъѹ

 �) ���Ѿ��������դ������µ�ҧ�ǡ�ҡ������
 �. ����   ����˹�   �ͧ��
 �. �غ�   �س��   �ѧ���
 �. ���е�   ����   �Ѻ��ǧ
 �. ʹѺ���   ����кҴ   �Ѻ��ǧ

 �) ���˹ҵ͹ "�֡����ѧ��˹ԧ"   ������˵��Ҩҡ����
 �. �����ѡ
 �. �������
 �. �����������
 �. �������٧�Թ�ѡ���

   �) "��駨�����Դ��������      ��ù价��Ƿء���˭��
         ������പ�Ⱦ������             �֡�Ҷ֧�Ҫ�ҹ�"
            ����������Դ�˵ء�ó�������    ��������Դ�ͧ���Ǵ���
 �. �á�
 �. ���˹�
 �. ������С�
 �. ���ǡ���ѧ��˹ԧ

��) �ӻ�оѹ�������ʴ��������ͷҧ�����ʵ��
 �. ����¡��Գշ���зѺ   �ѹ�ѡ��������Ѿ����
 �. �������ġ�����蹦�ͧ   ������֡�֡��ͧ��ͧʹ��
 �. �����Ե�ѹ��������   �ӵ�����Ѻ�Ԫ���ط��
 �. �վ�͡��ԡ�Ź����   �����ҹ�Ҥ��Ҷ�

เรื่องย่ออิเหนา

ตัวละคร

คุณค่าที่ได้รับจากเรื่องอิเหนา

อิเหนา บทพระ ราช นิพนธ์ ในรัชกาลที่ 2 ดำเนิน เรื่องตาม ต้นฉบับ ของใคร

          เป็นบทละครที่มีคุณค่าสมควรรักษาไว้เป็นมรดกไทย ประกอบด้วยศิลปะในการแต่งที่ประณีต บทละครมีขนาดกะทัดรัด รักษาขนบในการชมเมืองที่ได้แบบอย่างจากเรื่องรามเกียรติ์และเน้น องค์ห้าของละครดี จนกลายเป็นแบบ แผนของการแต่งบทละครในสมัยหลัง สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตทรงยกย่องว่าบทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยนี้ เป็นบทละครที่ครบองค์ห้าของละครดี คือ
๑. ตัวละครงาม (หมายถึง เครื่องแต่งตัวหรือรูปร่าง)
๒. รำงาม
๓. ร้องเพราะ
๔. พิณพาทย์เพราะ
๕. กลอนเพราะ

          พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย  (ครองราชย์ปี พ.ศ ๒๓๕๒ – ๒๓๖๗) เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงคุณความดีทั้งในด้านการปกครอง การสาธารณสุขและศิลปวัฒนธรรมหลายด้าน เช่น ด้านสถาปัตยกรรม ดนตรี วรรณคดี และการละคร

          เนื้อเรื่องของบทละครเรื่องอิเหนามาจากพงศาวดารชวา กล่าวถึงกษัตริย์วงศ์เทวัญสื่อองค์ซึ่งเป็นพี่น้องกัน และครองนคร ๔ นคร คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัดส่าหรี อิเหนาแห่งเมืองกุเปันได้หมั้นหมายกับบุษบาราชธิดาเมืองดาหา ต่อมาได้พบกับจินตะหราก็หลงรักเมื่อถูกบังคับให้เข้าพิธีอภิเษกสมรสกับบุษบา จึงลอบหนีออกจากเมืองไปหาจินตะหรา จนกระทั่งเมื่ออิเหนาไปช่วยท้าวดาหารบกับท้าวกะหมังกุหนิงและได้พบบุษบาก็หลงรัก จึงทำอุบายเผาเมืองดาหา แล้วลักพาบุษบาไป ท้าวอสัญแดหวาโกธรแค้นในการกระทำอันมิชอบของอิเหนา จึงบันดาลให้ลมหอบบุษบาไปตกที่แคว้นปะมอตันอิเหนาต้องฟันฝ่าอุปสรรคมากมายระหว่างตามหาบุษบา จนกระทั่งได้เข้าพิธีอภิเษกสมรส เรื่องจึงจบลงด้วยความสุข

          คุณค่าพิเศษของบทละครเรื่องอิเหนาซึ่งเป็นวรรณคดีมรดกนี้คือ ความบันเทิงอย่างสมบูรณ์ที่ได้จากบทละครร้อยกรองประเภทละครรำ ทุกองค์ประกอบของบทละคร เช่น ท่ารำและทำนองเพลงมีความสัมพันธ์กันอย่างกลมกลืน บทชม โฉมก็สัมพันธ์กับการทรงเครื่อง ทุกอย่างสามารถกำหนดได้บนเวทีละครอย่างสมเหตุสมผล ก่อให้เกิดประเพณีการละคร โดยเฉพาะละครใน การดำเนินเรื่อง การแต่งบทร้อง ความยาวของบทเข้ากับลีลาท่ารำ นับเป็นศิลปะการแสดงที่ประณีต งดงามยิ่งของละครไทย

ตัวอย่าง คำประพันธ์ที่แสดงให้เห็นลักษณะอาการของตัวละครเมื่อเสียใจ หรือผิดหวัง

ฯ๑๐คำฯ

(ร่าย)เมื่อนั้น                     โฉมยงองค์ระเด่นจินตะหรา
ค้อนให้ไม่แลดูสารา             กัลยาคั่งแค้นแน่นใจ
แล้วว่าอนิจจาความรัก          พึ่งประจักษ์ดั่งสายน้ำไหล
ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป   ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา
สตรีใดในพิภพจบแดน           ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า
ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา         จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์
โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก           เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงช้ำจิต
จะออกชื่อฦาชั่วไปทั่วทิศ      เมื่อพลั้งคิดผิดแล้วจะโทษใคร
เสียแรงหวังฝังฝากชีวี          พระจะมีเมตตาก็หาไม่

อิเหนา บทพระ ราช นิพนธ์ ในรัชกาลที่ 2 ดำเนิน เรื่องตาม ต้นฉบับ ของใคร

วรรณคดีสโมสร ซึ่งตั้งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๖ ได้ตัดสินเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๙ ให้บทละครเรื่องอิเหนาเป็น “ยอดของกลอนบทละคร”เพราะเนื้อเรื่องสนุก มีครบทุกรสทั้งบทรัก กล้าหาญ หึงหวง บทบาทของตัวละครมีความเหมาะสมทุกบทบาท

   เนื้อเรื่องบทละครเรื่องอิเหนาสำนวนรัชกาลที่ ๒ นี้ มีเนื้อเรื่องเหมือนกับบทละครเรื่องอิเหนาสำนวนรัชกาลที่ ๑

อิเหนาฉบับการ์ตูน

ผู้แต่งเรื่องอิเหนาฉบับบทเรียนเล่มนี้คือใคร

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

สาเหตุที่รัชกาลที่ ๒ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครอิเหนาขึ้นใหม่ คืออะไร

ด้วยเหตุที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงโปรดการละคร จึงได้ทรงพระราชนิพนธ์ บทละครเพื่อใช้แสดงในราชส านัก โดยเฉพาะเรื่องอิเหนาได้ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใหม่เกือบทั้งเรื่อง (ต่างจากเรื่องรามเกียรติ์ที่ทรงพระราชนิพนธ์เพียงบางตอน) ซึ่งวรรณคดีสโมสรได้ยกย่องให้เป็น ยอดของบทละครร าเพราะเป็นหนังสือที่แต่งดีพร้อมทั้งเนื้อความ ...

เพราะเหตุใดบทละครเรื่องอิเหนาพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 จึงได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรให้เป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนบทละครร

ในบรรดาบทละครรําที่คนชอบ เรื่องอื่นเห็นจะไม่เสมอด้วยเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๒ วรรณคดีสโมสรก็ได้ตัดสินเมื่อปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๕๙ ว่าเป็น ยอดของบทละครรําทั้งสิ้น เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีพร้อมทั้งความ ทั้งกลอน ทั้ง กระบวนที่จะเล่นละครประกอบกันทุกสถาน ที่จริงบรรดาบทละครพระราชนิพนธ์ รัชกาลที่ ๒ ก็ดีพร้อมเช่นนั้นทุก ...

รัชกาลที่ 2 ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องใด

พระราชนิพนธ์ ร.๒.
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างแล้วเข้าห้องนางแก้วกิริยากับตอนขุนแผนพานางวันทองหนี.
บทละครเรื่องอิเหนา.
บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง คาววี ไกรทอง มณีพิชัย.
กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน.
บทพากย์โขน ตอน พรหมาพัตร์ นากบาส นางลอย และเอราวัณ.