ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2

การสืบพันธุ์ หรือ การขยายพันธุ์ (อังกฤษ: Reproduction) หมายถึง การเพิ่มจำนวนลูกหลานที่มีลักษณะเหมือนเดิมของสิ่งมีชีวิต โดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นนี้จะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ล้มหายตายจากไป ทำให้สิ่งมีชีวิตเหลือรอดอยู่ในโลกได้โดยไม่สูญพันธุ์ไป

การสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

• การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction)เป็นการเพิ่มจำนวนลูกหลานที่ไม่ต้องอาศัยเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง และไม่มีการผสมกันของเซลล์สืบพันธุ์ และจะเหมือนตัวเดิม 100% เช่น การแบ่งเซลล์ของแบคทีเรีย การแตกหน่อของไฮดรา

• การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)???•???•เป็นการสืบพันธุ์ที่ต้องอาศัยเพศโดยที่มีการสร้างเซลสืบพันธุ์เพศผู้และเซลสืบพันธุ์เพศเมียแล้วผสมกันเกิดเป็นสิ่งมีชีวิตหน่วยใหม่ซึ่งมีลักษณะเหมือนพ่อและแม่ไม่ 100% เช่น การสืบพันธุ์ของมนุษย์

การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีทั้งแบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ

สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดบางครั้งก็มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เช่น พารามิเซียม(เซลล์มี 2 นิวเคลียส คือ ไมโครนิวเคลียส (Micronucleus) และแมโครนิวเคลียส (Macronucleus) พารามิเซียม 2 เซลล์จะจับคู่กัน (Conjugation) เพื่อแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม จากนั้นจึงแยกกัน และแบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนตามปกติ)

• การแตกหน่อ (Budding) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดิม แล้วหลุดออกมาเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น ไฮดรา ยีสต์ และยังพบในพืชอีกด้วยเช่น หน่อไม้ ไผ่

• การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary fission) สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งแบ่งเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่แบบเท่าๆกัน โดยเริ่มจากการแบ่งนิวเคลียส และตามด้วยไซโทพลาสซึม สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่ อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา และแบคทีเรีย

• การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) ส่วนที่หลุดไปจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งพัฒนาไปเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ โดยเซลล์ในส่วนที่หลุดไปนั้นเกิดรีเจนเนอเรชั่น (regeneration) กลับเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้อีก ตัวอย่างเช่น ดาวทะเล

• การสร้างสปอร์ (Spore formation) คือการแบ่งนิวเคลียสออกเป็นหลายๆนิวเคลียส ต่อจากนั้นไซโทพลาซึมจะแบ่งตาม แล้วจะมีการสร้างเยื่อกั้นเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนจะมีนิวเคลียส 1 อัน เรียกว่า สปอร์ (Spore) สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบนี้ ได้แก่ พลาส-โมเดียมซึ่งเป็นสัตว์ที่ทำให้เกิดโรคไข้มาลาเรีย สิ่งมีชีวิตที่ใช้กระบวนการนี้ได้แก่ เห็ด รา ยีสต์

• พาร์ธีโนเจนเนซิส (Parthenogenesis) คือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของแมลงบางชนิด โดยสามารถวางไข่แบบไม่อาศัยการปฏิสนธิ เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้ เพลี้ย ไรน้ำ ซึ่งตัวเมียสามารถผลิตไข่ที่ฟักเป็นตัวได้โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิในสภาวะปกติไข่ของสัตว์ดังกล่าวจะฟักออกมาเป็นตัวเมียเสมอ แต่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต เช่น เกิดความแห้งแล้งหนาวเย็น หรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียก็จะผลิตไข่ที่ฟักออกเป็นทั้งตัวผู้และตัวเมีย จากนั้นสัตว์ตัวผู้และตัวเมียเหล่านี้จะผสมพันธุ์กันแล้วตัวเมียจะออกไข่ที่มีความคงทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมดังกล่าวได้ ในผึ้ง มด ต่อ แตน ก็พบว่ามีการสืบพันธุ์แบบพาร์ธีโนเจเนซิสด้วยเช่นกัน โดยไข่ไม่ต้องมีการปฏิสนธิก็สามารถฟักออกมาเป็นตัวได้ ซึ่งจะฟักออกมาเป็นตัวผู้เสมอ

• รีเจนเนอร์เรชั่น (Regeneration) คือการงอกใหม่ เกิดหลัง การขาดออกเป็นท่อน มี 2 แบบ คือ

o 1.ก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ เช่น พลานาเรีย ปลิง ดาวทะเล ไส้เดือนดิน ซีแอนนีโมนี เป็นต้น

o 2.ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เช่น จิ้งจกงอกหาง o การสืบพันธุ์ของสัตว์ 

• การสืบพันธุ์ของสัตว์มีทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศพบในสัตว์ที่มีร่างกายไม่ซับซ้อน และมีความสามารถในการงอกใหม่ เช่น พลานาเรีย ดาวทะเล สัตว์พวกนี้สามารถ สืบพันธุ์ด้วยวิธีการงอกใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นโดยส่วนของร่างกายที่ขาดออกไป หรือสูญเสียไปด้วยสาเหตุใดก็ตาม ก็สามารถเจริญเติบโตเป็นตัวใหม่ได้ ทำให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น

• สัตว์หลายชนิด เช่น ฟองน้ำ และ ไฮดรา สามารถสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่จากเซลล์ และกลุ่มเซลล์ของเดิม เรียกว่า การแตกหน่อ ซึ่งจะเจริญจนกระทั่งได้เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ที่เหมือนเดิม แต่มีขนาดเล็กกว่า ต่อมาหน่อจะหลุดออกมาจากตัวเดิมและเจริญเติบโตต่อไป

• การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเกิดจาก การปฏิสนธิ(Fertilization) ของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรืออสุจิกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือเซลล์ไข่ อาจจะเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายของสัตว์เพศเมียก็ได้ โดยเซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมแล้วเรียกว่าไซโกต จะเจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอ และตัวเต็มวัยที่สามารถสืบพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรต่อไปได้

• สัตว์ส่วนใหญ่มีอวัยวะเพศแยกกันอยู่คนละตัวเป็นสัตว์เพศผู้และเพศเมีย แต่บางชนิดจะมีทั้งสองเพศในตัวเดียวกันเรียกว่า กะเทย (Hermaphrodite) 

เช่น ใส้เดือน​เป็นต้น

ข้อความที่โพสจะต้องไม่น้อยกว่า {{min_t_comment}} ตัวอักษรและไม่เกิน {{max_t_comment}} ตัวอักษร กรอกชื่อด้วยนะ _________ กรอกข้อมูลในช่องต่อไปนี้ไม่ครบ หรือข้อมูลผิดพลาดครับ : _____________________________ ช่วยกรอกอีกครั้งนะครับ กรุณากรอกรหัสความปลอดภัย

สิ่งมีชีวิตสามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง หายใจได้ กินอาหารได้ ขับถ่ายได้ เติบโตได้ สืบพันธุ์ได้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้     

สิ่งไม่มีชีวิตไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง ไม่หายใจ ไม่กินอาหาร ไม่ขับถ่าย ไม่เติบโต ไม่สืบพันธุ์ และไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า

แบ่งออกเป็น 7 ประเภท คือ
    1. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ได้
        การสืบพันธุ์(reproduction) เป็ นลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิต การสืบพันธุ์เป็ นกระบวนการเพิ่มจำนวน ของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
(species) เพื่อดำรงรักษาเผ่าพันธุ์ไว้ โดยการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่น หนึ่ง
การงอกใหม่

ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2

    2. สิ่งมีชีวิตต้องการอาหารและพลังงาน

ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2

    3. สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจำกัด

ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2


    4. สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า

ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2

ทิศทางการเจริญของรากและยอดของหัวหอม

    5. สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย

ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2

    6. สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจำเพาะ

ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2


    7. สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ

ลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 7 ประการ ป 2


ลักษณะของสิ่งมีชีวิตมีอะไรบ้าง

สิ่งมีชีวิตมีลักษณะอย่างไร ?.
มีโครงสร้างและการทำหน้าที่อย่างเป็นระบบ (organization) ... .
มีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย (homeostasis) ... .
มีการปรับตัว (adaptation) ... .
มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (reproduction and heredity) ... .
มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง (growth and development).

ลักษณะของสิ่งไม่มีชีวิตมีอะไรบ้าง

สิ่งไม่มีชีวิตคือ สิ่งที่ไม่กินอาหาร ไม่หายใจ ไม่ขับถ่าย ไม่เคลื่อนไหว ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ไม่มีการเจริญเติบโต และไม่สืบพันธ์ุ สิ่งไม่มีชีวิต แบ่งได้ 2 ประเภท คือ สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ดิน ดวงอาทิตย์ ก้อนหิน และสิ่งไม่มีชีวิตที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น บ้าน รถยนต์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ นาฬิกา แว่นตา ภาชนะ ...

ลักษณะจำเพาะของสิ่งมีชีวิตขึ้นอยู่กับอะไร

สิ่งมีชีวิตจะมีลักษณะจำเพาะเป็นเอกลักษณ์ตามชนิดของตน อาจสังเกตได้จากลักษณะภายนอก เช่นรูปร่าง ขนาด สีผิว เป็นต้น หรือสังเกตจากลักษณะเสียงร้อง รสชาติ และกลิ่น 7. มีการจัดระบบภายในเซลล์และร่างกาย

สิ่งมีชีวิตมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่อย่างไร

ลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต 1. ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิต คือสามารถหายใจได้, กินอาหารได้, ขับถ่ายได้, เคลื่อนไหวได้, ตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ ได้, เจริญเติบโตได้ และสืบพันธุ์ได้ 2. ส่วนลักษณะของสิ่งไม่มีชีวิต จะตรงกันข้ามกับลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่นไม่สามารถเคลื่อนที่ได้เอง และไม่สามารถตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ ได้ นั่นเอง