Gnp ม ผลต อธ รก จออกแบบตกแต งภายในหร อไม

การซื้อสินค้าและบริการในปีหนึ่ง ๆ ซึ่งสินค้าน้ีมีท้ังท่ีเป็นประเภทถาวร เช่น รถยนต์ ตู้เย็น โทรทัศน์ พัดลม

เป็นต้น (ยกเว้นรายจ่ายท่ใี ช้จ่ายเพือ่ ซ้ือท่ีอย่อู าศัย เพราะถอื เป็นรายจา่ ยเพื่อการลงทุน) และสนิ คา้ ประเภทไม่

ถาวร เชน่ สินค้าอุปโภคบริโภค ได้แก่ อาหาร เสื้อผ้า ยารกั ษาโรค บุหร่ี ผงซักฟอก ยาสฟี ัน เปน็ ต้น อีกทั้งยัง

รวมถงึ รายจา่ ยค่าบริการ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าดูภาพยนตร์ ค่าตัดผม ค่าเช่าบ้าน ค่าบริการซ่อมรถยนต์

เปน็ ต้น

  1. รายจ่ายเพ่อื การลงทนุ ของเอกชน หมายถึง รายจา่ ยท่ีจ่ายโดยผา่ นทางหน่วยธุรกิจ ประกอบด้วย

รายจ่าย 3 ประเภท คือ

(1) รายจา่ ยเพื่อการก่อสร้างใหม่ ได้แก่ คา่ ก่อสร้างโรงงาน คลังเก็บสินค้า และท่ีอยู่อาศัย ถอื เป็น

การลงทนุ อย่างหนึ่ง

7

(2) รายจ่ายเพ่ือซ้ือเคร่อื งมือเคร่อื งจักรและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อการผลติ สินค้าและบริการ และเพ่ือ ทดแทนเครอ่ื งมือเครอ่ื งจักรเก่า

(3) ส่วนเปลี่ยนของสินค้าคงเหลือ เนื่องจากในการผลิตสินค้าไม่จำเป็นเสมอไปว่าสินค้าท่ี ขายได้ ทั้งสิ้นในระยะเวลาหนึ่งจะมีจำนวนเท่ากับสินค้าท่ีผลิตได้ทั้งส้ินในระยะเวลาเดียวกัน โดยปกติแลว้ จะขายได้ มากกว่าหรือน้อยกวา่ สินคา้ ที่ผลิตได้ ด้วยเหตนุ ้ีการคำนวณรายได้จากรายจา่ ยจำเปน็ ต้องรวม ส่วนเปลี่ยนของ สนิ ค้าคงเหลือไวด้ ้วย โดยถอื เปน็ คา่ ใช้จา่ ยเพื่อการลงทุน

การคำนวณหาส่วนเปล่ยี นของสนิ ค้าคงเหลือ จะคิดเฉพาะมูลคา่ ของสินค้าคงเหลอื ในปหี นง่ึ ๆ เท่านั้น ซ่งึ สามารถหาไดด้ ังน้ี

สว่ นเปลี่ยนของสินคา้ คงเหลอื = มูลค่าสนิ ค้าคงเหลอื ปลายปี – มูลคา่ สนิ คา้ คงเหลือตน้ ปี

สว่ นเปล่ียนของสินค้าคงเหลือนี้อาจจะมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ถ้าตัวเลขเป็นบวก แสดงว่า สินค้า ท่ี ขายได้ในปีน้ีมีมูลค่าน้อยกว่าสินค้าท่ีผลิตได้ในปีนี้ แต่ถ้าตัวเลขเป็นลบ แสดงว่า สินค้าท่ีขายได้ในปีน้ีมี มูลค่า มากกวา่ สินค้าทผี่ ลิตได้ในปเี ดียวกนั

  1. รายจ่ายของรัฐบาล หมายถึง รายจ่ายทั้งหมดของรัฐบาลในการซ้ือสินค้าและบริการข้ันสุดท้าย จากภาคเอกชน ในปีหนึง่ ๆ ได้แก่

ก. รายจ่ายในการซือ้ สินคา้ และบรกิ ารจากองค์กรการผลิตตา่ ง ๆ ข. รายจ่ายประเภทเงินเดือน ค่าจา้ ง คา่ เบ้ียเล้ียง ค่าล่วงเวลา คา่ เครอื่ งใชข้ องขา้ ราชการ เปน็ ต้น ค. รายจ่ายทางด้านการทหารและการปอ้ งกนั ประเทศ แต่ทั้งนี้ไม่รวมรายจ่ายในรูปเงินโอนต่าง ๆ เช่น รายจ่ายเพ่ือสวัสดิการสังคม เงินบำนาญ เงิน สงเคราะห์ ทหารผ่านศึก เงินช่วยเหลือผู้สูงอายุ เป็นต้น และรายจ่ายเพ่ือชำระเงินต้น และบริษัทเงินกู้ของ รฐั บาล

  1. การส่งออกสุทธิ หมายถึง ผลต่างระหวา่ งมูลค่าสินค้าท่ีส่งไปขายยังต่างประเทศ (Export: X) กับ มลู คา่ สนิ ค้าที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ (Import: I) ดังนั้น การคำนวณรายได้จงึ ต้องใช้มลู คา่ การส่งออกสุทธิ น่นั คอื

Net Exports = Exports - Imports \= X-M

มูลค่าส่งออกสุทธิน้ีอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ขึ้นอยู่กับมูลค่าการส่งออกมากหรือน้อยกว่า การ นำเข้า ถ้ามูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่ามูลค่าสินค้านำเข้า จะได้ยอดสุทธิเป็นบวก มูลค่ารายได้ประชาชาติ จะ เพิ่มข้ึน แต่ถ้ามูลค่าสินค้านำเข้ามากกว่ามูลค่าสนิ ค้าส่งออก จะได้ยอดสุทธิเป็นลบ มลู ค่ารายได้ ประชาชาติก็ จะลดลง

8

GDP = C + I + G + (X - M) เมื่อ C = รายจ่ายเพื่อการบรโิ ภคของภาคเอกชน

I = รายจ่ายเพื่อการลงทนุ ของภาคเอกชนและรฐั บาล G = รายจา่ ยของรัฐบาล (X-M) = การสง่ ออกสทุ ธิ การคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่ายของประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ไดจ้ ำแนกรายจ่ายด้านต่าง ๆ ของภาคเอกชนและรัฐบาลไวใ้ นตารางต่อไปนี้

ตาราง แสดงรายได้ประชาชาตโิ ดยคดิ จากมูลค่าดา้ นรายจ่ายของประเทศ พ.ศ. 2558 - 2562

หนว่ ย : ลา้ นบาท

หมายเหตุ : r คอื การปรบั ปรุงค่า p คือ ทมี่ คี ่ารายปเี ป็นคา่ ตวั รวมเบอื้ งตน้ p1 คือ ยงั ไม่มคี า่ รายปี

ท่มี า : สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี

9

3. ความสัมพนั ธ์ระหว่างกนั ของรายไดป้ ระชาชาติ

โดยท่ัวไปคำว่า “รายได้ประชาชาติ” มักใช้เป็นคำกลางๆ สำหรับเรียกรายได้หรือผลิตผลรวมของ ชาติ แทจ้ ริงแล้วรายไดป้ ระชาชาติมีอยู่ 7 ประเภท ดังน้ี

1. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติในประเทศเบอื้ งต้น (Gross Domestic Product: GDP) 2. ผลิตภณั ฑ์ประชาชาติเบ้ืองตน้ (Gross National Product: GNP) 3. ผลติ ภณั ฑป์ ระชาชาติสุทธิ (Net National Product: NNP) 4. รายไดป้ ระชาชาติ (National Income: NI) 5. รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income: PI) 6. รายไดท้ ่สี ามารถใชจ้ ่ายไดจ้ ริง (Disposable Income: DI) 7. รายไดเ้ ฉลีย่ ตอ่ บคุ คล (Per Capita Income) รายไดป้ ระชาชาตแิ ตล่ ะชนิดมีความหมายและความสัมพนั ธ์กันดังตอ่ ไปนี้ 3.1 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product: GDP) หมายถึง มูลค่ารวมของสินคา้ และบริการข้ันสุดท้ายท่ีผลิตขึน้ ได้ภายในประเทศในระยะเวลา 1 ปี กล่าวคือ สินค้า และ บรกิ ารใดก็ตามทผี่ ลิตข้ึนภายในประเทศใดถอื เปน็ ผลผลติ ภายในประเทศนัน้ โดยไม่คำนึงว่าทรัพยากร ที่นำมา ผลิตสินค้านั้นเป็นของชนชาติใด เช่น ชาวเยอรมันมาต้ังโรงงานผลิตรถยนต์ในประเทศไทย ผลผลิตที่ได้จะ รวมอยูใ่ น GDP ของไทย ในทางตรงข้าม คนไทยท่ีไปเปิดรา้ นขายอาหารในประเทศเยอรมนี ผลผลิตที่ได้ก็จะ รวมอยู่ใน GDP ของประเทศเยอรมนี มูลค่า GDP ที่คำนวณได้น้ีจะแสดงถึงความสามารถ ในการผลิตของ ประเทศนน้ั ๆ

GDP = GNP – F

F = รายได้สทุ ธิจากต่างประเทศ (Net Income From Abroad) คือ ส่วนต่างระหว่างรายได้ ที่เกิด จากปัจจัยการผลิตทป่ี ระชาชนของประเทศนัน้ ไดก้ ่อให้เกิดขึ้นในต่างประเทศกับรายได้ที่ประชาชนของ ประเทศอ่ืนได้กอ่ ให้เกดิ ขน้ึ ในประเทศนนั้

GDP จะคิดจากรายได้ของประชาชนทุกคนท่ีทำรายได้ในประเทศ และรวมถึงรายได้ของ ชาวต่างชาติ ท่ีทำรายได้ในประเทศน้ันด้วย (โดยปกติใช้ระยะเวลา 1 ปี ) ทรัพยากรท่ี ใช้ในการผลิตจะไม่ คำนึงถึงสัญชาติของผู้ผลิต คือ จะเป็นของพลเมืองในประเทศนั้นหรือจะเป็นของชาวต่างประเทศก็ได้ ตัวอย่างเช่น ตัวเลข ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบ้ืองต้น (GDP) ของประเทศไทย เม่ือ พ.ศ. 2556 มีจำนวน 12,910,038 ล้านบาท หมายความว่า สินค้าและบริการที่คนไทยและคนต่างชาติท่ีมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ช่วยกันผลิตได้ 12,910,038 ลา้ นบาท เป็นต้น

10

3.2 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบ้ืองต้น (Gross National Product: GNP) หมายถึง มูลค่ารวม ของสินค้าและบรกิ ารข้ันสุดท้ายทั้งหมดที่ประชาชนของประเทศหน่ึง ๆ สามารถผลิตได้ในระยะเวลา 1 ปี ซ่ึง ผลติ ขึ้นโดยพลเมอื งและทรพั ยากรของประเทศนนั้ ๆ ทั้งท่ผี ลิตข้ึนภายในประเทศและต่างประเทศ กล่าวคือ ใน ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (Open Economy) จะมีการนำเอาทรพั ยากรภายในประเทศ ออกไปผลติ ในประเทศ อื่น และประเทศอื่นนำทรัพยากรเขา้ มาผลิตภายในประเทศ ด้วยเหตุน้ี รายได้ประชาชาติของระบบเศรษฐกิจ แบบเปิด ส่วนหน่ึงจะเป็นสินค้าและบริการท่ีผลิตภายในประเทศ แต่อีกส่วนหน่ึงจะเป็นสินค้าและบริการท่ี ผลิตในประเทศอ่ืน สำหรับประเทศท่ีมีระบบเศรษฐกิจแบบปิด (Closed Economy) จะมีเฉพาะสินค้าและ บรกิ ารทีผ่ ลติ ภายในประเทศเพยี งอยา่ งเดยี ว

ดังน้ัน GNP จะเท่ากับ GDP ก็ตอ่ เม่ือไม่มีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรระหวา่ งประเทศ แต่ถ้ามี การ เคล่ือนย้ายทรัพยากรระหว่างประเทศ ส่วนต่างระหว่าง GNP กบั GDP จะเท่ากับรายไดส้ ุทธิจาก ต่างประเทศ (net income from abroad: F) เขยี นเปน็ สมการไดด้ งั นี้

GNP = GDP + F

ประโยชน์ของ GDP และ GNP มดี ังน้ี 1. GDP เหมาะท่ีจะนำไปใช้วัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศ ซ่ึงกิจกรรมทาง

เศรษฐกิจ ได้แก่ การผลิต การบริโภค และการแลกเปล่ียนสินค้าหรือบริการ หากตอ้ งการดวู ่าประเทศนั้น ๆ มี ภาวะเศรษฐกิจ เป็นอย่างไร อาจทำได้โดยการหามูลค่าของสินค้าและบรกิ ารที่ทุกคนในประเทศช่วยกันผลิต ออกมาเปน็ ตัวเงิน มูลคา่ ท่ีคำนวณออกมาได้เรียกวา่ รายได้ประชาชาติ ปีใดรายได้ประชาชาตสิ ูงขนึ้ แสดงว่าปี นน้ั ประชากร จะมีความเป็นอยู่ทด่ี ขี ึ้น

2. GNP เหมาะท่ีจะนำไปใชว้ ัดความอยู่ดีกินดีในทางเศรษฐกิจของคนในประเทศและใช้วัด สวัสดกิ ารทางเศรษฐกิจของคนในชาต

3.3 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product: NNP) หมายถึง มูลค่าของสินค้า และบรกิ ารขน้ั สดุ ท้ายท้งั หมด โดยหกั ด้วยค่าใช้จ่ายในการบริโภคทุน รายจ่ายเพอื่ การลงทุนในส่วนหนง่ึ นั้น จะ ถูกนำไปชดเชยคา่ เสื่อมราคาของสินคา้ ประเภททุนที่หายไป และอีกส่วนหนึ่งจะนำไปลงทุนในระบบเศรษฐกิจ เขยี นในรูปของสมการไดด้ งั นี้

NNP = GNP – ค่าใชจ้ า่ ยในการบรโิ ภคทุน

ค่าใชจ้ ่ายในการบริโภคทนุ (Capital Consumption Allowances) ประกอบดว้ ย 1. ค่าเส่ือมราคา (Depreciation) 2. ค่าเคร่ืองมือเครอ่ื งใช้ในการผลิตทช่ี ำรุดสึกหรอหรอื ลา้ สมัย 3. ค่าทรัพย์สินสูญหาย เช่น ถูกไฟไหม้ นำ้ ทว่ ม ถูกโจรกรรม ระเบิด วาตภยั เป็นตน้

11

มูลค่า NNP ที่คำนวณได้น้ีจะแสดงถึงความสามารถในการผลิตระยะยาวของประเทศ เนอ่ื งจาก NNP จะรวมเฉพาะค่าใชจ้ า่ ยในการลงทุนสุทธิ ซงึ่ เปน็ การเพิม่ กำลังการผลติ ให้แก่ประเทศในอนาคต เทา่ นนั้

ฃอย่างไรก็ตาม การหามูลค่า NNP ให้ถูกต้องและตรงกับความเป็นจริงน้ันทำได้ยาก เพราะ แตล่ ะหนว่ ยธรุ กจิ มีการคิดค่าเส่ือมราคาแตกตา่ งกัน ดว้ ยเหตุนน้ี ักเศรษฐศาสตรจ์ ึงนิยมใช้ตัวเลข GNP มากกว่า จะใช้ NNP เพราะถอื ว่าในแง่สถติ ิ GNP มีความถูกต้องมากกวา่

3.4 รายไดป้ ระชาชาติ (National Income: NI) หมายถึง ผลตอบแทนท่ีแท้จรงิ ของปจั จัยการผลิต โดยคำนวณได้จากผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NNP) หักด้วยภาษีทางอ้อมธุรกิจ (Indirect Dusiness Tax) เหตุผลที่ตอ้ งนำภาษีทางอ้อมธุรกิจมาหักออก เน่อื งจากผู้ผลิตสนิ ค้าจะต้องเสยี ภาษีทางอ้อมใหก้ ับรัฐบาล เช่น ภาษีการค้า ภาษีสรรพสามิต ภาษีศลุ กากร เป็นต้น เม่ือรฐั บาลเก็บภาษีเหล่าน้ีแล้ว ผู้ผลิตสามารถ ผลักภาระ ภาษีไปยังผู้บริโภคได้ โดยการเพ่ิมเข้าไปในราคาสินค้าท่ีขาย เม่ือเป็นเช่นน้ี มูลค่า NNP ซึ่งรวมเอาภาษี ทางอ้อมธุรกิจเข้าไว้ ทำให้มูลค่าของสินค้าท่ีปรากฏในรายได้ประชาชาติสูงกว่าความเป็นจริงเท่ากับ จำนวน ภาษีทางอ้อมธุรกิจเหล่าน้ัน ฉะน้ันเพื่อให้ได้รายได้ประชาชาติที่แท้จริง จึงจำเป็นต้องหักภาษี ทางอ้อมธุรกิจ ออกไป เขียนเป็นสมการไดด้ งั น้ี

NI = NNP – ภาษที างอ้อมธรุ กจิ – เงินโอนของธรุ กจิ – เงนิ อุดหนุนของรฐั บาล

มลู คา่ NI ท่ีคำนวณไดน้ จ้ี ะแสดงถึงความสามารถในการวดั รายไดท้ ีเ่ กิดจากการผลิตโดยตรง

3.5 รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income: PI) หมายถึง รายได้ท่ีบุคคลได้รับท้ังหมดโดยรวมท้ัง รายได้ที่เป็นผลตอบแทนจากการขายหรือให้บริการปัจจัยการผลิต และรายไดท้ ี่มิใช่ผลตอบแทนจาก การขาย หรือให้บริการปัจจัยการผลิต ทั้งน้ีต้องหักภาษีรายได้จากทุกภาคธุรกิจ และเงินปันผลที่ยังไม่ได้ มีการจัดสรร และรวมเงนิ โอนจากภาครฐั บาลรวมไว้ดว้ ย ซง่ึ เป็นรายไดท้ ี่จะตกมาถึงมือบคุ คลจรงิ ๆ ใน ระยะเวลา 1 ปี

การคำนวณหารายได้ส่วนบุคคลนี้ จะคำนวณจากรายได้ประชาชาติ (NI) ซ่งึ เป็นรายไดท้ ั้งหมด ท่ีเกิด จากการผลิตของประเทศ แต่รายได้ส่วนบุคคลที่ได้รับจากการผลิตนั้นบางส่วนจะไม่ตกมา ถึงมือของบุคคล ได้แก่ ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล เงินประกนั สังคม และเงนิ ปนั ผลทย่ี ังไม่ไดน้ ำมาจดั สรร นอกจากนี้ รายได้บางส่วนที่ ได้รบั มาก็ไม่ได้เกดิ จากการผลิต ได้แก่ เงินโอนหรอื เงนิ บริจาค และรายได้ ค่าดอกเบ้ยี ทเี่ อกชนไดร้ บั จากรฐั บาล และที่ผูบ้ ริโภคจ่ายให้ ดังน้นั การคำนวณรายได้สว่ นบคุ คลจากรายได้ ประชาชาติ จงึ เขียนเปน็ สมการไดด้ ังน้ี

PI = NI – (ภาษีเงนิ ได้นิติบุคคล + เงนิ ปันผลท่ยี ังไม่ไดจ้ ัดสรร) + เงนิ โอน + รายไดค้ ่าดอกเบ้ยี ท่ีเอกชนไดร้ บั จากรัฐบาลและทผ่ี ูบ้ รโิ ภคจ่ายให้

12

ภาษีเงนิ ไดน้ ิติบุคคล ปกติบริษัทหรือหา้ งหุ้นส่วนนิติบุคคลเมอื่ ดำเนินกิจการมกี ำไร จะตอ้ งนำกำไรนี้ ไปเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลให้รัฐบาล เช่น สมมติว่า รัฐบาลไทยเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลจากบริษัทท่ัวไป ใน อัตราร้อยละ 40 ของกำไร สมมติว่า บริษัท ก. มีกำไร 1 ล้านบาท บริษัท ก. จะต้องเสียภาษีให้รัฐบาล 400,000 บาท ภาษีเงินได้นิติบุคคลน้ีมิได้ตกไปถึงมือของบุคคล ผู้ถือหุ้นจึงต้องนำมาหักออกจากรายได้ ประชาชาติ

เงินปันผลที่ยังไม่ได้จัดสรรของบริษัท เม่ือบริษัทดำเนินกิจการมีกำไร ถ้าจ่ายเป็นเงนิ ปันผลให้ผู้ถือ หนุ้ เงินปันผลน้ันจะเป็นรายได้ส่วนบุคคล หากบริษัทกันเงนิ กำไรไว้ขยายกิจการ ผู้ถือหุ้นก็จะไม่ได้รับเงินปัน ผล ดงั นั้นจึงต้องนำเอากำไรทยี่ งั ไมไ่ ด้จัดสรรของบรษิ ทั ไปหักออกจากรายได้ประชาชาติ เพราะกำไรส่วนนี้มไิ ด้ ตกไปถึงมอื ของบุคคล

เงินโอน เงินโอนอาจเป็นเงนิ หรือส่ิงของกไ็ ด้ คือ เป็นการให้เปลา่ โดยไม่มีสินค้าหรือบริการตอบแทน เป็นการโอนอำนาจซื้อจากบคุ คลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งโดยมิได้ก่อให้เกิดผลผลิตเพิ่มข้ึนแต่อย่างใด แต่เงินโอน ในกรณีน้ี เมื่อบุคคลได้รับเข้ามาก็ถือได้ว่าเป็นรายได้ที่ช่วยให้มีอำนาจซ้ือสูงข้ึน จึงต้องนำเอาเงินโอน มารวม เป็นรายได้สว่ นบุคคล (PI)

รายได้ค่าดอกเบ้ียทีร่ ฐั บาลและท่ผี ้บู ริโภคจ่ายให้ เป็นดอกเบีย้ ท่เี อกชนได้รับจากองค์กรการผลติ ตา่ ง ๆ แม้จะเป็นรายไดท้ ่ีไม่ได้เป็นผลตอบแทนของปัจจยั การผลติ ก็ตาม แต่ตกทอดถึงมือของบคุ คลจริง ๆ จึงต้อง นำมารวมเป็นรายไดส้ ว่ นบคุ คล (PI)

3.6 รายได้ที่สามารถใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income: DI) หมายถึง รายได้ท่ีครัวเรือน ทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจสามารถนำไปใช้จ่ายซ้ือสินค้าและบริการได้จริง หลังจากหักภาษีเงินได้ บุคคล ธรรมดาออกแลว้ เขยี นเป็นสมการไดด้ ังน้ี

DI = PI – ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา

มูลค่า DI ที่คำนวณได้นี้จะแสดงถึงอำนาจซื้อท่ีแท้จริงของประชาชนว่ามีอยู่มากน้อยเพียงใด และแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการออมของประชาชนด้วย เนื่องจากประชาชนจะนำไปใช้จ่าย เพ่ือการ บรโิ ภค และเกบ็ ออม

3.7 รายได้เฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Income) หมายถึง รายได้ท่ีเกิดจากมูลค่าของสินค้า และ บริการในราคาตลาดหารดว้ ยจำนวนประชากรของประเทศทัง้ หมด

รายไดต้ ่อบุคคล = รายได้ประชาชาติ จำนวนประชากร

13

จากความสัมพนั ธ์ของรายได้ประชาชาติทัง้ 7 ประเภทดงั กลา่ วแล้ว อาจสรุปความสมั พันธไ์ ด้ดงั นี้ 1. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติในประเทศเบื้องต้น (GDP) = มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้น

สุดท้าย ที่ผลติ ขึ้นไดภ้ ายในประเทศ ในระยะเวลา 1 ปี 2. ผลติ ภณั ฑ์ประชาชาติเบอ้ื งตน้ (GNP) = GDP + รายไดส้ ุทธจิ ากตา่ งประเทศ (F) 3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาตสิ ุทธิ (NNP) = GNP - ค่าใช้จา่ ยในการบริโภคทนุ 4. รายได้ประชาชาติ (NI) = NNP - ภาษที างอ้อมธุรกิจ 5. รายได้ส่วนบุคคล (PI) = NI – (ภาษีเงินได้นิติบุคคล +เงินปันผลที่ยังไม่ได้จัดสรร) + เงิน

โอน + รายได้คา่ ดอกเบีย้ ท่เี อกชนได้รบั จากรัฐบาลและท่ีผบู้ ริโภคจา่ ยให้ 6. รายได้ท่สี ามารถใช้จ่ายได้จรงิ (DI) = PI – ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา 7. รายไดเ้ ฉล่ียตอ่ บุคคล (Per Capita Income) = รายไดป้ ระชาชาติ จำนวนประชากร

4. รายได้ประชาชาตทิ ่ีแท้จรงิ และรายได้เฉลี่ยตอ่ บคุ คล

รายได้ประชาชาตทิ ีแ่ ท้จรงิ (Real GNP) ในการคำนวณรายได้ประชาชาติตามวิธีต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นรายได้ในรูปตัวเงิน (Money GNP) หรือผลิตภัณฑ์ประชาชาติตามราคาปัจจุบันหรือราคาตลาด ซึ่งราคามักจะมีการเปล่ียนแปลง อยู่ตลอดเวลา ฉะนั้น การนำเอามูลค่าของรายไดป้ ระชาชาตติ ่างปมี าเปรียบเทียบกนั จึงไม่สามารถบอกได้ว่า ผลติ ภณั ฑท์ แ่ี ทจ้ รงิ เพ่ิมขึ้นหรือลดลงเพยี งใด ท้ังนเี้ พราะการคำนวณจากราคาปัจจุบนั นน่ั คือ รายได้ของ ปใี ดก็ คำนวณจากราคาในปีนน้ั ซ่ึงราคาสินค้าแต่ละปีไม่เท่ากัน บางปีสูงบางปีต่ำ ดังนน้ั การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่า GNP ท่ีคิดจากราคาปัจจุบันจึงไม่สามารถบอกให้ทราบได้ว่า ในแต่ละปีผลิตภัณฑ์ท่ีแท้จริงของ ประเทศ เปลีย่ นแปลงไปอย่างไรและเท่าไร การแก้ไขปัญหาน้ีก็คือ ปรับเปล่ียนผลิตภัณฑ์ประชาชาติตามราคาปัจจุบันให้เป็นผลิตภัณฑ์ ประชาชาติที่แท้จริง (Real GNP) โดยใช้ดัชนีราคาของปีฐาน (Price Index) ซึ่งเป็นปีที่มีราคาคงที่มาก ที่สุด ซง่ึ หาได้โดยใชส้ ตู รดังนี้

Real GNP = ผลิตภณั ฑป์ ระชาชาตทิ ่ีเปน็ ตวั เงนิ x 100 ดัชนีราคาของปเี ดยี วกัน

หรือ Real GNP = Money GNP ปีท่ี n x 100 ดัชนรี าคาของปี n

14

ตัวอย่าง กำหนดให้ Money GNP ในปี 2557 มีมูลค่า 3,000 ล้านบาท ดัชนีราคาของปี 2557 เท่ากบั 150

จงหาReal GNP Real GNP (2557) = Money GNP (2557) x 100 ดัชนีราคาของปี 2557 \= 3,000 x 100 150 \= 2,000 ล้านบาท

รายได้ประชาชาติเฉล่ียต่อบุคคล (Per Capital Income) รายได้ประชาชาติเฉล่ียต่อบุคคล หมายถึง รายได้เฉลี่ยต่อบุคคลต่อปีในประเทศหน่ึง ๆ คำนวณ ได้จากมูลค่าของรายได้ประชาชาติหารด้วย จำนวนประชากรของประเทศนั้น ๆ ตวั เลขที่ได้จะแสดงถงึ ประสิทธิภาพในการผลิตของระบบเศรษฐกิจ และ บ่งบอกถึงความกินดีอยู่ดีของประชาชนของประเทศน้ัน สามารถคำนวณหารายได้เฉลี่ยต่อบุคคลโดยใช้สูตร ดังน้ี

รายไดป้ ระชาชาตเิ ฉลี่ยตอ่ บคุ คล = รายได้ประชาชาติในปีท่พี จิ ารณา จำนวนประชากรของประเทศในปที พี่ ิจารณา

ตาราง แสดงรายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคล

ประเภท จำนวนประชากร รายได้ประชาขาติ รายไดป้ ระชาชาตเิ ฉลยี่ ตอ่ (ล้านคน) (ล้านบาท) บคุ คล A (บาท) B 250 780,000 3,120 C 170 600,000 3,235.29 20 75,000 3,750

15

จากตาราง สมมติให้เห็นว่า ถึงแม้ว่ารายได้ประชาชาติของประเทศ A จะมีมากที่สุด แต่เมื่อหาร ด้วย จำนวนประชากรที่มีอยู่ในประเทศ กลับมีรายได้เฉลี่ยต่อบุคคลน้อยที่สุด เนื่องจากประเทศ A มีจำนวน ประชากรมากกว่าประเทศ B และประเทศ C ในทางตรงข้าม ประเทศ C แม้จะมีรายได้ประชาชาติน้อยกว่า ประเทศ A และประเทศ B แต่รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคลของประชากรมีมากท่ีสุด เนื่องจากจำนวน ประชากรทน่ี ้อยกว่า ซึ่งแสดงวา่ สัดส่วนโดยเฉล่ียของประชากรในประเทศ C จะมีโอกาสที่จะไดร้ ับสินค้า และ บริการมากกว่าประเทศ B และประเทศ A ตามลำดบั

5 ประโยชนแ์ ละขอ้ ควรระวงั ในการใช้บัญชีรายได้ประชาชาติ

ประโยชนจ์ ากบัญชรี ายไดป้ ระชาชาติ บัญชีรายได้ประชาชาติมีประโยชนแ์ กผ่ ู้นำประเทศ นกั วิเคราะห์เศรษฐกิจ นักวชิ าการ นักธุรกจิ ซ่ึง สรุประโยชนข์ องบญั ชีรายไดป้ ระชาชาตไิ วด้ งั นี้

1. ประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เป็นการแสดงให้ทราบถึงการ พัฒนา ประเทศในปีที่ผ่านมาหรือปีก่อนหน้าน้ีว่ามีสถานการณ์เป็นอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของการบริโภค ของ ประชาชน การลงทุนท่ีเพิ่มข้ึนหรือลดลง ซ่ึงสงิ่ ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนแต่เก่ียวกับความเป็นอยู่ของประชาชน ในประเทศ

2. ประโยชน์ด้านการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ เป็นผลพวงที่เกิดจากการ วิเคราะห์ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ โดยการกำหนดเป็นนโยบายหรือมาตรการต่าง ๆ เพ่ือให้สอดคลอ้ งกับ สถานการณ์ในเรื่องของความแตกต่างในด้านการผลิตของแต่ละสาขา และเพ่ือลดชอ่ งวา่ งระหว่างคนรวย กับ คนจนท่ีอย่ใู นประเทศในภาคตา่ งๆ

3. ประโยชน์ในการใช้เป็นเครื่องมือวางนโยบายในการเก็บภาษีอากร ในการวางแผนเก็บภาษี จะมีผลต่อราคาสินค้าภายในประเทศ เช่น การเก็บภาษีนำเข้าจากสินค้าประเภทพลังงาน จะส่งผลทำให้ ราคา สินค้าในประเทศน้ันมีต้นทุนการผลิตสูงข้ึน หากประชาชนในประเทศมีรายได้เฉลี่ยตอ่ หัวต่ำ ย่อม ไม่เป็นผลดี ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศน้ัน ดังนั้น การวางนโยบายในการเก็บภาษีอากรจำเป็นต้องให้ สอดคล้องกับ สถานการณท์ างด้านเศรษฐกิจของประเทศดว้ ย

4. ประโยชน์ในการใช้เป็นเครอื่ งมือเทียบเคยี งฐานะทางเศรษฐกิจ เป็นการเปรียบเทียบรายได้ ต่อบุคคลในแต่ละประเทศ เพ่ือให้ทราบถึงฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ และคุณภาพชีวติ ของ ประชาชนท่ีเป็นอยู่ เพ่อื กำหนดแนวทางในการส่งเสริมหรอื แก้ไขตอ่ ไป

ข้อควรระวังของบัญชรี ายไดป้ ระชาชาติ 1. การนับซำ้ การนำมูลค่าของสนิ คา้ และบรกิ ารมาคำนวณจะตอ้ งเปน็ สินค้าและบริการที่อยู่ใน

ข้ันสดุ ทา้ ยเทา่ น้นั ไมเ่ ชน่ น้ันอาจจะส่งผลทำให้มลู ค่าของรายได้ประชาชาติมีมูลค่าทีส่ งู เกนิ ความเป็นจริง 2. รายได้ประชาชาติไม่ได้รวมสินค้าและบริการข้ันสุดท้ายท่ีผลิตได้ท้ังหมดอย่างแท้จริง

กล่าวคือ รายได้ประชาชาตจิ ะรวมเฉพาะสินคา้ และบรกิ ารที่ผ่านตลาดเทา่ น้ัน แต่สินค้าและบริการที่ไม่ได้ผ่าน

16

ตลาด จะไม่ปรากฏในรายไดป้ ระชาชาติ เชน่ การทำงานบา้ นของแม่บ้าน การปลกู สรา้ งที่พักอาศยั อยู่เอง การ เพาะปลูกเพ่ือบริโภคเอง เป็นต้น ในกรณีเช่นน้ีหากสินค้าและบริการท่ีไม่ผ่านตลาดมีมูลค่าเพียงเล็กน้อย รายได้ประชาชาติกจ็ ะเป็นเครือ่ งชใ้ี หเ้ ห็นสวัสดิการทางเศรษฐกิจที่ใกล้เคยี งกบั ความเป็นจริง แต่ถา้ หาก สินค้า และบรกิ ารท่ีไมไ่ ด้ผา่ นตลาดมีมูลค่ามาก รายได้ประชาชาตกิ ็จะเปน็ เครอื่ งช้ใี หเ้ ห็นสวัสดิการทาง เศรษฐกิจทตี่ ่ำ กวา่ ความเป็นจริง

3. บัญชีรายได้ประชาชาติไม่ได้แสดงวัตถุประสงค์หรือประเภทของสินค้าหรือบริการท่ีผลิต เพิ่มขึ้น เนื่องจากรายได้ที่เพ่ิมขึ้นอาจแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการผลิตที่เพ่ิมข้ึน แต่ไม่ได้บอกว่า เศรษฐกิจจะเติบโตไปทิศทางใด บางคร้ังรายได้ประชาชาติอาจเพ่ิมขึ้นจากกิจกรรมอ่ืน อาทิ การผลิต ยุทธ ปจั จัยทางสงครามเพิ่มขึ้น ซึ่งผลผลิตท่ีเพิ่มขึ้นเหล่านไ้ี ม่สง่ ผลให้ประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพ ที่ดีข้นึ ซ่ึง เปน็ สว่ นทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความสูญเสยี และสิน้ เปลืองทรัพยากรของประเทศอกี ประการหนง่ึ

4. บัญชีรายได้ประชาชาติเน้นเพียงทำให้รายได้เฉล่ียต่อบุคคลเพิ่มข้ึน แต่ไม่ได้คำนึงถึง ความ เป็นธรรมในการกระจายสินคา้ และบริการไปยงั บุคคลตา่ ง ๆ ในสังคม และยงั ไม่ได้แสดงถงึ เร่ืองของ สวสั ดิการ หรอื คุณภาพชีวติ ของประชาชนท่คี วรจะได้รับ เช่น การพกั ผ่อนหยอ่ นใจ ภยั ธรรมชาติ เปน็ ตน้

5. บัญชีรายได้ประชาชาติแสดงแคก่ ารเปลยี่ นแปลงในมูลค่าและปริมาณของสินคา้ และบรกิ าร ขั้นสุดท้าย ซึ่งไม่ไดแ้ สดงถึงการเปล่ียนแปลงในการพัฒนาคณุ ภาพของสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้น แม้จะ เพ่ิม ผลผลิตได้ แตไ่ มอ่ าจกลา่ วไดว้ า่ คนในสังคมมคี วามเป็นอยทู่ ่ดี ีข้ึนได้

สรุป รายได้ประชาชาติ คือ รายได้ของประชาชนทั้งหมดในประเทศที่เกิดขึ้นในรอบ 1 ปี เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบ้ีย และกำไร โดยรายได้ประชาชาติจำแนกออกเป็น 7 ชนดิ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ในประเทศเบ้ืองต้น (GDP) ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติสุทธิ (NNP) รายได้ ประชาชาติ (NI) รายได้ส่วนบุคคล (PI) รายได้ที่สามารถใช้จ่ายได้ จริง (DI) และรายได้เฉล่ียต่อบุคคล (Per Capita Income) โดยรายไดด้ ังกลา่ วสามารถคำนวณ ได้ 3 ทาง คือ

1. การคำนวณหารายได้ประชาชาติทางด้านผลผลิต เช่น การคำนวณเฉพาะผลผลิต ท่ีเพ่ิมขึ้นแต่ ละข้นั ตอนเท่านั้น เพราะการคิดเชน่ นจ้ี ะไม่ก่อใหเ้ กดิ การนบั ซำ้ อีกตอ่ ไป

2. การคำนวณหารายได้ประชาชาติทางด้านรายได้ ได้แก่ รายรับท่ีได้จากค่าจ้างแรงงาน ท่ีเป็น เงินเดือน คา่ เช่าทรัพยส์ ินต่าง ๆ คา่ ดอกเบย้ี จากเงินทุน และกำไรทีไ่ ดจ้ ากการดำเนินธรุ กจิ

3. การคำนวณหารายได้ประชาชาติทางด้านรายจา่ ย เช่น รายจ่ายของรัฐบาล รายจ่าย เ พื่อการ บรโิ ภค รายจ่ายเพื่อการลงทุน และรายจา่ ยในการซือ้ สนิ ค้าจากต่างประเทศ

อย่างไรก็ตาม การคำนวณรายได้ประชาชาติท้ัง 3 วิธีดังกล่าว อาจมีทั้งข้อดีและ ข้อบกพร่องอยู่ บ้าง เชน่

ข้อดขี องรายไดป้ ระชาชาติ 1. สามารถนำมาวิเคราะหภ์ าวะเศรษฐกิจของประเทศได้ 2. ใชใ้ นการเปรยี บเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชนว่าอยู่ในระดบั ใด 3. ใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื กำหนดนโยบายทางเศรษฐกจิ ของประเทศไดเ้ ป็นอย่างดี

17

4. ทำให้ทราบว่า เศรษฐกิจของภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบริการมีความ แตกต่างกัน อย่างไร

ข้อบกพรอ่ งของรายไดป้ ระชาชาติ 1. การคดิ คา่ เส่อื มราคา ในแตล่ ะหนว่ ยงานคดิ ค่าเสอื่ มราคาแตกต่างกนั 2. ผลติ ภัณฑบ์ างชนิดไมผ่ ่านตลาด เช่น งานของแมบ่ า้ น ทำอาหาร และการตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ เปน็ ตน้ 3. การตีราคาสินค้าคงเหลือไม่เท่ากัน ขึ้นอย่กู ับเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงาน 4. อาจเกิดการนับซ้ำ เช่น การคำนวณจากรายได้และรายจา่ ย

18

แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8

ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. รายได้ประชาชาติคืออะไร การคำนวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายได้ ประกอบด้วยรายได้ประเภท ใดบา้ ง

..................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ....................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

2. ประโยชน์ของผลิตภณั ฑป์ ระชาชาตใิ นประเทศเบอื้ งต้น (GDP) คืออะไร

..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

3. มีรายได้ประเภทใดบ้างทีไ่ ม่ไดน้ ำมารวมเป็นรายได้ประชาชาติ เพราะเหตุใด

..................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ............... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

4. การคำนวณรายไดป้ ระชาชาตทิ างด้านรายจา่ ย ประกอบด้วยคา่ ใชจ้ า่ ยอะไรบา้ ง

..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

5. การคำนวณรายได้ประชาชาติมกี ่วี ธิ ี

..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

19

6. จงอธบิ ายความหมายของคำต่อไปนี้

  1. ผลิตภัณฑป์ ระชาชาติในประเทศเบ้อื งต้น (GDP)

..................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...................................... ..................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ .....................

  1. ผลติ ภณั ฑป์ ระชาชาติเบ้ืองตน้ (GNP)

..................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. .................................... ..................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ...................

  1. ผลิตภณั ฑป์ ระชาชาติสทุ ธิ (NNP)

..................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... .............................. ..................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ .............

  1. รายได้ประชาชาติ (NI)

..................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ............... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

7. ทำไมในการเปรยี บเทียบรายไดป้ ระชาชาตทิ ่ตี า่ งปีกันจึงต้องใช้รายไดป้ ระชาชาตทิ แ่ี ท้จริง

..................................................................................................................................................................... ................ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

8. รายไดเ้ ฉลีย่ ต่อบคุ คลคืออะไร และมีวธิ วี ดั อยา่ งไร

..................................................................................................................................................... ................................ ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

20

9. จงอธิบายถึงประโยชน์ของรายไดป้ ระชาชาติ

..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

10. ทำไมรายได้ประชาชาตจิ ึงมิใชด่ ชั นที ่ีสมบรู ณ์ในการวัดสวัสดิการของประชาชน

..................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ............................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

21

ตอนที่ 2 จงเลือกข้อทีถ่ ูกตอ้ งท่สี ดุ เพียงขอ้ เดียว

1. รายได้ประชาชาตมิ คี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด ก. คา่ จา้ ง คา่ เช่า ดอกเบี้ย และกำไร ข. คา่ ใช้จา่ ยในการอุปโภคบริโภคของคนท้ังประเทศ ค. ค่าใชจ้ ่ายในการบริโภค คา่ ใช้จ่ายในการลงทนุ รายจ่ายของรฐั บาล และรายจา่ ยจากตา่ งประเทศสุทธิ ง. มูลค่าท่ีเป็นตัวเงนิ ของสินคา้ และบริการท้ังหมดท่ีผลติ ขน้ึ ได้ในระบบเศรษฐกิจหนง่ึ ภายใน ระยะเวลาหน่ึง

ปี จ. ถกู ทุกข้อ

2. การวัดรายไดป้ ระชาชาติทำได้ก่ีวิธี อะไรบ้าง ก. วิธีเดยี ว คอื รายไดส้ ่วนบคุ คล ข. วิธเี ดียว คือ การวัดโดยใชม้ ูลคา่ เพ่ิม ค. 2 วิธี คือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาตเิ บอ้ื งต้น และผลิตภณั ฑป์ ระชาชาติสุทธิ ง. 3 วิธี คอื ดา้ นรายได้ ดา้ นรายจา่ ย และด้านผลผลิต จ. 4 วธิ ี คอื ด้านรายได้ ดา้ นรายจา่ ย ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ และด้านมลู ค่าเพิ่ม

3. การวดั รายได้ประชาชาตดิ า้ นรายได้ ทำไดอ้ ยา่ งไร

ก. C + I + G + (X – M) ข. มลู ค่าเพม่ิ

ค. คา่ จ้าง + คา่ เช่า + ดอกเบย้ี + กำไร ง. รายไดจ้ ากการส่งออกและนำเข้า

จ. มลู คา่ สุทธจิ ากการขายให้ตา่ งประเทศ

4. มลู คา่ เพิ่มของแตล่ ะธรุ กิจคอื อะไร ก. มลู คา่ ผลิตภัณฑ์ของธุรกิจนนั้ ข. มลู ค่าสนิ ค้าและบริการหน่วยสดุ ท้าย ค. มูลค่าผลติ ภัณฑ์ธุรกจิ น้ันหกั ด้วยกำไร ง. มลู ค่าผลิตภณั ฑข์ องธรุ กิจนั้นหักดว้ ยมลู คา่ ของวตั ถุดบิ จ. รายรับจากการขายท้งั หมดในราคาตลาด

5. การนับซำ้ ในการคำนวณรายได้ประชาชาตหิ มายถึงขอ้ ใด

ก. รายไดป้ ระชาชาติหลายปตี ิดตอ่ กัน ข. รายไดป้ ระชาชาติตั้งแต่ 2 ปขี ้ึนไป

ค. การรวมผลติ ภัณฑข์ ้นั กลางเขา้ ไปด้วย ง. การรวมรายไดจ้ ากการขายทั้งหมดในตลาด

จ. การนบั เฉพาะผลิตภัณฑข์ นั้ สุดท้าย

22

6. รายไดท้ ี่ตกไมถ่ ึงมอื ผบู้ รโิ ภคคือข้อใด

ก. คา่ จา้ ง ข. คา่ เชา่

ค. ดอกเบ้ยี ง. เงินเดอื น

จ. กำไรท่ไี ม่ได้จดั สรร

7. ทำไมเงนิ โอนจงึ ไมร่ วมอย่ใู นรายได้ประชาชาติ ก. ไม่ไดก้ ่อใหเ้ กดิ ผลผลิตเพิ่มขน้ึ ข. ไมไ่ ด้รวมผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ค. เพ่อื หลีกเล่ียงปญั หาท่จี ะเกดิ จากมูลค่าเพิ่ม ง. เงนิ โอนเป็นเงินท่ีจ่ายให้แก่นกั ธรุ กิจต่างชาติ จ. เงินโอนเปน็ เงินที่จา่ ยใหแ้ ก่บคุ คลซง่ึ พำนกั อย่ตู ่างประเทศ

8. ผลติ ภัณฑป์ ระชาชาตเิ บอ้ื งต้นไม่ไดร้ วมรายการใดบา้ ง ก. สินค้าประเภทคงทนถาวร ข. ผลิตภณั ฑท์ สี่ ่งไปขายตา่ งประเทศ ค. ผลผลิตทางการเกษตร ง. รายรับจากตา่ งประเทศ จ. บรกิ ารของแมบ่ า้ น

9. สมมตวิ ่านาย ก ซื้อข้าวเปลอื กจากชาวนาไปสเี ป็นขา้ วสารแจกคนในชมุ ชนแออัด อยากทราบวา่ ข้าว ท่นี าย