ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci

มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรมรองรับภาคอุตสาหกรรมอาหารในด้านการผลิต การควบคุมคุณภาพ มีความคิดสร้างสรรค์พัฒนานวัตกรรมอาหาร ตอบสนองความต้องการของธุรกิจอาหารสมัยใหม่

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
เรียนเกี่ยวกับ? พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารได้แก่ เคมีอาหาร การแปรรูปอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร รวมถึงการพัฒนาต่อยอดเป็น 2 กลุ่มวิชาเอกตามความสนใจ ได้แก่ กลุ่มวิชาเอกเทคโนโลยีทางอาหาร และ กลุ่มวิชาเอกนวัตกรรมอาหาร

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
จบมาทำงานอะไร เงินเดือนเท่าไหร่? - พนักงานฝ่ายผลิต - พนักงานฝ่ายการควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร - พนักงานฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ - พนักงานด้านการวิเคราะห์และการกำหนดมาตรฐานอาหาร - พนักงานฝ่ายการตลาด การจัดซื้อและจำหน่าย - ผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมอาหารและเครื่องดื่ม - นักวางแผนและพัฒนาธุรกิจด้านอาหารและเครื่องดื่ม เงินเดือน 18,000บาท/เดือน ขึ้นไป

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
ปี 1 เรียนอะไร? ความรู้พื้นฐาน ความรู้พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีทางอาหารและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ทักษะทางภาษาอังกฤษ และความรู้ทางด้านธุรกิจ เช่น หลักจุลชีววิทยา โภชนศาสตร์ หลักเคมีอาหาร และ เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เป็นต้น

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
ปี 2 เรียนอะไร? ความรู้เฉพาะทางด้านเทคโนโลยีทางอาหาร ความรู้เฉพาะทางด้านเทคโนโลยีทางอาหาร ได้แก่ เครื่องมือทางกระบวนการแปรรูปอาหาร ความปลอดภัยทางอาหารและสุขาภิบาล การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร การประเมินคุณภาพอาหารทางประสาทสัมผัส การใช้วัตถุเจือปนอาหารและส่วนผสมจากธรรมชาติในอาหารอนาคต เป็นต้น

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
ปี 3 เรียนอะไร? - กลุ่มวิชาเอก เทคโนโลยีทางอาหาร ทักษะทางด้านเทคโนโลยีทางอาหาร เครื่องมือในการแปรรูปอาหารและสามารถตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เช่น เคมีอาหารประยุกต์ จุลชีววิทยาทางอาหารและการตรวจวิเคราะห์ การประเมินอายุการเก็บและวิเคราะห์อาหาร การสร้างสรรค์และพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เป็นต้น - กลุ่มวิชาเอก นวัตกรรมอาหาร การประกอบการและแผนธุรกิจ การพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑ์อาหารและธุรกิจ เช่น ผู้ประกอบการทางอาหาร แผนธุรกิจทางอาหารและการคิดเชิงออกแบบ การวิจัยผู้บริโภคและการตลาดสมัยใหม่ และ บรรจุภัณฑ์อาหารและนวัตกรรม เป็นต้น

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
ปี 4 เรียนอะไร? - กลุ่มวิชาเอก เทคโนโลยีทางอาหาร บูรณาการและประยุกต์ใช้ความรู้ทั้งหมดที่เรียนมาเพื่อใช้ในการวางแผน และการคิดวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เช่น สัมมนาทางเทคโนโลยีทางอาหาร และ โครงการวิจัยทางเทคโนโลยีทางอาหาร เป็นต้น - กลุ่มวิชาเอก นวัตกรรมอาหาร การพัฒนาและวิจัยผลิตภัณฑ์นวัตกรรมอาหาร และการประยุกต์ใช้ความรู้กับการประกอบธุรกิจด้านอาหาร เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมอาหารและเครื่องดื่ม และ โครงการแบบจำลองธุรกิจและสตาร์ทอัพ เป็นต้น

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
เหมาะกับใคร? - กลุ่มวิชาเอก เทคโนโลยีทางอาหาร เหมาะกับนักเรียนที่ต้องการความมั่นคงของชีวิต จบแล้วทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร - กลุ่มวิชาเอก นวัตกรรมอาหาร เหมาะกับนักเรียนที่ชอบความท้าทาย จบแล้วสามารถทำงานในตำแหน่งนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านนวัตกรรม ( Innovation R&D ) ร่วมถึงการพัฒนาต่อยอดเป็นเจ้าของธุรกิจใหม่ ( Startup )

ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
ว ทยาศาสตร ภาคว ชา เทคโนโลย อาหาร ม.ศ ลปากร food sci
ตัวอย่าง ม.ที่เปิดหลักสูตรนี้ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายขอขอบคุณข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรม โทร. 02-6976504-5, 02-6976520-1 Facebook fanpage : https://www.facebook.com/Food-Science-Tech-UTCC-1040441209315609/ เว็บไซต์ : https://science.utcc.ac.th/major_fti/

  1. นงพิมล นิมิตรอานันท์ สุพัตรา เชาว์ไวย และ วิราพร สืบสุนทร. (2563). การออกกำลังกายแบบก้าวตามตารางเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารแพทย์นาวี, 48(1),23-36. มกราคม-เมษายน. [TCI กลุ่ม 1]

อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลิตผลทางการเกษตรซึ่งเป็นฐานหลักของการพัฒนาประเทศ ด้วยเหตุนี้การมีบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการแปรรูป การประกันคุณภาพ มาตรฐานและกฎหมายอาหาร รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัยจึงมีความสำคัญกับการพัฒนาประเทศ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร มีโครงสร้างหลักสูตรที่ประกอบด้วยรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รายวิชาด้านการบริหารจัดการความปลอดภัยอาหารและรายวิชาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร รวมทั้งการเพิ่มพูนประสบการณ์ทางวิชาชีพด้วยการฝึกงานหรือเรียนสหกิจศึกษา โดยมุ่งเน้นให้นิสิตมีความคิดวิเคราะห์เชิงสร้างสรรค์

รายละเอียดหลักสูตร

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

หลักสูตรต้องการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาหาร เพื่อตอบสนองความต้องการกำลังคนของตลาดแรงงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรม เกษตร และสถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในภาครัฐและเอกชน นอกจากนั้นยังต้องการส่งเสริมทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 ในด้านการทำงานร่วมกันโดยเฉพาะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural communication)