Axon ท ม เส นผ าศ นย กลางขนาดใหญ

  • 1. ระบบประสาทของสัตวชั้นสูงแบงตามโครงสรางได 2 ระบบ 1. ระบบประสาทกลาง (Central Nervous System : C.N.S.) ประกอบดวยสมองและ ไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System :P.N.S) ประกอบดวยเสนประสาท สมอง และเสนประสาทไขสันหลัง ระบบประสาทของสัตวชั้นสูงแบงตามการทํางานได 2 ระบบ 1. Somatic Nervous System : SNS ไดแก กลามเนื้อลาย 2. Autonomic Nervous System : ANS ไดแก กลามเนื้อรอบ กลามเนื้อหัวใจ และตอมตาง ๆ ระบบประสาททําหนาที่ 1. ตอบสนองสิ่งเราที่มากระตุน 2. ควบคุมการทํางาน 3. ควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ
  • 2. Axon ใยประสาท (fiber) Dendrite ประเภทของเซลลประสาท 1. แบงโดยใชขั้วเปนเกณฑได 3 แบบ คือ เซลลประสาทขั้วเดียว เซลลประสาทสองขั้ว และ เซลลประสาทหลายขั้ว 2. แบงโดยใชหนาที่เปนเกณฑ แบงได 3 แบบ คือ sensory neuron, motor neuron และ inter neuron ภาพเซลลประสาทชนิดตาง ๆ
  • 3. กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปในใยประสาทไดดวยปฏิกิริยาทางไฟฟาเคมี (electrochemical reaction) A.L. Hodgkin และ A.F. Huxley ไดทดลองวัดความตางศักยของเยื่อหุมเซลลประสาทของปลาหมึก โดยใช เครื่องมือที่เรียกวา microelectrode จากการทดลองพบวาความตางศักยไฟฟาระหวางภายในและภายนอกเซลลประสาทมีคา - 60 มิลลิโวลต ในสภาวะพัก ซึ่งเรียกวา resting potential หรือ polarisation ถามีการกระตุนที่จุดหนึ่งบน axon คาความตางศักยจะสูงขึ้นตามลําดับจนเปน + 60 มิลลิโวลต เรียกวาเกิด depolarization และเรียกความตางศักยที่เปลี่ยนไปวา action potential ตอมาความตางศักย ไฟฟาเริ่มลดลงเรียกวาเกิด repolarization สุดทายกลับลงมาเปน –60 มิลลิโวลตตามเดิมเรียก resting potential เซลลประสาทในภาวะปกติ Na+ อยูภายนอกมากกวาภายใน K+ อยูภายในมากกวาภายนอก Cl- เขาออกไดอิสระ Protein, Nucleic â มีขนาดโมเลกุลใหญอยูภายใน cell ใยประสาทไดรับการกระตุน ผนังเซลลประสาทเสียคุณสมบัติชั่วคราว คือ ยอมให Na+ เขาภายในเซลล ผลที่ตามมาคือ K+ ออกนอกเซลล ทําใหมีการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทสงตอไปยังสมองเพื่อใหเซลลประสาทกลับคืน สภาพเดิม จึงตองมี Sodium potassium (-K pump) ซึ่งใชพลังงานจากการสลายโมเลกุลของ ATP ภายในผิวของเซลลประสาท ดังรูป
  • 4. การถายทอดกระแสประสาท ในการสงกระแสประสาทจาก Axon ของเซลลหนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่งตองผาน Synapse โดย ปลาย axon จะหลั่งสารเคมีพวก Neurohormone (สารสื่อประสาท) เพื่อพากระแสประสาทใหขามไปได Neurohormone เชน acetylcholine สลายตัวเร็วมาก เพื่อไมใหซึมเขาเซลลหรือเสนเลือด โดย Enzyme ชื่อ acetylcholinesterase การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท กระแสประสาทจะไมเกิดขึ้นถากระตุนดวยความแรงนอยเกินกวาระดับหนึ่ง ถากระตุนดวยความ แรงมากก็ไมทําใหกระแสประสาทเคลื่อนที่เร็วขึ้น กระแสประสาทเคลื่อนที่ดวยความเร็วเทาเดิม เพราะวา การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทใชพลังงานภายในเซลล ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาทขึ้นอยูกับ 1. เยื่อไมอีลิน ถามีจะเคลื่อนที่เร็วกวาเซลลประสาทที่ไมมีเยื่อไมอีลิน 2. Node of Ranvier ถาหางมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่เร็ว 3. เสนผานศูนยกลาง ถามีขนาดใหญจะเคลื่อนที่เร็ว
  • 5. Neural tube เปนโครงสรางที่มีลักษณะเปนหลอดยาวไปตามแนวสันหลังในระยะ embryo สวนหนา เจริญไปเปนสมอง สวนหลังเจริญไปเปนไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังมีเยื่อหุม 3 ชั้น คือ ชั้นนอก เปนเยื่อหนา เหนียว และแข็งแรง ชั้นกลาง เปนเยื่อบาง ๆ ชั้นใน เปนชั้นที่มีเสนเลือดมาหลอเลี้ยง เพื่อนําอาหารและออกซิเจนมาใหสมองและไขสันหลัง ระหวางเยื่อหุมสมองชั้นกลางและชั้นในมีชองคอนขางใหญเปนที่อยูของนํ้าไขสันหลังซึ่งมีหนาที่ ดังนี้ 1. หลอเลี้ยงสมอง และไขสันหลังใหชื่นอยูเสมอ 2. นําออกซิเจนและอาหารมาเลี้ยงเซลลประสาท 3. นําของเสียออกจากเซลล สมอง (brain) เปนอวัยวะที่สําคัญและซับซอนที่สุดของระบบประสาท และมีขนาดใหญกวาสวน อื่น ๆ มีคลื่นหรือรอยหยัก (convolution) มาก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการคิดและการจํา สมองแบงเปน 2 ชั้น คือ ชั้นนอก มีเนื้อสีเทา เปนที่รวมของตัวเซลลประสาทและ axon ชนิด non-myelin sheath ชั้นใน มีสีขาวเปนสารพวกไขมัน ตัวเซลลประสาทมี myelin sheathe หุม สมองของคนแบงเปน 3 สวนคือ สมองสวนหนา (forebrain) สมองสวนกลาง (midbrain) สมองสวนทาย (hindbrain) ดังรูป ภาพแสดงสมองสวนตาง ๆ
  • 6. 3 สวน คือ 1. เซรีบรัม (cerebrum) เปนสมองสวนหนาสุด ใหญที่สุด และเจริญมากที่สุด มีหนาที่เก็บขอมูล สิ่งตาง ๆ มีความจํา ความคิด เปนศูนยรับความรูสึก มองเห็น ไดยิน กลิ่น รส สัมผัส เจ็บ-ปวด รอน-เย็น และควบคุมการทํางานของกลามเนื้อ 2. ทาลามัส (thalamus) ทําหนาที่เปนศูนยรวมกระแสประสาทที่ผานเขามา แลวแยกกระแส ประสาทสงไปยังสมองที่เกี่ยวของกับกระแสประสาทนั้น ๆ เปนสถานีถายทอดกระแสประสาทจากหู ตา ไปยังเซรีบรัม และรับขอมูลจากเซรีบรัมสงไปยังเซรีเบลลัมและเมดัลลาออบลองกาตา 3. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เปนสวนลางสุด เปนรูปกรวยยื่นไปขางลาง ปลายสุดเปน ตอมใตสมอง เซลลประสาทสมองบริเวณนี้สรางฮอรโมนประสาทหลายชนิดไปควบคุมการสรางฮอรโมน ของตอมใตสมอง มีหนาที่ควบคุมกระบวนการพฤติกรรมของรางกาย เชน อุณหภูมิ ความดันเลือด อารมณ ความรูสึกทางเพศ ความสมดุลของนํ้าในรางกาย ความกลัว ควบคุม metabolism การเตนของ หัวใจ ความโศกเศรา ดีใจ ไฮโพทาลามัส เปนสวนที่เชื่อมระหวางระบบประสาทกับระบบตอมไรทอ สมองสวนกลาง (midbrain) มีหนาที่เกี่ยวของกับการควบคุมการเคลื่อนไหวของนัยนตา ทําให ลูกตากลอกไปมาได ควบคุมการปดเปดของมานตาในเวลาที่มีแสงสวางเขามามากหรือนอย สมองสวนทาย (hindbrain) อยูถัดจากสมองสวนกลางและติดตอกับไขสันหลัง แบงเปนสองสวน 1. เซรีเบลลัม (cerebellum) เปนสมองสวนที่ควบคุมการทรงตัวและควบคุมการเคลื่อนไหวของ กลามเนื้อลายสัตวที่เคลื่อนที่ 3 มิติ มีสมองสวนนี้เจริญดี 2. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เปนสวนที่เชื่อมตอระหวางสมองกับไขสันหลัง มีรูปรางคลายไขสันหลัง เปนทางผานของกระแสประสาทระหวางสมองกับไขสันหลัง มีหนาที่ควบคุม อวัยวะภายในและควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ สัตวชนิดใดมีอัตราระหวางนํ้าหนักสมองตอนํ้าหนักตัว มากจะฉลาดเรียนรูไดดี กานสมอง (brain stem) ประกอบดวย 1. Midbrain 2. Pons ในคนอยูดานหนาของเซรีเบลลัมติดตอกับสมองสวนกลาง สวนทางดานทองของ  เซรีเบลลัมมีหนาที่ควบคุมเกี่ยวกับการเคี้ยวอาหาร การหลั่งนํ้าลาย การเคลื่อนไหวบริเวณใบหนา และ ควบคุมการหายใน 3. Medulla oblongata
  • 7. เปนเนื้อเยื่อประสาทที่มี synapse มากที่สุด ภาพแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเขาและออกจากไขสันหลัง หนาที่ของไขสันหลัง - ศูนยเชื่อมระหวาง receptor (หนวยรับความรูสึก) และ effector (หนวยปฏิบัติงาน) - ทางผานระหวาง nerve impulse ระหวางไขสันหลังกับสมอง - ศูนยกลางการเคลื่อนไหว (simple reflex) ที่ตอบสนองการสัมผัสทางผิวหนัง เสนประสาทสมอง สัตวตางชนิดกันมีเสนประสาทสมองไมเทากัน เชน สัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม นก และสัตวเลื้อยคลาน มี 12 คู ปลาและสัตวครึ่งนํ้าครึ่งบกมี 10 คู
  • 8. ดังนี้ เสนประสาทสมองของคน คูที่ 0 Terminal n. เยื่อจมูก ดานทองของ cerebrum 1 Olfactory n. จมูก สมอง 2 Optic n. ตา สมอง 3 Oculomotor n. สมอง ตา 4 Trochlear n. สมอง ตา 5 Trigeminal n. สมอง หนาและฟน 6 Abducent n. สมอง ตา 7 Facial n. สมอง กลามเนื้อใบหนา 8 Auditory n. หู สมอง 9 Glossopharyngeal n. คอหอย สมอง 10 Vagus n. ชองอก, ทอง, หัว, ลําคอ สมอง 11 Accessory n. สมอง กลองเสียง 12 Hypogolssal n. สมอง กลามเนื้อลิ้น รากบน dorsal root ทําหนาที่รับความรูสึก เสนประสาทไขสันหลัง มี 2 ราก รากลาง ventral root ทําหนาที่สงความรูสึก เสนประสาทไขสันหลังของกบมี 9 คู ของคนมี 31 คู ดังนี้ - บริเวณคอ 8 คู - บริเวณอก 12 คู - บริเวณเอว 5 คู - กระเบนเหน็บ 5 คู - กนกบ 1 คู เสนประสาทไขสันหลังบริเวณเอว ตั้งแตคูที่ 2 ลงไปไมมีไขสันหลัง เปนบริเวณที่แพทยสามารถ ฉีดยาเขาไขสันหลังหรือเจาะนํ้าเลี้ยงสมองได
  • 9. และกระแสประสาทนําคําสั่งจากสมองจะถูกสงผานเสนประสาท สมองหรือเสนประสาทไขสันหลังไปยังหนวยปฏิบัติงานซึ่งเปนกลามเนื้อลายซึ่งบางครั้งอาจทํางานไดโดย รับคําสั่งจากไขสันหลังเทานั้น เชน การกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเขา Reflex action หมายถึง การทํางานของหนวยปฏิบัติงานของระบบประสาทสวนกลางที่เกิดทันที โดยมิไดมีการเตรียมลวงหนา Reflex arc เปนวงการทํางานของระบบประสาท ซึ่งจะทําหนาที่อยางสมบูรณไดตองประกอบดวย  ประสาท 5 สวน คือ Receptor Sensory nerve association nerve motor nerve effector หรืออยางนอยที่สุดตองประกอบดวยประสาท 2 สวน คือ sensory nerve กับ motor nerve Voluntary nervous system เปนระบบประสาทที่ทํางานภายใตอํานาจของจิตใจ Involuntary nervous system เปนระบบประสาทที่ทํางานนอกอํานาจจิตใจ
  • 10. และตอมตาง ๆ เพื่อปรับรางกายใหเขากับสภาพแวดลอมภายใน ประกอบดวย 1. Sympathetic nervous system เปนประสาทที่อยูบริเวณไขสันหลัง จนถึงกระเบนเหน็บ 2. Parasympathetic nervous system เปนประสาทที่อยูเหนือไขสันหลังและตํ่ากวากระเบนเหน็บ ภาพแสดงการทํางานของระบบประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก
  • 11. - ระบบประสาทไมยุงยาก เปลี่ยนแปลงจาก ectoderm Paramecium - ไมมีเซลลประสาท แตสามารถรับรูได ตอบสนอง สิ่งเราได - มี Co-ordinating fiber (เสนใยประสานงาน) ที่โคน ของ cilia Hydra - มีเซลลประสาทเชื่อมโยงคลายรางแห (nerve net) Planaria - มีปมประสาท 2 ปมบริเวณหัว มีเสนประสาทใหญ สองเสนยาวตลอดลําตัว Earthe worm - มีปมประสาทเปนวงแหวน ระหวางปลองที่ 2, 3 มี เสนประสาทยาวตลอดลําตัวทางดานทอง 2 เสน Insect - มีปมประสาทที่หัวระหวางตาทั้งสอง และมีแขนง ประสาทไปยังสวนตาง ๆ Mollusk - มีปมประสาทหัว 1 คู ลําตัว 1 คู ขาเดิน 1 คู Echinoderm - มี nerve ring ออมรอบปาก
  • 12. ก-ข พารามีเซียม ค พลานาเรีย ง ไฮดรา จ แมลง
  • 13. ตาคน ลักษณะกลมอยูในเบาตา มีเยื่อบาง ๆ ยึดลูกตาไวหลวม ๆ ผนังลูกตาประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ 1. ชั้นนอก (sclera หรือ Sclerotic coat) เปน Fibrous tissue ไมยืดหยุน ผนังหนา ทําใหลูกตา คงรูปได มีสีขาวมัว ๆ และมีสวนใส ๆ สีดํานูนออกมา เรียก กระจกตา (cornea) สวนนี้ชุมชื้นเสมอ เพราะมี secretion จาก oil gland มาชโลม 2. ชั้นกลาง (choroid coat) มีเสนเลือดมาเลี้ยงและมีรงควัตถุแผกระจายในชั้นนี้มากเพื่อมิให แสงสวางทะลุผานชั้นเรตินาไปยังดานหลังโดยตรง นอกจากนี้มีมานตา (Iris) และพิวพิล (pupil) เปนทาง ใหแสงผานเขาไปภายในตา
  • 14. เปนบริเวณที่มีเซลลรับแสงซึ่งมีรูปรางตาง ๆ กัน คือ 3.1 เซลลรูปแทง (rod cell) รูปรางยาวเปนแทง ทําหนาที่เปนเซลลรับแสงสวางที่ไวมาก จะบอกความมืดและความสวาง ภาพแสดงการทํางานของ rod cell 3.2 เซลลรูปกรวย (cone cell) รูปรางเปนรูปกรวย ทําหนาที่เปนเซลลที่บอกความแตกตาง ของสีแตตองการแสงสวางมาก เซลลรูปกรวยแบงไดเปน 3 ชนิด คือ เซลลรูปกรวยที่รับแสงสีแดง เซลลรูปกรวยที่รับแสงสีเขียว และเซลลรูปกรวยที่รับแสงสีนํ้าเงิน เมื่อเซลลรูปกรวยไดรับการกระตุน พรอม ๆ กันดวยความเขมของแสงตาง ๆ กัน จึงเกิดการผสมเปนสีตาง ๆ ขึ้น นอกจากนี้บริเวณเรตินายังมี fovea และ blindspot fovea อยูตรงกลางของ retina บริเวณนี้มี เซลลรูปกรวยหนาแนนกวาบริเวณอื่น ภาพที่ตกบริเวณนี้จะชัดเจน สวน blindspot เปนบริเวณที่ใยประสาท ออกจากนัยนตาเพื่อเขาสูเสนประสาทตา บริเวณนี้ไมมี cell รับแสงสวางเลย ภาพที่ตกบริเวณนี้จึงมอง ไมเห็น สวนประกอบอื่น ๆ ของตา 1. แกวตา (lens) หดตัว พองตัว และยืดหยุนได ดานในโคงมากกวาดานนอก มีหนาที่โฟกัส ภาพใหชดบนเรตินา ั 2. ชองภายในลูกตา (vitreous chamber) มีของเหลวเปนเมือกใสเหนียว มีคาดัชนีหักเหของแสง สูงมาก เรียก vitreous humor
  • 15. หนาที่ 1. รับความถี่ของคลื่นเสียง 2. การทรงตัว ภาพแสดงสวนประกอบของหูคน หูคนแบงเปน 3 สวน หูสวนนอก หูสวนกลาง และหูสวนใน หูสวนนอก ประกอบดวย 1. ใบหู ทําหนาที่รับคลื่นเสียงจากภายนอก 2. รูหู มีหนาที่รวมเสียงไปสูแกวหู ภายในมีขนและตอมขี้หู 3. เยื่อแกวหู เปนเยื่อบาง ๆ กั้นระหวางหูสวนนอกกับหูสวนกลาง หูสวนกลาง ประกอบดวย 1. กระดูกเล็ก ๆ 3 ชิ้น คือ กระดูคอน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ซึ่งทําหนาที่สงตอแรง สั่นสะเทือน 2. หลอดยูสเตเชียน เปนโพรงตอระหวางหูสวนกลางกับคอหอย มีหนาที่รับความดันระหวาง
  • 16. หูสวนใน ประกอบดวย 1. คอเคลีย เปนทอขดคลายกนหอย มีปลายประสาทรับพลังงานเสียงแลวเปลี่ยนเปนพลังงาน ไฟฟาสงไปยังศูนยรับเสียงในสมอง 2. หลอดครึ่งวงกลม ทําหนาที่ทรงตัว จมูกและการดมกลิ่น ภายในเยื่อจมูกมีเซลลรับกลิ่น คือ olfactory cell ซึ่งทําหนาที่เกี่ยวกับการับกลิ่นโดยเฉพาะ แสดงโครงสรางภายในของจมูก ก. โพรงจมูก ข. เซลลรับกลิ่น
  • 17. ดานบนของลิ้นจะมีปุมเล็ก ๆ จํานวนมากเรียก พาพิลลา (papilla) ภายใน papilla ประกอบดวย ตุมรับรส (taste bud) ที่ทําหนาที่เปนตัวรับรส ซึ่งมี 4 ชนิด คือ ตุมรับรสเค็ม ตุมรับรสหวาน ตุมรับรส เปรี้ยว และตุมรับรสขม ดังภาพ ภาพแสดงบริเวณของลิ้นที่มีตุมรับรสตาง ๆ กระจายอยู ผิวหนังและการสัมผัส ผิวหนังเปน nerve organ ที่มีพื้นที่มากที่สุด มีปลายประสาทมาก ปลายประสาทแตละเสนรับ ความรูสึกจากสิ่งเราตางชนิดกัน