ว ธ แก เคร องซ ม-ซ ง a10ล อคซ ม

Microsoft Excel โปรแกรมชวยในการคํานวณงานตางๆ ในลักษณะแผนงาน (Spreadsheet) ตัวเลข หรือขอมูลตางๆ จะแสดงในลักษณะเซลลยอยๆ สามารถคํานวณเชื่อมโยง และผลลัพธแกไขไดอัตโนมัติ เมื่อ มีการแกไขตัวเลขที่เกี่ยวของ นําเสนอขอมูลไดทั้งรายงาน ฟอรม และกราฟลักษณะตางๆ รวมทั้งฟงกชัน ประมวลผลในลักษณะฐานขอมูล เพื่อสะดวกตอการสืบคน หรือทํารายงาน

Show

ความสามารถของโปรแกรม • เหมาะกับงานคํานวณประเภทตางๆ เชน เลขทั่วๆ ไป, คาทางสถิติ, เลขตรีโกณฯ, คาทาง การเงิน, คํานวณเกี่ยวกับวันที่ • ระบบคําสั่งเปนมาตรฐานเดียวกับโปรแกรมอื่นในตระกูลเดียวกัน ทําใหสามารถเรียนรู โปรแกรมอื่นๆ ไดโดยอางอิงกับโปรแกรม Microsoft Excel ชุดนี้ หรือผูใชที่ศึกษาโปรแกรม อื่นมาแลว ก็สามารถใชงานโปรแกรม Microsoft Excel ไดสะดวก • ระบบคําสั่งมีหลากหลายใหเลือกใชงาน ทั้งแบบเมนูคําสั่ง, ปุมลัด, ไอคอนในแถบเครื่องมือ (Toolbars), เมนูจากการคลิกปุมขวาของเมาส • การคลิกปุมขวาของเมาสจะเรียกเมนูคําสั่งที่เกี่ยวของกับลักษณะงานใหโดยอัตโนมัติ • จัดการกับขอมูลภาษาไทยไดถูกตองการหลักพจนานุกรมไทย • สามารถเติมขอมูลลําดับ ไดโดยอัตโนมัติ (Auto Fill) • ชวยสรางสูตรคํานวณไดงาย และรวดเร็วดั่งเนรมิต ดวยความสามารถ Function Wizard ทําให ไมตองเสียเวลาจดจํารูปแบบการใชสูตรคํานวณแบบตาง ๆ • สรางกราฟ และแกไข-ปรับปรุงไดอยางรวดเร็ว ดวย Chart Wizard ทําใหสามารถเนรมิตกราฟ ไดหลากหลายรูปแบบ เชน กราฟเสน, กราฟแทง, กราฟวงกลม, กราฟพื้นที่ ทั้งในลักษณะ ภาพ 2 มิติ และภาพ 3 มิติ • จัดการขอมูลสําหรับงานฐานขอมูลไดอยางยอดเยี่ยม ดวยความสามารถที่เกือบเทียบเทา โปรแกรมจัดการฐานขอมูลเฉพาะงาน เชน เรียงขอมูล, คนหาขอมูล, ทํารายงานสรุปผลแบบ ตางๆ

2

การใชงานโปรแกรม การเรียกโปรแกรม Microsoft Excel มีลักษณะเดียวกับการเรียกโปรแกรมตางๆ โดยคลิกเมาสที่ปุม Start แลวเลือกรายการ Program, Microsoft Excel

หนาตางโปรแกรม หนาตางโปรแกรมของ Microsoft Excel มีลักษณะไมแตกตางจาก Microsoft Word มากนัก เพียงแตพื้นที่ทํางานจะมีลักษณะเปนตารางยอยๆ เรียกวา Sheet และประกอบดวยสวนประกอบตางๆ ดังนี้ Menu Bar แถบเมนู

Title Bar แสดงชื่อไฟลเอกสาร

Formula Bar แถบสูตร

Toolbar แถบเครื่องมือ

Name Box แสดงตําแหนงเซลล Active Cell ตําแหนงเซลลปจจุบัน

Sheet Tab แท็บแผนงาน

Status Bar แถบสถานะ

Cell Pointer ตําแหนงเมาส

Drawing Toolbar แถบเครื่องมือวาด

Office Assistant ผูชวย ใหคําแนะนําตางๆ

Task Pane แถบงาน

3

แถบสูตร และแถบแสดงสถานะ แถบสูตร (Formula Bar) และแถบสถานะ (Status Bar) เปนองคประกอบของจอภาพการทํางาน ซึ่ง ผูใชมักจะละเลยไมสนใจตอองคประกอบ 2 ชิ้นนี้ แตหลักการใชงานที่ถูกตององคประกอบ 2 ชิ้นนี้มี ความสําคัญมาก โดยแถบสูตร จะเปนสวนที่แสดงขอมูลจริง ณ ตําแหนงเซลล ขณะที่แถบสถานะ จะเปน สวนที่แสดงขอความที่จําเปนตางๆ ขณะกําลังใชงานโปรแกรมอยู แถบสูตรและแถบสถานะสามารถควบคุม ใหแสดง หรือไมใหแสดง ไดโดย • View, Formula Bar • View, Status Bar

กําหนดใหแสดง/ไมใหแสดงแถบสูตร หนดใหแสดง/ไมใหแสดงแถบแสดงสถานะ

แผนงาน (Sheet) พื้นที่ทํางานของ Microsoft Excel เรียกวา Worksheet หรือ Sheet หรือแผนงาน โดยใน 1 แผนงาน จะประกอบดวยบรรทัดในแนวตั้งและบรรทัดในแนวนอน ซึ่งมีการเรียกชื่อเฉพาะ ดังนี้ • บรรทัดในแนวตั้ง เรียกวา คอลัมน (Column) มี 256 คอลัมน • บรรทัดในแนวนอน เรียกวา แถว (Row) มี 65,536 แถว

เซลล (Cell) การทํางานในแผนงานจะกระทํา ณ จุดตัดกันของแถวและคอลัมน โดยขอมูล 1 รายการ หรือขอมูล 1 ขอมูล จะพิมพ ณ ตําแหนงที่เปนจุดตัดกันนี้เสมอ และเรียกจุดตัดกันของแถวและคอลัมนในแผนงานวา “เซลล (Cell)” การใชงานเซลลในแผนงาน จะอาศัยชื่อเรียกที่เกิดจากการผสมกันของชื่อเรียกคอลัมน ตามดวยชื่อ เรียกแถว โดยชื่อเรียกคอลัมน จะเปนดวยตัวอักษร A - Z, AA - AZ, BA - BZ, CA - CZ, ... , IA - IV ในขณะ ที่ชื่อเรียกแถวจะเปนตัวเลข 1 - 16384 ดังนั้นชื่อเรียกเซลล จะอยูในลักษณะของ ชื่อเซลล = ตัวอยางการเรียกเซลล ทํางานกับเซลลในแถวที่ 10 คอลัมน J

เรียกวา J10

ทํางานกับเซลลในแถวที่ 250 คอลัมน CZ

เรียกวา CZ250

แถบคําสั่ง (Menu Bar) แถบคําสั่งของ Microsoft Excel จะมีการแสดงผลแบบยอ คือ โปรแกรมจะยุบคําสั่งที่ไมคอยไดเรียกใชงาน และแสดงผลเมื่อมีการคลิก เมาสคางไวสักครู หรือเมื่อมีการคลิกที่ปุมขยายแถบคําสั่ง การควบคุมแถบคําสั่งใหแสดงแบบยอ หรือแบบเต็มทําไดโดย เลือกคําสั่ง Tools, Customized… คลิกบัตรรายการ Options

4

คลิกเลือกรายการ Always show full menus เพื่อเลือกใหโปรแกรมแสดงรายการคําสั่งแบบเต็มทุก ครั้งที่มีการเรียกใชเมนู

แถบเครื่องมือ (Toolbar) แถบเครื่องมือ สวนควบคุมการทํางานที่แบงเปนหมวดหมู โดยใชปุมเครื่องมือตางๆการเปดใชงาน หรือปดแถบเครื่องมือ ใชคําสั่ง View, Toolbars โดยแถบเครื่องมือที่มีเครื่องหมาย 9 นําหนา แสดงวา กําหนดใหแสดงผลบนจอภาพ

โดยปกติโปรแกรมจะแสดงแถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) และแถบเครื่องมือ จัดรูปแบบ (Formatting Toolbar) ในเรียงตอกันในแนวเดียวทําใหไมสามารถแสดงปุมเครื่องมือไดครบทุก ปุมสามารถแกไขไดโดยนําเมาสชี้ที่สัญลักษณ ของแถบเครื่องมือที่ตองการยายตําแหนง แลวลากไปปลอย ณ ตําแหนงที่ตองการ

หรือจะเลือกคําสั่ง Tools, Customized… คลิกบัตรรายการ Options

5

คลิกเลือกรายการ Show Standard and Formatting toolbars on two rows เพื่อควบคุมใหแถบ เครื่องมือมาตรฐาน และจัดรูปแบบ แยกแสดงผลเปน 2 บรรทัด

แถบเครื่องมือแบบฝงตัว/แบบลอยตัว โดยปกติแถบเครื่องมือจะอยูในสภาวะฝงตัว แตผูใชอาจจะเผลอลากออกมาจากจอภาพเปนแถบ เครื่องมือแบบลอยตัว ซึ่งไมสะดวกเนื่องจากไปบังพื้นที่ทํางานบางพื้นที่ การยายตําแหนงแถบเครื่องมือใหใช การนําเมาสชี้ที่สัญลักษณ ของแถบเครื่องมือที่ตองการยายตําแหนง แลวลากไปปลอย ณ ตําแหนงที่ ตองการ

รูปแสดงแถบเครื่องมือแบบฝงตัว และแบบลอยตัว

รูจักแถบเครื่องมือ

6

ปุมเครื่องมือ แถบเครื่องมือจะมีปุมเครื่องมือเฉพาะ ทําหนาที่แตกตางออกไปตามฟงกชันงานที่กําหนดในปุม ทั้งนี้ผูใชสามารถควบคุมปุมเครื่องมือได เชน การเพิ่ม ลบ หรือยายตําแหนงปุมเครื่องมือ ใหเลือกคําสั่ง Tools, Customized… คลิกเลือกบัตรรายการ Commands

เลือกหมวดคําสั่ง/คําสั่ง แลว ลากไปปลอยในแถบเครื่องมือ

คียลัดการยายตําแหนงปุมเครื่องมือ หรือลบปุมเครื่องมือ ใหนําเมาสชี้ที่ปุมที่ตองการ แลวกด A คางไว แลวลากยายตําแหนง หรือลากออกจากแถบเครื่องมือเพื่อลบปุมที่เลือก

ปุมเครื่องมือที่ควรนําใสในแถบเครื่องมือ Standard คือ Paste Special การคืนสภาพแถบเครื่องมือที่มีการปรับแตงแกไขใหเลือก คําสั่ง Tools, Customized… แลวคลิก เลือกบัตรรายการ Toolbars คลิกเลือกแถบเครื่องมือที่ตองการคืนสภาพ คลิกปุม Reset…

7

ปุมเครื่องมือแตละปุม สามารถปรับเปลี่ยนรูปภาพไดโดยเขาสูคําสั่ง Tools, Customized… จากนั้น ใหคลิกขวาที่ปุมเครื่องมือที่ตองการแกไข จะปรากฏเมนู ดังนี้

คียลัดควบคุมแถบคําสั่งและแถบเครื่องมือ F10 หรือ Alt Tab หรือ Shift+Tab Ctrl+Tab หรือ Ctrl+Shift+Tab Enter Shift+F10 Alt+Spacebar ปุมลูกศร Home หรือ End Esc Ctrl+7

เปด/ปดการเลือกเมนู เลือกคําสั่งตางๆ ของเมนู เลือกแถบเครื่องมือตางๆ สั่งงาน แสดงคําสั่งลัด เปด Control Menu ของหนาตางโปรแกรม เลื่อนรายการตามทิศทาง เลื่อนไปคําสั่งแรก, คําสั่งสุดทาย ปดเมนูคําสั่ง, ยกเลิกการเลือกคําสั่ง เปด/ปดการแสดง Standard Toolbar

ปดโปรแกรม การปดโปรแกรม Microsoft Excel ก็มีลักษณะเดียวกับ โปรแกรมอื่นๆ โดยเลือกคําสั่ง File, Exit หรือใชคียลัด A$ หรือคลิกเมาสที่ปุม Close กรณีที่ไฟลเอกสารยังไมได บันทึก โปรแกรมจะสอบถามการบันทึกไฟลกอน

8

ขอจํากัดตางๆ ของ Excel การเปดไฟล

ขึ้นอยูกับหนวยความจําของคอมพิวเตอร

ขนาดของแผนงาน (Worksheet size)

65,536 แถว 256 คอลัมน

ความกวางคอลัมน

255 อักขระ

ความสูงของแถว

409 pt

ความยาวของขอมูลในเซลล

32,767 อักขระ โดยแสดงในเซลลไดเพียง 1,024 ตัว

จํานวนแผนงานตอไฟล

ขึ้นอยูกับหนวยความจําของคอมพิวเตอร

จํานวนสีที่สามารถเลือกใชไดตอไฟล

56 สี

จํานวนสไตลตอไฟล

4,000 สไตล

การซูมหนาตาง

10% - 400%

การคืนคา (Undo levels)

16 ลําดับ

จํานวนฟลดตอฟอรม

32

จํานวนทศนิยม

15 หลัก

คาสูงสุด

9.99999999999999E307

คาต่ําสุด

-9.99999999999999E307

ความยาวของอักขระในสูตร

1,024

จํานวนชวงขอมูล (Range)

2,048

Arguments ในแตละฟงกชัน

30

จํานวนการซอนกันของฟงกชัน

7

จํานวนฟงกชันตอไฟล

329

วันที่เริ่มตนของระบบ

January 1, 1900

วันที่สุดทายของระบบ

December 31, 9999

9

เทคนิคการทํางานกับขอมูล

การทํางานกับขอมูลในแผนงาน จะตองใชทั้ง Cell Pointer และ Range ดังนั้นถาสามารถควบคุม Cell Pointer และ Range ไดดี จะชวยใหการทํางานเปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ

การเลื่อน Cell Pointer Cell Pointer บงบอกใหผูใชทราบวา ขณะนี้กําลังทํางานอยู ณ เซลลใด ดังนั้น การทํางานใดๆ ก็ตามจะตองพิจารณาตําแหนงของ Cell Pointer เสมอ และผูใชจะทํางานไดดีเพียงใดอยูที่ ความสามารถในการเลื่อน Cell Pointer วารวดเร็วหรือไม ดังนั้นกอนจะศึกษาในหัวขอการปอน - แกไข ขอมูล และการจัดแตงขอมูลแบบตางๆ ศึกษาถึงคําสั่งและปุมควบคุมในการเลื่อน Cell Pointer กอน ดังนี้ • ปุมลูกศร QRZY

เลื่อนครั้งละ 1 เซลล

• ปุม NO

เลื่อนขึ้น, ลง 1 จอภาพ

• ปุม

เลื่อนไปตนคอลัมน

• ปุม C พรอม QRZY

เลื่อนไปสุดทิศลูกศร

• ปุม

เลื่อนไปเซลล A1

• ปุม

เลื่อนไปเซลลสุดทาย

• ปุม %

เลื่อนไปตําแหนงที่ระบุ ระบุตําแหนงที่จะเปนเชน A500

• การเลื่อนแถบดวย Scroll Bar โดยเลื่อนไปยังตําแหนงและทิศทางที่ตองการตามการเลื่อนของ เมาส • ถากดปุม ใหทํางาน การเลื่อนขอมูลจะเลื่อนเฉพาะในแผนงาน จอภาพไมเลื่อน ตามไปดวย

10

• การดับเบิลคลิกที่เสนขอบเซลลดานที่ตองการ จะเปนการเลื่อน Cell Pointer ไปสุดขอบขอมูล ของดานนั้นๆ เชน ถาตองการไปสุดขอมูลดานขวา ก็ดับเบิลคลิกที่ขอบเซลลดานขวา เปนตน ขอบเซลล ซึ่งสามารถดับเบิลคลิก เพื่อเลื่อน Cell Pointer ได • การปอนตําแหนงเซลลในชอง Name Box ของแถบสูตร ปอนตําแหนงเซลลใน Name Box

เมื่อมีการเลื่อนจอภาพ โดยที่ยังไมไดคลิกเมาส และตองการกลับไปยังตําแหนง Cell Pointer เดิมให กด

ชวงขอมูล (Range) การกําหนดชวงขอมูล หมายถึง การเลือกขอมูลหลายๆ เซลลที่สนใจ เพื่อทํางานใดงานหนึ่งพรอมๆ กัน เชน เลือกขอมูลในเซลล A1 ถึงเซลล A10 เพื่อลบทิ้งในครั้งเดียว การกําหนดชวงขอมูล จะใชหลักของ การระบายแถบสี (Selection) ดังนี้

กรณีที่ใชเมาส • Mouse Pointer ชี้ ณ ตําแหนงเซลลเริ่มตน • กดปุมซายของเมาสคางไว แลวลากเมาส จะปรากฏแถบสีดําคลุมขอมูล • ไดขนาดทีต่ องการใหปลอยเมาส

กรณีใชแปนพิมพ • Cell Pointer อยูในเซลลเริ่มตน • กดปุม S คางไว แลวกดปุมลูกศร จะปรากฏแถบสีดําคลุมขอมูล • ไดขนาดที่ตองการใหปลอยปุมบนแปนพิมพ

11

เทคนิคเกีย่ วกับการกําหนดชวงขอมูล • การกําหนดชวงขอมูลทั้ง Sheet – ใชเมาสคลิกที่ปุมเลือกทั้งหมด (Selection Button) ของ Sheet คลิกปุม Select all เพื่อ เลือกทั้งซีท หรือกดปุม

Ca

• การกําหนดชวงขอมูลทั้งแถว – ใชเมาสคลิก (หรือ Drag) ที่ตัวเลขกํากับแถว หรือใชกดปุม

• การกําหนดชวงขอมูลทั้งคอลัมน – ใชเมาสคลิก (หรือ Drag) ที่ตัวอักษรกํากับคอลัมน หรือใช กดปุม

• การกําหนดชวงแบบไมตอเนื่อง – ใชหลักการคลายกับการเลือกแบบชวงตอเนื่อง แตสามารถ กําหนดชวงอื่นๆ โดยการกดปุม C คางไว n สรางชวงขอมูลแรก

o กดปุม C คางไว แลวสรางชวงที่สอง

12

สรางชวงขอมูลอยางรวดเร็ว กรณีที่มีเนื้อหาจํานวนมาก การสรางชวงขอมูลดวยแปนพิมพจะสะดวกกวาใชเมาส คลิกในเซลล เริ่มตนที่ตองการกําหนดชวง แลวกดปุม S คางไว พรอมกับปุม C จากนั้นกดปุมลูกศรตามทิศทาง เชน มีขอมูลจํานวน 100 แถว 20 คอลัมน โดยเซลลเริ่มตนคือ A1 ใหทดลองจาก • คลิกเมาสที่เซลล A1 • กดปุม CBR จะปรากฏแถบสีเลือกขอมูลไปจนสุดคอลัมน 20 • กดปุม FBY จะปรากฏแถบสีเลือกขอมูลไปจนสุดแถวที่ 100 หรืออาจจะใชเทคนิคการกดปุม S ขณะเลื่อนตําแหนงดวย % เชน เลื่อนตัวชี้ตําแหนงไป เซลล A10 จากนั้นกดปุม % พิมพตําแหนงเซลลปลายทาง F500 จากนั้นกดปุม S แลวตามดวย E จะเปนการสรางชวงขอมูลตั้งแต A10 ถึง F500 หรือจะระบุเปน A10:F500 ตรงๆ ก็ได สําหรับการสรางชวง แบบไมตอเนื่องดวย % ใหใชเครื่องหมาย , คั่นระหวางชวงแตละชวง • พิมพชวงขอมูลใน Name Box แลวกดปุม E

คัดลอกขอมูล การคัดลอกขอมูลจากตําแหนงหนึ่งไปตําแหนงหนึ่ง นอกจากการใชคําสั่ง Edit, Copy / Edit, Paste ยังสามารถใชเทคนิคการลากเมาส พรอมๆ กับการกดปุม C คางไว

ยายขอมูล การยายขอมูลจากตําแหนงหนึ่งไปตําแหนงหนึ่ง นอกจากการใชคําสั่ง Edit, Cut / Edit, Paste ยัง สามารถใชเทคนิคการลากเมาสไปปลอย ณ ตําแหนงที่ตองการ

การยกเลิกการทํางาน (Undo) ในการทํางานใดๆ ถาพบวาใชคําสั่งผิดพลาด หรือตองการยกเลิกการทํางานนั้นๆ หลังจากที่ไดผาน การใชงานคําสั่งไปแลว Word มีคําสั่งชวยยกเลิกการทํางานได โดยใชคําสั่ง Edit, Undo ทั้งนี้คําสั่ง Undo จะ มีขอความตามทาย แลวแตคําสั่งที่ใชกอนหนา คําสั่ง Undo ของ Word จะบันทึกการทํางานยอนหลัง 100 ครั้ง ดังนั้นสามารถยกเลิกคําสั่งที่เคยใชงานไปไดถึง 16 ระดับหรือคลิกปุมเครื่องมือ หรือใชคียลัด Cz

มุมมองจอภาพ (Zoom View) มุมมองจอภาพ เปนสวนที่ชวยใหสามารถแสดงเนื้อหาอยางชัดเจน เนื่องจากแผนงานมีขนาดโตก วาจอภาพ ดังนั้นถาตองการยอ/ขยายพื้นที่งานที่เลือก ก็สามารถปรับคามุมมองไดโดยเลือกคําสั่ง View, Zoom… หรือจะใชการเลือกขอมูลกอน แลวจึงใชคําสั่งก็ได ซึ่งจะมีผลเฉพาะพื้นที่ที่ๆ เลือกเทานั้น

13

คียลัดที่ควรทราบ • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

F1 F2 F3 F4 F4 F5 F9 Ctrl+Alt+F9 Shift+F9 Ctrl+Click Ctrl+Enter Alt+Enter Ctrl+จุด Ctrl+Home Ctrl+End Ctrl+; Ctrl+: Ctrl+c Ctrl+v Ctrl+x Ctrl+s End,ลูกศร Shift+End,ลูกศร สวนตางๆของกราฟ • Alt+F11

Help Edit paste name ใชเรียกชื่อที่ตั้งขึ้นนํามาใสในสูตร เปลี่ยนหรือใสเครื่องหมาย $ ในตําแหนงอางอิงบนสูตร ทวนคําสั่งลาสุดซ้ํา Go to เพื่อไปยังตําแหนงเซลลที่ตองการ สั่งคํานวณ สั่งคํานวณเพื่อแกไข Recalculation Bug สั่งคํานวณเฉพาะ active sheet เลือกเซลลที่ไมติดตอกันใหเปนกลุมเซลล บันทึกซ้ําลงไปในกลุมเซลล ขึ้นบรรทัดใหมในเซลลเดิม ใชกับพื้นที่เซลลที่เลือกไว เพื่อสํารวจขอบเขตพื้นที่ กลับไปยังเซลลซายบนสุด ไปเซลลขวาลางสุด ใสวันเดือนป ใสเวลา Copy Paste (เทียบเทากับการกด Enter) Cut Save ไปเซลลสุดทางในทิศนั้น เลือกตั้งแตเซลลที่ใชอยู ไปจนถึงเซลลสุดทางในทิศนั้น ลูกศร เลือก สลับหนา Window ระหวาง Excel กับ VBE

14

การปอนและแกไขขอมูล

ขอมูลที่ปอนในแผนงานของ Microsoft Excel จะมีการแบงประเภทไวหลายประเภท และมี หลักการปอนขอมูลที่แตกตางจากการปอนผานโปรแกรมประมวลผลคํา คือ จะตองปอนขอมูล 1 ขอมูลตอ 1 เซลล ยกเวนการปอนสวนที่เปนคําอธิบายที่สามารถปอนตอเนื่องได • เลื่อน Cell Pointer ไปยังตําแหนงเซลลที่ตองการ • พิมพขอมูล โดยขอมูลจะปรากฏในแถบสูตร (Formula Bar) ดังนี้

• ตรวจสอบความถูกตอง ถาผิดใชปุม Back Space ลบแกไข • ขอมูลถูกตองสามารถปฏิบัติ ดังนี้ o กดปุม E หรือกดปุมลูกศรเพื่อเลื่อนตําแหนง Cell Pointer หรือใชเมาส คลิกที่ ไอคอนเครื่องหมาย ใน Formula Bar • ถาตองการยกเลิกการปอนขอมูล สามารถปฏิบัติ ดังนี้ o กดปุม ESC หรือใชเมาสคลิกที่ไอคอนเครื่องหมาย ใน Formula Bar

ประเภทขอมูล Text • • • •

ขอมูลที่ไมนําไปคํานวณ มีความยาวไมเกิน 32,000 อักขระ จัดชิดซายของเซลลโดยอัตโนมัติ ตัวเลข/สูตร/สมการตางๆ ที่ตองการทําใหเปน Text จะตองใชเครื่องหมาย Single Quote นําหนา • ขอมูลมีความยาวมากกวาความกวางของเซลล จะลนออกนอกเซลล และหากมีขอมูลใน เซลลถัดไป ขอมูลที่ลนออกจะถูกทับ (แตไมไดถูกลบ) สามารถแกไขโดยขยายขนาด ความกวางของเซลล

15

Number • ขอมูลตัวเลขที่นําไปคํานวณได • จะถูกจัดชิดขวาของเซลล • เลขที่มีหลักเกิน 100 ไมตองปอนเครื่องหมายคอมมาคั่น ใหปอนเฉพาะคาตัวเลข • ถามี % ตอทายจะเปนการนําคา 100 มาหารใหโดยอัตโนมัติ • สามารถปอนในรูปแบบ Exponential เชน 2.5E+04 เทากับ 2.5 คูณดวย 10 ยกกําลัง 4 • กรณีที่ปอนเศษสวน เชน 1/2 โปรแกรมจะตีความหมายเปนวันที่ จึงควรใช 0 นําหนา เชน 0 1/2 Date & Time • ขอมูลวันที่ หรือเวลา • นําไปคํานวณได Formula & Function • สมการ หรือสูตรคํานวณตางๆ • ขึ้นตนดวยเครื่องหมาย = • ตองการปอนขอความอธิบายสูตร จะตองใชเครื่องหมาย ‘ นําหนา = เพื่อแปลงสูตรนั้นๆ เปนขอความ

ขอสังเกตในการปอนขอมูล • ขอมูลประเภทตัวอักษรจะอยูชิดซายเสมอ • ขอมูลประเภทตัวเลข (Number), วันที่-เวลา (Date & Time), ผลลัพธจากสูตรและฟงกชัน การคํานวณ (Formula & Function) จะถูกจัดชิดขวาของเซลล • การปอนวันที่ ใหปอนป ค.ศ. เทานั้น • เลขที่มีหลักเกิน 100 ไมตองปอนเครื่องหมายคอมมาคั่น ใหปอนเฉพาะคาตัวเลข • ในกรณีที่ปอนขอมูล แลวปรากฏเครื่องหมาย # เต็มเซลล แสดงวา ความกวางของเซลล ไมพอที่จะแสดงผล จะตองขยายขนาดความกวางของเซลล

ทดสอบ หนึ่ง สอง

MS-Excel MS-Word MS-Windows

วันที่

เงินเดือน 12/05/96 31/12/96

ราคา 5000 12000

25 500

16

การแกไขขอมูล • Cell Pointer อยูในตําแหนงเซลลที่ตองการแกไข • พิมพขอมูลใหมทับขอมูลเกา หรือกดปุม @ จะปรากฏขอมูลที่ตองการแกไขใน Formula Bar หรือดับเบิลคลิกในเซลล หรือคลิกเมาสในแถบสูตร

การลบขอมูล • เลื่อน Cell Pointer ไปยังเซลลที่ตองการลบ หรือกําหนดชวงเซลลที่ตองการลบขอมูล • กดปุม =

เทคนิคการปอนขอมูล การปอนขอมูลในชวง การปอนขอมูลโดยคาปกติของ MS-Excel หลังจากการกดปุม E ตําแหนง Cell Pointer จะ เลื่อนไปแถวถัดไปเสมอ ถาตองการปอนขอมูลลักษณะแนวนอน สามารถปฏิบัติ ดังนี้ • • • •

เลือกชวงที่ตองการปอนขอมูล พิมพขอมูลชุดแรก จากนั้นกดปุม E Cell Pointer จะเลื่อนไปตามทิศทางของชวง พิมพขอมูลชุดที่ 2, 3 และอื่นๆ จนครบทุกเซลลตามชวงขอมูลที่กําหนด เมื่อ Cell Pointer อยู ณ ตําแหนงเซลลสุดทายของชวง หากมีการกดปุม E จะมีผลให Cell Pointer เลื่อนกลับ ณ ตําแหนงเซลลแรกของชวงเสมอ

• ตองการเลื่อนตําแหนงเซลล สามารถกระทําไดดังนี้ o กดปุม E เพื่อเลื่อนลง 1 เซลล o กดปุม SE เพื่อเลื่อนขึ้น 1 เซลล o กดปุม T เพื่อเลื่อนไปดานขวา o กดปุม ST เพื่อเลื่อนไปดานซาย o กดปุม C พรอมกับจุดทศนิยม เพื่อเลื่อนไปที่มุมของชวง

การปอนขอมูลที่มีคาซ้ํากันในชวงเดียวกัน • เลือกชวงที่ตองการปอนขอมูล • พิมพขอมูล จากนั้นกดปุม CE ทุกๆ เซลลในชวง มีขอมูลเหมือนกัน

การปอนขอมูลหลายบรรทัดในเซลลเดียวกัน • Cell Pointer อยู ณ ตําแหนงเซลลที่ตองการปอนขอมูล • พิมพขอมูล เมื่อตองการขึ้นบรรทัดใหม ใหกดปุม AE

17

สามารถใชคําสั่ง Format, Cells… แลวเลือกบัตรรายการ Alignment คลิกเลือกรายการ Wrap text

หลักการปอนวันที่ ระบบวันที่ของ Excel เกิดจากการ Shift คาป เนื่องจากปญหา Y2K ดังนั้น o ป ค.ศ. ลงทายดวย 00 ถึง 29 จะเทากับป ค.ศ. 2000 – 2029 o ป ค.ศ. ลงทายดวย 30 ถึง 99 จะเทากับป ค.ศ. 1930 – 1999 ดังนั้นถาตองการปอนป 2030 หามปอนเปน 1/1/30 เพราะจะหมายถึงป ค.ศ. 1930 นั่นเอง จะตอง ปอนเต็มสี่หลักคือ 1/1/2030 และไมสามารถปอนป พ.ศ. ได จะตองปอนเปนป ค.ศ. เทานั้น o o o o o o o

ชื่อเดือน พิมพไดทั้งตัวเลข, ชื่อยอ และชื่อเต็ม ป พิมพไดทั้งสองหลัก และสี่หลัก ถาไมระบุป จะหมายถึง ปปจจุบัน ถาไมระบุวัน จะหมายถึงวันที่ 1 ใชเครื่องหมาย / หรือ – หรือชองวางในการเวนระหวางวัน เดือน ป ก็ได เวลา สามารถใช AM หรือ PM ตอทายได ถาไมระบุจะใชระบบ 24 ชั่วโมง เวลาจะตองปอนอยางนอย 2 ชุด คือ ชม. และนาที

คียลัดในการปอนวัน/เวลา • • • •

วันปจจุบัน กดปุม Ctrl + ; เวลาปจจุบัน กดปุม Ctrl + Shift + ; วัน/เวลาปจจุบัน กดปุม Ctrl + ; แลวกดปุม SPACE จากนั้นกดปุม Ctrl + Shift + ; แปลงวัน/เวลา เปนตัวเลข กดปุม Ctrl + Shift + ~

Auto Fill Auto Fill หรือการเติมขอมูลลําดับอัตโนมัติ เปนความสามารถพิเศษของ Microsoft Excel ใน การปอนขอมูลที่มักจะใชบอยๆ และเปนขอมูลที่ตองเรียงลําดับ เชน เดือน, วัน, พ.ศ., ไตรมาศทางการคา, ตัวเลข • ปอนขอมูลเริ่มตน เชนชื่อของวันในสัปดาห หรือชื่อเดือนทั้งแบบเต็มและแบบยอ, ไตรมาส 1, ป พ.ศ. 2540 เปนตน

18

• เลื่อน Mouse Pointer ไปยังมุมลางขวา ของเซลลนั้น จะปรากฏเครื่องหมายกากบาทเล็กๆ สีดํา เรียกวา “Fill Handle”

• ลากเมาสไปยังเซลลปลายทาง แลวจึงปลอยเมาส

AutoFill กับตัวเลข ตัวเลขที่ไมนําไปคํานวณ เชน ลําดับที่ใหปอนโดยใชเครื่องหมายเขี้ยวเดียว (‘) นําหนา แลวตาม ดวยตัวเลข เมื่อ AutoFill จะเพิ่มคาทีละ 1 ใหโดยอัตโนมัติ ตัวเลขที่ตองการนําไปคํานวณ จะตองปอนอยางนอย 2 เซลล และโปรแกรมจะสราง AutoFill โดย นําผลตางของทั้งสองคาบวกกับคาสุดทายโดยอัตโนมัติ เชน เซลลแรกปอน 5 เซลลถัดไปปอน 10 จากนั้น เลือกทั้งสองเซลล เมื่อ AutoFill จะไดคา 15, 20, 25, … ตามลําดับ

การลาก Fill Handle สามารถใชปุมขวาของเมาส ซึ่งเมื่อปลอย จะปรากฏคําสั่งใหเลือก ดังนี้

• • • •

Fill Series เติมแบบเรียงลําดับ โดยเพิ่มคาทีละ 1 Fill Formatting Only เติมเฉพาะรูปแบบ คลายกับการใชเครื่องมือ Fill Without Formatting เติมเฉพาะขอมูล ไมเอารูปแบบของเซลล Fill Day, Weekdays, Months, Years เติมเฉพาะคาวัน,วันในสัปดาห, เดือน หรือปที่ระบุ เทานั้น • Linear Trend เพิ่มคาแบบเชิงเสน คือเอาผลตางของคาที่หนึ่งกับคาที่สอง มาบวกเพิ่มกับคาลาสุด • Growth Trend เพิ่มคาแบบผลคูณ โดยนํา 2 คูณกับคาลาสุด • Series เขาสูกรอบตัวเลือกการเติมอัตโนมัติ

19

Initial selection 1, 2, 9:00 Mon Monday Jan Jan, Apr Jan-99, Apr-99 15-Jan, 15-Apr 1999, 2000 1-Jan, 1-Mar Qtr3 (or Q3 or Quarter3) text1, textA 1st Period Product 1

Extended series 3 4, 5, 6 10:00, 11:00, 12:00 Tue, Wed, Thu Tuesday, Wednesday, Thursday Feb, Mar, Apr Jul, Oct, Jan Jul-99, Oct-99, Jan-00 15-Jul, 15-Oct 2001, 2002, 2003 1-May, 1-Jul, 1-Sep,... Qtr4, Qtr1, Qtr2,... text2, textA, text3, textA,... 2nd Period, 3rd Period,... Product 2, Product 3,...

สราง AutoFill AutoFill สามารถสรางรายการที่ใชงานไดบอยๆ ตามความตองการของผูใช เชน หนวยงานมี ผลิตภัณฑ 4 รายการ ไดแก แผนดิสก, คอมพิวเตอร, เครื่องพิมพ และเมาส เพื่อไมตองเสียเวลากับ การปอนรายการดังกลาว สามารถกําหนดรายการทั้ง 4 เปน AutoFill ไดโดยเลือกคําสั่ง Tools, Options… เลือกบัตรรายการ Custom Lists ปอนรายการแยกบรรทัด แลวคลิกปุม Add เพื่อเพิ่ม สามารถปอนรายการในชวงเซลล ใดๆ แลวระบุเปนชวงขอมูลโดย การนําเขา (Import)

20

เพิ่มหมายเหตุ (Comment) หมายเหตุ เปนการบันทึกยอใหกับเซลลที่สนใจ โดยเลือกเซลล แลวเลือกคําสั่ง Insert, Comment

เซลลที่มีการใสหมายเหตุ จะมีจุดสีแดงเล็กๆ ปรากฏที่มุมบนขวาของเซลล เมื่อนําเมาสมาชี้ จะ ปรากฏขอความโดยอัตโนมัติ การลบ/แกไข Comment ใหเลื่อนเมาสมาที่เซลลที่ตองการ แลวกดปุมขวาเมาส จะปรากฏเมนูลัด เลือกคําสั่ง Edit Comment เพื่อแกไข เลือกคําสั่ง Delete Comment เพื่อลบ หรือ Show Comment เพื่อระบุใหแสดงหรือไมแสดงหมายเหตุ

ชื่อนามสกุลที่ปรากฏใน Comment ปรับแกไขโดยเลือกคําสั่ง Tools, Options แลวเลือกบัตรรายการ General แกไขจากรายการ User name

Paste Special คําสั่ง Paste Special เปนคําสั่งวางขอมูลแบบพิเศษ ซึ่งมีตัวเลือกในการจัดการขอมูล เชน การสลับ แถวเปนคอลัมน สลับคอลัมนเปนแถว, การวางขอมูลจากสูตรแลวแปลงเปนตัวเลข หรือการนําคาตัวเลขมา วางทับขอมูลที่มีอยูเดิมโดยการเพิ่มคา หรือลบคา หรือคูณ หรือหาร

21

จัดการไฟล

ไฟลเอกสารของ Microsoft Excel เรียกวา Workbook มีสวนขยายเปน .xls นอกจากนี้ยังมีไฟล ลักษณะอื่นๆ อีก เชนไฟลแมแบบ (Template) จะมีสวนขยายเปน .xlt ไฟลฟอรแมต CSV ที่มีสวนขยาย เปน .csv ซึ่งเปนไฟลที่นิยมใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางโปรแกรม เชน จากสมุดโทรศัพทของ โทรศัพทมือถือบางรุน

จัดเก็บเอกสาร (Save) ขณะที่มีการสรางงาน, ปรับแตงแกไข ควรจัดเก็บงานนั้นไวในฮารดดิสก จากนั้นจึงคอยคัดลอก (Copy) หรือยาย (Move) ไปไวในแผนดิสก ไมควรจัดเก็บลงแผนดิสก เนื่องจากขนาดไฟลมักจะมีขนาดใหญ อาจจะทําใหขอมูลเกิดความเสียหายได การจัดเก็บหรือบันทึกเอกสารจะใชคําสั่ง File, Save หรือใชคียลัด Cs หรือคลิกที่ปุม Save บน Standard Toolbar โดยโปรแกรมจะบันทึกลงไฟลที่เปดแกไขใหโดย อัตโนมัติ ในกรณีที่ตองการเปลี่ยนชื่อไฟล หรือเปลี่ยนไดรฟ และโฟลเดอรใหเลือกคําสั่ง File, Save as… หรือใชคียลัด +

• เลือกโฟลเดอรที่จะจัดเก็บจากรายการ Save in : โดยคลิกที่ Drop Down Menu มักจะเก็บไวใน โฟลเดอรชื่อ My Document • กําหนดชื่อไฟลในชอง File name: โปรแกรมจะใหนามสกุลไฟล เปน .xls ชื่อไฟลควรยึดหลัก ดังนี้ o ตัวอักษรหรือตัวเลข หรือผสมกัน รวมชองวาง o ยาวไมเกิน 255 ตัวอักษร o ยกเวนสัญลักษณ \ / ? : ; [ “ < > | • คลิกปุม

เพื่อจัดเก็บไฟล หรือปุม

เพื่อยกเลิกคําสั่ง

22

สามารถตั้งระบบการบันทึกไฟลอัตโนมัติ (Auto Save) โดยเลือกคําสั่ง Tools, Options… แลวเลือก บัตรรายการ Save

กําหนดโฟลเดอรสําหรับการบันทึกและเปดไฟลไดโดยเลือกคําสั่ง Tools, Options… แลวเลือก บัตรรายการ General

ปดไฟลเอกสาร (Close) เมื่อใชงานไฟลเอกสารใดๆ เรียบรอยแลว หรือตองการใชงานไฟลอื่น ควรปดไฟลเอกสารที่เปดอยู กอน เพื่อเปนการคืนหนวยความจําใหกับคอมพิวเตอร ทําใหสามารถใชงานไฟลใหมไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพ โดยเลือกเมนู File, Close หรือกดปุม Cw กรณีที่เอกสารยังไมไดจัดเก็บครั้งลาสุด โปรแกรมจะแสดงกรอบโตตอบใหจัดเก็บเอกสารกอน

• Yes • No • Cancel

เมื่อตองการบันทึกไฟล ไมตองการบันทึกไฟล ยกเลิกคําสั่งปดไฟลเอกสาร

ถาเปดไฟลไวหลายไฟล และตองการปดทุกไฟล ใหกดปุม S คางไวกอนคลิกเมนู File คําสั่ง Close จะเปลี่ยนเปน Close All

สรางเอกสารใหม การสรางเอกสารใหมสามารถคลิกปุม New

หรือใชคียลัด Cn

23

สรางเอกสารใหมจากแมแบบ แมแบบเอกสาร หมายถึง ไฟลสําเร็จรูปที่โปรแกรม หรือผูใชสรางขึ้น หรือออกแบบเพื่อให เหมาะสมกับงาน มักจะเปนงานที่ตองทําบอยๆ เชน Balance Sheet, Sales Invoice แมแบบเอกสารมีใหเลือกใชหลายรูปแบบ โดยบางรูปแบบก็มีการทํางานแบบโตตอบ (Wizard) บางรูปแบบก็เปนโครงรางสําเร็จ เพียงแตเขาไปปรับแตงแกไขบางสวนก็สามารถใชงานไดทันที โดยคลิกที่ รายการ General Template จาก Task Pane ในโหมด New Workbook

กรณีที่เชื่อมตออินเทอรเน็ต สามารถดาวนโหลดไฟลแมแบบใหมจากเว็บไซตของ www.microsoft.com โดยคลิกที่รายการ Templates on Microsoft.com ใน Task Pane

Import Text File เอกสารที่เปนตารางจาก Word หรือฐานขอมูลจากโปรแกรมอื่นๆ ที่ไมใชผลิตภัณฑของ Microsoft วิธีการนําเขามาใสใน Sheet ของ Excel วิธีหนึ่งที่นิยมกันก็คือ แปลงเอกสารดังกลาวเปน Text File แลว Import เขามาใน Excel โดยเลือกคําสั่ง File, Open แลวเลือก Text File ดังกลาว

24

ซึ่งจะปรากฏหนาตางควบคุมการนําเขา ดังนี้

• เลือกวาสิ่งที่นําเขามานั้นเปนเอกสารที่มีการคั่นดวยสัญลักษณพิเศษ (Delimited) หรือ เปนเอกสารที่มีการกําหนดความยาวอักขระที่แนนอน (Fixed width) • เลือกแถวแรกของการนําเขา (Start import at row) • เลือกรูปแบบการเขารหัสภาษาไทย (File origin) เมื่อกําหนดคาตางๆ แลวใหคลิกปุม Next เพื่อเขาสูการนําเขาขั้นตอนที่ 2 ซึ่งเปนขั้นตอนระบุ เครื่องหมายคั่นเนื้อหา (Delimiter)

เลือกเครื่องหมายคั่นเนื้อหาที่ตองการ (โดยมากมักจะเปน comma) ใหคลิกปุม Next เพื่อกําหนด ประเภทของขอมูลแตละรายการ

25

เลือกประเภทขอมูลใหกับขอมูลแตละรายการ แลวคลิกปุม Finish โปรแกรมจะนําเขาขอมูลและ แปลงเปนขอมูลบนแผนงานโดยอัตโนมัติ อยางไรก็ตามยังมีวิธีที่สะดวกในการนําเขาเอกสารลักษณะ ดังกลาว คือ o คลิกเลือกคําสั่ง File, Open... o เลือกไฟลเอกสารที่ตองการนําเขา o กดปุม S คางไว แลวคลิกปุม Open โปรแกรมจะนําเขาเอกสารทันทีโดยไมผาน หนาตาง Wizard

การนําเขาไฟลขอมูลจาก MS Access นอกจากการนําเขาจาก Text File ยังสามารถนําเขาไฟลฐานขอมูลตางๆ เชน MS Access ซึ่งมี วิธีการนําเขา ดังนี้ • เลือกคําสั่ง Data, Import External Data, Import Data • เลือกไฟลฐานขอมูล เชน Northwind.mdb โปรแกรมจะใหเลือกตารางขอมูล (Table) ของ ไฟลฐานขอมูล

• เลือกตารางขอมูลที่ตองการแลวคลิกปุม OK • เลือกแผนงาน และตําแหนงเซลลที่ตองการวางขอมูล

• โปรแกรมจะนําเขาขอมูลและจัดวางในแผนงานที่เลือกโดยอัตโนมัติ

26

การคัดลอกไฟลสูแผนดิสก หรือสื่อบันทึกอื่นๆ ไดกลาวไวตั้งแตเริ่มตนวา การสรางไฟลเอกสาร ควรจัดเก็บไวในฮารดดิสกกอน จากนั้นจึงคอย คัดลอกไปยังแผนดิสกหรือสื่อบันทึกอื่นๆ เชน Handy Drive ไมควรจัดเก็บลงแผนดิสกโดยตรง เนื่องจาก โปรแกรมจะใชพื้นที่สํารองในการจัดเก็บไฟลเอกสารปริมาณมาก ซึ่งแผนดิสกมีพื้นที่จํากัด อาจจะทําให ไฟลเอกสารนั้นๆ มีปญหาในการเรียกใชงานครั้งตอๆ ไป ดังนั้นเมื่อสรางเอกสาร และจัดเก็บไวในฮารดดิสกแลว หากตองการนําไฟลเอกสารนั้นไปใชงานที่ อื่น วิธีหนึ่งที่นิยมก็คือ คัดลอกไฟลเอกสารใสไวในแผนดิสกหรือสื่อบันทึกอื่นๆ • ปดไฟลเอกสารที่ตองการคัดลอก • นําแผนดิสกใสในชองดิสกไดรฟ • ยอหนาตางโปรแกรม Microsoft Excel และโปรแกรมอื่นๆ โดยใหแสดงเฉพาะเดสท็อปของ Windows • ดับเบิลเปด My Document หรือเปดโฟลเดอรที่เก็บไฟลเอกสารที่สรางไว • หาชื่อไฟลเอกสาร แลวกดปุมขวาของเมาสที่ไฟลเอกสารนั้นๆ ปรากฏเมนูลัด เลือกคําสั่ง Sent to, 3.5 Floppy (A:) • โปรแกรมจะคัดลอกไฟลไปไวในแผนดิสกใหอัตโนมัติ หากไฟลใหญไมพอที่จะเก็บในแผน เดียว โปรแกรมจะแจงใหนําแผนวางใสแทน

การกําหนดคุณสมบัติของเอกสาร คุณสมบัติของเอกสาร (Document Properties) นับเปนหัวใจหลักของการระบบสืบคน และระบบ อางอิงเอกสาร ทั้งนี้หลายๆ หนวยงาน หลายองคกรใหความสําคัญกับการกําหนดคุณสมบัติเอกสารเปนอยาง สูง คุณสมบัติของเอกสาร จะมีขอมูลคลายๆ กับระบบสืบคนดวยบัตรรายการในหองสมุดนั่นเอง โดยมีชื่อ เฉพาะในวงการ ICT วา Meta Data เชน ชื่อผูสรางเอกสาร (Author) หนวยงาน (Company, Organization, Publisher) หรือวันที่/เวลาสราง และแกไขเอกสาร เปนตน เอกสารที่สรางดวยซอฟตแวรชุด Microsoft Office กําหนดคุณสมบัติของเอกสารไดจากเมนูคําสั่ง File, Properties… โดยผูสรางเอกสารสามารถกําหนดรายละเอียดตางๆ ของเอกสารไดตามรายการที่ปรากฏ เพื่อใหโปรแกรมรูจักเมื่อมีการใชคําสั่งคนหา คุณสมบัติเกี่ยวกับวันที่สรางเอกสาร โดยปกติโปรแกรมทุกโปรแกรมจะมีการบันทึกโดย อัตโนมัติ จากระบบวันที่ของระบบ ดังนั้นคอมพิวเตอรทุกเครื่องในหนวยงาน จะตองทําการ ตรวจสอบและปรับแกไขวันที่ระบบใหตรงกับความเปนจริงดวยเสมอ โดยเลือกจากคําสั่ง Start, Settings, Control Panel, Date/Time

27

คุณสมบัติของเอกสาร แบงเปนหมวดไดดังนี้ • Automatically updated properties ƒ ขอมูลที่ถูกสรางและปรับปรุงโดยอัตโนมัติ เชน วันที่สราง/ปรับปรุงแกไขเอกสาร, จํานวนแผนงาน เปนตน คุณสมบัตินี้จะบันทึกโดยอัตโนมัติเมื่อมีการบันทึกไฟล (Save) และแสดงผลจากบัตรรายการ General, Statistics, Contents • Preset properties ƒ ขอมูลมาตรฐานที่โปรแกรมเตรียมไวให เชน ชื่อผูสราง, หนวยงาน, หมวด, คําสําคัญ ซึ่ง ผูใชสามารถปรับแกไขได จากบัตรรายการ Summary • Custom properties ƒ ขอมูลคุณสมบัติของไฟลที่ผูสราง หรือผูใชงาน กําหนดไดอิสระ รวมทั้งสามารถระบุ ประเภทของขอมูล เชน ตัวอักษร (Text), วันที่ (Date), ตัวเลข (Number) และคาใช หรือไมใช (Yes/No) กําหนดจากบัตรรายการ Custom • Document library properties ƒ คุณสมบัติที่กําหนดจากไฟลแมแบบ หรือไฟลตนแบบ (Template) ปรากฏในบัตรรายการ Custom เฉพาะเมื่อมีการสรางไฟลจากแมแบบ

การคนคืนเอกสาร การคนคืนเอกสาร สามารถกระทําไดโดยเลือกคําสั่ง File, Search… ซึ่งจะ ปรากฏหนาตางควบคุมการคนคืน เลือกรายการที่ตองการคนจาก Property ระบุ รูปแบบการคนคืน โดย Includes หมายถึง รายการที่ระบุเปนสวนหนึ่งของขอมูล หรือ is (exactly) หมายถึง รายการที่ระบุ จะตองตรงกับขอมูล จากนั้นปอนรายการที่ตองการ คน ในบรรทัด Value: คลิกปุม Add เพิ่มเงื่อนไขการคนลงในคําสั่งคนคน สามารถ กําหนดเงื่อนไขไดมากกวา 1 เงื่อนไข และใชตัวเชื่อม And หรือ Or เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการคนคน แลวคลิกปุม Search และรอผลการคนคืน

28

การตั้งชื่อแฟมเอกสารที่ตองแลกเปลี่ยนกัน จากปญหาเรื่องการแลกเปลี่ยนไฟลเอกสาร ควรจะมีระบบการเรียกชื่อไฟลที่เขาใจงาย สามารถ มองเห็นความแตกตางของชื่อไฟล และสามารถแยกรุนของไฟลอยางชัดเจน ทั้งนี้ โดยใชหลักการตั้งชื่อดังนี้ • ใหใชตัวอักษรภาษาอังกฤษ และตัวเลข โดยไมมีเครื่องหมายวรรคตอนใดๆ ยกเวนแต . และ เทานั้น (ไมใช space และ unserscore “_” เพราะจะสรางปญหาเมื่อเปนสวนหนึ่งของ URL) • ระบุวันที่ไวขางหนา ดวยรูปแบบ yyyymmdd สมมุติวาชื่องานคือ budget ในการรางเอกสาร เปนครั้งแรก ชื่อไฟลก็จะเปน 20031216-budget.xls ในกรณีที่ในวันนั้น มีการแกไขและ ทบทวนออกมาอีก 2-version ใหตั้งชื่อใหมดังนี้ 20031216-budget-1.xls • ในบางครั้ง มีการแจกไฟลใหไปแกไขพรอมกันหลายๆคน และอาจจะตองนําไฟลที่แกไขนั้น มารวมกันใหมกรณีนี้ ขอใหผูที่อยูในทีมงานใสชื่อยอของตัวเองตอทาย version ถัดไป ทั้งนี้ ทุกคนอาจจะใชเลข version ใหมที่เปนเลขเดียวกันได ตัวอยางเชน ในการประชุม ไดแจก แฟมขอมูล 20031218-budget-1.xls ใหผูเกี่ยวของไปแกไข เวลาสงไฟลที่แกไขแลวกลับมาให ผูประสานงาน อาจจะเปนไฟลที่มีชื่อดังตอไปนี้สงกลับมาใหทีมเลขานุการ 20031218-budget-1-boonlert.xls (ปรับปรุงโดย boonlert) + 20031218-budget-1-somchai.xls (ปรับปรุงโดย somchai)

ขอกําหนดการสงเอกสารอิเล็กทรอนิกสผานเครือขายอินเทอรเน็ต • เอกสารทุกชิ้นจะตองสรางเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่มีมาตรฐานและรูปแบบที่ถูกตอง • เอกสารอิเล็กทรอนิกสในชุด Microsoft Office กอนสงเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ตผานบริการ ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-Mail) จะตองบีบอัดไฟลในรูปแบบ Zip File ดวยโปรแกรม Winzip หรือแปลงเปน PDF Format กอนเสมอ • ชื่อไฟลจะตองกําหนดตามหลักเกณฑการกําหนดชื่อไฟล

29

จัดการแผนงาน

เมื่อมีการปอนขอมูลในแผนงาน มักจะมีปญหาหลายดานเกิดขึ้น เชน จํานวนแผนงานมีไมเพียงพอ ตองการยายแผนงาน หรือตองการปรับแตงแกไขแถว หรือคอลัมน ดังนั้นการจัดการแผนงาน และ สวนประกอบตางๆ ของแผนงาน จึงเปนเนื้อหาที่ผูใช Microsoft Excel ควรทราบ

การขยาย-ลดความกวางของคอลัมน ขอมูลใน Cell บางครั้งเมื่อปอนลงไปแลว หรือกรณีที่มีการจัดแตงขอมูล อาจจะไมปรากฏผลตาม ความเปนจริง แตแสดงในรูปแบบเครื่องหมาย # เต็มเซล หรือล้ําไปยังเซลลอื่น หรือขนาดของเซลลไม เหมาะสมกับขนาดของขอมูลภายใน หมายความวา ความกวางของคอลัมนนั้น ๆ ไมพอเหมาะกับขนาดของ ขอมูล ซึ่งแกไขโดยการขยายหรือลดความกวางของคอลัมน

• เลื่อนเมาสไปชี้ที่เสนคั่นระหวางหัวคอลัมน จะปรากฏเมาสเปนรูปลูกศร 2 ทิศในแนวซายขวา

• ลากเมาสใหไดขนาดของคอลัมนตามที่ตองการ แลวจึงปลอยเมาส หรือดับเบิลคลิกเพื่อจัด ความกวางใหพอดีกับเนื้อหาในเซลล • สามารถใชคําสั่ง Format, Column… หรือ Format, Row… แลวเลือกรายการคําสั่งยอย ควบคุมคอลัมน

คําสั่งของ Format, Column…

คําสั่งของ Format, Row…

30

การแทรกแถว/คอลัมน ขอมูลที่ปอนลงแผนงานไปแลว สามารถแทรกเพิ่มเติมไดโดยใชหลักการแทรกแถว ดังนี้ • เลือกแถว หรือคอลัมน • เลือกคําสั่ง Insert, Rows/Columns

การลบแถว/คอลัมน เมื่อมีการแทรกแถว หรือคอลัมน ก็ยอมจะสามารถลบแถวหรือคอลัมนที่ไมตองการออกไปได โดย ใชหลักการดังนี้ • เลือกแถว หรือคอลัมนที่ตองการลบ • เลือกคําสั่ง Edit, Delete

Tab Sheet ไฟลขอมูลของ Microsoft Excel เรียกวา WorkBook โดย 1 WorkBook จะประกอบดวยพื้นที่ ทํางานหลายพื้นที่รวมกัน เรียกวา WorkSheet โดยใช Tab Sheet เปนจุดบงบอกการใชงาน

การเปลี่ยนแผนงาน • คลิกเมาส ณ Tab Sheet ที่ตองการ

การเปลี่ยนชือ่ แผนงาน • ดับเบิลคลิกที่ Tab Sheet พิมพชื่อแผนงานใหม แลว E

การลบแผนงานออกจาก WorkBook • เลือกแผนที่ตองการลบ แลวใชคําสั่ง Edit, Delete Sheet หรือคลิกขวาที่ชื่อแผนงานแลวเลือก Delete

การแทรกแผนงานใหมลงใน WorkBook • เลือกคําสั่ง Insert, WorkSheet หรือคลิกขวาที่ชื่อแผนงานแลวเลือก Insert…

การยายตําแหนงแผนงาน • เลือกแผนงานที่ตองการยาย แลว Drag เมาส ณ Tab Sheet นั้นนําไปปลอย ณ ตําแหนงใหม

การสําเนาแผนงาน • เลือกแผนงานที่ตองการคัดลอก แลว Drag เมาส ณ Tab Sheet พรอมๆ กับกดปุม C นําไป ปลอย ณ ตําแหนงใหม • จะปรากฏWorksheet ใหมที่มีขอมูลเดียวกับ Worksheet ตนฉบับ

31

การสําเนาชีตขามไฟล • เลือกชีต แลวคลิกขวาเลือกคําสั่ง Move or Copy …

• เลือกไฟลจาก To book: แลวคลิกรายการ Create a copy แลวจากนั้นคลิกปุม OK

การปอนขอมูลลงใน Sheet หลาย Sheet ในการทํางานบางงาน มีความจําเปนตองใช Sheet มากกวา 1 Sheet ทั้งการพิมพโครงสรางขอมูลใน Sheet หรือการพิมพขอมูลใน Sheet มากกวา 1 Sheet ดังนั้น Excel จึงเตรียมคําสั่งในการปอนขอมูลลักษณะ ดังกลาว โดย • • • • • • •

เลือก Sheet ที่ตองการ คลิก Sheet แรก กดปุม S หรือ C คางไว แลวคลิกที่แท็บ Sheet อื่นๆ ที่ตองการ สังเกตไดวาปรากฏคําวา Group ใน Title bar แสดงวามีการสรางกรุปใหกับ Sheet ที่เลือก พิมพขอมูลที่ตองการในตําแหนงเซลล ขอมูลจะปรากฏ ณ ตําแหนงเซลลนั้น ในทุกๆ Sheet ที่เลือกโดยอัตโนมัติ การยกเลิกการเลือกกรุปของ Sheet ใหคลิกที่แท็บ Sheet ใดๆ

ตรึงตําแหนงขอมูล ขอมูลที่มีปริมาณมากจะมีปญหาในการเลื่อนตําแหนง เพราะจะทําใหสวนหัวขอมูลเลื่อนหายไป จากจอภาพ ซึ่งโปรแกรมไดเตรียมคําสั่งชวยตรึงแถว หรือคอลัมนไดโดย คลิกเมาสถัดจากแถว หรือคอลัมน ที่ตองการตรึง เชน ตองการตรึงแถวที่ 3 คอลัมน C ใหคลิกเมาสที่เซลล D4 แลวเลือกคําสั่ง Window, Freeze Panes และถาตองการยกเลิกใหเลือกคําสั่ง Window, Unfreeze panes

32

จัดแตงขอมูล

ขอมูลที่ปอนลงในแผนงาน สามารถจัดแตงใหมีลักษณะ สีสัน รูปแบบไดหลากหลายวิธี ทั้งโดย การใชปุมจัดแตงรูปแบบจาก Formatting Toolbar หรือจากเมนูคําสั่ง Format หรือใชคําสั่งจัดรูปแบบ สําเร็จรูป (AutoFormat) โดยขั้นแรกกอนที่จะจัดแตงขอมูลใดๆ จะตองเลือกเซลล หรือเลือกชวงขอมูลกอน

Formatting Toolbar Formatting Toolbar เปนแถบเครื่องมือจัดแตงขอมูลที่ประกอบดวยปุมเครื่องมือ ดังนี้

แบบอักษร/ขนาดและลักษณะ กลุมจัดแตงพารากราฟ

กลุมจัดแตงเซลล กลุมจัดแตงขอมูลตัวเลข

แกไขคา Default ของฟอนตใหเลือกคําสั่ง Tools, Options… เลือกบัตรรายการ General แลวแกไข คาฟอนตตามตองการ

จัดขอมูลอยูกึ่งกลางชวง • ปอนขอมูลในเซลลแรกของชวง

• กําหนดแถบสีใหกับชวงขอมูล

33

• คลิกเมาสที่ปุมเครื่องมือ Merge and Center

หัวเรื่องแนวตั้ง การพิมพหัวเรื่องในแนวตั้ง ดังตัวอยาง ทําไดโดยพิมพขอความตามปกติ แลว Merge เซลลในแนวตั้งใหพอเหมาะ เลือกคําสั่ง Format, Cells เลือกบัตรรายการ Alignment กําหนดคา Orientation เปน 90 องศา จัดกึ่งกลางเซลล

จัดแตงขอมูลตัวเลข • เลือกเซลล หรือกําหนดชวงขอมูล • คลิกเลือกคําสั่ง Format, Cell… เลือกรายการจากบัตรรายการ Number คียลัดคือ C1

• ลักษณะการจัดรูปแบบ 0.00 #,

0 #,

0.00 #,

0_);(#,

0)

ตัวเลขมีทศนิยม 2 หลัก ตัวเลขมีเครื่องหมาย , ตัวเลขมีเครื่องหมาย , และทศนิยม 2 หลัก ตัวเลขมีเครื่องหมาย , โดยถาเปนคาติดลบ จะมีเครื่องหมายวงเล็บกํากับ

34

#,

0.00_);[Red](#,

0.00) ตัวเลขมีเครื่องหมาย , และทศนิยม 2 หลัก โดยถาเปนคาติดลบ จะแสดงเปนตัวสีแดงในวงเล็บ t#,### ตัวเลขมีเครื่องหมาย , และแสดงเปนเลขไทย “ขอความ” พิมพขอความที่ระบุ [Blue]#,

0.00;[Red](-#,

0);"ศูนย";"ไมมีขอมูล" ตรวจสอบขอมูลโดย ขอมูลเปนคาบวก ใหแสดงดวยสีน้ําเงิน มีเครื่องหมาย , และทศนิยม 2 หลัก ขอมูลเปนคาลบ ใหแสดงดวยสีแดง ใน ( ) และมีเครื่องหมาย - นําหนา ขอมูลเปนคาศูนย ใหแสดงดวยขอความ "ศูนย" ขอมูลเปนชองวาง ใหแสดงดวยขอความ “ไมมีขอมูล” 0*พิมพเครื่องหมาย – ใหเต็มเซลล ขอมูล รหัส การแสดงผล 12345.34 #,###.# 12,345.3 1234.23 #,

0.0000 1,234.230 12300000 0.00,, 12.30 500000 0.00,, 0.50 323435435 0.00,, 323.44 456.33 # ?/? 456 1/3 54.234 # ???/??? 54 117/500 9 0*9----54.233 0.00** 54.23*************** 500 t0.00 "บาทถวน" ๕๐๐.๐๐ บาทถวน 0.54 0.00% 54.00% 0.003 0.00% 0.30%

จัดรูปแบบตัวเลขหลักลาน ปอนตัวเลขในหลักลาน แตตองการแสดงเปนหลักพัน ใหใช Format Code เปน #,

0, (หรือ #,

0.0,) และถาตองการเปนหลักเดี่ยวในหลักลาน ใหเปลี่ยนเปน #,

0,, (หรือ #,

0.0,,)

จัดตัวเลขผสมขอความ ตัวเลขที่พิมพลงไป หากมีขอความผสมดวย สามารถใชคําสั่ง Format Cell มาชวยใสขอความได เพื่อใหเกิดความสะดวก รวดเร็ว และยังสามารถนําตัวเลขนั้นมาคํานวณไดดวย เชน ชุดคําสั่งควบคุม ในชอง Type คือ "AB"0000

35

การยกเลิกรูปแบบการแสดงผลขอมูลตัวเลข จากเมนูคําสัง่ ขอมูลที่จัดแตงไปแลว โดยเฉพาะตัวเลข สามารถยกเลิกรูปแบบไดโดยกําหนดชวงขอมูลที่ตองการ คลิกมาสที่เมนูคําสั่ง Format, Cells… เลือกบัตรรายการ Number เลือก Category: General

หรือเลือกเมนูคําสั่ง Edit, Clear, Formats ซึ่งจะยกเลิกรูปแบบทุกอยางที่เคยจัดไว เชน ฟอนต, ลักษณะพื้นเซลล, สีตัวอักษร และการจัดรูปแบบตัวเลข

การแสดงผลวันที่/เวลา สําหรับการแสดงผลป พ.ศ. จะใชคําสั่ง Format, Cell… มาควบคุม โดยมีรหัสควบคุมวันที่ ดังนี้ ว วว ววว วววว ด ดด ดดด ดดดด bb ปป yy

หรือ หรือ หรือ หรือ หรือ หรือ หรือ หรือ หรือ หรือ หรือ

d dd ddd dddd m mm mmm mmmm bbbb ปปปป yyyy

แสดงเลขวัน (เลขไทย/อารบิค) แสดงเลขวัน 2 หลัก (เลขไทย/อารบิค) แสดงชื่อยอของวันในสัปดาห แสดงชื่อของวันในสัปดาห แสดงเลขเดือน แสดงเลขเดือน 2 หลัก แสดงชื่อยอของเดือน แสดงชื่อเต็มของเดือน แสดงป พ.ศ. ดวยเลขอารบิค แสดงป พ.ศ. ดวยเลขไทย แสดงป ค.ศ.

36

จัดแตงขอมูลดวย Style การจัดแตงขอมูลซ้ําๆ กันหลายๆ ครั้ง หรือหลายๆ ตําแหนงในกระดาษ Style จะชวยอํานวย ความสะดวกไดดี การสราง Style เลือกคําสั่ง Format, Style… ตั้งชื่อสไตล แลวคลิกปุม Add จากนั้นคลิกปุม Modify… กําหนดรูปแบบที่ตองการ สไตลที่สรางไวแลว สามารถใชได โดยเลือกเซลล หรือชวงแลวเลือกสไตลจากคําสั่ง Format, Style…

จัดแตงขอมูลดวย AutoFormat นอกจากสไตล ยังสามารถใช AutoFormat หรือคําสั่งจัดรูปแบบอัตโนมัติ เพื่อชวยจัดแตงขอมูล โดยเลือกขอมูลที่ตองการจัดแตง แลวเลือกคําสั่ง Format, AutoFormat

เสนขอบเซลล (Borders) เสนขอบที่เห็นโดยปกติ เรียกวา เสนกริด (Grid Line) ซึ่งแสดงขึ้นมาเพื่อบงบอกขอบเขตของเซลล ใด ๆ เมื่อมีการจัดแตงขอมูล ผูใชอาจตองการลักษณะของเสนขอบที่มีลักษณะอื่น ๆ ดังนั้นเสนขอบที่เกิดจาก การใชคําสั่ง เรียกวา “กรอบเซลล (Borders)” ซึ่งมีหลักการใชงาน ดังนี้ • กําหนดชวงขอมูล คลิกเมาสที่ปุมลูกศร Drop Down List ของเครื่องมือ Borders ปุมเครื่องมือยอย ดังนี้

ปรากฏ

• คลิกเมาสในชองปุมเครื่องมือที่ตองการ • หรือเลือกจากคําสั่ง Format, Cells, Border

จัดแตงดวยกราฟก การจัดแตงเอกสาร แผนงานดวยกราฟก จะชวยใหเอกสารมีลักษณะโดดเดน นาสนใจ โดยสามารถ ใชไดทั้ง ClipArt, Image และการวาดภาพดวยเครื่องมือ Drawing

37

Clip Art ClipArt เปนคลังภาพสําเร็จรูปที่ MS Office จัดเตรียมเพื่อสะดวกในการเรียกใชงาน มีการแบง หมวดหมูของภาพไวอยางเหมาะสม การใช ClipArt ทําไดโดย • นําตัวชี้ตําแหนงไปวางไว ณ ตําแหนงที่ตองการวางรูปภาพ • เลือกคําสั่ง Insert, Picture, Clip Art… • เมื่อเลือกรายการ Clip Art จะปรากฏกรอบทํางาน ดังนี้

• พิมพคําคน (Keyword) เพื่อคนหาภาพ ในรายการ Search text: แลวกดปุม E • โปรแกรมจะคนภาพ และแสดงผล ดังนี้

• คลิกเลือกภาพที่ตองการ แลวลากมาปลอยบนสไลด

การนําภาพจากแหลงอื่นๆ มาใชงาน • นําตัวชี้ตําแหนงไปวางไว ณ ตําแหนงที่ตองการวางรูปภาพ • เลือกคําสั่ง Insert, Picture, From File… ปรากฏกรอบโตตอบ ดังนี้

38

• เลือกไดรฟ และโฟลเดอรภาพจากรายการ Look in : • เลือกรูปภาพที่ตองการ • กดปุม Insert เมื่อตองการภาพที่เลือกไว

จัดการเกี่ยวกับรูปภาพ เลือกรูปภาพ • ชี้เมาสไปยังรูปที่ตองการ แลวคลิกเมาส 1 ครั้ง จะปรากฏจุดรอบรูปภาพ เรียกวา Handle • การยกเลิกการเลือกรูป ใหคลิกเมาส นอกรูปภาพ • การยกเลิกการเลือกรูป ใหคลิกเมาส นอกรูปภาพ

HANDLE

รูปภาพปกติ ลบรูปภาพ

รูปภาพที่ถูกเลือก

• เลือกรูปภาพ • กดปุม = ยอ - ขยายรูปภาพ • เลือกรูปภาพ • ชี้เมาสไปที่จุด Handle ใด ๆ • Drag เมาสใหไดรูปตามขนาดที่ตองการ เลื่อนตําแหนง • เลือกรูปภาพ • ชี้เมาสไปบนภาพ

39

• Drag เมาสใหไดตําแหนงที่ตองการ ปุมเครื่องมือจัดการรูปภาพ ถานําเมาสไปคลิกที่ภาพใดๆ จะพบวามีแถบเครื่องมือ1 ชุด คือ แถบเครื่องมือ Picture

Insert Picture

นําภาพอื่นมาใสเพิ่มในเอกสาร

Image Control ควบคุมลักษณะของภาพ ไดแก สีตามภาพ (Automatic), สีโทนขาวดํา, สีขาวดํา และสีออนแบบลายน้ํา ชุดควบคุมเกี่ยวกับความเขม ความสวาง ความคมชัดของภาพ Crop Picture ใชในการตัดภาพ วิธีการใชไดแก o คลิกที่ภาพที่ตองการตัด o คลิกปุมเครื่องมือ Crop Picture o เมาสจะเปลี่ยนรูปรางเปนสัญลักษณ o นําเมาสไปชี้ที่ Handle ณ ตําแหนงที่ตองการตัดภาพ เชน หากตองการตัดภาพ ดานขวา ก็นําเมาสไปชี้ที่ Handle ดานขวาของภาพดวย

o กดเมาสคางไว แลวลากเมาสเขาไปในภาพ จะพบวาภาพสวนนั้นจะหายไป o การคืนสภาพของภาพ ใหลากเมาสกลับออกมา Rotate Left หมุนภาพ Line Style ใสเสนลักษณะตางๆ รอบภาพ Compress Picture ปรับคุณภาพของภาพ เมื่อคลิกจะปรากฏตัวเลือก ดังนี้

40

Format Picture/Object เปดบัตรสั่งงาน Set transparent color กําหนดพื้นภาพโปรงใส Reset Picture คืนสภาพของภาพกลับสูคาเดิม

เครื่องมือวาดภาพ นอกจากการนําภาพมาจัดแตง ยังมีเครื่องมือชวยวาดภาพ วาดผังงานดวย Drawing Tools ซึ่งเปด/ ปดไดจากคําสั่ง View, Toolbars, Drawing

41

โดยคําสั่งควบคุม Drawing จะสามารถเลือกไดโดยคลิกที่ปุม

ซึ่งจะปรากฏคําสั่งยอย ดังนี้

เทคนิค • ดับเบิลคลิกเครื่องมือ เพื่อวาดหลายๆ ครั้งตอเนื่อง หยุดดวยการกดปุม X • กด S ขณะวาด เพื่อกําหนดใหเปนเสนเรียบ, สี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือวงกลม • กด C ขณะวาด เพื่อกําหนดใหจุดเริ่มตนของภาพ เปนจุดศูนยกลาง • เลือกวัตถุหลายๆ ชิ้นไดดวยปุม S หรือ C • คําสั่งควบคุมตางๆ อยูในปุม Draw • แตละปุมมีคําสั่งยอยภายใน Line Tool เครื่องมือวาดเสน และลูกศร • คลิกเมาสที่ Line หรือ Arrow Tool • ชี้เมาสไปยังตําแหนงเริ่มตน • Drag เมาสใหไดขนาดที่เสนที่ตองการ Rectangle Tool เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยม • คลิกเมาสที่ Rectangle Tool • ชี้เมาสไปยังตําแหนงเริ่มตนของกรอบสี่เหลี่ยม • Drag เมาสใหไดขนาดที่ตองการ Ellipse Tool เครื่องมือวาดวงรี หรือวงกลม • คลิกเมาสที่ Ellipse Tool • ชี้เมาสไปยังตําแหนงเริ่มตนของวงรี หรือวงกลม • Drag เมาสใหไดขนาดที่ตองการ Text Box เครื่องพิมพกรอบขอความ สําหรับการพิมพขอความที่สามารถปรับเคลื่อนยายไดอิสระ สี่เหลี่ยม แตสามารถพิมพขอความภายในได

วิธีการคลายกับการใชครื่องมือวาด

AutoShapes เครื่องมือวาดรูปทรงตางๆ นอกจากนี้โปรแกรมยังมีเครื่องมือวาดรูปทรงอิสระตางๆ อีกหลากหลายใหเลือกใชงาน โดยคลิกที่ จะปรากฏรายการเลือก และสามารถดึงแยกเปนแถบงานเฉพาะไดโดยคลิกที่สวนหัวของแถบ ลากมาปลอยบนจอภาพทํางาน

42

การพิมพขอมูลในรูปวาด รูปวาดแตละชิ้น สามารถพิมพขอความภายในไดโดยคลิกขวาแลวเลือกคําสั่ง Add Text หรือ Edit, Text

การจัดแตงวัตถุ เครื่องมือวาดรูปตางๆ ที่แนะนํา สามารถ เปลี่ยนแปลงลักษณะของเสน, สี และเฉดลายไดดวยหลักการ เดียวกับการจัดแตงภาพ หรือจะใชหลักการเลือกรูป แลว ดับเบิลก็จะปรากฏ Dialog Box เกี่ยวกับ Format Objects ขึ้นมา ดังรูป นอกจากนี้ยังสามารถใชชุดเครื่องมือจัดแตงวัตถุ

อักษรศิลป • คลิกปุม

ปรากฏตัวเลือกอักษรศิลป

• พิมพขอความ

• ปรับแตงแกไขใหคลิกเลือกปรากฏตัวเลือกดังนี้

Drawing & Formula/Function โปรแกรม Excel อนุญาติใหปอนสูตร หรือฟงกชันใสไวใน Drawing Object ไดโดยคลิกเลือกวัตถุ แลวนําเมาสไปคลิกที่แถบสูตร ปอนสูตร หรือฟงกชันที่ตองการ หรือจะพิมพเครื่องหมาย = ตามดวย ตําแหนงเซลล เพื่อนําคาจากเซลลไปปอนใสไวใน Drawing Object ก็ได

43

การคํานวณคา

โปรแกรม Microsoft Excel มีความสามารถเดนในดานการคํานวณ ซึ่งมีลักษณะการคํานวณ 2 รูปแบบใหญๆ ไดแก • การคํานวณดวยสูตร (Formula) • การคํานวณดวยฟงกชันสําเร็จรูป (Function)

ผลรวมอัตโนมัติ (Autosum) การคํานวณหาคาผลรวมดวย MS-Excel สามารถกระทําไดสะดวก งาย และรวดเร็ว โดยอาศัย ความสามารถที่เรียกวา “ผลรวมอัตโนมัติ” หรือ Auto Sum ซึ่งการทํางานเกี่ยวกับ Auto Sum มีหลายวิธี ขึ้นอยูกับรูปแบบขอมูลใน Sheet

หาผลรวมของภาษีปาย • ระบายแถบสีใหกับชวงเซลล B2:F2

• คลิกที่ไอคอน Auto Sum • ปรากฏผลลัพธในเซลล G2

หาผลรวมทุกรายการ (ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง) • ระบายแถบสีคลุมขอมูลการคํานวณทั้งหมด รวมพื้นที่เซลลที่ตองการวางผลลัพธ

44

• คลิกที่ไอคอน Auto Sum • ปรากฏผลลัพธจากการคํานวณทุกคาในเซลลที่เกี่ยวของโดยอัตโนมัติ

แสดงผลคํานวณอยางรวดเร็ว นอกจากการคํานวณดวยความสามารถ AutoSum ยังสามารถแสดงคาคํานวณรูปแบบตางๆ โดย ผานจาก Status Bar โดยเลือกชวงขอมูลที่ตองการคํานวณ แลวสังเกตผลจาก Status Bar สามารถคลิกปุมขวา เพื่อเปลี่ยนฟงกชันคํานวณได

การคํานวณดวยสูตร (Formula) • เลื่อน Cell Pointer ไปไว ณ เซลลที่ตองการวางผลลัพธ • สรางสูตรการคํานวณแลวกดปุม E โดยสูตรจะมีรูปแบบดังนี้ = คาที่1 เครื่องหมาย คาที่ 2 ...

คาที่ใชในการคํานวณ • คาคงที่ เชน 500 • ตําแหนงเซลล เชน A5 จะหมายถึงนําคาที่ถูกเก็บไวในเซลล ณ ตําแหนงแถวที่ 5 คอลัมน A มา คํานวณ

ลําดับความสําคัญของเครื่องหมายการคํานวณ การคํานวณดวยคอมพิวเตอร จะมีรูปแบบที่แนนอนเฉพาะตัว โดยอาศัยลําดับความสําคัญของ เครื่องหมายการคํานวณ () ^ %

ลําดับความสําคัญอันดับ ลําดับความสําคัญอันดับ ลําดับความสําคัญอันดับ

1 2 3

45

*,/ +,-

ลําดับความสําคัญอันดับ ลําดับความสําคัญอันดับ

4 5

ตัวอยางสูตรการคํานวณ =500*2% หมายถึง เอา 2 หารดวย 100 แลวนําผลลัพธไปคูณกับ 500 =5+5*8 หมายถึง เอา 5 คูณ 8 แลวนําผลลัพธไปบวกกับ 5 =(5+5)*8 หมายถึง เอา 5 บวกกับ 5 แลวนําผลลัพธไปคูณกับ 8 =A2/100 หมายถึง เอาคาในเซลล A2 หารดวย 100 =A2+A3+A4+A5 หมายถึง เอาคาในเซลล A2 บวกดวยคาในเซลล A3 บวกดวยคาในเซลล A4 บวกดวยคาในเซลล A5

ขอมูลเกี่ยวกับสูตร • สูตรแบบใชคาคงที่ จะไมมีการเปลี่ยนแปลงผลลัพธใหอัตโนมัติ เมื่อคาใดคา หนึ่งเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนผลลัพธจะตองไปแกไขที่สูตรดวยตนเอง • สูตรแบบใชตําแหนงเซลล จะมีการเปลี่ยนแปลงผลลัพธใหโดยอัตโนมัติ เมื่อคาใดคา หนึ่งเปลี่ยนแปลง • สูตรหนึ่งๆ มีขอจํากัดอยู 3 ประการ o เซลลรับสูตรไดยาวมากที่สุด 1024 ตัวอักษร o ในวงเล็บของสูตร เฉพาะบางสูตรซึ่งแบงได จะแยกเปนสวยยอยๆไดสูงสุด 30 สวน แยกออกจากกันดวยเครื่องหมาย comma เชน สูตร CHOOSE เปนตน o ในสูตรหนึ่ง จะนําสูตรอื่นมาซอนกันไดไมเกินกวา 7 สูตร • การปอนกันสูตร ใหกําหนดคุณสมบัติของเซลลที่เก็บสูตรเปน Hidden แลวปองกันเอกสาร ดวย Tools, Protection… หรือจะใชเทคนิคแปลงสูตรเปนคาขอมูล (Value) โดยเลือกเซลลที่ ปอนสูตร เลือกคําสั่ง Edit, Copy แลววางแบบพิเศษ ดวยคําสั่ง Edit, Paste Special… เลือก ตัวเลือกเปน Value

• การแสดงผลลัพธ และสูตรในเซลลใหกด (ปุมเดียวกับ ~)

เชื่อมขอมูลเขาดวยกัน โดยปกติการปอนขอมูลใน Excel จะแยกฟลดขอมูลใหเล็กที่สุด เชน ชื่อ - นามสกุล ก็ใหแยกเปน 2 - 3 คอลัมน ดังตัวอยางไดแยก ชื่อ และนามสกุล เปนคนละคอลัมน แตบางครั้งการนําไปใช จําเปนตองใช รวมกัน ซึ่งสามารถแกไขไดโดยการนําขอมูลทั้งสองคอลัมน มาเชื่อมกันเปนคอลัมนใหม หรือขอมูลชุดใหม นั่นเอง

46

วิธีการเชื่อมขอความ กระทําไดดังนี้ • สรางคอลัมนใหม 1 คอลัมน โดยคลิกเมาสที่ตัวอักษร D แลวเลือกเมนูคําสั่ง Insert, Columns… • ขยายความกวางของคอลัมนใหม ใหเหมาะสม • กําหนดชื่อคอลัมนใหม เปน "ชื่อ - นามสกุล" • นําเมาสคลิกในเซลลแรกของคอลัมนใหม (ตัวอยางคือเซลล D2) • ปอนสูตรเพื่อเชื่อมขอมูล ดังนี้ =B2&" "&C2

• จากนั้นคัดลอกสูตรไปยังเซลลอื่นๆ ก็จะปรากฏขอมูลใหม ที่เกิดจากการเชื่อมของขอมูลใน เซลล B2 และ C2 นั่นเอง คําอธิบาย สูตรในการเชื่อมขอมูล คือ ="คาคงที่"&ตําแหนงเซลล&ตําแหนงเซลล&"คาคงที่"&... • คาคงที่ คือ คาใดๆ ก็ไดที่ตองการใหแสดงโดยจะตองกําหนดใหเครื่องหมายคําพูด เชน ชองวาง ก็ใหกําหนดเปน " " หรือคําวา คุณ ก็ใหกําหนดเปน "คุณ" • เครื่องหมาย & เปนเครื่องหมายกระทําของ Excel เพื่อใชในการเชื่อมขอมูล

การคํานวณแบบสัมบูรณ โดยสภาพปกติการคํานวณดวยสูตรอางอิงในโปรแกรม บางงานสูตรอางอิงแบบคาสัมพันธอาจจะไมสะดวกในการใชงาน สัมบูรณ

จะมีสภาพเปนคาสัมพันธเสมอ แต จึงจําเปนตองอาศัยการคํานวณแบบคา

• การกําหนดสูตรแบบคาสัมพันธ เชน ตองการนําคาในเซลล A10 บวกกับคาในเซลล A12 จะ กําหนดไดเปน =A10 + A12 • การกําหนดสูตรแบบคาสัมบูรณ เชน ตองการนําคาในเซลล A10 บวกกับคาในเซลล A12 โดยคาในเซลล A12 จะตองเปนการอางอิงแบบสัมบูรณ จะกําหนดไดเปน =A10 + $A$12 สังเกตวาจะนําเอาเครื่องหมาย $ นําหนาตัวอักษรกํากับคอลัมน และนําหนาตัวเลขกํากับแถว

47

• จากตัวอยาง การคํานวณรายรับแตละไตรมาศ จะใชสูตร คาผานประตู/คน * จํานวนผูเขาชมพิพิธภัณฑแตละไตรมาศ • ซึ่งหากใชสูตรอางอิงแบบสัมพันธ จะไดผล คือ =B5 * B7 • เมื่อมีการคัดลอกสูตร จะปรากฏผลดังนี้

จะพบวาผลลัพธในไตรมาศที่ 2 - ไตรมาศที่ 4 และยอดรวมเกิดขอผิดพลาด และหากนําเมาสไป Click ณ ตําแหนงเซลลผลลัพธนั้น แลวสังเกตที่ Formula Bar จะพบสูตรดังนี้ ตําแหนงเซลล C9 สูตรการคํานวณไดแก =C5 * C7 “ D9 “ =D5 * D7 “ E9 “ =E5 * E7 “ F9 “ =F5 * F7 ซึ่งจะสังเกตไดวา สูตรจะเปลี่ยนตําแหนงอางอิงของคาผานประตู ซึ่งควรจะเปน B7 คาเดียวเทานั้น เพราะ การกําหนดสูตรในสมการเซลลตน (B9) ใชสตู รอางอิงแบบสัมพันธนั่นเอง ดังนั้นเมื่อรูปของงานใด ๆ อยูในลักษณะเดียวกันนี้ การกําหนดสูตรใหกับเซลลเพื่อคํานวณ และมี ตําแหนงอางอิงตายตัว จะตองระบุตําแหนงเซลลที่ตายตัวนี้ ใหอยูในรูปของการอางอิงแบบสัมบูรณ โดยนํา เครื่องหมาย $ มานําหนาตัวอักษรกํากับคอลัมน เมื่อตองการตรึงตําแหนงคอลัมน หรือนําเครื่องหมาย $ นําหนาตัวเลขกํากับแถว เมื่อตองการตรึงตําแหนงแถว หรือนําเครื่องหมาย $ นําหนาทั้งตัวอักษรกํากับ คอลัมน และตัวเลขกํากับแถว เมื่อตองการตรึงทั้งแถวและคอลัมน จากกรณีขางตนสูตรที่ตําแหนงเซลลแรก (B9) จึงควรจะกําหนดเปน =B5 * $B$7 และเมื่อคัดลอก สูตร จะไดผลลัพธที่ถูกตอง ดังนี้

48

การเปลี่ยนสูตรจากสัมบูรณเปนอางอิง สามารถใชคียลัด #

การคํานวณดวยฟงกชันสําเร็จรูป (Function) สูตรเปนสิ่งที่ผูใชตองกําหนดหรือสรางขึ้นมา แตก็มีงานคํานวณหลายอยางที่โปรแกรมไดเตรียม สูตรคํานวณสําเร็จรูปไวใหแลว เรียกวา ฟงกชัน ซึ่งแบงเปนหมวดดังนี้ • ฟงกชันคํานวณดานการเงิน เชน DDB( ) หาคาเสื่อมราคาที่ระยะเวลาใด ๆ โดยวิธี Double declining balance method • ฟงกชันคํานวณดานวัน เวลา เชน NOW( ) ฟงกชันใหคาวันเวลาปจจุบัน • ฟงกชันคํานวณดานคณิตศาสตร เชน TAN( ) ฟงกชันหาคา Tangent ของมุม • ฟงกชันคํานวณดานสถิติ เชน SUM( ) ฟงกชันหาผลรวมของชุดตัวเลข • ฟงกชันคํานวณดานฐานขอมูล เชน DSUM( ) ฟงกชันหาผลรวมของขอมูลตามเงื่อนไขที่ระบุ • ฟงกชันในการคนหาขอมูล เชน HLOOPUP( ) ฟงกชันหาขอมูลที่ตรงตามเงื่อนไข • ฟงกชันจัดการตัวอักษร เชน CHAR( ) ใหคาตัวอักษรจากตาราง ASCII • ฟงกชันการคํานวณแบบตรรก เชน AND( ) ใหคาทางตรรกะในกรณี AND • ฟงกชันดานวิศวกรรม เชน HEX2OCT( ) แปลงตัวเลขฐาน 16 เปนตัวเลขฐาน 8

รูปแบบฟงกชัน การคํานวณดวยฟงกชัน มีวิธีการ ดังนี้ • เลื่อน Cell Pointer ไปไว ณ เซลลที่ตองการวางผลลัพธ • สรางฟงกชันการคํานวณแลวกดปุม E โดยฟงกชันจะมีรูปแบบดังนี้ =ชื่อฟงกชัน(คา) • คาที่นํามาใชในการคํานวณ อาจจะเปนคาคงที่ เชน 500 หรืออาจจะเปนตําแหนงเซลล เชน A5 จะหมายถึงนําคาที่ถูกเก็บไวในเซลล ณ ตําแหนงแถวที่ 5 คอลัมน A มาคํานวณ ตัวอยางการคํานวณ =SUM(3,5,8,12)

หาผลรวมของ 3, 5, 8 และ 12

49

เหมือนกับการใชสูตร =3+5+8+12 =SUM(A3:A8)

หาผลรวมของคาในเซลล A3 ถึง A8

\=SUM(A4,B5,E6)

หาผลรวมของคาในเซลล A4, B5 และ E6

\=SUM(A3:A8,B2:F4)

หาผลรวมของคาในเซลล A3 ถึงเซลล A8 กับผลรวม ของคาในเซลล B2 ถึงเซลล F4

\=AVERAGE(G2:H8)

หาคาเฉลี่ยของคาในเซลล G2 ถึง H8

\=MIN(H5:H30)

หาคาต่ําสุดของตัวเลขในชวง H5 ถึง H30

\=MAX(I3:I10)

หาคาสูงสุดของตัวเลขในชวง I3 ถึง I10

Range name Range name เปนการกําหนดชื่อเฉพาะแทนที่ชวงขอมูล และนํามาใชเปนคาคํานวณ ตัวอยางมี ขอมูล ดังนี้

ถาตองการหาผลรวมสินคาไตรมาส 1 แทนที่จะพิมพ =SUM(B3:B5) ก็ใชเปน =SUM(Q1) หรือ ตองการหาผลรวมสินคารายการที่ 3 ก็ใชเปน =SUM(Product_3) เปนตน การใชชื่อมาแทนตําแหนงเซลล จะตองกําหนดชื่อชวงขอมูล โดยเลือกขอมูลดังนี้

จากนั้นเลือกคําสั่ง Insert, Name, Create… จะปรากฏตัวเลือก

คลิกเลือก Top row และ Left column เพื่อระบุใหคําอธิบายขอมูลในแถวและคอลัมนแรก เปนชื่อ ชวง (Range name) โดยอัตโนมัติ

50

Range name จะไมมีชองวาง ดังนั้นชื่อขอมูลใดที่มีชองวาง โปรแกรมจะแทนที่ดวย _

การแกไข Range name Range name ที่สรางไว สามารถแกไขไดโดยเลือกคําสั่ง Insert, Name, Define…

เลือก Range name ที่ตองการแกไข แลวคลิกปุม Delete เพื่อลบทิ้ง หรือระบุชวงใหม จากรายการ Refers to: และสามารถตรวจสอบ Range name ในแผนงานโดยคลิกที่ชอง Name box

Function Wizard เนื่องจากฟงกชันของ Excel มีจํานวนมาก และแตละฟงกชันก็มีคาควบคุม (Arguments) แตกตาง ออกไป ผูใชที่ไมคุนเคยอาจจะตองใชความสามารถของ Function Wizard โดยคลิกในเซลลที่ตองการวาง ฟงกชัน แลวคลิกปุม ในแถบสูตร

51

เลือกหมวดฟงกชันจากรายการ Category และเลือกฟงกชันที่ตองการ เมื่อคลิกปุม OK จะปรากฏ กรอบโตตอบเฉพาะฟงกชัน เชน

ฟงกชันหมวด Math and Trigonometry ฟงกชัน ABS(number) ACOS(number) ACOSH(number)

ASIN(number) ASINH(number)

ATAN (number) ATAN2(x_num,y_num) ATANH(number)

FACT(number) INT(number) MOD(number,divisor) ROMAN(number,form)

ความหมาย หาคาสัมบูรณ หาคา arccosine ของจํานวน -1 ถึง 1 หาคา inverse hyperbolic cosine ของจํานวนที่ มากกวา 1 หาคา arcsine ของ จํานวน -1 ถึง 1 หาคา inverse hyperbolic sine ของ จํานวนที่มากกวา 1 หาคา arctangent หาคา arctangent ของx/y-coordinates หาคา inverse hyperbolic tangent ของจํานวน -1 ถึง 1 หาคา factorial หาคาจํานวนเต็ม โดยปดเศษทิ้ง หาเศษจากการหาร แสดงตัวเลขในรูป เลขโรมัน โดยคา ตองอยูในชวง 0 – 3,999 และคา form

ตัวอยาง =ABS(-2) =ACOS(-0.4)

ผลลัพธ 2 1.982313

\=ACOSH(5)

2.29243167

\=ASIN(0.5)

0.523598776

\=ASINH(5)

2.312438341

\=ATAN(4) =ATAN2(4,5)

1.325817664 0.896055385

\=ATANH(-0.6)

-0.693147181

\=FACT(5) =INT(1.9)

120 1

\=MOD(5,3) =ROMAN(4,0)

2 IV

52

ฟงกชัน ROUND(number,num_digits) ROUNDDOWN(number,num_digits) ROUNDUP(number,num_digits) SQRT(number)

ความหมาย ระบุไดตั้งแต 0 - 4 ปดเศษโดยระบุ ทศนิยม ปดเศษลง

ตัวอยาง

ผลลัพธ

\=ROUND(3.45,2)

3.45

หาคา square root.

\=SQRT(9)

9

ฟงกชันหมวด Text and Data ฟงกชัน BAHTTEXT(number) CHAR(number) CLEAN(text) CODE(text) CONCATENATE (text1,text2,...) EXACT(text1,text2) FIND(find_text,within_text) LEFT(text,num_chars) LEN(text) LOWER(text) MID(text,start_num,num_chars) PROPER(text) REPLACE(old_text,start_num,num_chars,new_text) REPT(text,number_times) RIGHT(text,num_chars) SEARCH(find_text,within_text) SUBSTITUTE(text,old_text,new_text,instance_num) TRIM(text) UPPER(text)

ความหมาย แสดงตัวเลขเปนตัวอักษรในรูปแบบคาจํานวนเงิน แสดงอัขระ ณ ตําแหนง Code Page โดยตัวเลขตอง อยูในชวง 0 – 255 ลบอักขระที่ไมใชตัวพิมพออกจากชุดตัวอักษร ปอนอักขระ เพื่อหาคารหัสตัวเลขใน Code Page เชื่อมขอมูล เหมือนการใช & ตรวจสอบคาสองคา ถาตรงกันแสดงเปน True คนหาคําแหนงของอักขระที่ระบุจากขอความ แสดงอักขระตามจํานวนที่ระบุจากซาย นับจํานวนอักขระ แปลงอักขระเปนตัวพิมพเล็ก แสดงอักขระนับจากตําแหนงที่ระบุ จนครบตาม จํานวนที่ระบุ แปลงอักขระเปนตัวพิมพใหญของทุกคํา แทนที่อักขระ พิมพซ้ํา แสดงอักขระจากดานขวา ตามจํานวนที่ระบุ คนหาอักขระ เหมือน Find แทนที่ดวยอักขระที่ระบุ ตัดชองวางทิ้ง แปลงเปนตัวพิมพใหญทั้งหมด

สูตรปดตัวเลข • สูตรปดตัวเลขขึ้น ไดแก o RoundUp ปดตัวเลขขึ้น ใหเหลือจํานวนหลักตัวเลขตามตองการ =ROUNDUP(ตัวเลข,จํานวนหลัก) =ROUNDUP(1.23,1) 1.3 =ROUNDUP(1.23,0) 2 =ROUNDUP(12.3,-1) 20 o Ceiling ปดตัวเลขขึ้น สูตัวเลขเทากับ จํานวนเทาคูณคาทวีคูณ =CEILING(ตัวเลข,คาทวีคูณ)

53

\=CEILING(1.23,.25) =CEILING(1.23,.5) =CEILING(1.23,1) =CEILING(12.3,2)

1.25 1.5 2 14

คาทวีคูณ หมายถึง ตัวเลขซึ่งจะเพิ่มหรือลดเปนจํานวนเทาตัวของคาเดิม เชน คาทวีคูณ = .5 มีคา 0 > 0.5 > 1.0 > 1.5 > 2 >>> • สูตรปดตัวเลขลง ไดแก o RoundDown ปดตัวเลขลง ใหเหลือจํานวนหลักตัวเลขตามตองการ =ROUNDDOWN(ตัวเลข,จํานวนหลัก) =ROUNDDOWN(1.23,1) 1.2 =ROUNDDOWN(1.23,0) 1 =ROUNDDOWN(12.3,-1) 10 o Floor ปดตัวเลขลง สูตัวเลขเทากับ จํานวนเทาคูณคาทวีคูณ =FLOOR(ตัวเลข,คาทวีคูณ) =FLOOR(1.23,.25) 1 =FLOOR(1.23,.5) 1 =FLOOR(1.23,1) 1 =FLOOR(12.3,2) 12

54

o Int ปดตัวเลขลง เปนเลขจํานวนเต็มที่นอยลง =INT(ตัวเลข) =INT(1.23) 1 =INT(-1.23) -2 o Trunc ตัดตัวเลข ใหเหลือจํานวนหลักตัวเลขตามตองการ =TRUNC(ตัวเลข,จํานวนหลัก) =TRUNC(1.23) 1 =TRUNC(-1.23) -1 =TRUNC(1.23,1) 1.2 =TRUNC(12.3,0) 12 =TRUNC(12.3,-1) 10 ขอสังเกต สูตร Trunc จะตัดตัวเลขทิ้งเลย สวนสูตร Int จะตัดตัวเลขทิ้งใหเปนคาที่นอยลง ทําให Int(-1.23) กลายเปน -2 • สูตรปดตัวเลข ขึ้นก็ได ลงก็ได ไดแก o Round ใชเลข 5 เปนเกณฑ ในการปดตัวเลขขึ้นหรือลง =ROUND(ตัวเลข,จํานวนหลัก) =ROUND(1.23,1) 1.2 =ROUND(1.25,1) 1.3 =ROUND(14.2,-1) 10 =ROUND(15.2,-1) 20 สูตร Round จะปดลงเมื่อตัวเลขหลักถัดไปนอยกวา 5 และปดขึ้นเมื่อตัวเลขหลักถัดไป มากกวาหรือเทากับ 5 o Round พิเศษ ใชคาทวีคูณเปนเกณฑ ปดตัวเลขใกลเคียง เขาสูคาทวีคูณ =ROUND(ตัวเลข/คาทวีคูณ,0)*คาทวีคูณ =ROUND(10.125/.05,0)*.05 =ROUND(10.125/.10,0)*.10 =ROUND(10.124/.25,0)*.25 =ROUND(10.125/.25,0)*.25

10.15 10.10 10.00 10.25

สูตร Round ดัดแปลงนี้มีประโยชนมากจะปดลง เมื่อตัวเลขมีคา ไมถึงครึ่งของคาทวีคูณ จะปดขึ้น เมื่อตัวเลขมีคา มากกวาหรือเทากับครึ่งหนึ่งของคาทวีคูณ o MRound ใชคาทวีคูณเปนเกณฑ ปดตัวเลขใกลเคียง เขาสูคาทวีคูณ

55

ฟงกชันสุมคาตัวเลข การสุมคาตัวเลขดวย Excel สามารถกระทําไดงาย และสะดวกดวยฟงกชัน Random ซึ่งมีรูปแบบ การใชฟงกชันคือ =RAND() โดยฟงกชันนี้จะแสดงผลลัพธเปนคาทศนิยม ระหวาง 0 - 1 ดังนั้นถาตองการแสดงผลดวยคาที่ มากกวา 1 สามารถนํา 10 หรือ 100 หรือ 1000 มาคูณ ดังนี้ =RAND()*10 อยางไรก็ตามคาที่ได ก็จะมีผลลัพธเปนคาเลขทศนิยมดวย ดังนั้นถาตองการคาเลขจํานวนเต็ม สามารถใชฟงกชันปดเศษทศนิยมมาใชรวมกัน ดังนี้ =INT(RAND()*1000) การสุมตัวเลขระหวางคาใด ใหใชสูตร =RAND()*(b-a)+a เชน สุมระหวางคา 3 - 5 ใหใชสูตร =RAND()*(5-3)+3

สรางชุดขอมูลใหมจากการรวมเซลล • มีขอมูลแยกกัน 2 เซลลดังตัวอยาง

• แตตองการนําไปใชรวมกัน โดยใหอยูในรูปแบบ (077) 521-749 มีวิธีการดังนี้ o สรางรายการเพิ่มเติม ในคอลัมน C นําเมาสคลิกในเซลล C2 พิมพคําสั่ง ="("&A2&") "&LEFT(B2,3)&"-"&MID(B2,4,3) o คัดลอกสูตรใหครบทุกแถว ปรากฏผลลัพธดังนี้

หมายเหตุ • เครื่องหมาย & ใชในการเชื่อมขอมูล • ขอมูลคาคงที่จะตองกําหนดในเครืองหมายคําพูด เชน " - " • ฟงกชัน Left ใชแสดงขอมูลทางซายมือของขอมูลเดิม เชน กําหนดเปน =left(b2,3) ใหแสดง ขอมูลจากเซลล B2 มา 3 ตําแหนง

56

• ฟงกชัน Mid ใชแสดงคากลางของขอมูลเดิม เชน กําหนดเปน =mid(b2,4,3) หมายความวา ให แสดงขอมูลจากเซลล b2 โดยเริ่มตนจากตําแหนงอักขระที่ 4 และแสดงออกมา 3 ตําแหนง

ฟงกชันตรวจสอบคาผิดพลาด (Error) การสรางสูตรคํานวณใดๆ ใน Excel เมื่อมีคาผิดพลาดเกิดขึ้น เชน

DIV/0! เนื่องจากตัวหารเปน ศูนย หรือไมมีคาขอมูลในเซลลตัวหาร หรือ Error

Value! เนื่องจากคาในเซลลตัวหารเปนตัวอักษร สามารถ ปองกันไดโดยใชฟงกชัน IsError() ตรวจสอบคูกับฟงกชัน IF() แลวใหแสดงขอความวา "ตัวหารผิดพลาด" แทนคา Error ดังกลาว ซึ่งสูตรที่ใชจะมีรูปแบบดังนี้ =IF(ISERROR(ตัวตั้ง/ตัวหาร),"ขอความที่ตองการแสดงเมื่อมีขอผิดพลาด",ตัวตั้ง/ตัวหาร) ตัวอยาง

การคํานวณวันที่ การคํานวณวันที่ของ Excel จะใชหลักการบวกหรือลบชวงวัน โดยโปรแกรมจะกําหนดระบบวันที่ ใน Excel ดวยชวงตัวเลข 1 ถึง 2958465 ตัวเลข 1 แทนคา January 1, 1900 และตัวเลข 2958465 แทนวันที่ December 31, 9999.

ฟงกชันวันที่/เวลา o o o o

\=TODAY() =NOW() =DATE(Year,Month,Day) =DAY(Serial Number or Text)

o =DATEVALUE("ขอความในรูปแบบของวันที่")

o =HOUR(Serial Number)

ใหคาเปนวันที่ปจจุบัน ใชหาวันที่และเวลาปจจุบัน ใชสําหรับใสขอมูลที่เปนวันที่ ใชหาวันที่ของแตละเดือน =DAY("9/15/98") ไดคาเปน 15 ใชในการแปลงขอความที่อยูในรูปของ วันที่ ใหเปนตัวเลขวันที่ ทั้งนี้ตัวเลขที่ ไดจะนับเริ่มจาก 12:00 AM ของ วันที่ 1 มกราคม 1900 ใชในการแปลงตัวเลขใหเปนชั่วโมง (ภายใน 24 ชั่วโมง)

57

o =MINUTE(Serial Number)

o =MONTH(Serial Number) o =WEEKDAY(Serial Number,Return Type)

o =YEAR(Serial Number)

ใชในการแปลงตัวเลขใหเปนนาที (Minute) หรือ วินาที (Second) จาก 1 ถึง 59 หาคาของเดือน (ตัวเลข 1 ถึง 12) หาคาของวันในสัปดาห(ตัวเลข 1 ถึง 7) Return Type มีคา เปนตัวเลข 1,2 และ 3 ตามความหมายดังนี้ o 1 ใหคาเปนตัวเลข 1 ถึง 7 (Sunday ถึง Saturday) o 2 ใหคาเปนตัวเลข 1 ถึง 7 (Monday ถึง Sunday) o 3 ใหคาเปนตัวเลข 0 ถึง 6 (Monday ถึง Sunday) o คา Default คือ 1 (ถาไมใส จะ หมายถึง 1) ใชหาคาของป (ตัวเลข 4 ตําแหนง)

\=DATE(year,month,day) คืนคาเปนวัน เดือน ป ตามเลขที่ป เลขที่เดือน และวันที่ คา SN มีคาเปนเลขจํานวนเต็ม ไมมีเศษ ทศนิยม เชน =DATE(2001,5,16) 16/5/2001 =DATE(2001,6,0) เปนสูตรหาวันที่สิ้นเดือน 31/5/2001 =DATE(2001+1,5+2,16+3) 19/7/2002 สูตร Date นี้มีประโยชนมากในการคํานวณหาวันเดือนปสิ้นสุด นับจากวันเดือนปที่กําหนด เชน =DATE(2001+1,5+2,16+3) ไดวันที่สิ้นสุดนับเพิ่มอีก 1 ป 2 เดือน 3 วัน ซึ่งคือวันที่ 19/7/2002

คํานวณหาอายุ, อายุงาน (ป)

การคํานวณหาอายุงาน กระทําไดโดย

58

o คลิกเมาสที่คอลัมน J เลือกเมนูคําสั่ง Insert, Columns เพื่อแทรกคอลัมนวาง ปอนชื่อ คอลัมนเปน “อายุงาน (ป)” o คลิกเมาสในเซลล J2 พิมพสูตร =YEAR(TODAY())-YEAR(I2) o คัดลอกสูตรไปยังเซลลอื่นๆ o ถาปรากฏคาเปนรูปแบบวันที่ ใหคลิกปุม

เพื่อจัดรูปแบบการแสดงผลตัวเลข

คําอธิบาย o =today() เปนฟงกชันหาคาวันที่ปจจุบัน (วันที่ของเครื่อง) o =year(today()) เปนฟงกชันผสม โดยฟงกชัน Year() จะหาคา "ป ค.ศ." ของฟงกชัน Today() เชน ถาวันที่ของเครื่องเปน 21 มกราคม 2545 ฟงกชัน Today() จะมีคาเปน 1/1/70 เมื่อนํามาผานฟงกชัน Year(today()) จะไดคาเปน 2002 นั่นเอง o =year(I2) เปนการหาคาป ค.ศ. ของขอมูลในเซลล I2 จากตัวอยางขอมูลใน I2 คือ 7 พฤษภาคม 2537 เมื่อผานฟงกชัน Year() จะไดคาป ค.ศ. เปน 1991

วันหยุดเสาร/อาทิตย วันหยุดเสาร/อาทิตย ของเดือนใดๆ จะชวยใหการคํานวณวันทํางาน หรือคํานวณคาจางเปนไปอยาง สะดวก รวดเร็ว ดังนั้นควรสรางตารางแสดงวันหยุดเสาร อาทิตยเก็บไวใชงาน โดยมีวิธีการคํานวณดังนี้ o สรางไฟล Excel o เปลี่ยนชื่อ Sheet 1 เปน Holiday2003 o ในคอลัมน A แถวที่ 2 พิมพวันเริ่มตนของป 2003 คือ 1/1/2003 แลว AutoFill จนถึงวันที่ 31/12/2003 o ในเซลล B2 พิมพสูตร =if(weekday(a2)=1,a2,if(weekday(a2=7,a2,0)) ความหมาย o ใหตรวจสอบวาวันที่ใน A2 ตรงกับวันอาทิตยหรือไม (สูตร weekday(a2)=1) ถาใชให แสดงวันที่ตามจริง o ถาไมใชใหตรวจสอบวาวันที่ใน A2 ตรงกับวันเสารหรือไม (สูตร weekday(a2)=7) ถาใช ใหแสดงวันที่ตามจริง o ถาไมใชตรงกับวันเสารหรือวันอาทิตย ใหแสดงดวยคา 0 o สราง Selection ตั้งแต B2:B366 แสดงผลวันที่ดวยคําสั่ง Format, Cell, Number, Custom ดวย ฟอรแมต

59

o แลวตั้งชื่อชวงดวยคําสั่ง Insert, Name, Define... เปน Holiday เพื่อใชอางอิงในการคํานวณ ครั้งถัดไป o จากนั้นใชคําสั่ง Format, Conditional Formatting

o แลวตั้งสูตรดังตัวอยางขางตน เพื่อแสดงวันที่ที่ไมใชวันหยุด เปนสีขาว (ไมตองแสดงผลบน จอ) คลิกปุม Format แลวเลือกสีตัวอักษรเปนสีขาว

คํานวณวันทํางานไมรวมวันหยุด การคํานวณวันทํางานไมรวมวันหยุด จะตองใชฟงกชัน Networkday ซึ่งเปนฟงกชันเสริมที่ตอง ติดตั้งเพิ่มเติมดวยคําสั่ง Tools, Add-ins คลิกเลือกรายการ Analysis ToolPak เมื่อคลิก OK โปรแกรมจะติดตั้ง ฟงกชันเพิ่มเติมให (อาจจะตองใสแผนโปรแกรม MS-Office) o ใน Sheet ที่ 2 ปอนขอมูลดังตัวอยาง

o พิมพวันที่เริ่มตนและวันสุดทายของการคํานวณในเซลล C2 และ C3 ตามลําดับ โดยมีรูปแบบ คือ ว/ด/ค.ศ.

o ในเซลล C5 สรางสูตรคํานวณระยะหางของวัน ดวยสูตร =c3 - c2 + 1 o เมื่อกดปุม E แลวแสดงผลดวยวันที่ ใหคลิก o ในเซลล C6 สรางสูตรคํานวณวันทํางาน ไมรวมวันหยุดดวยสูตร

60

\=networkdays(วันเริ่มตน,วันสุดทาย,วันหยุด)ทั้งนี้สูตรของตัวอยางนี้คือ =NETWORKDAYS(C2,C3,holiday) หมายเหตุ

holiday เปนชื่อชวงวันหยุดที่ไดตารางวันหยุด

o สําหรับวันหยุดในชวง ก็คํานวณไดจากสูตร =C5-C6

คํานวณคาวันสุดทายของเดือน (วันสิ้นเดือน) ตองการทราบวาวันสิ้นเดือนของเดือนกุมภาพันธ ปพ.ศ. 2546 คือวันใด สามารถกระทําไดดังนี้ • ปอนวันใดๆ ของเดือนในเซลล A1 เชน วันที่ 2 เดือนกุมภาพันธ 2546 ก็ปอนเปน 2/2/2003 • ในเซลลถัดไป (A2) ใหปอนสูตรเปน =DATE(YEAR(A1),MONTH(A1)+1,0) โปรแกรมจะ แสดงวันที่ซึ่งเปนวันสิ้นเดือนของเดือนนั้นๆ โดยอัตโนมัติ

คนหาคาสุดทายของชวงขอมูล จากตัวอยาง ถาตองการใหเครื่องแสดงขอมูลสุดทายของคอลัมนวาเปนคาใด สามารถกระทําได ดวยสูตร INDEX( ) ดังนี้

\=INDEX(A:A,COUNTA(A:A),1) ความหมายของสูตร • =INDEX(ชวงขอมูลที่ตองการคนหา,จํานวนเซลล,จํานวนคอลัมน) • =INDEX(A:A....) หมายถึงใหคนหาขอมูลในคอลัมน A ทั้งคอลัมน • =INDEX(...,COUNTA(A:A),...) หมายถึง ใหนับวาขอมูลในคอลัมน A ทั้งหมดมีกี่แถว ซึ่ง คาที่ไดจะเปนคาบรรทัดสุดทายของคอลัมน A • =INDEX(...,...,1) หมายถึง ใหคนหาขอมูลในคอลัมนแรก คือคอลัมน A นั่นเอง

61

หาคามากที่สุด หรือคานอยที่สุด ตองการแสดงคามากที่สุด จากตัวอยาง สามารถใชสูตร

• =LARGE(A1:A6,1) จะไดผลเปน 97 • ตองการแสดงคามากลําดับที่ 3 จากตัวอยาง สามารถใชสูตร =LARGE(A1:A6,3) จะไดผล เปน 23 • ในกรณีที่ตองการแสดงคานอยที่สุด ก็เปลี่ยนคําวา LARGE เปน SMALL เชน =SMALL(A1:A6,3) หมายถึง แสดงคานอยที่สุดลําดับที่สามของขอมูล

คนหาลําดับที่ของคาตัวเลขที่สนใจ จากตัวอยาง ถาตองการหาลําดับที่ของคา 9 วาอยูลําดับที่เทาใดในชวงขอมูลที่เรียงแลวจากมากไป หานอย สามารถใชสูตร

\=RANK(9,A1:A6) ซึ่งจะไดผลลัพธเปน 5 เนื่องจากถาดูขอมูลที่จัดเรียงแลว จะพบวาคา 9 อยูลําดับที่ 5 ของชวงนั่นเอง

62

ผลรวมแบบมีเงื่อนไข

จากตัวอยาง =SUMIF(A1:A6,">20",A1:A6) หมายความวา ใหหาผลรวมเฉพาะขอมูลที่มีคา มากกวา 20 ในชวงที่ระบุ โดยสูตรจะมีรูปแบบนี้ =SUMIF(ชวงขอมูลเงื่อนไข,เงื่อนไข,ชวงขอมูลที่ตองการหาผลรวม)

คาเฉลีย่ แบบมีเงื่อนไข

จากตัวอยางขางตน ถาตองการหาคาเฉลี่ยแบบมีเงื่อนไข AverageIF จะตองใชสูตร SUMIF และ COUNTIF มาผสมรวมกัน เปนสูตรใหมคือ AVERAGEIF = SUMIF / COUNTIF โดยถาตองการหาคาเฉลี่ยของขอมูลที่มีคามากกวา 20 จะตองหาคาผลรวม SUMIF กอน ดวยสูตร =SUMIF(A1:A6,">20",A1:A6) ซึ่งไดคาเปน 188 จากนั้นนับจํานวนแบบมีเงื่อนไขดวย COUNTIF ดวย สูตร =COUNTIF(A1:A6,">20") ซึ่งไดคาเปน 4 เนื่องจากมีตัวเลขตรงเงื่อนไข 4 คานั่นเอง ดังนั้นสูตรของ AverageIF ในกรณีนี้ไดแก =SUMIF(A1:A6,">20",A1:A6)/COUNTIF(A1:A6,">20")

63

ตรวจสอบเปรียบเทียบขอมูล

จากตัวอยางขางตน ตองการตรวจสอบวาขอมูลในคอลัมน C (รายการใหม) มีรายการใดบาง ที่เปน รายการใหม และรายการใดบาง ซ้ําซอนกับรายการเดิม ทั้งนี้มีลําดับการตรวจสอบดังนี้ ลําดับที่ 1 ใชฟงกชัน vlookup ชวยคนหาขอมูลในคอลัมน C วารายการใดมีอยูในรายการคอลัมน A โดยแสดงผลลัพธในคอลัมน D ดวยสูตรดังนี้ • • • • •

\=VLOOKUP(C2,$A$2:$A$7,1,FALSE) C2 ระบุวาตองการคนหาขอมูลในเซลล C2 $A$2:$A$7 ระบุชวงขอมูลที่ตองการคนหาเปรียบเทียบ แบบ Absolute 1 ระบุวาคอลัมนที่ตองการใชตรวจสอบคนหาคือคอลัมนแรก (คอลัมน A) False ระบุกฏการตรวจสอบวาขอมูลที่ตรวจสอบไมจําเปนตองเรียงลําดับ (Sorting) เมื่อปอนเซลลแรกเรียบรอยแลวก็ทําการคัดลอกสูตรไปยังเซลลถัดไปจนครบทุกเซลล จะ ปรากฏผลลัพธดังนี้

• หมายความวารายการที่ 4, 5 และ 7 เปนรายการใหม ไมปรากฏในรายการเดิม จึงแสดงผลดวย

N/A ลําดับที่ 2 ใชฟงกชัน IF และ ISNA ชวยแสดงผลโดยขอมูลที่มีอยูแลว ใหแสดงดวยคําวา "ซ้ําซอน" และแสดงดวยคําวา "ขอมูลใหม" สําหรับรายการใหม ทั้งนี้สูตรที่ปรับปรุงจะเปนดังนี้ =IF(ISNA(VLOOKUP(C2,$A$2:$A$7,1,FALSE)),"ขอมูลใหม","ซ้ําซอน") ความหมายคือ ISNA จะตรวจสอบวารายการใด ที่มีคา Error เปน

N/A ซึ่งไดแกรายการในแถวที่ 4, 5 และ 7 นั่นเอง ดังนั้นจึงใช IF มาแสดงผลขอความใหชัดเจนขึ้นนั่นเอง ซึ่งไดผลลัพธดังนี้

64

ลําดับที่ 3 ใชคําสั่ง Format, Conditional Formatting แสดงผลคําวา “ขอมูลใหม” ดวยสีแดง • เลือกขอมูลในชวง E2:E7 • เลือกเมนูคําสั่ง Format, Conditional Formatting ปอนคําสั่งดังนี้

• คลิกปุม Format... เลือกรายการสีเปนสีแดง เมื่อคลิกปุม OK โปรแกรมจะทําการตรวจสอบ และแสดงผลคําวา “ขอมูลใหม” ดวยสีแดงดังตัวอยางขางตน

ตรวจสอบจํานวนขอมูลซ้ําในชวง

จากตัวอยางขางตน ตองการตรวจสอบวาขอมูลในชวงมีรายการใดบางที่ซ้ําซอนกัน และซ้ําซอนกัน กี่ครั้ง ทั้งนี้สามารถใชสูตรดังนี้ คลิกเมาสในเซลล B1 เพื่อปอนสูตร =COUNTIF($A$1:$A$18,A1) หมายความวาในตรวจสอบ ขอมูลในเซลล A1 วามีซ้ําซอนในชวง A1:A18 หรือไม ถาไมมีจะแสดงผลดวยเลข 1 แตถามีจะแสดงดวย ตัวเลขจํานวนขอมูลที่ซ้ําซอน ดังตัวอยาง

65

การคํานวณแบบมีเงื่อนไข ถาพนักงานมีตําแหนงเซลล จะไดรับเงินคาคอมฯ 5% ของรายไดแตละเดือน ยอดสุทธิรายไดของเซลล = รายได * 5% + รายได ยอดสุทธิรายได = I4*5%+I4 หมายเหตุ เปนยอดสุทธิของพนักงานทุกคน การตรวจสอบเงื่อนไข ใชฟงกชัน IF() =IF(เงื่อนไข,การกระทําเมื่อจริง,การกระทําเมื่อเท็จ) =IF(ถาพนักงานเปนเซลล, I4*5%+I4,I4) = IF(D4=”เซลล”, I4*5%+I4,I4)

การคํานวณแบบ IF ซอน IF (เงื่อนไขซอนเงือ่ นไข) ถาพนักงานมีตําแหนงเปนหัวหนาทีม ใหยอดสุทธิเปนรายไดบวกคาคอมฯ 5% ของรายไดแตละ เดือน และถาพนักงานมีตําแหนงเปนเซลล ใหยอดสุทธิเปนรายไดบวกคาคอมฯ 3% ของรายไดแตละเดือน สวนพนักงานตําแหนงอื่นใหยอดสุทธิเทากับรายไดปกติ ตรวจสอบพนักงาน มีตําแหนงเปน “หัวหนาทีม” หรือไม ถาใช ให ยอดสุทธิ = รายได * 5% + รายได ถาไมใช ตรวจสอบพนักงาน มีตําแหนงเปน “เซลล” หรือไม ถาใช ให ยอดสุทธิ = รายได * 3% + รายได ถาไมใช ยอดสุทธิ = รายได ตรวจสอบ “ชื่อ” วาสามตัวอักษรแรก เปน “นาย” หรือไม ถาใช เอาคําวา “นาย” มาใสในคอลัมน คํานําหนา ถาไมใช เอาคําวา “นาง” มาใสในคอลัมน คํานําหนา

66

คะแนนสอบ

0 – 49 ได F 50 – 69 ได C 70 – 79 ได B 80 ขึ้นไป ได A

ตรวจสอบ คะแนนสอบ นอยกวา 50 หรือไม ถาใช ใหเกรด F ถาไมใช ตรวจสอบ คะแนนสอบ นอยกวา 70 ถาใช ใหเกรด C ถาไมใช ตรวจสอบคะแนนสอบ นอยกวา 80 ถาใช ใหเกรด B ถาไมใช ใหเกรด A

67

การสั่งพิมพเอกสาร

เอกสารที่สรางและจัดแตงเรียบรอยแลว สามารถสั่งพิมพโดยมีคาควบคุมการสั่งพิมพหลายลักษณะ ดังนี้ • เปดไฟลเอกสารที่ตองการสั่งพิมพ • เลือกคําสั่ง File, Print โดยจะปรากฏ Dialog Box ในการสั่งพิมพดังนี้

Page Range กําหนดหนาเอกสารที่ตองการสั่งพิมพ All สั่งพิมพเอกสารทุกหนา Page(s) เลือกพิมพเฉพาะหนาที่ระบุ Print What เลือกลักษณะการพิมพ Selection สั่งพิมพขอมูลที่กําหนดในแถบสี Active Sheet(s) สั่งพิมพขอมูลใน Sheet ที่เลือก Entire workbook สั่งพิมพขอมูลทุก Sheet Copies กําหนดจํานวนชุดที่ตองการ Collate ลักษณะการพิมพเอกสารเปนชุด Preview ปุมเรียกจอภาพแสดงผลกอนพิมพ

สั่งพิมพเอกสารอยางรวดเร็ว ถาตองการสั่งพิมพเอกสารอยางรวดเร็ว สามารถคลิกที่ปุม ในแถบเครื่องมือมาตรฐาน โปรแกรมจะพิมพเอกสารโดยใชคาติดตั้งที่เคยกําหนด (กรณีที่เคยกําหนดมากอนหนานี้แลว) หรือสั่งพิมพ ตามที่โปรแกรมเห็นวาเหมาะสม (กรณีที่ไมเคยกําหนดคาติดตั้งใดๆ มากอน)

68

กําหนดหนากระดาษ (Page Break) Page Break เปนการการกําหนดพื้นที่พิมพงานโดยผูใชกําหนดไดอิสระ ซึ่งใชวิธีการเลื่อนตัวชี้ ตําแหนงไป ณ ตําแหนงที่ตองการกําหนดเปนจุดสิ้นสุดการจบหนากระดาษ แลวเลือกคําสั่ง Insert, Page Break

แสดงภาพตัวอยางกอนพิมพ เนื่องจากแผนงานมีขนาดโตกวากระดาษ

ดังนั้นกอนพิมพเอกสารควรตรวจสอบลักษณะ

หนากระดาษกอนวามีลักษณะอยางไร โดยใชคําสั่ง File, Print Preview หรือคลิกปุม ตัวอยางกอนพิมพ ดังนี้

ซึ่งจะปรากฏ

ในโหมดนี้จะมีปุมควบคุมการสั่งงาน ดังนี้ • • • • • •

ปุม Next, Previous เลื่อนดูเนื้อหา ปุม Zoom ยอ/ขยายภาพ ปุม Print สั่งพิมพเอกสาร ปุม Setup ตั้งคาหนากระดาษ ปุม Margins ตั้งขอบกระดาษ ปุม Page Break Preview เขาสูโหมดภาพตัวอยางที่สามารถแกไขเอกสารได และ สามารถกลับสูโหมดปกติไดโดยเลือกคําสั่ง View, Normal • ปุม Close ปดโหมดภาพตัวอยาง กลับสูโหมดทํางานปกติ

กําหนดลักษณะกระดาษ และงานพิมพ กอนพิมพงานควรกําหนดลักษณะกระดาษ และลักษณะงานพิมพกอน โดยเลือกคําสั่ง File, Page Setup… หรือคลิกปุม Setup ในโหมด Preview ในหนาตางการทํางานของ Page Setup จะมีบัตรรายการเลือก ทํางาน 4 บัตร ไดแก

69

• • • •

Page Margins Header/Footer Sheet

กําหนดลักษณะกระดาษ กําหนดลักษณะขอบกระดาษ ตั้งคาหัว/ทายกระดาษ กําหนดลักษณะการสั่งพิมพแผนงาน

คาควบคุมลักษณะกระดาษ • Orientation o Portrait o Landscape • Scaling o Adjust to % o Fit to • Paper size • Print quality • First page number

แนวกระดาษ แนวตั้ง แนวนอน การกําหนดขนาดพื้นที่พิมพใหเหมาะสมกับกระดาษ สัดสวนการยอ/ขยาย กําหนดใหพิมพงานใหพอดีกับกระดาษจํานวนกี่แผน ขนาดกระดาษ คุณภาพงานพิมพ เลขหนาหนาแรก

คาควบคุมขอบกระดาษ เลือกเพื่อจัดเนื้อหาใหอยู กึ่งกลางกระดาษ

70

คาควบคุมหัวกระดาษ/ทายกระดาษ เลือกรูปแบบ Header/Footer หรือกําหนดคาที่ตองการเอง

คาควบคุมแผนงาน

• Print Area กําหนดพื้นที่งานพิมพ • Print Titiles กําหนดสวนหัวเนื้อหาที่มีการซ้ํากันในทุกแผนกระดาษ (สวนหัวเนื้อหาอาจจะมีไดทั้งแนวตั้งและแนวนอน) • Print o Gridlines เลือกพิมพเสนกั้นเซลลหรือไม o Row and Column headings เลือกพิมพตัวเลขกํากับแถว ตัวอักษรกํากับ คอลัมนหรือไม o Black and white เลือกพิมพขาว/ดํา กรณีที่มีการจัดสีใหกับเนื้อหา o Comment เลือกพิมพ Comment หรือไม o Cell error as เลือกพิมพสวน Error ของเซลลในลักษณะใด • Page order กรณีที่งานพิมพมีปริมาณมาก จะพิมพเรียงลําดับลักษณะใด

71

นําเสนอขอมูลดวยกราฟ

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟและแผนภูมิ (Graph & Chart) ถูกใชกันโดยทั่วไปในการนําเสนอ ขอมูลกับผูอาน ผูฟง เนื่องจากเปนทางเลือกที่ดีในการสื่อขอมูลตางๆ ไดอยางรวดเร็ว และงายกวาการใช ตาราง ผูอาน ผูฟงสามารถเขาใจ และจดจําขอมูลไดเปนอยางดี การนําเสนอขอมูลลักษณะนี้ ตองแนใจวารูปแบบของกราฟที่เลือกใช เหมาะสมกับขอมูลที่จะ นําเสนอ ไมควรนําเสนอขอมูลเดียวกันโดยใชกราฟหลายรูปแบบผสมผสานกัน

รูปแบบกราฟและแผนภูมิ และการเลือกใชงาน ตาราง (Table) ตาราง เปนการนําเสนอขอมูลที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย แตบางครั้งก็อาจจะไมสามารถแสดง ความแตกตางของขอมูลไดชัดเจนเทาที่ควร

กราฟวงกลม (Pie Graph) กราฟวงกลม จะนําเสนอเพื่อแสดงสัดสวนของขอมูลตางๆ ตอขอมูลทั้งหมดที่คิดเปน 100% การ นําเสนอขอมูลในรูปแบบนี้ จะตองมีการปรับ หรือคํานวณขอมูลในแตละสวน โดยใหผลรวมของขอมูล ทั้งหมดคิดเปน 100% และเทากับพื้นที่วงกลม และที่สําคัญตองพิจารณาดวยวาขอมูลมีไมมากจนเกินไป ไม ควรมีความแตกตางของจํานวนตัวเลขของขอมูลนอยเกินไป จนไมสามารถแบงแยกความแตกตางดวยสายตา โดยทั่วไปสัดสวนขอมูลตางๆ ควรมีขนาดไมนอยกวา 7% ในการสรางกราฟชนิดนี้ ควรใหสวนที่ขอมูลที่มี ขนาดใหญสุดเริ่มที่ 12 นาฬิกา และขนาดที่มีขนาดเล็กรองลงมาอยูถัดไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา การอธิบายขอมูล ควรมีคําอธิบายสั้นๆ และใหคําจํากัดความของขอมูลอยางคราวๆ สําคัญที่สุดตัว เลขที่แสดงอยูในสวนตางๆ ของกราฟวงกลม รวมกันแลวตองไดเทากับผลรวมของขอมูลทั้งหมด ที่คิดเปน 100%

กราฟแทง (Bar Graph) กราฟแทง นิยมใชกันมากในการเปรียบเทียบ โดยสามารถนําเสนอไดทั้งแนวตั้ง และแนวนอน โดย กราฟแทงแนวตั้งนิยมนําไปใชในการเปรียบเทียบขอมูลชนิดเดียวกันที่เวลาแตกตางกัน สวนกราฟแทง แนวนอนมักใชเปรียบเทียบขอมูลตางชนิดกันที่เวลาเดียวกัน การแสดงผลดวยกราฟแทง ควรกําหนดจํานวนศูนยที่แกนตั้งไวเสมอ และความสูงไมควรถูกแบง หรือตัดทอน (หากไมจําเปนจริงๆ) นอกจากนี้ควรแสดงขอมูลทางสถิติกํากับไวเสมอ รวมทั้งจํานวนขอมูลที่ แปลความหมายไดงาย สามารถใชสีหรือลวดลาย หรือเนนความแตกตางของขอมูลชนิดตางๆ โดยใหความ กวางและระยะหางของแทงกราฟมีขนาดเทาๆ กันควรใชขนาดตัวอักษรที่ใหญพอที่จะอานไดชัดเจน เมื่อมี การยอภาพเพื่อพิมพ

72

กราฟแทงเดี่ยว เปนรูปแบบกราฟแทงที่นิยมใชกันอยางกวางขวาง การนําเสนอควรเริ่มจากกลุมควบคุมกอนเสมอ (กรณีนําเสนอขอมูลงานวิจัย) หรือคานอยที่สุดไปหาคามากที่สุด

กราฟแทงกลุม เปนการเปรียบเทียบขอมูลระหวางกลุม โดยมีขอมูลชนิดเดียกัน 2 – 3 ชนิดกระจายในทุกกลุม

กราฟเสน (Line Graph) รูปแบบการนําเสนอที่ใชกันมากทําไดงาย และใชไดกับขอมูลเกือบทุกชนิดใชในการเปรียบเทียบ ขอมูลแบบงายที่สุด จนถึงขอมูลที่ซับซอนที่สุด มักใชในการนําเสนอขอมูลที่ตองการใหเห็นแนวโนมของ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชวงเวลาหนึ่งๆ มากกวาจะแสดงเพียงจํานวนตัวเลขที่แทจริงเทานั้น อยางไรก็ ตามหากกราฟเสนแสดงความสําคัญของขอมูลเพียงจุดเดียวการนําเสนอดวยคําบรรยายจะเหมาะสมกวา สวนสําคัญของการนําเสนอดวยกราฟเสน คือ สัญลักษณกําหนดจุดอางอิง (Reference point) โดย จะตองระบุความหมายของสัญลักษณประกอบดวยเสมอ วงกลมเปดจะเปนมาตรฐานของสัญลักษณ นอกจากนี้ก็ยังสามารถใชวงกลมปด, สามเหลี่ยมเปดและปด, สี่เหลี่ยมจตุรัสเปดและปด เปนตน หากจํานวน สัญลักษณถูกใชหมด ควรใชวิธีการนําเสนอโดยการแบงกราฟเสนเปนสองรูปจะเหมาะสมกวา แตถาจํานวน เสนกราฟเพิ่มไมมาก อาจจะใชสัญลักษณกากบาท หรือใชความแตกตางของเสน เชน เสนประ เสนทึบ เปน ตน อยางไรก็ตามในรูปกราฟเดียวกัน ไมควรใชสัญลักษณ หรือลายเสนหลายชนิดมากเกินไป

คําอธิบายกราฟ (Legend) คําอธิบายกราฟ เปนสวนสําคัญที่จําเปนตองมี สัญลักษณที่นํามาสรางกราฟ

เพื่อแสดงรายละเอียดสําคัญของกราฟ

หรือ

คําอธิบายแกนกราฟ (X/Y Title) คําอธิบายแกนของกราฟ โดยทั่วไปแกน X จะตองเขียนตามแนวนอน ในขณะที่แกน Y จะเขียนใน แนวตั้ง หรือแนวนอนก็ได โดยแนวนอนจะมีพื้นที่จํากัดกวา หรือจะเขียนไวเหนือแกน Y ก็ได ตัวอักษรและตัวเลขที่ประกอบแกน X และแกน Y ควรเปนตัวปกติ ในขณะที่ตัวอักษรและตัวเลขที่ ประกอบกราฟ ควรเปนตัวเอน ทั้งนี้ฟอนต Helvetica เปนที่นิยมมากที่สุด

การจัดเตรียมขอมูล ขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ ควรถูกแปลงสภาพใหเปน ขอมูลในลักษณะตางๆ สรุปกอน ทั้งจากวิธีการวิเคราะหขอมูล หรือตารางสรุปสาระสําคัญ (Pivot Table) จากตารางขอมูลขางตน ถาตองการกราฟสรุปจํานวน ประเทศที่นําเขาสินคา ควรใชความสามารถของ Pivot Table เพื่อ สรุปผลดังรูป

73

ขอมูลที่สรุปแลว ดังตัวอยาง อยางไรก็ตามก็ยังไมเหมาะสมเทาที่ควร เนื่องจากยังไมไดจัดเรียง ขอมูลนั่นเอง นอกจากนี้ยังควรนําฟงกชัน COUNTIF, SUMIF มาชวยสรุปขอมูลที่สนใจ เพื่อสรางตารางขอมูลที่ เหมาะสม โดยรูปแบบของคําสั่ง ไดแก =COUNTIF(range,criteria) =COUNTIF(F2:F2156, “France”) =COUNTIF(G2:G2156, “Vinet”) =SUMIF(range,criteria,sum_range) =SUMIF(F2:F2156, “France”,W2:W2156)

สรางกราฟดวย Function Rept ฟงกชัน Rept เปนฟงกชันแสดงอักขระตามจํานวนที่ระบุ จึงสามารถนํามาประยุกตสรางกราฟได ดังตัวอยาง

โดยมีรูปแบบคําสั่งคือ ตัวอยาง * เรียงตอกัน 10 อักขระ

\=REPT(อักขระ,จํานวนอักขระ)

\=REPT(“*”,B3) แสดงอักขระ * เทากับคาขอมูลในเซลล B3 จึงไดเครื่องหมาย

หมายเหตุ สามารถเลือกฟอนต Symbol เพื่อแสดงผลดวยอักขระพิเศษตางๆ

74

สรางกราฟดวย Chart Wizard ความสามารถเดนของโปรแกรม Excel ประการหนึ่งก็คือ การนําขอมูลมาสรางกราฟ โดยมีรูปแบบ ของกราฟใหเลือกใชอยางมากมาย และสามารถปรับเปลี่ยนไดอยางหลากหลาย

ขั้นตอนที่ 1 สรุปขอมูลใหอยูในรูปตาราง ตองการนําเสนอกราฟสรุปยอดสั่งซื้อ, จํานวนรายการสั่งซื้อของประเทศ Argentina, Brazil และ Finland พรอมแสดงคา % ของแตละรายการเปรียบเทียบทั้งสามประเทศ

• สรางชีทใหม • นําเขา Invoices จากไฟล Northwind.MDB

• กําหนด Rang Name ใหกับขอมูลโดยเลือกขอมูลทั้งหมด แลวเลือกคําสั่ง Insert, Name, Create เลือกรายการ Top Row เพื่อกําหนดใหแถวบนสุดเปนชื่อเรียกชวงขอมูลแตละ คอลัมนโดยอัตโนมัติ • คลิกชีทใหม ตั้งชื่อเปน Summary • กําหนดขอมูล ดังตัวอยาง

• ใชคําสั่ง SumIF, CountIF, Sum หาขอมูลลงในตารางสรุป o ยอดสั่งซื้อของ Argentina o ยอดสั่งซื้อของ Brazil o ยอดสั่งซื้อของ Finland o จํานวนใบสั่งซื้อของ Argentina

75

o จํานวนใบสั่งซื้อของ Brazil o จํานวนใบสั่งซื้อของ Finland o สรุปยอดรวมของยอดสั่งซื้อทั้งสามประเทศ o % การสั่งซื้อของ Argentina o % ใบ Order ของ Argentina

ขั้นตอนที่ 2 กําหนดชวงขอมูลสรางกราฟ สรางชวงขอมูลสําหรับการสรางกราฟ จากตัวอยางคือ A2:E5

สามารถใชเทคนิคการเลือกชวงแบบไมตอเนื่อง เพื่อเลือกขอมูล

ขั้นตอนที่ 3 สรางกราฟแบบ Wizard คลิกปุมเครื่องมือ Chart จาก Standard Toolbar หรือเลือกเมนูคําสั่ง Insert, Chart ปรากฏขั้นตอน การสรางแบบ Wizard 4 ขั้นตอนยอย

ขั้นตอนที่ 4 เลือกประเภทของกราฟ ขั้นตอนแรกของ Chart Wizard คือการเลือกประเภทของกราฟ ซึ่งมีใหเลือกทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เมื่อเลือกประเภทใหญไดแลว ก็เลือกประเภทยอย (Chart sub-type)

76

กราฟแตละประเภท จะมีกราฟยอยแตกตางกันออกไป ทั้งสองมิติ และสามมิติ และมีบางประเภทที่ จะใชกับขอมูลชุดเฉพาะ เชนกราฟ Stock จะใชสําหรับการนําเสนอมูลคาเงินในตลาดหลักทรัพย เปนตน

ขั้นตอนที่ 5 ระบุแหลงขอมูลทีน่ ํามาสรางกราฟ (Data Source) ขั้นตอนนี้ จะระบุแหลงขอมูลที่นํามาสรางกราฟ จากรายการ Data range สามารถใชเทคนิคการ เลือกชวงขอมูลแบบไมตอเนื่อง (กดปุม C) ควบคุมการเลือกแหลงขอมูล โดยปกติ โปรแกรมจะกําหนด แหลงขอมูลอัตโนมัติ จากการเลือกขอมูลในขั้นตอนที่ 2 ใหอยูแลว รวมทั้งระบุรูปแบบการสรางกราฟวาจะนําขอมูลในแนวแถว (Rows) หรือคอลัมน (Columns) มา สรางเปนชุดขอมูลของกราฟ (Graph Series)

ตัวอยางกราฟจากการเลือก Series in Rows

ตัวอยางกราฟจากการเลือก Series in Columns

77

ขั้นตอนที่ 6 ระบุรายละเอียดตางๆ ในการนําเสนอกราฟ ขั้นตอนนี้ จะใชระบุคาควบคุมตางๆ ที่จําเปนจากบัตรรายการควบคุม 6 ใบ

• Title - กําหนดหัวเรื่องของแผนภูมิ หัวขอแกน X และคาแกน Y • Axes - กําหนดคาแกน X แกน Y • Gridlines - กําหนดใหมีการตีเสนหลังแผนภูมิใหดูคางายขึ้น • Legend - รายละเอียดประกอบขอมูลสามารถกําหนดใหอยูบน ลาง ซาย หรือขวาของ แผนภูมิไดตามตองการ • Data Labels - ใหแสดงชื่อกํากับที่แผนภูมิ • Data Table - ใหแสดงขอมูลประกอบในรูปของตาราง

ขั้นตอนที่ 7 ระบุชีทที่จะนําเสนอกราฟ ถาตองการนําเสนอกราฟเปนชีทอีกใบ ใหเลือกรายการ As new sheet แตถาตองการนําเสนอกราฟ รวมกับตารางขอมูลเดิมหรือรวมกับขอมูลในชีทใดๆ ก็เลือก As object in

78

องคประกอบของกราฟ แถบเครื่องมือ Chart

Chart Title Legend

Data Label แบบ Value

Plot Area

คําอธิบายแกน X

Chart Area

คําอธิบายแกน Y และคาแกน Y

Gridlines

ชื่อองคประกอบของกราฟ จะแสดงในสวนแรกของ Chart Tools

หมายเหตุ การเปด/ปด Chart Tool ใชคําสั่ง View, Toolbars, Chart

เปลี่ยนรูปแบบกราฟ การเปลี่ยนรูปแบบกราฟ ใหคลิกเมาสที่ Chart Area กอน แลวเลือกคําสั่ง Chart, Chart Type หรือ ใน Chart Tool คลิกจากปุมเครื่องมือ แตถามีการคลิกที่ Series ใดๆ แลวเลือกคําสั่งนี้ จะเปนการสรางกราฟแบบผสม

79

ยอ/ขยายกราฟ การยอ/ขยายกราฟ จะตองคลิกที่ Plot Area แลวใชเทคนิค Drag & Drop ที่ Handle

ปรับแกไของคประกอบของกราฟ องคประกอบของกราฟ แกไขไดโดยเลือกเมนูคําสั่ง Chart, Chart Options หรือใชเทคนิคคลิกเลือก แลวปรับแกไขจากเมนูที่เกี่ยวของ เชน ตองการยกเลิกการแสดงเสน Gridline ก็ใชวิธีคลิกที่เสน Gridline แลว กดปุม = ลบออกไป เปนตน

คลิกเลือกเสน Gridline เสน ใดๆ แลวกดปุม =เพื่อลบ

Data Series / Data Point

รูปแสดงการเลือก Data Series จะมีเครื่องหมาย Black Handle กํากับที่ชุดของขอมูลเดียวกันในทุก กลุม การปรับแตงแกไข จะมีผลตอทุก Series

รูปแสดงการเลือกเฉพาะแทงกราฟแทงใดแทงหนึ่ง หรือ Data Point การปรับแตงแกไข จะมีผล เฉพาะแทงนี้แทงเดียว

80

สี ลักษณะของกราฟ พื้นกราฟทั้ง Plot Area, Chart Area, แทงกราฟ หรือเสนกราฟแนวตางๆ สามารถใชเทคนิค การคลิก เลือกเปดบัตร Properties หรือดับเบิลคลิกเพื่อเปดบัตรรายการ Properties และปรับแกไขไดตาม ตองการ

แกน Y 2 เสน

เลือก Series ใดๆ แลวปรับแตงคา Properties โดยเลือกคา Secondary axis จากบัตรรายการ Axis จากนั้นปรับคา Gap width จากบัตรรายการ Options

81

ปรับแตงแกน Y เปดการแสดง Gridline แกน Y ดวยคําสั่ง Chart, Chart Option

จะพบวาเสน Gridline ถี่มากเกินไป จึงควรปรับแตง โดยเปดบัตร Properties ของแกน Y

ปรับแตงคา ดังนี้

ปรากฏผล ดังนี้

82

Waterfall chart Water chart คือ กราฟแทงที่มีปรับคาเริ่มตนของแกน Y จาก 0 เปนคาใดๆ เพื่อใชเปรียบเทียบ เชน ตองการแสดงวามีกี่ประเทศที่มียอดสั่งซื้อมากกวา 800 รายการ

การปรับแคเริ่มตนของแกน Y ใหเปดบัตร Properties ของแกน Y แลวปรับแกไขคา Category (X) axis Crosses at:

ยายตําแหนงของแกน Y โดยปกติแกน Y จะแสดงที่ขอบซายของแกน X แตก็สามารถปรับยายตําแหนงไดโดยเขาสูบัตร Properties ของแกน X แลวปรับคา Value (Y) axis crosses at category number

83

Tick-mark labels:

Tick-mark

เพิ่มคําอธิบายแกน

ตองการแสดงใหทราบวาประเทศ Argentina และ Brazil มีเซลลกลุมที่ 1 เปนผูดูแล ในขณะที่อีก สองประเทศ เปนเซลลกลุมที่ 2 ดังภาพถัดไป จึงตองเพิ่มพื้นที่ระหวางคําอธิบายแกน X กับเสนแกน X โดยปรับแค Offset เปน 1000 จาก บัตรรายการ Alignment ของบัตร Properties แกน X

เพิ่มขอมูลหรือปรับเปลี่ยนแหลงขอมูล การเพิ่มขอมูล หรือปรับเปลี่ยนแหลงขอมูลของกราฟ ใชคําสั่ง Chart, Source Data หรือ Chart, Add Data

ทั้งนี้จะมีตัวเลือกวาตองการสรางเปน Series หรือ Point นอกจากนี้ยังใชเทคนิค Copy, Paste ขอมูล ได

84

ตัวอยาง เพิ่มขอมูลดัง Sheet

เลือกขอมูล

เลือกคําสั่ง Edit, Copy เลือกชีทของกราฟ แลว Edit Paste จะปรากฏแทงกราฟชุดใหมในกราฟ

Tornado Graph

กราฟลักษณะนี้ จะตองปอนขอมูลคาหนึ่งเปนบวก อีกคาเปนลบ ดังตัวอยาง

จากนั้นก็สรางกราฟแบบ Bar แลวปรับแตงคาที่จําเปน 2 รายการไดแก คา Data Series ใหแทง กราฟแตละแทงซอนในแนวเดียวกัน และมีขนาดโตชิดสนิทกัน

85

จากนั้นปรับแตงคาการแสดงผลในแกน X ใหดานซายของแกน เปนคาบวก

กราฟรูปภาพ โดยปกติกราฟแทง จะนําเสนอดวยแทงสี หรือลวดลาย แตก็สามารถนํารูปภาพมาประยุกตได ดัง ตัวอยาง

โดย Copy รูปภาพที่ตองการนํามาแสดง แลวคลิกแทงกราฟที่ตองการ จากนั้นเลือกคําสั่ง Edit, Paste รูปภาพจะแทนที่แทงกราฟในลักษณะเต็มแทง

86

แลวเปดบัตรรายการ Properties ของแทงกราฟ เลือกคําสั่ง Fill Effects กําหนดคาควบคุมการแสดง รูปภาพจากคําสั่ง Stack หรือ Stack and scale to… นอกจากนี้ยังสามารถคลิกปุม Select Picture… เพื่อเลือก รูปภาพจากบัตรรายการนี้ไดเชนกัน

ปญหาการสรางกราฟเสน กรณีที่บางเซลลไมมีขอมูล ในการสรางกราฟเสน สําหรับขอมูลที่บางเซลลเปนคาวาง หรือไมมีการใสขอมูล ดังตัวอยางใน เซลลสีเหลือง

เมื่อนํามาสรางเปนกราฟเสน จะเกิดปญหาการไมตอเนื่องของเสนกราฟ ดังรูป สังเกตที่จุดสีน้ําเงิน แสดงผลเพียง 2 จุด ตรงกลางชวงจะหายไป

87

Excel ไดเตรียมคําสั่งแกไขไว 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 กําหนดใหคาวางเปนคา 0 โดย • เลือกเมนูคําสั่ง Tools, Options... • เลือกบัตรรายการ Chart • คลิกถูกหนารายการ Plot empty cells as : เปน Zero

วิธีที่ 2 เชื่อมจุดที่แสดงทั้งหมดเขาดวยกัน โดยใหถือวาตําแหนงที่ไมแสดงเปนคาใดๆ • เลือกเมนูคําสั่ง Tools, Options... • เลือกบัตรรายการ Chart • คลิกถูกหนารายการ Plot empty cells as : เปน Interpolated

Custom Chart กราฟที่สรางแลวกําหนดใหเปน Custom Chart ดวยคําสั่ง Chart Type โปรแกรมจะบันทึกไวเปน ไฟลชื่อ Xlusrgal.xls

กราฟกับ Dynamic Text โดยปกติกราฟ จะมี Title หลายลักษณะซึ่งสามารถใชเทคนิค Dynamic Text Box มาชวยสรางได โดย 1. สรางกราฟที่ตองการ 2. วาด Shape หรือ Text Box ในกราฟ 3. คลิกเลือก Shape หรือ Text Box ที่วาด แลวคลิกใน Formula Bar 4. ปอนเครื่องหมาย = ตามดวยตําแหนงเซลลของขอความที่ตองการแสดงผลใน Shape หรือ Text Box 5. จัดแตง Shape หรือ Text Box ตามตองการ

88

กราฟวงกลม การสรางกราฟวงกลม จะนําขอมูลชุดหนึ่งมาคํานวณ % แลวนําเสนอในลักษณะกราฟ โดยมีคา ควบคุมสําคัญคือ

ภาคใต ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง

• Series name-ใหขึ้นชื่อคอลัมนที่เลือก • Category name-ชื่อของขอมูลตามแถว • Value-แสดงคาของขอมูล • Percentage-คิดออกมาเปนเปอรเซนต • Bubble size-กําหนดรูปรางขนาดใหเปนแบบฟอง • Separator-กําหนดใหแยกชื่อขอมูลดวย ชองวาง หรือ , หรือ ; หรือ . หรือ ขึ้นบรรทัดใหม • Legend key-แสดงกรอบสีของขอมูล • Show Leader lines-ใหแสดงเสนนําหนา

การแยกสวนของกราฟวงกลม สวนตางๆ ของกราฟวงกลม สามารถแยกได โดยตองคลิกเลือกใหเปน Point กอน

89

รูปแสดงการเลือกในโหมด Data Series ถาแยกออกจะเปนการแยกทุกชิ้น

รูปแสดงการเลือก Data Point เพื่อแยกเฉพาะชิ้นที่สนใจ

กราฟวงกลมผสม

คาควบคุมสําคัญของกราฟวงกลม ดังขางตน

คือรายการ Second plot contains the last …. Value คือ นําคากี่คาไปสรางเปนกราฟวงกลมชิ้นที่ 2 จากตัวอยางคือ สองคาสุดทายจาก Data Source นั่นเอง

90

Gantt chart ทานที่มีภาระเกี่ยวกับการวางแผนงานตางๆ คงจะคุนเคยกับ Gantt chart เปนอยางดี และคิดวา หลายๆ ทานคงทราบวาการใช Microsoft Project สราง Gantt chart นี้จะวางายก็งาย ยากก็ยาก แลวแตความ ถนัดของแตละคน แตสําหรับทานที่ตองการสราง Gantt chart ที่ไมซับซอนมากนัก และมีขอมูลใน Excel ก็ สามารถปฏิบัติดังนี้

• รายการป ค.ศ. ที่ปรากฏในคอลัมน D เปนตนไป ใหพิมพตามปกติ แตจัดตําแหนงดวย คําสั่ง Format - Cells - Alignment เลือกรายการ Orientation แลวกําหนดความกวางให เหมาะสม • การสราง Gantt chart จะวิธีการตรวจสอบวาขอมูลในเซลล D1 ตรงกับ B2 หรือไม ถา ตรงกันก็จะเปนจุดเริ่มตนของ Gantt chart ตอไปก็ตรวจสอบวา D1 ตรงกับ C2 หรือไม ดวยวิธีการดังนี้ o นําเมาสคลิกในเซลล D2 o เลือกเมนูคําสั่ง Format, Conditional Formatting...

o กําหนดเงื่อนไขดังตัวอยาง

o โดยเลือกรูปแบบที่ตองการจากปุม Format เมื่อเงื่อนไขเปนจริง o คัดลอกสูตรจาก D2 ไปตําแหนงอื่นๆ จะปรากฏผลลัพธดังนี้

91

o ไมยากเลยใชไหมครับ ทดลองสรางชิ้นงาน แลวรันดูนะครับ และทดลองปรับ คาดังตัวอยางนี้ดูบางวาผลเปนอยางไร

ชวงขอมูลกับการสรางกราฟ หนวยงานหนึ่งมีพนักงาน 100 คน จัดสอบวัดความรูวิชาคอมพิวเตอร ไดคะแนนดังตารางสรุป ตองการสรางกราฟนําเสนอผลการสอบวัดคะแนนรายคน และกราฟนําเสนอคะแนนเปนชวงๆ ละ 10 คะแนน

สรางกราฟนําเสนอคะแนนรายบุคคล สรางกราฟนําเสนอคะแนนเปนชวง โดยสรุปตาราง ดังนี้

92

• สรางชวงขอมูล “จํานวนพนักงาน” (G2:G11) • ปอนสูตร =FREQUENCY(A2:A101,F2:F11) แลวกดปุม • นําขอมูลที่ไดไปสรางกราฟ จํานวนพนักงาน 25 20 15 10 5 0 1 - 10

10 - 20

20 - 30

30 - 40

40 - 50

50 - 60

60 - 70

70 - 80

80 - 90

90 - 100

คาสูงสุด/คาต่ําสุดในกราฟ จากตัวอยางขางตน ตองการนําเสนอคาสูงสุด และคาต่ําสุดในกราฟ ตองเพิ่มอีก 2 คอลัมน ดัง ตัวอยาง

93

โดยคอลัมน Max ใชสูตร

\=IF($B2=MAX($B$2:$B$101),$B2,NA())

และคอลัมน Min ใชสูตร

\=IF($B2=MIN($B$2:$B$101),$B2,NA())

เพื่อหาคาสูงสุด และคาต่ําสุดจากตารางขอมูล จากนั้นสรางกราฟอีกครั้ง โดยเลือกชวงคะแนน, Max และ Mix

XY Chart กราฟ XY จะเนนการนําเสนอเพื่อวิเคราะหการเกาะกลุม หรือกระจายของขอมูล ดังตัวอยาง 12 10 8 Series1

6 4 2 0 0

5

10

15

20

25

Stock Chart Stock Chart ใชนําเสนอขอมูลมูลคาเงินของตลาดหลักทรัพย ซึ่งตองปอนขอมูลในตารางดัง ตัวอยาง

94

10000000 9000000 8000000 7000000 6000000 5000000 4000000 3000000 2000000 1000000 0

140 120 100 80

Volume Open High

60 40

Low Close

20

1/ 9/ 02 1/ 10 /0 2 1/ 11 /0 2 1/ 12 /0 2

1/ 7/ 02 1/ 8/ 02

1/ 5/ 02 1/ 6/ 02

0

Stock แบบ Volume, High, Low, Close, Open

3D Surface Graph กราฟพื้นผิวสามมิติ เปนกราฟที่ใชนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวกับสมการทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เพื่อวิเคราะหขอมูล 2 ชุด ดังตัวอยาง มีสมการ z=(x-10)3 + (y-100)2 เมื่อนํามาสรางปอนขอมูลในตาราง จะ ไดผลดังนี้

9000 8000 7000 6000 5000 4000 3000 2000 1000 0 -1000

8000-9000 7000-8000 6000-7000 5000-6000 4000-5000 3000-4000 2000-3000 z 1

2

3

4

5

x 6

1000-2000 0-1000 -1000-0

95

ฐานขอมูลใน MS-Excel

MS-Excel มีฟงกชันการทํางานที่ชวยใหคุณทํางานเกี่ยวกับระบบฐานขอมูลที่ไมใหญมากนักได อยางสบายๆ และไมยากเลยดังที่คิด ดวยโปรแกรมนี้คุณจะพบวาการเก็บ, คนหา, แกไข/ลบขอมูล ตลอดจน นําขอมูลมาประมวลผลในลักษณะตางๆ เชน หายอดรวม, นับจํานวนรายการตามเงื่อนไข และพิมพรายงาน ในแบบตางๆ ทั้งแบบรายงานตัวอักษร, รายงานกราฟ หรือรายงานผสม

การจัดเตรียมขอมูล ขั้นแรกจะตองนําชิ้นงานมาวิเคราะหและแยกเปนรายการยอยๆ เสียกอน ซึ่งมีศัพททางคอมพิวเตอร ใชเรียกรายการยอยๆ ของรายการขอมูลวา “ฟลด (Field)” ตัวอยางเก็บขอมูลเกี่ยวกับบุคคลในองคกร โดยมี รายละเอียดที่จะเก็บบันทึก ไดแก รหัสประจําตัว, ชื่อ-นามสกุล, วันเดือนปที่เกิด, ที่อยู, วันเดือนที่ที่เขา ทํางาน, ตําแหนง, หนวยงาน และเงินเดือน เปนตน สามารถแยกเปนฟลดยอยๆ ไดดังนี้ • รหัสประจําตัวแยกไมไดดังนั้นนับเปน 1 ฟลด • ชื่อ-นามสกุล ยังสามารถเปนรายการยอยๆ ไดอีก คือ o คํานําหนาชื่อ 1 ฟลด o ชื่อตัว 1 ฟลด o นามสกุล 1 ฟลด • ที่อยู ควรแยกเปน o บานเลขที่ o ถนน o ตําบล o อําเภอ o จังหวัด o รหัสไปรษณีย

เมื่อวิเคราะหลักษณะงานเรียบรอยแลว ขั้นตอไปก็เปนการเก็บขอมูลไวในแผนงานของ Excel หรือ Worksheet โดยพิมพรายการฟลดในแถวเดียวกัน 1 ฟลดตอ 1 คอลัมน เรียกแถวนี้วา “Header Row” ตอจากนั้นก็นําขอมูลที่จะจัดเก็บปอนลงในแถวถัดไป 1 รายการขอมูลตอ 1 แถว เรียกรายการขอมูลแตละ แถววา Record ดังรูป รายการขอมูลแถวแรกควรอยูตอจาก Header Row

96

หากขอมูลในฟลดใดยาวมากๆ อยาพิมพแยกเซลลนะครับ ใหขยายความกวางพอประมาณ แลว พิมพขอมูลตามปกติ แตเมื่อขอมูลจะเกินระยะขอบขวาของเซลล คุณก็สั่งใหโปรแกรมตัดคําแลวขึ้นบรรทัด ใหม โดยการกดปุม AE จากนั้นพิมพขอมูลที่เกินในแถวที่ 2, 3 ... ไปเรื่อยๆ พบวาความสูงของแถว จะขยาย อยางนี้เปนวิธีบันทึกที่ถูกตองครับ ถาพิมพแยกเซลลเมื่อไรผิดเมื่อนั้น โปรแกรมจะคนหาและ คัดเลือกขอมูลไมถูกตอง

การกรองขอมูลดวย AutoFilter การกรองขอมูล เปนการคัดเลือกขอมูลที่ตรงกับเงื่อนไข แลวนําเสนอบนจอภาพเพื่อเตรียม ประมวลผล หรือสั่งพิมพ ขอมูลที่จะนํามากรอง จะตองปอนใหอยูในรูปของตารางขอมูล (Database) กอน เสมอ • ปอนขอมูลลง Worksheet โดยแบงขอมูลเปนคอลัมน และรายการเนื้อความเปนแถว ทั้งนี้ รายการเนื้อความรายการแรก จะตองอยูติดกับหัวเรื่อง • เลื่อน Cell Pointer ไปอยูในพื้นที่ขอมูล (เซลลใดก็ได แตหามอยูนอกพื้นที่ หรืออยูในหัวเรื่อง) • ใชคําสั่ง Data, Filter, AutoFilter จะปรากฏ Drop Down List (ลูกศรชี้ลงมีขีดอยูใตลูกศร) ณ รายการหัวเรื่องแตละรายการ

• ตองการกรองขอมูลรายการใด ก็เลื่อน Mouse Pointer ไปชี้ที่ Drop Down List ของรายการนั้น แลวคลิกเมาสจะปรากฏกรอบเมนูโตตอบ

• เลือกรายการที่ตองการจากกรอบเมนูโตตอบ โดยเลือกรายการจากกรอบเมนู เชน เลือกรายการ "เหนือ" จากรายการภูมิลําเนา เพื่อกรองขอมูลเฉพาะรายการที่มีภูมิลําเนาเปน “ภาคเหนือ”

การดึงขอมูลกลับมาสูสภาพเดิม ขอมูลที่กรองแลว หากตองการเรียกกลับสูสภาพเดิม เลือกคําสั่ง Data, Filter, Show All

การยกเลิกการกรองขอมูล เลือกคําสั่ง Data, Filter, AutoFilter ซ้ําอีกครั้งหนึ่ง

97

การกรองขอมูลตามเงื่อนไข • เลื่อน Mouse Pointer ไปชี้ที่ Drop Down List ของรายการ ที่ตองการ แลว • คลิกเมาสจะปรากฏกรอบเมนู โตตอบ เลือกรายการ Custom เพื่อเปดกรอบโตตอบยอย แลว พิมพรายการที่ตองการ

การระบุเงื่อนไข • • • •

Equals ก* Equals จินดา Does not equals จินดา is greater than 500

เพื่อกรองขอมูลเฉพาะที่ขึ้นตนดวยตัว "ก" เพื่อกรองขอมูลเฉพาะที่มีรายการตรงกับคําวา “จินดา” เพื่อกรองขอมูลเฉพาะที่มีรายการไมตรงกับคําวา “จินดา” เพื่อกรองขอมูลเฉพาะที่มากกวา 500

Advanced Filter Advanced Filter เปนฟงกชันการกรองขอมูลที่เพิ่มความสามารถขึ้นเนื่องจาก Auto Filter มีเงื่อนไข ใหเลือกไดเพียง 2 เงื่อนไข ดังนั้นถาตองการใชเงื่อนไขกรองขอมูลมากกวานี้จะตองเขาทํางานในโหมด Advance Filter ในโหมดนี้ยังสามารถคัดลอกผลการกรองไปวางตําแหนงอื่นไดดวย การกรองในโหมด Advanced Filter จะตองเตรียมพื้นที่ทํางาน 3 สวนคือ • Data Source

พื้นที่ขอมูลตนฉบับ

• Criteria พื้นที่ระบุเงื่อนไข จะตองมีสวนหัว (Field Title) ตรงกับ Data Source ใหใชการคัดลอก Field Title จาก Data Source ไปวางในพื้นที่ Criteria เพื่อปองกันความ ผิดพลาดจากการปอนขอมูล • Output Area

พื้นที่แสดงผลปลายทาง

Output Area Data Source

Criteria Area

98

รูปแบบเงื่อนไข • หลายเงื่อนไขในคอลัมนเดียวกัน เปนการเชื่อมเงื่อนไขดวย OR เชน

กรองขอมูลบุคคลที่มีชื่อขึ้นตนดวย “ก” รวมกับบุคคลที่มีชื่อขึ้นตนดวย “จ” • หลายเงื่อนไข แตแยกคอลัมน เปนการเชื่อมเงื่อนไขดวย OR เชนกัน แตมีเงื่อนไขยอยเชื่อมกัน

กรองขอมูลบุคคลที่ชื่อขึ้นตนดวย “ก” รวมกับบุคคลที่นามสกุลขึ้นตนดวย “ล” รวมกับบุคคล ที่มีภูมิลําเนาในภาค “ใต” • หลายเงื่อนไขในแถวเดียวกัน เปนการเชื่อมเงื่อนดวย AND เชน

กรองขอมูลบุคคลที่ชื่อขึ้นตนดวย “ก” และตองมีภูมิลําเนาในภาค “ใต”

การจัดเรียงขอมูล (Sorting) การจัดเรียงขอมูล เปนการนําขอมูลมาจัดลําดับโดยมีเงื่อนไขวาเรียงดวยคามากไปหานอย หรือนอย ไปหามาก ซึ่งมีรูปแบบการจัดเรียงดังนี้

การจัดเรียงขอมูลแบบเงื่อนไขเดียว • ปอนขอมูลลง Worksheet โดยแบงขอมูลเปนคอลัมน และรายการเนื้อความเปนแถว ทั้งนี้ รายการเนื้อความรายการแรก ควรอยูติดกับหัวเรื่อง (ลักษณะเดียวกับตัวอยางการกรองขอมูล) • นํา Cell Pointer ไปคลิกในคอลัมนที่ตองการใชเปนหลักในการจัดเรียง เชนถาตองการจัดเรียง ตามชื่อ ก็นําไปคลิกในคอลัมนชื่อ • กดปุม

เพื่อจัดเรียงจากนอยไปมาก หรือมากไปนอยตามลําดับ

การจัดเรียงขอมูลแบบหลายเงื่อนไข • ปอนขอมูลลง Worksheet โดยแบงขอมูลเปนคอลัมน และรายการเนื้อความเปนแถว ทั้งนี้ รายการเนื้อความรายการแรก ควรอยูติดกับหัวเรื่อง (ลักษณะเดียวกับตัวอยางการกรองขอมูล) • เลื่อน Cell Pointer ไปอยูในพื้นที่ขอมูล (เซลลใดก็ได แตหามอยูนอกพื้นที่ หรืออยูในหัวเรื่อง) แลวใชคําสั่ง Data, Sort ก็จะปรากฏกรอบโตตอบ ดังนี้

99

• เลือกขอมูลที่ตองการใชเปนตัวหลักในการจัดเรียง จากตัวเลือก "Sort By" • เลือกลักษณะการจัดเรียง โดย o Ascending o Descending

เรียงจาก A-Z, 0-9, ก-ฮ เรียงจาก ฮ-ก, 9-0, Z-A

• ถาตองการกําหนดเงื่อนไขที่สอง สามารถเลือกจากรายการ Then by • เลือกปุม OK

การเรียงขอมูลมากกวา 3 เงื่อนไข • วิธีที่ 1 เรียงขอมูลโดยจัดกลุมครั้งละ 3 เงื่อนไข และเรียงจากเงื่อนไขเล็กไปหาเงื่อนไขใหญ โดยแตละครั้งใหมีตัวเชื่อมการจัดเรียงดวย เชน มีขอมูล ดังนี้ “ภาค, จังหวัด, อําเภอ, ตําบล, หมูบาน, ชุมชน, รายได” จะตองกําหนดเงื่อนไขดังนี้ o ครั้งที่ 1 ใหจัดเรียงดวยเงื่อนไข “หมูบาน, ชุมชน, รายได” o ครั้งที่ 2 ใหจัดเรียงดวยเงื่อนไข “อําเภอ, ตําบล, หมูบาน” โดยมี “หมูบาน” เปน ตัวเชื่อม o ครั้งสุดทาย ใหจัดเรียงดวยเงื่อนไข “จังหวัด, อําเภอ, ตําบล” • วิธีที่ 2 รวมขอมูลใหเปนกลุมๆ ดวยเทคนิคการเชื่อมฟลด เชน o สรางฟลดใหม โดยรวมฟลด “จังหวัด, อําเภอ, ตําบล” ดวยคําสั่ง =จังหวัด&อําเภอ&ตําบล o นําฟลดใหม มาเปนเงื่อนไขหลักในการจัดเรียงขอมูล

100

การทํารายงานยอดสรุป (Sub - Total) รายงานยอดสรุป เปนรูปแบบรายงานที่นําขอมูลมาจัดเรียง และสรุปผลตามเงื่อนไขที่ตองการ เชน เรียงขอมูลตามลักษณะที่ตองการ เชน ตองการยอดสรุปเกี่ยวกับประเภทสินคา ก็ตองเรียงขอมูลดวยขอมูล ประเภทสินคา, ตองการยอดสรุปเกี่ยวกับตําแหนงพนักงาน ก็ตองเรียงขอมูลดวยขอมูลตําแหนงพนักงาน • เลือกคําสั่ง Data, Sub-Total จะปรากฏกรอบโตตอบ ดังนี้

• กําหนดรายการที่ตองการทํายอดสรุป (At Each Change In) โดยตองกําหนดตามขอมูลรายการ ที่เรียงไวในขอ 1 • กําหนดลักษณะการหายอดสรุป (ผลรวม, จํานวนนับ, คาเฉลี่ย ฯลฯ) ในตัวเลือก Use Function • กําหนดขอมูลที่ตองการใหสรุปยอด ในตัวเลือก Add Subtotal To • เลือก OK ก็จะปรากฏขอมูลใหมเปนรายงานยอดสรุปบนจอภาพ

101

การยกเลิกการทํา Sub-Total • เลือกเมนูคําสั่ง Data, Subtotal เลือกคําสั่งยอย Remove All

ฟอรมขอมูล ฟอรมขอมูล เปนสวนที่นําขอมูลในลักษณะตาราง มาแสดงผลใหเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นในลักษณะ แบบฟอรม โดยใหคลิกเมาสในพื้นที่ตารางขอมูล แลวเลือกคําสั่ง Data, Form… ซึ่งจะปรากฏหนาตาง ทํางาน ดังนี้

หนาตางฟอรมจะมีปุมควบคุม ดังนี้ • ปุม New

เขาสูโหมดการปอนขอมูล

• ปุม Delete

ลบขอมูล

• ปุม Restore ยกเลิกการปอน/แกไขขอมูล • ปุม Find Prev เลื่อนดูขอมูลที่แลว • ปุม Find Next เลื่อนดูขอมูลถัดไป • ปุม Criteria เขาสูโหมดการกรองขอมูล • ปุม Close

ปดหนาตางฟอรม

การกําหนดเงื่อนไขการกรองขอมูลในฟอรม การระบุเงื่อนไขการกรอง ถาเปนฟลดขอความใหปอนคําที่ตองการกรอง เชน แลวใชปุม Find Prev & Find Next เพื่อตรวจสอบขอมูล กรณีที่เปนตัวเลข หรือวันที่ ใหใสเครื่องหมายเปรียบเทียบนําหนาตัวเลข เชน

102

ตารางรวมขอมูล (Consolidate) ตารางรวมขอมูล เปนการนําขอมูลจากแผนงานตางๆ มารวมกัน และคํานวณผลตามรูปแบบ ฟงกชันที่กําหนด โดยจะตองปอนขอมูลในแตละแผนงานใหมีลักษณะเดียวกัน แตกตางกันเฉพาะคาตัวเลข เชน สรางแผนงานชื่อ Jan, Feb, Mar แลวปอนขอมูล ดังตัวอยาง

เดือนมกราคม

เดือนกุมภาพันธ

เดือนมีนาคม จากนั้นสรางแผนงานใหม ชื่อ สรุปผล เริ่มรวมขอมูลโดย • เลือกคําสั่ง Data, Consolidate…

• เลือกชวงขอมูลที่ตองการคํานวณจากรายการ Reference แลวคลิกปุม Add • เลือกฟงกชันคํานวณจากรายการ Functions

103

• คลิกเลือก Top row/Left column เพื่อกําหนดใหแถวแรก/คอลัมนแรกของชวงที่เลือก เปน ชื่อฟลด และคลิกเลือก Create link to souce data เพื่อสรางความสัมพันธกับแผนงาน ตนฉบับ เมื่อคลิกปุม Ok โปรแกรมจะสรุปผลการรวมขอมูล ดังนี้

• คลิกปุม + เพื่อยุบหรือขยายรายละเอียดของแตละผลลัพธ Memo สามารถรวมขอมูลจากไฟล xls ไฟลอื่นได

ตารางสรุปสาระสําคัญ (Pivot Table) ตารางสรุปสาระสําคัญเปนรายงานอีกรูปแบบหนึ่งที่นําเฉพาะคาคํานวณมาแสดงผล โดยไมแสดง รายละเอียดยอยของแตละรายการ และผูใชสามารถปรับแตงลักษณะของรายงานไดเองอิสระ การสราง Pivot Table ใหคลิกเมาสในพื้นที่ขอมูล แลวเลือกคําสั่ง Data, Pivot Table & Pivot Chart Report…จะปรากฏกรอบ ทํางานดังนี้

เลือกแหลงขอมูลการสรางงาน วาจะเปนแหลงขอมูลที่เลือกอยู (Microsoft Office Excel list or database) หรือแหลงขอมูลภายนอก (External data source) หรือแหลงขอมูลจากการรวมแผนงาน (Multiple consolidation range) จากนั้นเลือกรูปแบบรายงานวาจะเปนตารางสรุป หรือเปนกราฟสรุป แลวคลิกปุม Next

กําหนดชวงขอมูลที่ตองการนํามาสรุปเปนตารางสรุปคา แลวคลิกปุม Next

104

เลือกวารายงานสรุปจะนําเสนอในแผนงานใหม (New worksheet) หรือแผนงานเดิม (Existing worksheet) แลวคลิกปุม Layout… เพื่อกําหนดลักษณะของรายงาน

ลากฟลดมาวางในตําแหนงตางๆ ตามรูปแบบที่ปรากฏ จากนั้นคลิกปุม OK และ Finish โปรแกรม จะสรุปรายงาน ตามเงื่อนไขที่ระบุ เชน ถาตองการรายงานสรุปผลรวมเงินเดือน โดยจําแนกตามภูมิลําเนา และตําแหนง ก็ใหจัดวาง ดังนี้

105

หรือ

ปรับแกไขตารางสรุปสาระสําคัญ การแกไขตารางสรุปสาระสําคัญ ก็ทําไดงาย เพียงแตคลิกลากฟลดสลับตําแหนงเพื่อสรางรายงานที่ ตองการ หรือคลิกปุมเครื่องมือ Pivot Table จากแถบเครื่องมือ

เปลี่ยนฟงกชันคํานวณ การเปลี่ยนฟงกชันคํานวณ ใหดับเบิลคลิกที่ฟลดคํานวณ ดับเบิลคลิกในชองนี้ เพื่อเลือกฟงกชันใหม

106

ปรับแตงหมวดหมู

การแสดงตารางดวยวันที่ โปรแกรมจะนําคาวันที่แตละวันมาจัดเรียง ซึ่งทําใหผลออกมาไมตรงกับ ที่ตองการ สามารถปรับแกไขโดยคลิกขวาที่ฟลดวันที่ แลวเลือกคําสั่ง Group and Show Detail, Group…

จะปรากฏรายการเลือกการจัดหมวดหมู ดังนี้

เลือกการจัดหมวดหมูในรายการ By เปน Year แลวคลิกปุม OK

107

108

ภาคผนวก 1 ประเภทกราฟ Area Chart Type Area charts show the relative importance of values over a period of time. Although area charts are similar to line charts, area charts emphasize the amount of change or magnitude of values, rather than time and the rate of change.

Bar Chart Type Bar charts show individual figures at a specific time or illustrate comparisons between items. The subtypes stacked and 100-percent stacked bar charts show relationships to a whole. The categories on a bar chart are organized vertically, while the values are organized horizontally. This type of organization places more emphasis on comparisons and less emphasis on time.

Column Chart Type Column charts show variation over a period of time or illustrate comparisons between items. The subtypes stacked and 100-percent stacked column charts show relationships to a whole. Although similar to a bar chart, a column chart's categories are organized horizontally, and its values are organized vertically.

Line Chart Type Line charts show trends or changes in data over a period of time at even intervals. Although line charts are similar to area charts, line charts emphasize time flow and the rate of change, rather than the amount of change or magnitude of values.

High-Low-Close and Open-High-Low-Close Chart SubTypes The high-low-close and open-high-low-close chart subtypes are almost exclusively used for tracking stock prices. The open-high-low-close chart subtype is also referred to as a candlestick chart. The high-low-close chart subtype is also used to track scientific data. The order in which your data is arranged on the worksheet is very important. The order of the data in worksheet rows or columns must be one of the following: • the high values, followed by the low and close values -or• the open values followed by the high, low, and close values

109

Pie Chart Type Pie charts show the relationship or proportions of the parts to the whole. This chart type is useful for emphasizing a significant element. A pie chart always contains one data series. If you select more than one data series when you create a pie chart, only one data series will be displayed. To display more than one data series in a round chart format, use the doughnut chart type.

Doughnut Chart Type Doughnut charts are similar to pie charts except for two things: Doughnut charts have a hole in the middle of them, and they are able to display more than one data series. Doughnut charts are widely used in the Far East.

Radar Chart Type Radar charts show the changes or frequencies of data series relative to a center point and to one another. Each category has its own value axis radiating from the center point. Lines connect all of the data markers in the same series. Radar charts are widely used in the Far East.

XY (Scatter) Chart Type An xy (scatter) chart shows the relationship or degree of relationship between the numeric values in several chart data series or plots two groups of numbers as one series of xy coordinates. The xy chart shows uneven intervals of data. Xy charts are most commonly used for scientific data. The way in which the data is arranged on the worksheet is very important when creating an xy chart. The data must be arranged with the x values in one row or column, followed by one or more corresponding y values in the adjacent rows or columns. NOTE: Only xy charts have the ability to have both the x and y axes scaled.

3-D Area Chart Type This chart type shows a 3-D view of an area chart, which emphasizes the sum of plotted values and separates chart data series into distinct rows to show differences between the data series.

3-D Bar Chart Type This chart type shows a 3-D view of a bar chart, which emphasizes the values of individual items at a specific time or draws comparisons between items. The subtypes stacked and 100-percent stacked bar charts show relationships to a whole.

110

3-D Column Chart Type This chart type shows a 3-D view of a column chart in one of two variations: simple 3-D and 3-D perspective. The simple 3-D column displays the column markers along the x (or category) axis. The 3-D perspective chart compares data points along two axes: the x axis and the y (or series) axis. In both chart variations, the data series are plotted along the z axis. This chart type allows you to compare data within a data series more easily and still be able to view the data by category.

3-D Line Chart Type This chart type shows a 3-D view of a line chart as 3-D ribbons. This chart type is often used to display data attractively for presentations.

3-D Pie Chart Type This chart type shows a 3-D view of a pie chart, which emphasizes the data values in the front wedges. A pie chart always contains one data series. If more than one data series is selected when creating a pie chart, only one data series will be displayed. To display more than one data series in a round chart format, use the doughnut chart type.

3-D Surface Chart Type This chart type shows a 3-D view of what appears to be a rubber sheet stretched over a 3-D column chart. Surface charts are useful for finding the best combinations between two sets of data. This chart can be used to show relationships between large amounts of data that may otherwise be difficult to see. As in topographic maps, colors or patterns indicate areas that are of the same value. The colors do not mark the data series. The "wire frame" format displays the data in black and white. The contour chart formats provide a 2-D view of the data from above, similar to a 2-D topographic map. Ref: เว็บไซต Microsoft.com

111

ภาคผนวก 2 Keyboard Shortcut Document actions Open a file

CTRL+O

New file

CTRL+N

Save As

F12

Save

CTRL+S

Print

CTRL+P

Find

CTRL+F

Replace

CTRL+H

Go to

F5

Cursor Movement One cell up

up arrow

One cell down

down arrow

One cell right

Tab

One cell left

SHIFT+Tab

Top of worksheet (cell A1)

CTRL+Home

End of worksheet (last cell with data)

CTRL+End

End of row

Home

End of column

CTRL+left arrow

Move to next worksheet

CTRL+PageDown

Formulas Apply AutoSum

ALT+=

Current date

CTRL+;

Current time

CTRL+:

Spelling

F7

Help

F1

Macros

ALT+F8

Selecting Cells All cells left of current cell

SHIFT+left arrow

All cells right of current cell

SHIFT+right arrow

Entire column

CTRL+Spacebar

Entire row

SHIFT+Spacebar

Entire worksheet

CTRL+A

Text Style Bold

CTRL+B

Italics

CTRL+I

Underline

CTRL+U

Strikethrough

CTRL+5

112

Formatting Edit active cell

F2

Format as currency with 2 decimal places

SHIFT+CTRL+$

Format as percent with no decimal places

SHIFT+CTRL+%

Cut

CTRL+X

Copy

CTRL+C

Paste

CTRL+V

Undo

CTRL+Z

Redo

CTRL+Y

Format cells dialog box

CTRL+1

สารบัญ บทที่ 1 แนะนํา Microsoft Excel ............................................................................................................................1 ความสามารถของโปรแกรม .........................................................................................................................1 การใชงานโปรแกรม.......................................................................................................................................2 หนาตางโปรแกรม ...........................................................................................................................................2 แถบสูตร และแถบแสดงสถานะ ............................................................................................................3 แผนงาน (Sheet)..........................................................................................................................................3 เซลล (Cell)...................................................................................................................................................3 แถบคําสั่ง (Menu Bar) ......................................................................................................................................3 แถบเครื่องมือ (Toolbar)...................................................................................................................................4 แถบเครื่องมือแบบฝงตัว/แบบลอยตัว...................................................................................................5 รูจักแถบเครื่องมือ......................................................................................................................................5 ปุมเครื่องมือ................................................................................................................................................6 คียลัดควบคุมแถบคําสั่งและแถบเครื่องมือ..........................................................................................7 ปดโปรแกรม ....................................................................................................................................................7 ขอจํากัดตางๆ ของ Excel................................................................................................................................8 เทคนิคการทํางานกับขอมูล .................................................................................................................................9 การเลื่อน Cell Pointer .......................................................................................................................................9 ชวงขอมูล (RANGE) ......................................................................................................................................10 กรณีที่ใชเมาส...........................................................................................................................................10 กรณีใชแปนพิมพ ....................................................................................................................................10 เทคนิคเกี่ยวกับการกําหนดชวงขอมูล .................................................................................................11 สรางชวงขอมูลอยางรวดเร็ว .................................................................................................................12 คัดลอกขอมูล ..................................................................................................................................................12 ยายขอมูล .........................................................................................................................................................12 การยกเลิกการทํางาน (Undo).......................................................................................................................12 มุมมองจอภาพ (Zoom View) ........................................................................................................................12 คียลัดที่ควรทราบ...........................................................................................................................................13 การปอนและแกไขขอมูล ...................................................................................................................................14 ประเภทขอมูล ................................................................................................................................................14

114

ขอสังเกตในการปอนขอมูล ..................................................................................................................15 การแกไขขอมูล ..............................................................................................................................................16 การลบขอมูล ............................................................................................................................................16 เทคนิคการปอนขอมูล ..................................................................................................................................16 การปอนขอมูลในชวง ............................................................................................................................16 การปอนขอมูลที่มีคาซ้ํากันในชวงเดียวกัน .......................................................................................16 การปอนขอมูลหลายบรรทัดในเซลลเดียวกัน ...................................................................................16 หลักการปอนวันที่ ...................................................................................................................................17 คียลัดในการปอนวัน/เวลา .....................................................................................................................17 Auto Fill ............................................................................................................................................................17 AutoFill กับตัวเลข ....................................................................................................................................18

สราง AutoFill ............................................................................................................................................19 เพิ่มหมายเหตุ (Comment)..............................................................................................................................20 Paste Special......................................................................................................................................................20 จัดการไฟล ............................................................................................................................................................21

จัดเก็บเอกสาร (Save) ....................................................................................................................................21 ปดไฟลเอกสาร (Close).................................................................................................................................22 สรางเอกสารใหม...........................................................................................................................................22 สรางเอกสารใหมจากแมแบบ .....................................................................................................................23 Import Text File ................................................................................................................................................23 การนําเขาไฟลขอมูลจาก MS Access ..........................................................................................................25

การคัดลอกไฟลสูแผนดิสก หรือสื่อบันทึกอื่นๆ.....................................................................................26 การกําหนดคุณสมบัติของเอกสาร .............................................................................................................26 การคนคืนเอกสาร..........................................................................................................................................27 การตั้งชื่อแฟมเอกสารที่ตองแลกเปลี่ยนกัน ............................................................................................28 ขอกําหนดการสงเอกสารอิเล็กทรอนิกสผานเครือขายอินเทอรเน็ต.............................................28 จัดการแผนงาน.....................................................................................................................................................29 การขยาย-ลดความกวางของคอลัมน .........................................................................................................29 การแทรกแถว/คอลัมน .................................................................................................................................30 การลบแถว/คอลัมน ......................................................................................................................................30 Tab Sheet...........................................................................................................................................................30 การเปลี่ยนแผนงาน .................................................................................................................................30

115

การเปลี่ยนชื่อแผนงาน ...........................................................................................................................30 การลบแผนงานออกจาก WorkBook.....................................................................................................30 การแทรกแผนงานใหมลงใน WorkBook.............................................................................................30 การยายตําแหนงแผนงาน.......................................................................................................................30 การสําเนาแผนงาน ..................................................................................................................................30 การสําเนาชีตขามไฟล ............................................................................................................................31 การปอนขอมูลลงใน Sheet หลาย Sheet...............................................................................................31 จัดแตงขอมูล .........................................................................................................................................................32 Formatting Toolbar ...........................................................................................................................................32 จัดขอมูลอยูกึ่งกลางชวง .........................................................................................................................32

จัดแตงขอมูลตัวเลข .......................................................................................................................................33 จัดรูปแบบตัวเลขหลักลาน ....................................................................................................................34 จัดตัวเลขผสมขอความ ...........................................................................................................................34 การยกเลิกรูปแบบการแสดงผลขอมูลตัวเลข จากเมนูคําสัง่ .................................................................35 การแสดงผลวันที่/เวลา .................................................................................................................................35 จัดแตงขอมูลดวย Style..................................................................................................................................36 จัดแตงขอมูลดวย AutoFormat......................................................................................................................36 เสนขอบเซลล (Borders) ................................................................................................................................36 จัดแตงดวยกราฟก .........................................................................................................................................36 Clip Art .......................................................................................................................................................37 การนําภาพจากแหลงอื่นๆ มาใชงาน...................................................................................................37

จัดการเกี่ยวกับรูปภาพ ............................................................................................................................38 เครื่องมือวาดภาพ ....................................................................................................................................40 การพิมพขอมูลในรูปวาด .......................................................................................................................42 การจัดแตงวัตถุ.........................................................................................................................................42 อักษรศิลป .................................................................................................................................................42 Drawing & Formula/Function ..........................................................................................................................42 การคํานวณคา .......................................................................................................................................................43

ผลรวมอัตโนมัติ (Autosum)..........................................................................................................................43 การคํานวณดวยสูตร (Formula)....................................................................................................................44 คาที่ใชในการคํานวณ .............................................................................................................................44 ลําดับความสําคัญของเครื่องหมายการคํานวณ .......................................................................................44

116

ขอมูลเกี่ยวกับสูตร.........................................................................................................................................45 เชื่อมขอมูลเขาดวยกัน ..................................................................................................................................45 การคํานวณแบบสัมบูรณ .............................................................................................................................46 การคํานวณดวยฟงกชนั สําเร็จรูป (Function).............................................................................................48 รูปแบบฟงกชนั ........................................................................................................................................48 Range name.......................................................................................................................................................49 การแกไข Range name..............................................................................................................................50 Function Wizard..........................................................................................................................................50 ฟงกชันหมวด Math and Trigonometry...................................................................................................51

ฟงกชันหมวด Text and Data...................................................................................................................52 สูตรปดตัวเลข...........................................................................................................................................52 ฟงกชันสุมคาตัวเลข................................................................................................................................55 สรางชุดขอมูลใหมจากการรวมเซลล ..................................................................................................55 ฟงกชันตรวจสอบคาผิดพลาด (Error)..................................................................................................56 การคํานวณวันที่.............................................................................................................................................56 ฟงกชันวันที่/เวลา ....................................................................................................................................56 =DATE(year,month,day)............................................................................................................................57 คํานวณหาอายุ, อายุงาน (ป) ..................................................................................................................57 วันหยุดเสาร/อาทิตย................................................................................................................................58 คํานวณวันทํางานไมรวมวันหยุด .........................................................................................................59 คํานวณคาวันสุดทายของเดือน (วันสิ้นเดือน)...................................................................................60 คนหาคาสุดทายของชวงขอมูล .............................................................................................................60 หาคามากที่สุด หรือคานอยทีส่ ุด ..........................................................................................................61 คนหาลําดับทีข่ องคาตัวเลขที่สนใจ .....................................................................................................61 ผลรวมแบบมีเงื่อนไข .............................................................................................................................62 คาเฉลี่ยแบบมีเงื่อนไข ............................................................................................................................62 ตรวจสอบเปรียบเทียบขอมูล ................................................................................................................63 ตรวจสอบจํานวนขอมูลซ้ําในชวง .......................................................................................................64 การคํานวณแบบมีเงื่อนไข .....................................................................................................................65 การคํานวณแบบ IF ซอน IF (เงื่อนไขซอนเงื่อนไข).........................................................................65 การสั่งพิมพเอกสาร .............................................................................................................................................67

117

สั่งพิมพเอกสารอยางรวดเร็ว .......................................................................................................................67 กําหนดหนากระดาษ (Page Break) ..............................................................................................................68 แสดงภาพตัวอยางกอนพิมพ .......................................................................................................................68 กําหนดลักษณะกระดาษ และงานพิมพ ....................................................................................................68 คาควบคุมลักษณะกระดาษ ...................................................................................................................69 คาควบคุมขอบกระดาษ..........................................................................................................................69 คาควบคุมหัวกระดาษ/ทายกระดาษ ....................................................................................................70 คาควบคุมแผนงาน ..................................................................................................................................70 นําเสนอขอมูลดวยกราฟ ....................................................................................................................................71 รูปแบบกราฟและแผนภูมิ และการเลือกใชงาน .....................................................................................71 ตาราง (Table) ............................................................................................................................................71 กราฟวงกลม (Pie Graph).........................................................................................................................71 กราฟแทง (Bar Graph)..............................................................................................................................71 กราฟแทงเดี่ยว..........................................................................................................................................72 กราฟแทงกลุม ..........................................................................................................................................72 กราฟเสน (Line Graph).............................................................................................................................72 คําอธิบายกราฟ (Legend).........................................................................................................................72 คําอธิบายแกนกราฟ (X/Y Title) ............................................................................................................72 การจัดเตรียมขอมูล........................................................................................................................................72 สรางกราฟดวย Function Rept.......................................................................................................................73 สรางกราฟดวย Chart Wizard........................................................................................................................74 ขั้นตอนที่ 1 สรุปขอมูลใหอยูในรูปตาราง ..........................................................................................74 ขั้นตอนที่ 2 กําหนดชวงขอมูลสรางกราฟ..........................................................................................75 ขั้นตอนที่ 3 สรางกราฟแบบ Wizard.....................................................................................................75 ขั้นตอนที่ 4 เลือกประเภทของกราฟ....................................................................................................75 ขั้นตอนที่ 5 ระบุแหลงขอมูลที่นํามาสรางกราฟ (Data Source) .......................................................76 ขั้นตอนที่ 6 ระบุรายละเอียดตางๆ ในการนําเสนอกราฟ ................................................................77 ขั้นตอนที่ 7 ระบุชีทที่จะนําเสนอกราฟ...............................................................................................77 องคประกอบของกราฟ ................................................................................................................................78 เปลี่ยนรูปแบบกราฟ .....................................................................................................................................78 ยอ/ขยายกราฟ ..........................................................................................................................................79

118

ปรับแกไของคประกอบของกราฟ .............................................................................................................79 Data Series / Data Point..............................................................................................................................79 สี ลักษณะของกราฟ ...............................................................................................................................80

แกน Y 2 เสน ............................................................................................................................................80 ปรับแตงแกน Y........................................................................................................................................81 Waterfall chart ............................................................................................................................................82 ยายตําแหนงของแกน Y .........................................................................................................................82

เพิ่มคําอธิบายแกน ...................................................................................................................................83 เพิ่มขอมูลหรือปรับเปลี่ยนแหลงขอมูล ..............................................................................................83 Tornado Graph ..................................................................................................................................................84 กราฟรูปภาพ ...................................................................................................................................................85

ปญหาการสรางกราฟเสน กรณีที่บางเซลลไมมีขอมูล ....................................................................86 Custom Chart ..............................................................................................................................................87 กราฟกับ Dynamic Text............................................................................................................................87

กราฟวงกลม .............................................................................................................................................88 การแยกสวนของกราฟวงกลม..............................................................................................................88 กราฟวงกลมผสม ....................................................................................................................................89 Gantt chart...................................................................................................................................................90 ชวงขอมูลกับการสรางกราฟ .................................................................................................................91

คาสูงสุด/คาต่ําสุดในกราฟ ....................................................................................................................92 XY Chart.....................................................................................................................................................93 Stock Chart..................................................................................................................................................93 3D Surface Graph .......................................................................................................................................94 ฐานขอมูลใน MS-Excel.......................................................................................................................................95

การจัดเตรียมขอมูล........................................................................................................................................95 การกรองขอมูลดวย AutoFilter.....................................................................................................................96 การดึงขอมูลกลับมาสูสภาพเดิม ..........................................................................................................96 การยกเลิกการกรองขอมูล .....................................................................................................................96 การกรองขอมูลตามเงื่อนไข ..................................................................................................................97 การระบุเงื่อนไข .......................................................................................................................................97 Advanced Filter.................................................................................................................................................97 รูปแบบเงื่อนไข ........................................................................................................................................98

119

การจัดเรียงขอมูล (Sorting) ...........................................................................................................................98 การจัดเรียงขอมูลแบบเงื่อนไขเดียว ....................................................................................................98 การจัดเรียงขอมูลแบบหลายเงื่อนไข ...................................................................................................98 การเรียงขอมูลมากกวา 3 เงื่อนไข ........................................................................................................99 การทํารายงานยอดสรุป (Sub - Total)........................................................................................................100 การยกเลิกการทํา Sub-Total..................................................................................................................101 ฟอรมขอมูล ..................................................................................................................................................101 การกําหนดเงือ่ นไขการกรองขอมูลในฟอรม..................................................................................101 ตารางรวมขอมูล (Consolidate) ...................................................................................................................102 ตารางสรุปสาระสําคัญ (Pivot Table).........................................................................................................103 ปรับแกไขตารางสรุปสาระสําคัญ ......................................................................................................105 เปลี่ยนฟงกชนั คํานวณ..........................................................................................................................105 ปรับแตงหมวดหมู.................................................................................................................................106 ภาคผนวก 1 ประเภทกราฟ ..............................................................................................................................108 Area Chart Type..............................................................................................................................................108 Bar Chart Type................................................................................................................................................108 Column Chart Type.........................................................................................................................................108 Line Chart Type ..............................................................................................................................................108 High-Low-Close and Open-High-Low-Close Chart SubTypes.....................................................................108 Pie Chart Type ................................................................................................................................................109 Doughnut Chart Type .....................................................................................................................................109 Radar Chart Type............................................................................................................................................109 XY (Scatter) Chart Type.................................................................................................................................109 3-D Area Chart Type ......................................................................................................................................109 3-D Bar Chart Type ........................................................................................................................................109 3-D Column Chart Type .................................................................................................................................110 3-D Line Chart Type.......................................................................................................................................110 3-D Pie Chart Type .........................................................................................................................................110 3-D Surface Chart Type..................................................................................................................................110 ภาคผนวก 2 Keyboard Shortcut .........................................................................................................................111