ด ละครซ ทคอมบ านน ม ร ก 5-2-55 กงกรรมกงเกว ยน

A Study of Architectural Values for Conserving Overseas Chinese Dwellings in Samphanthawong and Klong San Districks, Bangkok

A Study of Architectural Values for Conserving Overseas Chinese Dwellings in Samphanthawong and Klong San Districks, Bangkok

2. ใหม่หรือนางย้อย เป็นคนไทยที่แต่งกับคนจีน ตอนแรกเราบอก ทำไมเรียกอาม้า แต่อาม้าพูดไทยช้าดชัด ก็บางอ้อเพื่อนมันบอกตามเนื้อเรื่องเป็นคนไทยแต่งกับคนจีนนี่เอง

3.อาไชไม่แต่งกับพิไล นางย้อยจึงไปขอร้องลูกชายคนรองที่บวชเป็นพระ สึกพระมาแต่งเลยทีเดียว

4.แต่ไม่เข้าใจ นางชอบพิไลจริงๆหรือนางงกสินสอดทอง10บาทแต่พิไลก็เรียกทองอีกตั้ง10บาท

5.อาซาเจมจิเป็นลูกคนที่3 ดูตอนแรกจะไม่รู้ เพราะเราไม่ได้หาอ่านจากไหนมาเลย

6.นางย้อยทำให้เฟรช อริสรา ต้องไปเป็นช็อคการี

7.นางเอกรู้จักนางย้อยแต่ทำเป็นไม่รู้จัก

8.ชาวบ้านดูจากการแต่งตัวแล้วบอกว่ารู้ทันทีว่าเป็นช็อคการี อยากรู้ว่านิยายเป็นแบบนี้มัย ทำไมชาวบ้าน นางย้อยถึงรู้ว่าเป็นช็อคการีแต่แรก หรือนางเอกหรืออาไชบอกอาชีพตอนไหน

“กงเกวียนกำเกวียน” ไม่ใช่ “กงกรรมกงเกวียน” (๒ เมษายน ๒๕๕๐)

“กงเกวียนกำเกวียน” ไม่ใช่ “กงกรรมกงเกวียน”

เกวียน เป็นพาหนะที่คนไทยแต่ก่อนนิยมใช้ กงเกวียน คือ วงรอบของล้อเกวียน ส่วน กำเกวียน (คำว่า กำ เขียน ก ไก่ สระอำ) คือ ซี่ล้อซึ่งตรงกลางมีดุมที่มีรูสำหรับสอดเพลาเป็นแกนยึดล้อ ๒ ข้าง เมื่อกงเกวียนหมุนไปทางใด กำเกวียนก็หมุนตามไปทางนั้น ในภาษาไทยมีสำนวนเปรียบเทียบว่า กงเกวียนกำเกวียน หมายถึง การกระทำใด ๆ ที่มีผลต่อผู้กระทำนั้น ๆ เช่น เขาทำบาปมาตลอดชีวิต จึงต้องทุกข์ทรมานเช่นนี้ นี่แหละกงเกวียนกำเกวียน สำนวนนี้มักใช้กันผิด ๆ ว่า กงเกวียนกรรมเกวียน (คำว่า กรรม เขียน ก ไก่ ร หัน ม ม้า) เพราะเข้าใจว่า “กำ” ในสำนวนนี้คือ “กรรม” ซึ่งแปลว่า การกระทำ บ้างก็ใช้คำผิดและยังลำดับคำผิดเป็น “กงกรรมกงเกวียน” ก็มี ที่ถูกต้องคือ กงเกวียนกำเกวียน จำง่าย ๆ ว่า กง (ของ) เกวียน และ กำ (ของ) เกวียน

ที่มา : บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐ น.

กงกรรมเกิด กำเหนิดมี ที่ตัวสร้าง กงเกวียนอย่าง กงล้อ พอได้เห็น หมุนเวียนไป ไม่หยุด ดุจกรรมเวร เปลี่ยนผันเป็น ทุกข์สุข ทุกเวลา ผิดถูกผูก ใจไว้ ให้รับรู้ ผูกพันสู่ สีงดี มีคุณค่า ยึดมั่นไว้ ในวิถี ที่ดีมา ความดีพา พบสุข ไม่ทุกข์ใจ...

ความเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอน เหล่านี้คือสีงที่แน่นอน ทุกสีงมีความอนิจจัง มีความเปลี่ยนเป็นปกติ เมื่อมีเกิด ย่อมมีการตั้งอยู่และดับสูญไปในที่สุดเป็นปกติ ไม่มีอะไรที่จิรังยั่งยืน ถ้าเรามัวยึดมั่นว่าสีงเหล่านั้นเป็นของเราจะอยู่กับเราตลอดไป เมื่อสูญเสียไปก็จะทำให้ใจเป็นทุกข์ การรู้จักปล่อยวาง ไม่ยึดติดผูกพัน ปลงได้ ไม่ทุกข์ร้อนกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้นกับเรา ใจเราก็ไม่ทุกข์ ไม่เศร้า ไม่เหงา ไม่ร้อน แค่ไม่ทุกข์ก็สุขใจได้แล้ว

ด ละครซ ทคอมบ านน ม ร ก 5-2-55 กงกรรมกงเกว ยน