เข อนลำแชะ บ านโนนก ม ต.โคกกระชาย อ.ครบ ร จ.นครราชส มา

1

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกลุ

2

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลติ กลุ

3

มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

จดั พมิ พเ์ ป็นทีร่ ะลกึ ในโอกาสเปน็ เจา้ ภาพ

ทอดกฐนิ สามคั คี

ณ วดั โนนกุม่ ตำ�บลโคกกระชาย อ�ำ เภอครบรุ ี จงั หวัดนครราชสมี า วันที่เสารท์ ่ี ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลิตกุล

4

หนงั สอื กฐนิ สามัคคี มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลิตกลุ จัดพิมพ์เปน็ ทร่ี ะลึก ในโอกาสเปน็ เจ้าภาพทอดกฐินสามคั คี ณ วัดโนนกมุ่ ต.โคกกระชาย อ.ครบรุ ี จ.นครราชสมี า วนั ที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาพหนา้ ปก วดั โนนกมุ่ ภาพปกหลัง วัดโนนกุ่ม

ถา่ ยภาพโดย ฝ่ายปฏบิ ัติการคณะนิเทศศาสตร์ จดั ท�ำ โดย คณะกรรมการฝ่ายจดั ทำ�หนังสือท่รี ะลกึ

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลติ กุล

5

กำ�หนดการสมโภชและถวายผ้ากฐนิ

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา

โรงเรยี นเกียรติคณุ วทิ ยา ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ถวาย ณ วดั โนนกุ่ม ตำ�บลโคกกระชาย อ�ำ เภอครบุรี จงั หวัดนครราชสีมา วนั ที่ ๑๖ - ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓

วันศกุ ร์ท่ี ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓

เวลา ๑๓.๐๐ น. พธิ สี มโภชผ้ากฐิน - แขกผ้มู ีเกียรติ ผู้บรหิ าร คณาจารย์ บคุ ลากร นักเรียน และนกั ศึกษา ทง้ั ๓ สถาบนั พรอ้ มกัน ณ หอประชมุ วงษ์ชวลิตกลุ มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกลุ

เวลา ๑๓.๓๐ น. - ประธานในพิธี จดุ ธูปเทยี นบชู าพระรัตนตรัย - พระสงฆเ์ จริญพระพุทธมนต์ - ประธานสงฆ์กล่าวสัมโมทนียกถา - ถวายจตุปัจจยั และเครอ่ื งไทยธรรม - กรวดนำ้� รับพร กราบลาพระรตั นตรัย - ถา่ ยภาพรว่ มกนั - เสรจ็ พิธี

มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กลุ

6

วนั เสารท์ ่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๖๓ พิธีถวายผ้ากฐิน

เวลา ๐๘.๐๐ น. ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ไปยังวัดโนนกุ่ม ตำ�บลโคกกระชาย อำ�เภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา เวลา ๐๙.๓๐ น. แขกผู้มีเกียรติ ผู้บริหาร ครู คณาจารย์ บุคลากร นักเรียน นักศึกษา ทั้ง ๓ สถาบัน พร้อมกัน ณ ศาลาการเปรียญ

วัดโนนกุ่ม ตำ�บลโคกกระชาย อำ�เภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา

เวลา ๑๐.๐๐ น. ประธานในพิธี จุดธปู เทียนบชู าพระรัตนตรยั - พิธีกรดำ�เนนิ การตามพธิ ถี วายผา้ กฐนิ - พระสงฆ์ทำ�พธิ ีกฐนิ กรรม - ถวายจตปุ จั จยั และเคร่ืองไทยธรรม - กรวดน้ำ� รับพร เวลา ๑๑.๐๐ น. ถวายภตั ตาหารเพลแดพ่ ระสงฆ์

หมายเหตุ การแต่งกายชุดผ้าไทย หรอื ชดุ สุภาพ

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กุล

7

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกลุ

8

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลติ กลุ

9

ค�ำ น�ำ

การทอดกฐินเป็นประเพณีนิยมท่อี ย่คู ่กู ับพุทธศาสนิกชนไทยมาช้านาน สันนิษฐานว่าเร่ิมมีมาต้ังแต่สมัยทวารวดีและมีหลักฐานปรากฏชัดเจนในสมัย กรุงสโุ ขทัยเป็นราชธานี ชาวพทุ ธในประเทศไทย ใหค้ วามสำ�คัญกบั ประเพณี การทอดกฐนิ โดยถือวา่ เปน็ งานบญุ ทสี่ �ำ คญั สบื ทอดกันมาจนถึงปจั จุบนั จงึ เชือ่ กันว่าการทอดกฐินก่อให้เกิดพลานิสงฆ์อย่างสูงต่อพระภิกษุผู้กรานกฐินและ พุทธศาสนิกชนผมู้ ีสว่ นร่วม ในการทอดกฐนิ เพ่อื เป็นการท�ำ นุบำ�รงุ พระพทุ ธ ศาสนาให้เจริญรงุ่ เรอื ง เป็นมรดกทางวฒั นธรรม และเสริมสร้างความสมัคร สมานสามคั คีในหมพู่ ทุ ธบรษิ ัท สอดคล้องกับหนง่ึ ในพนั ธกิจของมหาวิทยาลัย คอื การท�ำ นบุ ำ�รงุ ศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ ควบคู่กับการผลติ บณั ฑติ ท่มี คี ณุ ภาพ สนับสนุนการวิจัย สง่ เสริม การบริการวิชาการสู่ชุมชนเข้มแข็งและเป็นที่ ยอมรบั มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรด กระหม่อมพระราชผ้าพระกฐินนำ�ไปถวาย ณ พระอารามหลวง และถวาย ผ้ากฐนิ ณ วัดตา่ ง ๆ รวมทัง้ การจดั พมิ พห์ นังสอื เปน็ ท่รี ะลกึ เป็นประจ�ำ ทกุ ปี สำ�หรบั ปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๓ น้ี มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกุล วิทยาลัยเทคโนโลยี ช่างกล พณิชยการนครราชสีมา และโรงเรียนเกียรติคุณวิทยาได้ขอรับเป็น เจ้าภาพถวายผ้ากฐินเพื่อสมทบทุน สร้างศาลาการเปรียญ ทอดถวาย ณ วัดโนนกุ่ม ตำ�บลโคกกระชาย อำ�เภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา วดั โนนกมุ่ นามเดมิ ชอ่ื วดั กดุ โคลนตง้ั อยทู่ ห่ี มบู่ า้ นกดุ โคลน ต�ำ บลโคกกระชาย อ�ำ เภอครบรุ ี จังหวัดนครราชสมี า ช่ือวัดโนนกุ่มมที มี่ าจากการต้ังชื่อตามหม่บู ้านท่มี ปี ่าไมก้ ่มุ เกดิ ข้ึนอย่างหนาแนน่ ปัจจุบันพระอธกิ าร ยงยทุ ธ ฐิตสาโร ดำ�รงต�ำ แหน่งเจา้ อาวาส วัดโนนก่มุ องคป์ จั จุบัน

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกลุ

10

การถวายผ้ากฐินครั้งนี้ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลได้จัดทำ�หนังสือเพื่อ เป็นท่ีระลกึ แกพ่ ทุ ธศาสนิกชน และผูม้ จี ิตศรทั ธารว่ มอนโุ มทนาในการถวายผ้ากฐิน การจัดพิมพ์สำ�เร็จได้ด้วยความร่วมมือร่วมใจ ของญาติธรรมผู้มีจิตศรัทธา หลายฝ่ายที่ให้การสนับสนุนจัดพิมพ์หนังสือ จึงขออนุโมทนาผู้มีกุศลจิตทุกฝ่าย ท่รี ่วมบ�ำ เพญ็ เปน็ จรยิ า ทัง้ ในสว่ นท่ีเปน็ ไวยาวจั มยั และบรจิ าควัตถปุ จั จัยไทยธรรม ร่วมในงานกฐินครั้งนี้ ขออานิสงส์ผลบุญที่ได้ร่วมกันถวายผ้ากฐินครั้งนี้ จงดลบันดาลใหท้ ุกท่านเจรญิ ดว้ ยอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ปฏภิ าณ ธนสารสมบตั ิ ตลอดกาลนานเทอญ

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ตลุ าคม ๒๕๖๓

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

11

สารบญั ประวัตวิ ดั โนนกุ่ม ๑๒

การสรา้ งเสริมสขุ ภาพและการปอ้ งกันโรคในวยั สูงอาย ุ ๑๘

“ออมบุญ” แล้วมา “ออมเงนิ ” กนั เถอะ ๒๔

การปอ้ งกนั ตนเองจากไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ๒๗

ความเส่ยี งเมอื่ ถึงวัยผู้สงู อาย ุ ๓๑

สถาปัตยฯ์ ม.วงษ์ฯ บูรณาการการเรยี นการสอนสกู่ ารพฒั นาชุมชน ๓๕

การขอประกนั ตวั ในคดีอาญา ๔๒

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งที่เนน้ ทางสายกลาง

: มโนทศั นเ์ พ่อื การดำ�เนินชีวิตอนั ประเสรฐิ ๕๐ แนวคดิ การใช้ชน้ั น้�ำ ใดด้ นิ ประดิษฐ์ร่วมกบั

แนวพระราชดำ�รเิ รอื่ ง “การใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ตามแนวทฤษฎใี หม่” ๖๘

ประวัตมิ หาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกุล ๗๒

หลกั สูตรการเรียนการสอนมหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกลุ ๗๘

รายนามคณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กลุ ๗๙

รายช่ือคณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัยวงษช์ วลติ กลุ ๘๐

ค�ำ สงั่ มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกลุ ๘๑

รายนามผู้บริจาคกฐินสามคั คี ๘๘

ท้ายเล่ม ๙๒

มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ

12

ประวตั วิ ัดโนนกุ่ม

ตำ�บลโคกกระชาย อำ�เภอครบรุ ี จังหวดั นครราชสมี า

วัดโนนกมุ่ นามเดิม ช่ือวัดกดุ โคลน ต้งั อยู่ที่หม่บู า้ นกดุ โคลน ต�ำ บลโคกกระชาย อำ�เภอครบุรี จังหวดั นครราชสมี า อยู่ตดิ กับล�ำ น�้ำ แชะ มีเนอื้ ท่ปี ระมาณ ๓ไร่ ๓งาน เหตุที่ตอ้ งโยกยา้ ยไปสรา้ งท่ใี หม่ เพราะวัดกุดโคลนเป็นที่ราบลมุ่ เกดิ การกัด เซาะของสายน้ำ�ลำ�แซะท่ีไหลตดั ผา่ น เมื่อฤดฝู นจะมนี ้ำ�ปา่ หลากมาอยา่ งมากมาย ทำ�ให้น้ำ�ท่วมวัดและบ้านเรือนเกือบทุกหลังชาวบ้านกุดโคลนจึงได้โยกย้ายไปหาที่ โนนสูง เพ่อื สร้างท่อี ยูอ่ าศยั ใหม่ ชาวบ้านสมัยนั้นเห็นพรอ้ งต้องกนั วา่ พน้ื ทๆ่ี เป็น โนนปา่ ตน้ กุม่ เหมาะสมเป็นชยั ภูมไิ ม่ไกลจากแหลง่ นำ้� จงึ ไดต้ ้งั เปน็ หมู่บา้ น เรียก ว่าบ้านโนนกมุ่ ตัง้ แต่พุทธศักราช ๒๔๗๐ เปน็ ต้นมา

มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลติ กลุ

13

โดยพ้ืนฐานและวิถีชีวิตของชาวบ้าน ที่มีความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาเม่ือมี หมู่บ้านก็ต้องมีวัดจึงได้หาที่สร้างวัดเพ่ือ ประกอบศาสนกิจในการบำ�เพ็ญบุญกุศลและ เปน็ ที่อยู่จ�ำ วัดของพระภกิ ษสุ งฆ์ โดยได้รบั กำ�ลังศรัทธาจากนายเณร รวงกระโทก เป็นผู้ถวายทด่ี นิ ใหส้ รา้ งวดั เมื่อปพี ุทธศักราช ๒๔๗๐ ได้ต้งั ช่อื วดั ว่า วัดโนนกุ่ม ตามชือ่ หม่บู ้านท่มี ีป่าไม้กมุ่ เกิดขน้ึ อยา่ งหนาแนน่ วัด โนนกมุ่ มีพื้นที่ ๑๒ ไร่ ๙๘ ตารางวา ไดส้ รา้ ง กุฏิสงฆ์เรือนไม้ ได้สร้างอุโบสถ เสาไม้มะค่า ๑ หลงั ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๘ ได้รับ ใ บ อ นุ ญ า ต วิ สุ ง ค า ม สี ม า เ มื่ อ เ ดื อ น ๔ ปี พุทธศักราช๒๔๙๙ มเี จา้ อาวาสปกครองดูแล ตามลำ�ดับดังน้ี

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล

14

๑ หลวงพอ่ นอ้ ย ๒ อาจารย์บุญ ๓ อาจารยโ์ ปย ๔ อาจารยม์ า ๕ อาจารยภ์ ู่ ๖ อาจารยส์ อน ๗ อาจารย์บญุ ๘ อาจารย์สวย ๙ อาจารย์ฉวี ๑๐ พระอธกิ ารทัด ฉนทกโร ๑๑ พระอธิการยงยทุ ธ ฐติ สาโร ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นเจา้ อาวาสองค์ปจั จบุ ัน

เมื่อวันที่๒๒ มกราคม ๒๕๓๑ กรมศาสนารับรอง ว่าวัดโนนกุ่มเป็นวัดสมบูรณ์ ตามมาตรา๓๑ ตามพระราช บัญญัติคณะสงฆ์

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกลุ

15

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกุล

16

มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลติ กลุ

17

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกุล

18

การสร้างเสริมสขุ ภาพและการป้องกันโรคในวัยสูงอายุ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วัลภา สุนทรนฏั การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ และการปอ้ งกันโรคในผ้สู งู วัย เนอ่ื งจากสงั คมไทยเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ ซง่ึ มกี ารเปลย่ี นแปลง ทง้ั รา่ งกาย อารมณ์ สังคม พบกบั ความเส่ือมถอย เราจึงต้องสรา้ งเสรมิ ให้ผสู้ ูงอายุมีคณุ ภาพ ชีวิตที่ดี มสี ุขภาวะ เชื่อว่าการเสริมพลังอำ�นาจให้กับผู้สูงอายุด้วยกิจกรรมการสร้าง เสริมสุขภาพเป็นสิ่งที่ผู้สูงอายทุ กุ ช่วงวยั ทำ�ไดด้ ว้ ยตนเองตามกำ�ลงั ความสามารถ ทมี่ อี ยู่ เนอื้ หาต่อไปนี้ จะกลา่ วถึงการสร้างเสรมิ สุขภาพง่าย ๆ ท่ผี ู้สงู อายุทกุ คน สามารถท�ำ ได้ ตามหลัก ๓ อ. ๒ ส. ๑ ฟ. เพื่อชีวติ สดใสในวัยสงู อายุ อ. ท่ี ๑ อาหาร อาหารและโภชนาการส�ำ หรบั ผ้สู งู อายุ ควรลดลง เน่อื งจากอตั ราการเผา ผลาญและกิจกรรมในชวี ติ ประจ�ำ วนั ลดลง แตไ่ ดส้ ารอาหารครบถว้ น โดยวิตามิน และเกลอื แร่ไมล่ ดลง ปริมาณอาหารแต่ละชนิดที่ควรได้รับต่อวัน พิจารณาตามธงโภชนาการ ของส�ำ นกั โภชนาการกองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข คือ

๑. ข้าว แปง้ เผือก มนั เชน่ ขา้ วควรรับประทานวนั ละ ๔-๖ ทัพพี ๒. พชื ผกั ตา่ ง ๆ วันละ ๔-๖ ทพั พี ผลไม้ตา่ ง ๆ วนั ละ ๓-๔ สว่ น ๓. นมวันละ ๑-๒ แก้ว เนือ้ สัตว์ วนั ละ ๙ ขอ้ นกินข้าว ๔. ไขมัน น�ำ้ ตาล เกลอื ปรมิ าณน้อย

มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลิตกุล

19

หลกั ในการบรโิ ภคอาหารสำ�หรับผ้สู ูงอายุ ๑. ควรบรโิ ภคอาหารเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย และครบทง้ั ๕ หมู่ ๒. ควรบริโภคบอ่ ยครั้งแตป่ ริมาณลดลงในแตล่ ะม้อื ๓. ควรลดอาหารประเภทท่ีมีไขมันสงู เช่น อาหารทอด เนือ่ งจากการย่อย และการดดู ซึมไขมนั ในผสู้ งู อายุ ลดน้อยลง อาจทำ�ให้ท้องอืดแนน่ อึดอัด ๔. ควรเลือกเนื้อสัตว์ที่มีลักษณะอ่อนนุ่ม เช่น เนื้อปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ ติดมนั สับละเอียด ๕. ควรงด/ลดการบรโิ ภคอาหารรสจัด เครอื่ งดม่ื ท่มี ีแอลกอฮอล์ ๖. ควรดื่มนมพรอ่ งมันเนยวันละ ๑-๒ แกว้ และน�ำ้ ๖-๘ แกว้ (ตามสภาพ ของโรคประจำ�ตัว) ๗. สำ�หรับขนมหวานรับประทานได้แต่ไม่บ่อยและเลือกที่มีประโยชน์ ต่อรา่ งกาน เชน่ เตา้ ส่วน ๘. ควรรับประทานอาหารตามสบายไม่เรง่ รบี เคย้ี วให้ละเอียด แนวทางในการบริโภคอาหารสำ�หรับผู้สูงอายุและพลังงานที่ควรได้รับจาก อาหารส�ำ หรับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุควรรบั ประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ แต่ละหมูใ่ ห้หลากหลาย ได้พลังงานตามต้องการ และหมั่นดูแลน้ำ�หนักตัว กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ แนะน�ำ ใหผ้ ู้สูงอายุ ๖๐ ปีข้นึ ไป ควรรบั อาหารวนั ละประมาณ ๑,๖๐๐ กโิ ลแคลอรี สรปุ อาหาร สะอาด ครบ ๕ หมู่ ปริมาณพอเหมาะ อ่อนนุ่ม เค้ียวง่าย ยอ่ ยงา่ ย รสไมจ่ ัด หวาน มนั เค็ม น้อย ๆ ใยอาหารมาก ดมื่ น�้ำ เพียงพอ โดยใชส้ ูตรอาหาร ๒:๑:๑ ใน ๑ จาน ควรมผี กั ๒ ส่วน แป้ง ๑ สว่ น และโปรตนี ๑ สว่ น และลดหวาน มนั เค็ม

มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกลุ

20

อ. ที่ ๒ การออกก�ำ ลงั กาย การออกก�ำ ลังกาย คอื การเคลื่อนไหวออกแรงของรา่ งกาย ให้มีการยดื หด ของกล้ามเนื้อ รวมทั้งการเคลื่อนไหวข้อ อย่างมีแบบแผน เป็นระบบต่อเนื่อง เพือ่ เสรมิ สร้างความแขง็ แรงของรา่ งกาย สำ�หรับผสู้ ูงอายุ การออกกำ�ลังกายอย่างสม่ำ�เสมอช่วยเสริมสร้างความ สมบรู ณ์ ชะลอความเสอื่ มของอวยั วะตา่ ง ๆ ลดปจั จยั เสีย่ งต่อการเกดิ โรคหวั ใจ และหลอดเลอื ด สมอง แตต่ อ้ งค�ำ นงึ ถงึ ความสามารถและขอ้ หา้ มกรณมี โี รคประจ�ำ ตวั ซ่ึงต้องปรกึ ษาแพทย์ ๒. ลกั ษณะการออกก�ำ ลังกาย การออกก�ำ ลังกาย แบง่ ตามประโยชนท์ ีเ่ กดิ ข้ึนได้ ๓ กลมุ่ ใหญๆ่ คือ ๑. การออกกำ�ลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพปอดและหัวใจ โดยเป็น กิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนมากที่สุดในเวลาที่กำ�หนดประมาณ ๑๕-45 นาที ประมาณ ๓-๕ ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งได้แก่ การเดินเร็ว การวิ่งเหยาะ การว่ายน้ำ� ปั่นรถจักรยาน เปน็ ต้น ๒. การออกก�ำ ลงั กายเพอ่ื ความยดื หยนุ่ และผอ่ นคลาย ไดแ้ ก่ กายบริหาร ในท่าต่าง ๆ โยคะ รำ�มวยจีน เปน็ ตน้ ๓. การออกกำ�ลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานของ กล้ามเนื้อ ได้แก่ การออกแรงดึง การยกน้ำ�หนกั เป็นตน้ ๓. ข้นั ตอนการออกกำ�ลังกายที่ถกู ตอ้ ง ประกอบด้วย ข้ันตอนท่ี ๑ การอบอนุ่ รา่ งาย (Warm up)ใช้เวลาประมาณ ๕-๑๐ นาที เปน็ การเตรียมความพร้อม เพื่อให้อุณหภมู ขิ องร่างกายเพ่ิมขน้ึ ชา้ ๆ มีการประสาน กันของประสาทและกล้ามเนื้อ การหายใจและระบบไหลเวียนเลือดดีขึ้น เชน่ แกวง่ แขน สะบัดแขน สะบัดขา วงิ่ เหยาะอยกู่ ับที่ ข้นั ตอนท่ี ๒ การออกก�ำ ลังกายอยา่ งจริงจัง (Exercise) ใชเ้ วลาประมาณ ๑๐-๒๐ นาที เปน็ การออกก�ำ ลงั กายทม่ี ผี ลใหห้ วั ใจและปอดท�ำ งานมากขน้ึ เพม่ิ การ

มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลิตกลุ

21

สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ และร่างกายได้นำ�ออกซิเจนในอากาศไปใช้เป็น พลังงาน โดยพิจารณาจากความรู้สึกขณะออกกำ�ลังกายว่าถ้าเหนื่อยเกินไป แสดงวา่ หนักมาก ขน้ั ตอนท่ี ๓ การผอ่ นคลายใหร้ า่ งกายเยน็ ลง (Cool down) โดยคอ่ ย ๆ ผ่อนและหยุด ใชเ้ วลาประมาณ ๕-๑๐ นาที ถ้าหยดุ ทนั ทอี าจหน้ามืด เจบ็ แน่น หน้าอก เป็นลม ๔. มีข้อควรพจิ ารณาในการออกก�ำ ลงั กาย ดงั นี้ ๑. การออกก�ำ ลงั กายทม่ี คี วามหนักพอสมควร ไม่มากเกินไป (ไม่เหนอ่ื ย หอบมาก) ไม่น้อยเกินไป (ไม่รู้สึกเหนื่อยเลย) สังเกตว่าขณะออกกำ�ลังกาย ยังสามารถพูดคุยได้จบประโยค หรือโดยการนับชีพจรดงั กล่าวแลว้ ๒. ใช้เวลาในแต่ละครั้ง ประมาณครั้งละ ๒๕-๓๐ นาที ไม่เกิน ๔๐ นาที มคี วามสม�่ำ เสมอ 3-4 คร้งั ต่อสัปดาห์ ประโยชนข์ องการออกก�ำ ลงั กาย ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายกุ ารออกก�ำ ลงั กายเปน็ ยาอายวุ ฒั นะ ๑. ชะลอความชรา ความเส่ือมของอวยั วะต่าง ๆ การออกกำ�ลังกายที่ถกู ตอ้ ง เหมาะสม จะช่วยให้อวยั วะต่าง ๆ ลดความเสื่อมโทรม ๒. ช่วยให้การทรงตัวได้ดีขึ้น การออกกำ�ลังกายอยู่เสมอจะช่วยให้ กระฉบั กระเฉง วอ่ งไว ๓. สามารถควบคุมน้ำ�หนักได้การออกกำ�ลังกายที่ถูกต้อง ช่วยเผาผลาญ พลงั งาน ชว่ ยลดระดบั นำ้�ตาลและไขมนั ในเลอื ด ลดความดันโลหิตได้ ๔. สุขภาพจิตดี ลดความเครียด เพราะในการออกกำ�ลังกายที่เหมาะ สม รา่ งกายจะหลัง่ สาร เอ็นดอร์ฟนิ หรือสารสุข ทำ�ใหส้ ดช่ืน เบิกบาน มีความสขุ กระช่มุ กระชวย หนา้ ตาอ่ิมเอบิ สดใส ๕. ระบบหวั ใจและปอดแขง็ แรงขึน้ การออกก�ำ ลังกายที่ถูกตอ้ งจะชว่ ยให้ หวั ใจและปอดแข็งแรงขนึ้ ๖. ระบบทางเดนิ อาหารทำ�งานดีข้นึ

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลติ กลุ

22

สรปุ การออกกำ�ลังกายในผ้สู ูงอายุ เพอ่ื ชะลอความเสอ่ื มและปอ้ งกัน โรคมหี ลายวิธี วิธที ี่นิยมเป็นวิธีทเ่ี ป็นกิจกรรมเพือ่ เพม่ิ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ เพมิ่ ความทนทานของกล้ามเนือ้ เพ่มิ ความยดื หยนุ่ ของกล้ามเน้ือ เพมิ่ ความสมดลุ ของร่ายกาย ป้องกันการหกลม้ ในผ้สู งู อายแุ ละเพิม่ ความทนทานของหลอดเลอื ด หัวใจ คือ การออกก�ำ ลังกายแบบผสมผสาน เช่น การออกกำ�ลงั กายด้วยไม้พลอง ของป้าบุญมี

อ.ที่ ๓ อารมณ์

ผูส้ งู อายุควรอยดู่ ้วยความผาสุก ปรบั ตวั เขา้ กบั สงั คม และสภาพแวดล้อม มีกลุ่มเพื่อน กลุ่มกิจกรรม ช่วยให้คลายเหงา อยู่อย่างมีพลัง ไม่ท้อแท้ มีเครือข่ายสังคม ปรับตัว ปรับใจ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง เข้าถึงสัจธรรม ของศาสนา มีงานอดเิ รก ชว่ ยให้เพลิดเพลิน ชว่ ยเพิ่มสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจ ไดอ้ ย่ใู นส่งิ แวดลอ้ มทีโ่ ลง่ โปร่งสบาย ไร้ฝุ่น ควัน ออกรับแสงแดดอ่อน ๆ ตอนเช้า สดู ดมหายใจอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ คือ หายใจเข้า ... ท้องปอ่ ง (ปอดขยาย-กระบัง ลมถูกดนั ลง) หายใจออก ... ท้องแฟบ (ปอดยบุ ตัว-กระบังลมดนั ตวั ขน้ึ ) มีเทคนิค การผ่อนคลายหรอื การจัดการกบั ความเครยี ด ๒ ส. หลีกเลย่ี ง/งด สูบบหุ ร่ี ด่ืมอัลกอฮอล์ การเลิกบุหรีม่ ผี ลดี คือ ลดความเส่ยี งต่อโรคหัวใจ มะเร็งปอด มะเร็งปาก มะเร็งหลอดคอ ปอดพ้นื คืนปกติ เลกิ บหุ ร่ีไม่มคี ำ�ว่าสายเกินไป ต้งั ใจ ใหส้ ัญญา เลิกวนั น้ี เพ่อื สุขภาพท่ดี ีของคุณ และคนที่คุณรัก แคต่ งั้ เป้าหมาย หกั ดิบไม่ยาก อยา่ งทคี่ ิด ก็แค่ไมส่ ูบ และปรึกษาผ้ใู หค้ �ำ ปรกึ ษาดา้ นการเลกิ บุหร่ี โทษของสุราร้ายกว่าทีค่ ดิ เลกิ ไดแ้ ตอ่ ย่างหยุดทันที ต้ังเปา้ เลกิ เหล้าได้ ตัง้ ใจจริง เอาชนะใจตนเอง ทำ�เพอื่ คนที่เรารกั และรักเรา ตระหนักถงึ สขุ ภาพของ ตนเอง หาแรงบันดาลใจด้านบวกให้เป็นแรงบันดาลใจให้เลิกเหล้าได้ ค่อย ๆ ลดปริมาณ ดื่มสลับกับเครื่องดื่มไม่มี Alcohol ต้องรับประทานอาหารขณะดื่ม ท�ำ ตอ่ เนื่อง ลดปริมาณลงเรือ่ ย ๆ จนหยดุ ได้ มีปัญหาปรกึ ษา ๑๓๒๓ สายดว่ น สขุ ภาพจติ

มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกุล

23

๑ ฟ. คือ ฟนั สะอาด ตรวจสขุ ภาพฟนั เปน็ ประจ�ำ ปลี ะ ๒ ครง้ั ดแู ลรกั ษาความสะอาดฟนั ทกุ วนั โดยแปรงฟนั อย่างถกู วิธี อย่างน้อยวนั ละ ๒ ครั้ง งดอาหารหลงั แปรงฟัน ๒ ชม. เลอื กแปรงทข่ี นแปรงนมิ่ ปลายมน ใช้ไหมขดั ฟนั บริเวณที่แปรงเข้าไมถ่ งึ คนทใ่ี ส่ ฟันปลอม ไม่ควรใส่นอน เพราะอาจเกิดเชื้อราในช่องปาก คนที่ใส่ครอบฟัน ให้ใชไ้ หมขัดฟนั ใชไ้ ด้ทัง้ ฟันดแี ละฟนั ปลอม เพือ่ สขุ ภาพของปากและฟันทด่ี ี เอกสารอ้างอิง กอบกุล วฒุ วิ งศ.์ อาหารและโภชนาการส�ำ หรับผ้สู ูงอายุ. เอกสารประกอบการ อบรม เรอื่ งการสง่ เสริม สุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์ฝึกอบรมปฐมพยาบาลและสุขภาพอนามัย สภากาชาดไทย. บรรลุ ศริ ิพานชิ . ๒๕๓. สรา้ งกายใจให้แขง็ แรง. กทม. : สถาพรบุคส.์ ๒๕๕๓ ส�ำ นกั โภชนาการ กองโภชนาการ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพผู้สงู อายุ ด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส. ๑ ฟ. สิรริ ัตน์ ฉัตรชัยสุชา และพรรณงาม พรรณเชษฐ์. ๒๕๕๗ การดูแลเสริม สร้างสุขภาพผ้สู งู อายุ. NP Press Limited Partnership , กรงุ เทพฯ.

มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกลุ

24

“ออมบญุ ” แล้วมา “ออมเงิน” กนั เถอะ

บลั ลงั ก์ จงวฒั นานุกลู (ผูเ้ ขียน) ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓ คำ�กล่าวที่ว่า “ชีวิตคนเราไม่แน่ไม่นอน จะตายวันตายพรุ่งเมื่อไรก็ไม่รู้” ผู้เขยี นไดย้ ินมาตั้งแตเ่ ด็กๆ ก็ไมไ่ ดค้ ิดอะไร จนมาถงึ วยั กลางคน ผ่านประสบการณ์ ชวี ิตมาพอสมควร เร่มิ เห็นคนใกล้ตวั คนร้จู ัก ญาติผู้ใหญ่ ตา่ งล้มหายตายจากไป ทลี ะคน ก็มานั่งสะท้อนใจว่าคนเราตายแล้วไปไหนกันนะ พระท่านว่าถ้าทำ�ดี กข็ ้นึ สวรรค์ ทำ�ชัว่ ก็ตกนรก ฟังดูก็เข้าทา่ วา่ สวรรคก์ ค็ งจะนา่ ไป แตน่ รกนี่สนิ ่ากลวั แต่จะไปสวรรคไ์ ดก้ ต็ อ้ งเปน็ คนดี มีบุญกุศลเปน็ ใบเบกิ ทางอยู่บ้าง กย็ ังสงสัยอยวู่ ่า พระทา่ นเคยเห็นสวรรค์มาอย่างไร ไปเหน็ มาจรงิ หรือเปลา่ วันหนึ่งผู้เขียนมีโอกาสได้อ่านหนังสือเรื่องเล่าเก่ียวกับประวัติของหลวง พ่อชา สุภัทโท แห่งวัด หนองป่าพง อุบลราชธานี เรื่องมีอยู่ว่า แถวๆวัดมีลุง ขี้เมาอยู่คนหน่งึ มีนสิ ยั ชอบทา้ ทายพระ แกชอบกนิ เหลา้ เมายาอยู่เปน็ ประจ�ำ เวลา เมาก็โหวกเหวกโวยวายอยู่เป็นประจำ� และก็ชอบมาหาเรื่องท้าทายพระที่วัด มีอยู่วันนึงหลังจากที่เมาได้ที่ แกเข้ามาที่วัดก็ได้พบกับหลวงปู่พอดี หลวงปู่ก็ ตักเตือนแกถึงโทษของการดื่มเหล้า ตายไปเดี๋ยวตกนรก แกก็หันมาถามหลวงปู่ว่า ลุงข้เี มา : นรกกบั สวรรค์ มีจรงิ หรือเปลา่ ผมอยากรู้ ถา้ มจี รงิ ผมจะได้เลิกกินเหล้า จะได้ไม่ตกนรก หลวงปู่ : ฉันก็ไม่ร้นู ะ กย็ งั ไมเ่ คยเห็นเหมือนกัน ลุงขี้เมา : นั่นไง ผมว่าแล้ว แล้วหลวงปู่มาบอกให้ผมเลิกเหล้า ทำ�ดีอยู่ทำ�ไม ถ้าไม่รวู้ ่านรก สวรรค์ มีจรงิ หรอื เปลา่ หลวงปู่ : เอายงั งี้โยม สมมตวิ ่านรกกบั สวรรค์มันไม่มีจรงิ เราทำ�ไว้กไ็ มเ่ สยี เปลา่ นะ แตถ่ า้ เผอ่ื มนั มจี รงิ อาตมาวา่ เราท�ำ ดไี วไ้ มด่ กี วา่ เหรอ จะไดไ้ มต่ กนรกไงโยม สาธุ

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลติ กุล

25

ผู้เขียนอ่านถึงตรงนี้ก็คิดได้ว่าหลวงปู่ก็คงจะสอนให้เราไม่ประมาทนะ นรกกับสวรรค์ จะมีหรือไม่มี เราทำ�ดีไว้ก็ไม่เสียเปล่า แต่ถ้า นรกกับสวรรค์ มีอยู่จริง แล้วเราทำ�แต่ความชั่วก็คงต้องตกนรกแน่ๆ แล้วทำ�ไมเราไม่ทำ�แต่ ความดลี ่ะ คดิ ได้อย่างนัน้ กต็ ้องสะสมความดี สะสมบญุ ด้วยการออมบุญไว้เยอะๆ ทำ�บ่อยๆ อยา่ งน้อยเวลาตายไปจะได้ขึ้นสวรรคก์ บั เขานะ................. อันนั้นก็เป็นหนทางในการออมบุญ สะสมบุญไว้ไปสวรรค์หลังจาก ความตาย ทีนี้ตอนที่เรายังดำ�เนินชีวิตอยู่บนโลกนี้ล่ะ เดี๋ยวนี้ผู้คนก็มีอายุยืนยาว กนั มากขึน้ ดว้ ยความกา้ วหน้าทางการแพทย์ กว่าจะตายไปข้นึ สวรรคก์ ป็ าเข้าไป ๗-๘๐ ปี ตอนที่อยู่นี่ก็ต้องดิ้นรนหาเลี้ยงชีพกันน่าดู ยิ่งภาวะเศรษฐกิจเดี๋ยวนี้ ท้ังภาวะโรคระบาดสารพดั ไปหมด ท�ำ ใหห้ ลายๆครอบครัว หลายๆคนตอ้ งเดอื ด ร้อน ปากกัด ตีนถีบ หากินด้วยความยากลำ�บาก ดำ�รงชีพอย่างฝืดเคือง หลายคนดูจะไม่ได้เดือดเนื้อร้อนใจเท่าไรนัก เพราะเขามีเงินทองไว้ใช้จ่าย อย่างสบาย วิเคราะห์ดูกเ็ ห็นว่าทีเ่ ป็นอยู่สุขสบายนัน้ กเ็ พราะเขามีเงนิ เก็บสะสมไว้ ใชจ้ ่าย แม้ตกอยใู่ นสถานการณ์แย่ๆแคไ่ หนกต็ าม ผู้เขียนกน็ ึกถงึ คำ�สอนเม่ือวยั เดก็ ทนั ที “มีสลงึ พงึ บรรจบให้ครบบาท อย่าให้ขาดส่ิงของต้องประสงค์ มีน้อย ใชน้ ้อย ค่อยบรรจง อย่าจ่ายลงใหม้ ากจะยากนาน” น่ี ท่โี บราณกล่าวไว้เตอื นใจให้เรารู้จัก เก็บเงินไว้ อย่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย จะได้ไม่ตกอับยากจนก็เห็นจะจริง ผู้เขียนจึงมี ข้อแนะน�ำ เก่ยี วกับ “การออมเงนิ ” ไวด้ ังนี้

เงินออมระยะสัน้ เงนิ ออมระยะกลาง เงินออมระยะยาว

ส�ำ รองใช้ยามฉกุ เฉิน สรา้ งความมน่ั คงในชวี ิต ใช้ในวัยเกษยี ณ ซอื้ บา้ น ซือ้ รถ ซ้ือคอนโด

ระยะเวลา ๑ ปี ระยะเวลา ๒ – ๑๐ ป ี ระยะเวลา ๑๐ ปขี น้ึ ไป

ท่มี า : Balance by TMB

มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กลุ

26

แผนการออมนี้ก็น่าจะนำ�ไปใช้สำ�หรับทุกๆคนในระหว่างที่ยังดำ�เนิน ชีวิตอยู่ เพราะอย่างน้อยเราก็จะได้ไม่ต้องตกนรกบนดิน/ตายทั้งเป็น ในระหว่าง ทย่ี ังมชี ีวติ แตไ่ รซ้ งึ่ ปัจจยั ในการด�ำ รงชีพต่างๆ หลายคนอาจคิดว่าการออมเงินเป็น เรื่องยากทจี่ ะปฏบิ ตั ิ แต่เดิมเรากจ็ ะออมกันโดยเอาเงนิ จากท่ีเหลอื ใชใ้ นแตล่ ะวัน เหลือแล้วค่อยเก็บไว้ออม ซ่ึงก็เก็บไดบ้ ้างไมไ่ ด้บ้าง แตเ่ ดีย๋ วนเ้ี รามเี คลด็ ลับง่ายๆ ตัวอย่างเช่น สูตร ๑๐ สูตร ๒๐ วิธีการก็คือถ้าเรามีรายได้วันละ ๑๐๐ บาท สูตรก็คือ รายได้ (๑๐๐) – เงนิ ออม (๑๐) = เงนิ ไวใ้ ชจ้ ่าย (๙๐) เช่นน้ีเรากจ็ ะมเี งิน ออมเกบ็ ไวว้ นั ละ ๑๐ บาทละ สตู ร ๒๐ กเ็ ชน่ กนั เรากจ็ ะมเี งนิ ออมเกบ็ ไวว้ นั ละ ๒๐ บาท ก็แล้วแต่ผู้ปฏิบัติอยากจะเก็บเงินออมไว้มากน้อยแค่ไหน มีเป้าหมายอะไร ในการออม ก็คอ่ ยเพิ่มสัดสว่ นการออมเพ่ิมขนึ้ เร่อื ยๆ จะเหน็ วา่ วธิ นี ผ้ี ูป้ ฏิบตั ิจะต้อง มีวินัยในการใช้จ่ายเงินอย่างเคร่งครัด เป็นการฝึกนิสัยรักการออม อันจะทำ�เรา ก้าวไปสูเ่ ป้าหมายของการออมตามแผนการออมขา้ งตน้ ไดโ้ ดยงา่ ยดาย ผูเ้ ขยี นกค็ ง ฝากวลีประโยคที่ว่า “ออมก่อน รวยก่อน” ให้ท่านทั้งหลายได้เริ่มออมเงินเสีย แตว่ นั น้ี ไวเ้ ปน็ ข้อเตอื นใจ..........ดว้ ยความปรารถนาดี

มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กุล

27

การปอ้ งกนั ตนเองจากไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

ผเู้ รียบเรยี ง: อาจารย์จนุ หน่อแก้ว คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลติ กุล (อ้างองิ : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ )

๑. ขอ้ มลู ทัว่ ไปเกี่ยวกับเช้อื ไวรสั ๑.๑ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา คอื อะไร ไวรัสโคโรนา เปน็ กลมุ่ ของเช้ือไวรัสท่สี ามารถกอ่ ใหเ้ กิดโรคทางเดนิ หายใจ ในคน ซึ่งไวรัสที่อยู่ในกลุ่มนี้มีหลายสายพันธุ์ส่วนใหญ่ทำ�ให้เกิดอาการไม่รุนแรง คือ เป็นไข้หวัดธรรมดา ในขณะที่บางสายพันธุ์อาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงเป็น ปอดอกั เสบได้ เช่น โรคตดิ เช้ือไวรสั ทางเดนิ หายใจตะวนั ออกกลาง (เมอร์ส) หรือ โรคซาร์ (SARS) ซึ่งเคยมกี ารระบาดในอดตี ทผี่ า่ นมา ๑.๒ ไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ใุ หม่ ๒๐๑๙ คอื อะไร ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือ โควิด-๑๙ (COVID-๑๙) คอื ไวรสั ในกลุ่มโคโรนา ที่เพิ่งมีการค้นพบใหม่ (ไม่เคยมีการพบเชื้อนี้ในคนมาก่อน) โดยพบครั้งแรกที่ เมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี ๒๐๑๙ ซึ่งเป็น เชอ้ื ไวรสั ทีส่ ามารถกอ่ ใหเ้ กิดโรคทางเดินหายใจ หลังติดเชอ้ื อาจไม่มอี าการ หรอื อาจมีอาการตง้ั แต่ไมร่ นุ แรงคือ คลา้ ยกับไขห้ วัดธรรมดา หรืออาจกอ่ ให้เกิดอาการ รนุ แรงเป็นปอดอกั เสบและเสยี ชีวิตได้

๒. การติดตอ่ และอาการ ๒.๑ การติดตอ่ สัมผไวัสรนสั ้โำ�คมโูกรนนา้ำ�๒ล๐าย๑๙ดังสนาั้นมาจรึงถตแ้อพงรร่กะรมะจัดารยะจวาังกไคมน่ใหส้ผคู่ ูน้ปไ่วดย้ ทผา่ี่มนีอทาากงากราทราไอง จาม เดินหายใจ

มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลติ กลุ

28

สงสยั จากเชื้อไวรสั ไปสมั ผสั ใกลช้ ิดหรอื ใชส้ งิ่ ของรว่ มกนั กบั ผู้อืน่ เพอื่ ลดความเสี่ยง ในการแพร่กระจายเชอ้ื โดยมกี ารแยกตวั เพื่อสงั เกตอาการ ณ ท่ีพกั ๑๔ วัน ๒.๒ อาการป่วย ผูป้ ่วยที่ต้องสงสยั โรคปอดอกั เสบจากไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ จะมีอาการไข้ ตวั ร้อนรว่ มกบั อาการทางเดนิ หายใจ เช่น ไอจาม มีน้ำ�มูก เหนอ่ื ยหอบ ในรายท่ีมี อาการรนุ แรงอาจทำ�ใหเ้ กดิ ปอดอักเสบได้ ๒.๓ กลมุ่ เส่ยี งท่ตี ้องระวัง หากติดเชอื้ อาจมีอาการที่รนุ แรง ไดแ้ ก่ ผสู้ งู อายุ ๗๐ ปขี น้ึ ไป ผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั เชน่ เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู หลอดเลอื ดหัวใจ หรอื ภมู ิแพ้ และเดก็ เล็กอายุตำ�่ กวา่ ๕ ปี ๓. คำ�แนะน�ำ ในการปอ้ งกนั ตนเอง ๓.๑ หากมีอาการปว่ ย มอี าการไข้ อุณหภูมสิ ูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี ส ตัวร้อน ปวดเนือ้ ปวดตัว หนาวสั่น มีอาการระบบทางเดินหายใจ ไอ จาม เจ็บคอ มีน้ำ�มูก หายใจลำ�บาก ใหไ้ ปพบแพทยโ์ ดยแจ้งเจา้ พนกั งานควบคมุ โรคติดตอ่ หรอื แจ้ง๑๖๖๙ เพือ่ ประสาน การรับตัว โดยผู้ป่วยควรแจ้งรายละเอียดต่างๆ กับแพทย์ผู้ทำ�การรักษา เช่น อาการป่วย วันที่เริ่มมีอาการป่วย ข้อมูลการเดินทาง สถานที่พัก เพื่อแพทย์ จะได้วินิจฉัยได้ถูกต้องและรักษาได้ทันท่วงที แพทย์ผู้ทำ�การรักษาจะรายงาน ต่อหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่หรือสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดและ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เพอื่ ดำ�เนนิ การปอ้ งกันควบคุมโรคโดยเร็ว ๓.๒ การล้างมอื การลา้ งมือทั่วไป การลา้ งมอื เพอื่ ขจัดสง่ิ สกปรกตา่ งๆ เหงื่อ ไขมัน ท่อี อกมาตามธรรมชาติ และลดจำ�นวนเชื้อโรคที่อาศัยอยู่ชั่วคราวบนมือ การล้างมืออย่างถูกวิธี ต้องล้างดว้ ยสบกู่ อ้ นหรือสบู่เหลว ใช้เวลาในการฟอกมือนานประมาณ ๑๕ วนิ าที

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกุล

29

การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล การล้างมือในกรณีรีบด่วน ไม่สะดวกในการล้างมือด้วยน้ำ�และมือไม่ ปนเปื้อนสิ่งสกปรก หรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย ให้ทำ�ความสะอาดมือด้วย แอลกอฮอลเ์ จล การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล ประมาณ ๑๐ มลิ ลลิ ติ ร ใชเ้ วลา ประมาณ ๑๕-๒๕ วินาที (ในกรณีใชแ้ อลกอฮอล์เจล ไม่ต้องล้างมอื ซำ�้ ด้วยนำ้� และไม่ตอ้ งเช็ดด้วยผ้าเช็ดมอื ) ๓.๓ การสวมใสห่ นา้ กากอนามยั วธิ กี ารใสห่ น้ากากอนามยั ที่ถกู ตอ้ ง ควรให้ด้านสีเข้มออกด้านนอกเสมอ คลุมให้ปิดจมูก ปาก คาง คล้องหูขยับใหพ้ อดีกบั ใบหนา้ กดลวดขอบบนใหส้ นทิ กบั สนั จมูก โดยเปล่ียนทุกวนั และท้ิงลงในภาชนะท่ีมฝี าปดิ เพอ่ื ป้องกนั การตดิ เชอื้ ทั้งจากตนเองและผูอ้ ่นื หรืออาจใช้หนา้ กากผ้าในการป้องกนั ๓.๔ การไอ จาม ทถ่ี ูกวิธี - เมื่อรู้สึกว่าจะไอ จาม ควรหากระดาษชำ�ระ หรือทิชชูมาปิดปาก เพอ่ื ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ ชือ้ โรคกระจาย แล้วนำ�ไปทิ้งในถังขยะปิดใหเ้ รียบร้อย - เมื่อรสู้ ึกวา่ จะไอ จาม แลว้ ไม่มีกระดาษชำ�ระ ควรใชก้ ารไอ จามใส่ ขอ้ ศอก โดยยกแขนขา้ งใดขา้ งหน่ึงมาจับไหลต่ วั เองฝ่งั ตรงข้าม และยกมุมข้อศอก ปิดปากและจมูกตนเองก่อนจาม ไอทุกครัง้ ไมค่ วรไอจามใส่มือ - หลงั จากไอ จามเสรจ็ แล้ว ควรรีบลา้ งมอื ให้สะอาดทุกครั้ง ด้วยสบ่หู รอื แอลกอฮอลฆ์ ่าเชอ้ื เพ่ือก�ำ จัดเช้ือโรคไม่ให้แพรก่ ระจาย

4. การเพ่มิ ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) เพ่ือป้องกนั โควิด-๑๙ - หา้ มไปพน้ื ทแ่ี ออดั ตา่ งๆ เชน่ สถานบนั เทงิ โรงเรยี น โรงภาพยนตร์ กจิ กรรมกฬี า เปน็ ตน้ เปลีย่ นเป็นการท�ำ งานท่ีบ้าน สอื่ สารผ่านอนิ เทอร์เน็ต และ เรยี นออนไลน์ - เปลี่ยนพฤตกิ รรมการแสดงความสมั พนั ธ์ ห้ามกอด หรอื จบู - หลกี เลย่ี งการเขา้ ไปในหอ้ งทแ่ี ออดั หอ้ งประชมุ /ชมุ นมุ ขนาดใหญ่ เพอ่ื ลด โอกาสการรับและแพรก่ ระจายเช้ือโรค

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กุล

30

- หลกี เลย่ี งกจิ กรรมทม่ี คี นเยอะ และใสห่ นา้ กากอนามยั /หนา้ กากผา้ เพอ่ื ปอ้ งกนั การ - ระวงั การใช้ส่งิ ของสาธารณะและของทใ่ี ช้ร่วมกับผูอ้ ่ืน เชน่ ราวบันได ลกู บดิ รีโมทคอนโทรล ปุ่มกดลิฟท์ และล้างมอื ทุกครัง้ หลังสมั ผัสสิ่งของสาธารณะ - ควรหลีกเลี่ยงชั่วโมงเร่งด่วนในสถานที่ที่มีคนเยอะ เช่น รถสาธารณะ ร้านสะดวกซื้อ - ควรอยู่ห่างๆ อย่างห่วงๆ อย่างน้อย ๑-๒ เมตร เพื่อลดโอกาสการรับ และแพรก่ ระจายเช้อื - ควรอยู่ในบ้านให้มากที่สุด เมื่อไม่ออกไปรับเชื้อข้างนอกบ้าน โอกาส ติดโรคน้อยลง

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลติ กลุ

31

ความเส่ยี งเมอ่ื ถึงวัยผสู้ ูงอายุ

ผเู้ รียบเรียง: อาจารยด์ ร. วิทชย เพชรเลียบ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษช์ วลติ กุล (อา้ งอิง : หน่วยเวชศาสตร์ฟ้ืนฟู โรงพยาบาลกรงุ เทพอินเตอรเ์ นชนั่ แนล)

เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุร่างกายย่อมเสื่อมลงไปตามกาลเวลา ซึ่งแต่ละคน จะเปล่ียนแปลงไม่เท่ากัน ดว้ ยปจั จัยทหี่ ลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธ์ุ โรคหรอื ความเจ็บป่วย ตลอดจนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ทั้งอาหาร อาชีพ ความเครียด การนอนหลับพกั ผอ่ น การออกกำ�ลงั กาย เพราะฉะนน้ั การร้คู วามเสย่ี งทีอ่ าจเกดิ ขึน้ จากความเสอ่ื มจงึ เปน็ เรอ่ื งส�ำ คัญทค่ี วรใสใ่ จเพ่อื จะไดด้ แู ลตวั เองอยา่ งถกู ตอ้ ง ๑. ค�ำ นิยามของผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.๒๕๔๖ ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคล ซึ่งมอี ายเุ กนิ ๖๐ ปบี ริบูรณข์ นึ้ ไป ๒. ความเสย่ี งทผี่ สู้ ูงอายคุ วรรู้ มีดังตอ่ ไปน้ี ๒.๑ อารมณ์ซมึ เศร้า ปัญหาสุขภาพจิตคือปัญหาสำ�คัญในวัยสูงอายุ โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า มีโอกาสเป็นได้มากกว่าวัยอื่น เพราะการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและบทบาท ในสังคม อาทิ ผมขาว ผิวหนังเหี่ยวย่น นั่งและยืนนาน ๆ ไม่ได้ เป็นต้น หากผู้ สงู อายรุ บั ไมไ่ ดก้ บั ภาวะทเ่ี กดิ ขน้ึ ยอ่ มสง่ ผลใหเ้ กดิ ความเสย่ี งตอ่ ภาวะซมึ เศรา้ สง่ ผลให้ เกิดอาการเบื่อหนา่ ย หมดกำ�ลังใจ ขาดความรัก ร้สู กึ วา่ ไม่มีคณุ ค่าและไม่มีใคร ตอ้ งการ ดังน้นั ควรหมน่ั สังเกตผสู้ งู อายทุ ีใ่ กลช้ ดิ หากมภี าวะแยกตวั เบ่อื หนา่ ย หรือทุกข์ใจ ไม่ควรละเลย รีบปรึกษาแพทย์ทันที และควรหมั่นให้กำ�ลังใจ เปิดโอกาสให้ตัดสนิ ใจ ตลอดจนมสี ว่ นร่วมในการท�ำ กิจกรรมของครอบครวั เป็นตน้

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กุล

32

๒.๒ การลม้ การลม้ เปน็ ปญั หาที่พบบ่อยและอันตรายมากในวัยสูงอายุ โดยเฉพาะใน ชว่ งกลางคืนทไี่ ปเข้าห้องนำ้� เนื่องจากสญู เสยี การทรงตวั เพราะสมอง กล้ามเนอ้ื กระดกู ข้อเกดิ ความเสอื่ ม การไดย้ นิ และมองเหน็ ลดลง ทำ�ให้มโี อกาสลื่นล้มไดง้ า่ ย ซึง่ การบาดเจ็บมีตัง้ แต่เลก็ น้อยไปถึงขน้ั รนุ แรง พกิ ารและเสยี ชีวิตได้ ดังนน้ั จงึ ควร ดูแลใสใ่ จและหม่ันสงั เกตการทรงตัวของผสู้ ูงอายุ ทสี่ �ำ คญั ควรมกี ารตรวจประเมนิ การทรงตัวส�ำ หรบั ผู้สูงอายุ เพ่อื ฝกึ การทรงตวั การเดนิ และออกก�ำ ลงั เสรมิ สรา้ ง กลา้ มเนื้ออย่างถูกตอ้ ง ๒.๓ สมองเสอื่ ม ภาวะสมองเส่ือม ส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการรู้คิด เน่อื งจาก สมองทำ�หน้าท่ผี ิดปกติไปจากเดิม เสอ่ื มลงจากการที่อายุมากข้นึ โรคตา่ ง ๆ อาทิ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ซึมเศร้า โรคทางระบบประสาท เป็นต้น รวมถงึ พนั ธกุ รรมกม็ ีส่วนดว้ ยเชน่ กัน ดงั นนั้ การกระตุ้นการรคู้ ดิ ผา่ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ จงึ มีประโยชนอ์ ย่างมาก เชน่ จบั คู่ภาพ ทายค�ำ ต่อจ๊กิ ซอว์ วาดรูป หมากรกุ เป็นตน้ เพือ่ กระตุ้นการคิด อา่ น สมาธิ ความจ�ำ โดยมุ่งเนน้ ขัน้ ตอนการทำ�กจิ กรรม ท่ชี ดั เจนเข้าใจง่ายมากกว่าผลของกจิ กรรม ๒.๔ กล้ามเน้ืออ่อนแรง ผ้สู งู อายมุ ีความเส่ียงกล้ามเน้อื ออ่ นแรง เพราะจำ�นวนขนาดและเส้นใย ของกล้ามเนื้อบวกกับกำ�ลังการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง ทำ�ให้เคลื่อนไหวไม่ คล่องตวั ซึง่ อาการออ่ นแรงมหี ลายระดับ ตั้งแตก่ ำ�มือแนน่ ก�ำ มอื ไม่แน่น ไปจนถงึ การยกขา บางคนเมื่อเป็นแลว้ อาจมอี าการชว่ งส้ัน ๆ แล้วหายไป แต่บางครั้งไมม่ ี สัญญาณเตือนและมีอาการรุนแรงได้เช่นกัน ดังนั้นการหมั่นสังเกตและตรวจเช็ก อาการกับแพทย์เฉพาะทางจะช่วยให้ได้รับคำ�ปรึกษาท่ีเหมาะสมและรับมือได้ทัน ทว่ งที

มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลติ กลุ

33

๒.๕ เดินช้า สมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุจะเสื่อมลงตามวัย โดยเฉพาะการเดิน ที่ช้าลง การก้าวเท้าที่สั้นลง เนื่องจากความเสื่อมของเนื้อเยื่อข้อกระดูกและ กล้ามเนื้อ ดังนั้นการออกกำ�ลังกายด้วยการเดินวันละ ๒๐ – ๓๐ นาทีทุกวัน โดยใส่เครื่องพยุง เช่น ข้อเท้าและข้อเข่า เลือกรองเท้าที่เหมาะกับการเดิน ยอ่ มชว่ ยปอ้ งกันการลม้ และการบาดเจ็บของข้อตา่ ง ๆ ได้ ๒.๖ ประสาทสมั ผัส - หู การไดย้ นิ ลดลง มีอาการหตู งึ มากข้นึ การเสือ่ มของอวัยวะ ในหชู นั้ ในมีมากขนึ้ เสียงพดู เปลี่ยนไป เพราะกล้ามเน้อื กลอ่ งเสียงและสายเสียง บางลง นอกจากนย้ี งั อาจเกดิ อาการเวยี นศีรษะและเคลื่อนไหวไมค่ ล่อง เนอื่ งจาก หลอดเลือดทไ่ี ปเลยี้ งหูชน้ั ในมีภาวะแขง็ ตวั - ตา การมองเห็นไม่ดเี หมอื นเคย เนอ่ื งจากรมู ่านตาเลก็ ลงและ ตอบสนองต่อแสงลดลง หนงั ตาตก แก้วตาเริ่มขุ่นมัว เกิดตอ้ กระจก ลานสายตา แคบ กล้ามเนื้อลกู ตาเสื่อม ความไวในการมองภาพลดลง สายตายาว เวลามดื หรือ กลางคนื การมองเหน็ จะไมด่ ี ตาแหง้ และเยือ่ บตุ าระคายเคืองงา่ ย - จมกู การดมกลน่ิ ไมด่ เี หมอื นเดมิ เนอ่ื งจากเยอ่ื บโุ พรงจมกู เสอ่ื ม ต่อมรับรสทำ�หน้าที่ลดลง การรับรสของลิ้นเสียไป อาจเกิดภาวะเบื่ออาหาร เปน็ ตน้ ๒.๗ ระบบขับถา่ ย - ปสั สาวะ มอี าการกลน้ั ปสั สาวะไมอ่ ยู่ ปสั สาวะเลด็ ปสั สาวะบอ่ ย ผหู้ ญิงจะเป็นมากกวา่ และรุนแรงกว่าผชู้ าย เนื่องจากหมดประจ�ำ เดือนถาวร ท�ำ ให้ ขาดฮอร์โมนเพศ - อุจจาระ ไม่สามารถกลั้นอุจจาระได้ ที่สำ�คัญคือ ท้องผูก เปน็ ประจ�ำ เนอ่ื งจากกระเพาะอาหารและล�ำ ไสล้ ดการบบี ตวั ตามอายุ เคลอ่ื นไหวนอ้ ย ไม่ออกกำ�ลังกาย ทานผักผลไม้น้อย ดื่มน�ำ้ นอ้ ย รวมถงึ อาจเปน็ จากผลข้างเคียง ของยาท่ีทานเขา้ ไป

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลติ กลุ

34

๒.๘ กระดูกพรุน ปญั หากระดูกของผู้สงู อายุ คอื แคลเซียมจะสลายออกจากกระดกู มากขน้ึ ทำ�ให้น้ำ�หนักกระดูกลดลง เปราะ หักง่าย ความยาวกระดูกสันหลังลดลง หมอนรองกระดกู บางลง หลังคอ่ มมากข้นึ ความสูงลดลง เคลอ่ื นไหวข้อไม่สะดวก ตึง แข็ง อักเสบ ติดเชื้อง่ายขึ้น ดังนั้นหากออกกำ�ลังกายประจำ�จะช่วยลด ความเบาบางของมวลกระดูกได้ รวมทั้งการทานอาหารทีม่ แี คลเซียมสูง ท่สี �ำ คญั คือการตรวจเช็กกับแพทย์เฉพาะทางเพ่ือป้องกันและรับมือกับปัญหากระดูกพรุน ได้ถกู วิธี

มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกลุ

35

สถาปัตย์ฯ ม.วงษฯ์ บูรณาการการเรียนการสอนสกู่ ารพฒั นาชมุ ชน

ออกแบบศาลาไมไ้ ผ่ และวางผงั บรเิ วณศนู ยเ์ รยี นรเู้ กษตรอนิ ทรยี ช์ มุ ชน รมิ บงึ พดุ ซา ต�ำ บลพดุ ซา จงั หวดั นครราชสมี า ผ้เู รียบเรยี ง: อาจารยบ์ ศุ รา ส�ำ ราญเรงิ จติ ต์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลติ กลุ

อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลติ กลุ ออกแบบศาลาไม้ไผ่ และวางผังบริเวณศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ชุมชน รมิ บึงพดุ ซา ร่วมสรา้ งกับวสิ าหกิจชมุ ชนเกษตรอินทรยี ์ต�ำ บลพดุ ซา ใน “โครงการ จิตอาสารว่ มปลกู ป่าไมม้ คี ่า พัฒนาเกษตรอินทรีย์” เพื่อเชอื่ มโยงผลผลิตอาหาร ปลอดภยั ส่โู รงพยาบาล โรงเรียน โรงแรม และร้านค้า โดยไดร้ ับการสนับสนุนจาก บรษิ ัทไทยเบฟเวอเรจ จ�ำ กัด (มหาชน) เพอ่ื ดำ�เนินกิจกรรมนำ�นกั ศึกษาร่วมพฒั นา ชมุ ชนสคู่ วามม่ันคง ม่ังค่ังและย่ังยืน

การบริการทางวิชาการแก่สังคมเป็นหนึ่งในภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย คณะสถาปตั ยกรรมศาสตรจ์ งึ ให้บรกิ ารวชิ าการแก่สงั คม โดยอาศัยความถนัดและ ความเชี่ยวชาญในการออกแบบสถาปัตยกรรม การออกแบบวางผังบริเวณ การวางแผนปรับปรงุ พ้นื ที่ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้ประกอบการและชุมชน โดยบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาการวางผังบริเวณและการสำ�รวจ ซ่ึงเปน็ การเรียนการสอนในชัน้ ปที ่ี ๓ การให้บริการทาง วิชาการนอกจากเปน็

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลติ กลุ

36

การทำ�ประโยชน์ให้สังคมแล้วมหาวิทยาลัยยังได้เพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ ของอาจารย์อันจะนำ�มาสู่การพัฒนาหลักสูตรมีการบูรณาการเพ่ือประโยชน์ทาง ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนและการวิจยั สรา้ งเครอื ข่ายกับหนว่ ยงานภายนอก

คณะสถาปตั ย์ ม.วงษฯ์ น�ำ ทีมโดย อาจารย์ธีระเดช จีนจะโปะ และ อาจารย์บศุ รา สำ�ราญเรงิ จติ ต์ ไดจ้ ัดโครงการบรกิ ารวิชาการแก่สังคม บูรณาการ กบั รายวชิ าการวางผงั บรเิ วณและการส�ำ รวจ น�ำ นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ่ี ๓ และ ๕ รวม ๗ คน เขา้ ร่วมสำ�รวจพนื้ ที่ และประเมินความต้องการของชมุ ชน โดยการส�ำ รวจคร้ังที่ ๑ เมอ่ื วนั ที่ ๑๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ สอบถามจากคุณสงพงษ์ แสงศริ ิ ท่ปี รกึ ษาเกษตร อินทรยี ์ ซึ่งสรุปความต้องการคือ ให้เปน็ พื้นทก่ี ารเรียนรู้การทำ�เกษตรอนิ ทรียข์ อง ชมุ ชน และการทอ่ งเท่ียวเชงิ นิเวศของชมุ ชน โดยมีความต้องการของชมุ ชน คอื ๑) ต้องการให้เป็นพื้นที่ปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ของชุมชน และ กลุ่มเกษตรกร ทสม. ๒) ตอ้ งการให้ดงึ เอาพลงั งานแสงอาทติ ย์เขา้ มาใช้ในโครงการ ๓) ตอ้ งการใหเ้ ปน็ พน้ื ทแ่ี หลง่ เรยี นรเู้ กษตรอนิ ทรยี อ์ ยา่ งยง่ั ยนื ของชมุ ชนตอ่ ไป ๔) ต้องการศาลาอเนกประสงค์ ไว้เป็นพื้นที่ชุมนุม ปรึกษาเรื่อง เกษตรอนิ ทรีย์ เก็บพชื ผล และล้างผกั

มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกลุ

37

การสำ�รวจเพื่อ ออกแบบครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ แบ่งนักศึกษา ออกเปน็ ๒ กลมุ่ กลุ่มท่ี ๑ คือนักศึกษาชน้ั ปที ่ี ๓ ออกแบบวางผงั บริเวณศูนย์เกษตรอินทรีย์ ชุมชนพดุ ซา โดยกลุ่มท่ี ๑ เรม่ิ จากการส�ำ รวจเกบ็ ขอ้ มูลความต้องการชาวบา้ น พร้อมกับลงสำ�รวจพื้นที่จริงเพื่อทำ�ความเข้าใจสภาพแวดล้อม บริบทริมบึงพุดซา ซึ่งเปน็ พ้ืนที่ไมม่ นี �ำ้ และไฟฟ้าเข้าถงึ ทางเครือขา่ ยจงึ เสนอเป็นการสูบนำ้�ด้วยระบบ โซลารเ์ ซลล์ การวางผงั บรเิ วณ ใชแ้ นวคดิ ปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อยา่ งเปน็ หลัก ในการออกแบบ

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกลุ

38

การปลูกปา่ ๓ อยา่ ง แตใ่ หป้ ระโยชน์ ๔ อย่าง ซง่ึ ได้ไมผ้ ล ไมส้ รา้ งบา้ น และไมฟ้ ืน นั้น สามารถใหป้ ระโยชน์ไดถ้ งึ ๔ อย่าง “...การปลกู ปา่ ๓ อยา่ ง แตใ่ ห้ประโยชน์ ๔ อย่าง ซงึ่ ได้ไมผ้ ล ไม้สรา้ งบ้าน และไมฟ้ ืนนนั้ สามารถใหป้ ระโยชน์ได้ถึง ๔ อย่าง คอื นอกจากประโยชนใ์ นตัว เองตามช่ือแลว้ ยงั สามารถให้ประโยชนอ์ นั ท่ี ๔ ซ่ึงเป็นขอ้ ส�ำ คญั คือ สามารถชว่ ย อนุรกั ษด์ ินและต้นน�้ำ ล�ำ ธารด้วย...” พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เมอื่ วันท่ี ๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๓ ณ โรงแรมรนิ คำ� อ.เมือง จ.เชยี งใหม่

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกลุ

39

กล่มุ ท่ี ๒ ออกแบบศาลาอเนกประสงค์ จดั ท�ำ หนุ่ จำ�ลอง พรอ้ มการ ประมาณราคา นำ�โดย นายณฐั นันท์ เถอื่ นกลาง นักศึกษาชน้ั ปีท่ี ๕ ออกแบบศาลา อเนกประสงค์ขนาดพน้ื ที่ ๓๐ ตร.ม. ประกอบด้วยส่วนอบรมขนาดเล็ก และพ้นื ท่ี ล้างผักอินทรีย์ ออกแบบด้วยหลักการนำ�วัสดุธรรมชาติมาใช้ในการก่อสร้าง ด้วยงบประมาณที่เหมาะสมกับชุมชน จึงเลือกไม้ไผ่เป็นโครงสร้าง มุงหลังคา ด้วยหญ้าคา ปูพื้นด้วยอิฐดินเผา เพื่อให้ช่าง ชาวบ้าน จิตอาสา นักศึกษา รว่ มกันสร้างได้โดยงา่ ย

ผลงานการออกแบบวางผงั สวนเกษตรอนิ ทรยี ร์ มิ บงึ พดุ ซา และอาคารอเนกประสงค์ รวม ๒ ผล

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล

40

มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลติ กลุ

41

โครงการบริการวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์นี้ นอกจากจะเป็น การบูรณาการความร่วมมือกับเครือข่ายและชุมชนพุดซาแล้ว ยังเป็นพื้นที่ที่ให้ โอกาสนักศึกษาในการนำ�ความรู้ที่มีในห้องเรียนออกมาพัฒนาชุมชน ซึ่งนำ� ไปสู่การพัฒนานวตั กรรมสชู่ มุ ชน มพี ้ืนที่ใหช้ ุมชนเสริมสรา้ งศักยภาพ ปรับวิถจี าก เกษตรเคมี เป็นเกษตรอินทรีย์ อีกทั้งยังมีโอกาสส่งเสริมการท่องเที่ยว น�ำ ไปสู่การกระจายรายได้ในชมุ ชน

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล

42

การขอประกันตวั ในคดีอาญา

ผ้ชู ่วยศาสตราจารยก์ ติ ติพงษ์ สุวรรณสน การขอประกันตัวในคดีอาญาหรือการปล่อยช่ัวคราวเป็นมาตรการอย่าง หน่ึงในคดีอาญาเป็นมาตรการผ่อนคลายการถูกจำ�กัดเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือ จำ�เลยตามหลักยกประโยชน์แห่งความสงสัย (in dubio pro reo) ในคดีอาญา มีหลักกฎหมายว่าบุคคลจะยังไม่ถือว่าเป็นผู้กระทำ�ความผิดจนกว่าศาล จะพิพากษาถึงที่สุดจำ�เลยเป็นผู้กระทำ�ความผิด กฎหมายจึงวางวิธีการ ผอ่ นคลายในเร่อื งการควบคมุ หรอื การขัง โดยให้ผ้ตู อ้ งหาหรือจำ�เลยไดร้ ับเสรภี าพ ไปชั่วคราวได้โดยการ “ปล่อยชั่วคราว” การปล่อยชั่วคราวไม่ว่าจะอยู่ใน การควบคุมในชั้นพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการหรือในชั้นศาลไม่ว่าจะเป็น ระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา ก็ใช้มาตรการ ปลอ่ ยชว่ั คราวได้ แลว้ แตพ่ ฤติการณแ์ หง่ กรณี และหลกั การปล่อยช่ัวคราวที่ ป.วิ.อ. วางเอาไวเ้ ปน็ หลกั การ คือ “ผู้ต้องหาหรือจำ�เลยทุกคนพึงได้รับอนุญาตให้ปล่อย ชว่ั คราว” ดังนี้ การไมอ่ นุญาตใหป้ ล่อยช่วั คราวจึงเป็นขอ้ ยกเว้น ๑. ประเภทของการปลอ่ ยชว่ั คราว ประเภทของการปลอ่ ยชวั่ คราว การปล่อยชัว่ คราวมี ๓ ประเภท คอื (๑) การปลอ่ ยชว่ั คราวโดยไมม่ ปี ระกนั (๒) การปล่อยช่ัวคราวโดยมปี ระกนั (๓) การปลอ่ ยชวั่ คราวโดยมปี ระกนั และหลกั ประกัน

มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล

43

๑.๑ การปลอ่ ยช่วั คราวโดยไมม่ ีประกัน การปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีประกัน มาตรา ๑๑๑ บัญญัติไว้ว่า “เมอ่ื จะ ปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีประกันเลยก่อนที่ปล่อยไป ให้ผู้ต้องหาหรือจำ�เลย สาบานหรือปฏิญาณตนว่าจะมาตามนัดหรือหมายเรียก” การปล่อยชั่วคราว โดยไม่มีประกันนี้เป็นการปล่อยชั่วคราวที่ไม่ต้องทำ�สัญญาประกันตัว เพียงแต่ให้ ผู้ต้องหาสาบานตัวหรือปฏิญาณว่าจะมาตามนัดหรือหมายเรียกเท่านั้น เจ้าพนกั งานกป็ ล่อยผตู้ อ้ งหาหรอื จ�ำ เลยได้ ๑.๒ การปล่อยชวั่ คราวโดยมีประกนั การปล่อยชั่วคราวโดยไมม่ ปี ระกนั มาตรา ๑๑๒ บญั ญัตวิ า่ “เม่ือจะปลอ่ ย ชว่ั คราวโดยมปี ระกนั หรือมีหลกั ประกนั ก่อนปล่อยไปใหผ้ ูป้ ระกนั หรือผเู้ ป็น หลักประกนั ลงลายมือช่อื ในสัญญาประกนั นั้น..” การปล่อยชว่ั คราวโดยมีประกนั เป็นการปล่อยผู้ต้องหาหรือจำ�เลยไปชั่วคราวโดยมีการทำ�สัญญาประกันต่อ เจ้าพนักงานหรอื ศาลว่าจะมาหรอื นำ�ตวั ผตู้ ้องหามาตามนดั หรอื ตามหมายเรียก ๑.๓ การปล่อยช่วั คราวโดยมีประกันและหลกั ประกัน การปล่อยช่ัวคราวโดยมปี ระกันและหลักประกัน มาตรา ๑๑๒ บญั ญตั ิ วา่ “เมอ่ื จะปล่อยชวั่ คราวโดยมีประกนั หรือมหี ลกั ประกัน กอ่ นปล่อยไปให้ผู้ ประกันหรือผู้เป็นหลักประกันลงลายมือชื่อในสัญญาประกันนั้น” การปล่อย ช่วั คราวโดยมีประกนั และมีหลักประกนั เป็นการปลอ่ ยชว่ั คราวโดยมีการทำ�สัญญา ประกันต่อเจ้าพนักงานหรือศาลและได้มีหลักประกันซ่ึงอาจเป็นอย่างใดอย่างหน่ึง ตามที่บัญญัติไว้ตามมาตรา ๑๑๔ วรรคสอง ก็ได้ หลักประกันมี ๓ ชนิด คือ มเี งนิ สดมาวาง มหี ลกั ทรพั ยอ์ น่ื มาวาง มบี คุ คลมาเปน็ หลกั ประกนั โดยแสดงหลกั ทรพั ย์ ๒. หลกั เกณฑก์ ารขอให้ปลอ่ ยชั่วคราว ๒.๑ ผมู้ ีอำ�นาจยน่ื ค�ำ รอ้ งขอปลอ่ ยช่ัวคราว การยื่นคำ�ร้องขอให้ปล่อยชั่วคราว ขอให้ปล่อยผู้ต้องหาหรือจำ�เลย ช่วั คราว มาตรา ๑๐๖

มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

44

วรรคหนง่ึ บญั ญตั ิว่า ผู้มีอำ�นาจย่นื คำ�รอ้ งขอใหป้ ลอ่ ยชั่วคราว ไดแ้ ก่ (๑) ผูต้ ้องหา (๒) จำ�เลย (๓) ผทู้ ี่ประโยชน์เก่ยี วข้อง ๒.๒ ผูม้ ีอ�ำ นาจปลอ่ ยชั่วคราว ผมู้ ีอำ�นาจปล่อยช่วั คราว มาตรา ๑๐๖ วรรคสอง บญั ญตั ิไว้ (๑) พนกั งานสอบสวน เมือ่ ผู้ต้องหาถกู ควบคมุ อย่แู ละยงั มิไดถ้ กู ฟ้องตอ่ ศาลใหย้ ื่นต่อพนักงานสอบสวน มาตรา ๑๐๖ (๑) ดงั น้ี เมอ่ื ยืน่ ตอ่ พนกั งานสอบสวน เป็นอำ�นาจของพนักงานสอบสวนที่มีอำ�นาจสั่งปล่อยชั่วคราวได้ เป็นการปล่อย ชั่วคราวระหว่างสอบสวน เมื่อพนักงานสอบสอนได้รับคำ�ร้องให้ปล่อยชั่วคราว ใหพ้ นกั งานสอบสวนสั่งอยา่ งรวดเร็ว มาตรา ๑๐๗ หากพนกั งานสอบสวนไมส่ งั่ คำ�ร้องอย่างรวดเร็วหรอื ประวงิ การสงั่ คำ�ร้อง อาจเป็นการละเว้นการปฏบิ ัติหน้าท่ี ตาม ป.อ. มาตรา ๑๕๗ ได้ ในการปล่อยช่ัวคราวของพนกั งานสอบสวนมีอำ�นาจ ปลอ่ ยชวั่ ได้สงู สดุ ไม่เกนิ ๖ เดอื น (๒) พนกั งานอัยการ เม่ือผู้ต้องหาถกู ควบคมุ อยแู่ ละยงั มไิ ดถ้ กู ฟอ้ งต่อ ศาลให้ย่นื ต่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอยั การ มาตรา ๑๐๖ (๑) การรอ้ งขอ ให้ปลอ่ ยช่วั คราวในชัน้ พนักงานอัยการ เมื่อพนกั งานสอบสวนไดส้ ง่ ส�ำ นวนคดี ไปยังพนักงานอัยการแล้ว เมื่อผู้ต้องหาได้รับการปล่อยชั่วคราวในชั้นพนักงาน สอบสวน ผู้ต้องหายังต้องยื่นขอประกันตัวในชั้นพนักงานอีก เมื่อยื่นคำ�ร้องต่อ พนักงานอยั การ เมอื่ พนกั งานอยั การได้รับค�ำ รอ้ งให้ปลอ่ ยช่วั คราว ใหพ้ นักงาน อยั การส่งั อย่างรวดเรว็ มาตรา ๑๐๗ ในการปลอ่ ยชว่ั คราวของพนกั งานอยั การมี อ�ำ นาจปล่อยช่ัวคราวได้สงู สุดไมเ่ กนิ ๖ เดือน (๓) ศาล เม่อื ผ้ตู อ้ งหาถกู ฟอ้ งแลว้ ก่อนศาลชั้นต้นมคี �ำ พิพากษา ให้ยื่น ตอ่ ศาลช้ันต้นที่ชำ�ระคดีนัน้ มาตรา ๑๐๖ (๓) (๔) ศาลชนั้ ต้นมีอำ�นาจสั่งปลอ่ ย ชั่วคราวระหว่างการพิจารณาคดีได้ แต่ในกรณีศาลชั้นต้นได้มีคำ�พิพากษาแล้ว และได้ส่งสำ�นวนคดีไปยงั ศาลอทุ ธรณ์หรือศาลฎกี าแลว้ แตก่ รณี ศาลอุทธรณ์หรือ ศาลฎีกาเป็นผู้มีอ�ำ นาจสั่งปล่อยชัว่ คราว

มหาวทิ ยาลัยวงษ์ชวลติ กุล

45

๒.๓ กำ�หนดเวลาในการสั่งคำ�ร้อง กำ�หนดเวลาในการสั่งคำ�ร้องขอ ให้ปลอ่ ยชัว่ คราว มาตรา ๑๐๗ บัญญตั ิว่า “เม่อื ไดร้ บั ค�ำ รอ้ งให้ปลอ่ ยช่วั คราว ให้ เจ้าพนักงานหรือศาลรีบสั่งอย่างรวดเร็ว และผู้ต้องหาหรือจำ�เลยทุกคนพึงได้ รับอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว” การสั่งคำ�ร้องของเจ้าพนักงานหรือศาล ต้องสั่ง คำ�รอ้ งอยา่ งรวดเรว็ หากประวิงการสง่ั ปลอ่ ยช่วั คราวอาจะเป็นการละเวน้ ในการ ปฏบิ ตั ิหน้าทไี่ ดต้ าม ป.อ. มาตรา ๑๕๗ ๒.๔ การวนิ ิจฉัยค�ำ รอ้ งขอใหป้ ล่อยช่วั คราว มาตรา ๑๐๘ ในการวนิ จิ ฉยั ค�ำ ร้องขอใหป้ ล่อยช่วั คราว ต้องพิจารณาขอ้ เหลา่ น้ีประกอบ (๑) ความหนกั เบาแห่งข้อหา (๒) พยานหลกั ฐานที่ปรากฏแลว้ มเี พยี งใด (๓) พฤติการณ์ตา่ งๆ แหง่ คดเี ปน็ อยา่ งไร (๔) เชอ่ื ถือผูร้ ้องขอประกันหรอื หลกั ประกันได้เพยี งใด (๕) ผู้ตอ้ งหาหรือจำ�เลยน่าจะหลบหนหี รอื ไม่ (๖) ภยั อนั ตรายหรอื ความเสยี หาย ทจ่ี ะเกดิ จากการปลอ่ ยชว่ั คราวมเี พยี งใดหรอื ไม่ (๗) ในกรณีที่ผู้ต้องหาหรือจำ�เลยต้องขังตามหมายศาล ถ้ามีคำ�คัดค้าน ของพนักงานสอบสวน พนกั งานอัยการ โจทก์ หรือผเู้ สียหาย แลว้ แตก่ รณี ศาลพึง รับประกอบการวินิจฉัยได้เพื่อประโยชน์ในการดำ�เนินการตามวรรคหนึ่ง เจ้าพนักงานซึ่งมอี �ำ นาจสั่งให้ปลอ่ ยชั่วคราวหรือศาลอาจรับฟังขอ้ เทจ็ จรงิ รายงาน หรือความเห็นของเจ้าพนักงานซ่ึงกฎหมายกำ�หนดให้มีอำ�นาจหน้าท่ีท่ีเก่ียวกับการ นั้นเพอื่ ประกอบการพิจารณาสง่ั ค�ำ ร้องดว้ ยกไ็ ด้ ในการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว เจ้าพนักงานซึ่งมีอำ�นาจสั่งให้ปล่อย ชั่วคราว หรือศาลจะกำ�หนดเงื่อนไขเกี่ยวกับที่อยู่ของผู้ที่ถูกปล่อยชั่วคราว หรือกำ�หนดเงื่อนไขอื่นใดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติเพื่อป้องกันการหลบหนี หรอื เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยั อนั ตรายหรอื ความเสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากการปลอ่ ยชว่ั คราวกไ็ ด้

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลิตกุล

46

๒.๕ การสัง่ ไม่ใหป้ ล่อยชัว่ คราว มาตรา ๑๐๘/๑ การส่งั ไม่ให้ปลอ่ ยช่วั คราว จะกระทำ�ไดต้ อ่ เมอื่ มเี หตุอัน ควรเชอื่ เหตุใดเหตุหน่งึ ดังต่อไปนี้ (๑) ผตู้ ้องหาหรือจ�ำ เลยจะหลบหนี (๒) ผู้ตอ้ งหาหรอื จ�ำ เลยจะไปยงุ่ เหยิงกบั พยานหลกั ฐาน (๓) ผู้ตอ้ งหาหรอื จ�ำ เลยจะไปก่อเหตุอันตรายประการอ่ืน (๔) ผู้รอ้ งขอประกันหรือหลักประกันไม่นา่ เช่ือถอื (๕) การปล่อยชั่วคราวจะเป็น อุปสรรคหรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อ การสอบสวนของเจา้ พนักงาน หรือการดำ�เนินคดีในศาล คำ�สั่งไม่ให้ปล่อยชั่วคราวต้องแสดงเหตุผล และต้องแจ้งเหตุดังกล่าวให้ ผ้ตู ้องหาหรอื จ�ำ เลยและผยู้ น่ื คำ�ร้องขอใหป้ ลอ่ ยช่วั คราวทราบ เป็นหนงั สอื โดยเรว็ ๒.๖ ระยะเวลาในการปล่อยชว่ั คราว มาตรา ๑๑๓ เมื่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการสั่งปล่อย ชัว่ คราว ไม่ว่าจะมีประกันหรือมีประกันและหลักประกันหรือไม่ การ ปลอ่ ย ช่ัวคราวนั้นให้ใช้ได้ระหว่างการสอบสวนหรือจนกว่าผู้ต้องหาถูกศาลส่ังขังระหว่าง สอบสวนหรือจนถึงศาลประทับฟ้อง แต่มิให้เกินสามเดือนนับแต่วันแรกที่มีการ ปล่อยชั่วคราว ไม่ว่าเป็นการปล่อยชั่วคราวโดยพนักงานสอบสวนหรือพนักงาน อัยการ ในกรณีที่มีเหตุจำ�เป็นทำ�ให้ไม่อาจทำ�การสอบสวนได้เสร็จภายในกำ�หนด สามเดือน จะยืดเวลาการปล่อยชัว่ คราวใหเ้ กนิ สามเดือนกไ็ ด้ แต่มิให้เกนิ หกเดอื น เมื่อการปล่อยชั่วคราวสิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่งแล้ว ถ้ายังมีความจำ�เป็น ที่จะต้องควบคุมผู้ต้องหาไว้ต่อไป ให้ส่งผู้ต้องหามาศาลและให้นำ�บทบัญญัติ มาตรา ๗ วรรคสี่ ถึงวรรคเกา้ มาใชบ้ ังคบั ตามมาตรา ๑๑๓ เป็นการปลอ่ ยช่ัวคราวในชั้นพนักงานสอบสวนหรือชัน้ พนักงานอัยการมกี �ำ หนดระยะเวลาไมเ่ กิน ๓ เดือน แต่หากมีความจ�ำ เปน็ ท�ำ ให้ การสอบสวนหรือการท�ำ ส�ำ นวนของพนักงานอยั การไมแ่ ล้วเสร็จภายใน ระยะเวลา ๓ เดือนจะยดึ เวลาการปล่อยช่วั คราวออกไปใหเ้ กิน ๓ ก็ได้ แตม่ ไิ ห้เกนิ ๖ เดอื น

มหาวิทยาลยั วงษช์ วลติ กลุ

47

เมื่อการปลอ่ ยชัว่ คราวครบกำ�หนด ๖ เดอื นแล้ว พนักงานสอบสวนหรอื พนักงาน อัยการย่อมไม่มีอำ�นาจควบคุมผู้ต้องหาต่อไปสัญญาประกันที่ทำ�ให้ไว้ย่อมส้ินสุดลง ทันที เจ้าพนักงานดังกล่าวจงึ ต้องคืนหลกั ประกันใหก้ บั ผ้ขู อประกันไป ๒.๗ หลักประกัน มาตรา ๑๑๔ เมื่อจะปล่อยชั่วคราวโดยให้มีประกันและหลักประกัน ด้วยก่อนปลอ่ ยตวั ไป ให้ผู้รอ้ งขอ หลักประกนั มี ๓ ชนดิ คือ (๑) มีเงนิ สดมาวาง (๒) มีหลกั ทรพั ยอ์ ืน่ มาวาง (๒) มบี ุคคลมาเปน็ หลกั ประกัน โดยแสดงหลกั ทรัพย์ ๒.๘ การผดิ สญั ญาประกนั การผดิ สญั ญาประกนั แยกออกเปน็ การผดิ สญั ญาประกันในชน้ั (๑) พนกั งานสอบสวนหรือชนั้ พนกั งานอยั การ (๒) ชั้นศาล ๒.๘.๑ การผดิ สญั ญาประกนั ในชน้ั พนกั งานสอบสวนหรอื ชน้ั พนกั งานอยั การ การผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงานสอบสวนหรือในช้ันพนักงานอัยการ จะน�ำ มาตรา ๑๑๙ มาใช้บงั คบั ไมไ่ ด้ หมายความว่าจะบังคับตามสญั ญาประกนั โดยไมต่ ้องฟ้องไมไ่ ด้ พนกั งานสอบสวนหรอื พนักงานอยั การตอ้ งฟอ้ งคดีผิดสัญญา ประกันต่อศาลเป็นคดีแพ่งเม่ือศาลมีคำ�พิพากษาหรือคำ�สั่งจึงดำ�เนินการบังคับคดี ต่อไปตามกระบวนวธิ พี จิ ารณาความแพ่งวา่ ดว้ ยการบังคับคดี และการฟ้องคดีต่อ ศาลพนักงานสอบสวนมีอำ�นาจฟ้องในฐานะเป็นคู่สัญญาประกันโดยไม่ต้องได้รับ มอบอำ�นาจจากส�ำ นกั งานตำ�รวจแหง่ ชาติ ส่วนกรมตำ�รวจไมใ่ ช่พนักงานสอบสวน และมิได้เป็นคู่สัญญาในสัญญาประกันจึงฟ้องเองหรือมอบอำ�นาจให้ฟ้องหาได้ไม่ และพนกั งานสอบสวนเปน็ คสู่ ญั ญาประกันตัวผูต้ อ้ งหาหรือจำ�เลยในฐานะพนักงาน สอบสวน ไม่ใชใ่ นฐานะส่วนตวั ดังนี้ เม่อื มีการผดิ สญั ญาประกนั พนกั งานสอบสวน คนอื่นท่ีรับราชการประจ�ำ สถานตี ำ�รวจเดียวกันฟ้องบังคับตามสัญญาประกนั ได้

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลติ กุล

48

โดยเหตุที่พนักงานสอสวนไม่ได้ลงชื่อเป็นคู่สัญญาในฐานส่วนตัว ถ้าพนักงาน สอบสวนที่เป็นคู่สัญญาได้ย้ายไปรับราชการแห่งอื่นแล้วในขณะยื่นฟ้อง ก็ไม่มี อำ�นาจลงช่ือเปน็ พนักงานสอบสวนสถานีต�ำ รวจเดิมฟอ้ งนายประกนั ได้ ๒.๘.๒ การผิดสัญญาประกนั ช้นั ศาล กาผิดสัญญาประกันในชน้ั ศาล มาตรา ๑๑๙ บญั ญตั ิว่า “มาตรา ๑๑๙ ในกรณีผิดสัญญาประกันต่อศาล ศาลมีอ�ำ นาจสง่ั บังคบั ตามสัญญาประกันหรือตามที่ศาลเห็นสมควรโดยมิต้องฟ้อง เมื่อศาลสั่งประการ ใดแล้ว ฝ่ายผู้ถูกบังคับตามสัญญาประกันหรือ พนักงานอัยการมีอำ�นาจ อุทธรณ์ได้ คำ�วนิ ิจฉยั ของศาลอุทธรณ์ให้ เปน็ ทีส่ ดุ เพื่อประโยชนใ์ นการบังคับคดี ให้ศาลชน้ั ตน้ ท่พี จิ ารณาชขี้ าดตดั สนิ คดีนน้ั มอี �ำ นาจออกหมายบังคับคดีเอา แก่ทรัพย์สินของบุคคลซึ่งต้องรับผิดตามสัญญา ประกันได้เสมือนว่าเป็นลูกหนี้ ตามคำ�พิพากษาและให้ถือว่าหัวหน้าสำ�นักงาน ประจำ�ศาลยุติธรรมเป็นเจ้า หนี้ตามคำ�พิพากษาในส่วนที่เกี่ยวกับหนี้ตามสัญญา ประกันดงั กล่าว..” การผดิ สญั ญาประกนั ในชัน้ ศาล ศาลมอี �ำ นาจบังคับใหเ้ ปน็ ไปตามสัญญา ประกันได้โดยไม่ต้องฟ้องเป็นคดีแพ่งเหมือนการผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงาน สอบสวนหรือชั้นพนักงานอัยการ “ศาลมีอำ�นาจสั่งบังคับตามสัญญาประกันหรือ ตามทีศ่ าลเห็นสมควรโดยมิตอ้ งฟ้อง” ตามมาตรา ๑๑๙ วรรคสาม บัญญัติว่า “ใน กรณีที่จำ�เป็นต้องมีการบังคับคดีเพราะผิดสัญญาประกันตามวรรคหนึ่งให้ศาลมี อำ�นาจออกหมายบังคับคดีหรือคำ�ส่ังอ่ืนใดเพื่อบังเอาแก่ทรัพย์สินของบุคคลซ่ึง ต้องรับผิดตามสญั ญาประกนั ไดเ้ สมือนว่าเปน็ ลูกหนต้ี ามคำ�พพิ ากษา..” ๒.๙ การอุทธรณ์ค�ำ สงั่ ไม่อนญุ าตให้ปล่อยช่ัวคราว การอทุ ธรณค์ �ำ สัง่ ไมอ่ นญุ าตให้ปล่อยชั่วคราว มาตรา ๑๑๙ ทวิ บัญญัตวิ ่า มาตรา ๑๑๙ ทวิ ในกรณที ่ีศาลส่ังไม่อนญุ าตให้ปล่อยชวั่ คราวผ้รู ้อง ขอมี สิทธิยน่ื ค�ำ ร้องอุทธรณ์ค�ำ สัง่ น้นั ได้ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ค�ำ สั่งของศาลชน้ั ต้น ให้อทุ ธรณไ์ ปยงั ศาลอทุ ธรณ์

มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กุล

49

(๒) คำ�ส่งั ของศาลอทุ ธรณ์ ใหอ้ ทุ ธรณไ์ ปยงั ศาลฎกี า ให้ศาลชั้นต้นที่รับคำ�ร้องอุทธรณ์คำ�สั่งรีบส่งคำ�ร้องดังกล่าว พร้อมด้วย สำ�นวนความหรอื สำ�เนาส�ำ นวนความเท่าท่จี ำ�เป็น ไปยงั ศาลอทุ ธรณ์ หรอื ศาลฎีกา แล้วแต่กรณี เพ่ือพิจารณาและมคี ำ�สั่งโดยเรว็ ค�ำ ส่ังของศาลอทุ ธรณ์ท่ีไม่อนญุ าตใหป้ ล่อยช่วั คราว ยนื ตามศาล ชั้นต้นใหเ้ ปน็ ท่ีสุด แตท่ ้งั น้ี ไมต่ ดั สิทธิทีจ่ ะยน่ื ค�ำ รอ้ งให้ปลอ่ ยช่ัวคราวใหม่ การยื่นคำ�ร้องอุทธรณ์คำ�สั่งตามมาตรา ๑๑๙ ทวิ ไม่อยู่ภายใต้บังคับ ป.ว.ิ อ.มาตรา ๑๙๘ ทวิ และมาตรา ๒๑๖ จงึ ไม่ต้องอุทธรณภ์ าในกำ�หนด ๑ เดอื น

มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลิตกลุ

50

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทเ่ี น้นทางสายกลาง : มโนทัศน์เพอ่ื การด�ำ เนนิ ชวี ิตอันประเสรฐิ รองศาสตราจารย์ ดร.จ�ำ เรญิ รตั น์ จติ ตจ์ ริ จรรย์ ผ้อู ำ�นวยการหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ (การบรหิ ารการศึกษา) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลติ กลุ E-mail : [email protected]

บทนำ� ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่มีมโนทัศน์ที่เน้นทางสาย กลาง ที่มีเงอ่ื นไขความรู้และเงือ่ นไขคณุ ธรรมจริยธรรม เป็นฐานสำ�คัญ ทีเ่ นน้ วธิ ี การแสวงหาความรู้ แสวงหาวิธีการที่จะนำ�ไปสู่การตระหนักถึงความจริงว่าทุก คนจะดำ�เนินชีวิตที่เน้นเศรษฐศาสตร์สายกลางหรือเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธนำ�ไป สูค่ วามพอเพียง มีเหตุผล และสรา้ งภมู ิคุ้มกันที่ดใี นตัวเอง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทเี่ นน้ ทางสายกลาง ทมี่ มี โนทัศน์คือมรรคมีองค์แปด เปน็ องคป์ ระกอบ สำ�คัญซึ่งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ รทไ่ี ดพ้ ระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย แมพ้ ระองคไ์ ด้เสด็จสวรรคตไป แลว้ แต่พระบรมราโชวาท พระราชด�ำ รสั ท่ไี ด้พระราชทานไวใ้ นวโรกาสต่าง ๆ ย่อม มีประโยชน์ต่อพสกนิกรทุกหมู่เหล่าที่ได้น้อมนำ�มาสู่การปฎิบัติ เพื่อความเจริญ งอกงามแกต่ นเองและสังคมอยา่ งแท้จริง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีเน้นทางสายกลาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงป็นหลักปรัชญาของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรที่ได้ พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทยในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นพุทธมามกะ ในขณะ เดียวกันก็ทรงเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก์โดยทรงสนับสนุนทุกศาสนาท่ีมีผู้นับถือ อยู่ในประเทศไทย พระองค์ได้พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ี ทรงคิดค้นขึ้นมาจากหลักคำ�สอนของพระพุทธศาสนาที่เน้นทางสายกลางและได้ พระราชทานแกป่ วงชนชาวไทยใหม้ ีความพอเพียง มีหลักเหตุผล มีภูมิคมุ้ กนั ที่ดี

มหาวิทยาลยั วงษ์ชวลิตกลุ