นายแพทย โอฬาร ก ม ส กวงศ ประว ต

แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ แห่งความภาคภมู ิใจ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมท่ีแสดงถึงความร่วมใจของเหล่าแพทย์ในอนั ท่ีจะประสานความเปน็ อนัหนึง่ อันเดียว เพ่ือดา� เนินกิจกรรมในเชิงสร้างสรรค์ต่อวิชาชพี แพทย์ให้อยใู่ นจรรยาบรรณ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ไดด้ า� เนินกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาวชิ าการแพทย์ การศึกษาวิจัย ตลอดจนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมแพทย์แก่มวลสมาชกิ ท้ังยังพร้อมให้ความร่วมมือกับหน่วยงานรัฐ องค์กรทางการแพทย์ตา่ งๆ ทั้งในและต่างประเทศ เพ่ือการพัฒนามาตรฐานทางดา้ นการแพทยไ์ ทย ใหอ้ ยใู่ นระดบัมาตรฐานสากลท้ังในปจั จบุ ันและอนาคต

พิธีมอบรางวลั เครอื ขา่ ยองค์การสขุ ภาพดเี ด่นนานาชาติปีแรก (Interprofessional Collaboration practice Award 2015) โดยการคัดเลือกขององค์การสหสาขาบคุ ลากรสาธารณสขุ โลก (World Health Professions Alliance : WHPA) ใหแ้ ก่ “เครือขา่ ยวชิ าชีพสขุ ภาพเพ่ือสงั คมไทยปลอดบุหร่ี” โดยศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณแพทย์หญงิ สมศรี เผา่ สวสั ดิ์ พร้อม ศาสตราจารยน์ ายแพทยร์ ณชัย คงสกนธ์ และพลตรีผู้ช่วยศาสตราจารยน์ ายแพทยก์ ิฎาพล วฒั นกูลเปน็ ผ้รู ับมอบเม่ือวนั ท่ี 18 พฤษภาคม 2558 ณ กรุงเจนวี า สมาพันธรฐั สวสิ

คาํ ปรารภ แพทยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรม ในฐานะทอ่ี ยูแ พทยสมาคมฯ มานาน และเปนราชูปถัมภ เปนองคกรแพทยแหงแรกและแหงเดียว นายกสมาคมสตรคี นแรก และคนเดียวในรอบ 100 ปของประเทศ ทกี่ อกําเนดิ มาเกือบครบ 100 ปแลว (พ.ศ.2547-2548) ปจจุบันไดรับเชิญจากแพทยรุนปจจุบันมีองคกรแพทยเกิดขึน้ มาอีกมากมาย ทัง้ ราช นองใหเปนผูอํานวยการ(CEO) ตั้งแตพนจากตําแหนงวิทยาลยั แพทย 14 แหง และสมาคมดานการแพทย นายกแพทยสมาคมฯ จึงยังรบั ผดิ ชอบในภารกิจตางๆสาขาตา งๆ เกือบ 100 แหง ดังนน้ั แพทยร ุนใหมบาง รวมกบั ทานนายกแพทยสมาคมฯ มาตลอดทานอาจไมรูจักสมาคมแพทยแหงแรกของประเทศทา นนายกแพทยสมาคมฯ ทานปจจบุ ัน (ศ.นพ.รณชัย หวังเปนอยางยิง่ วาหนังสือแพทยสมาคมฯเลมคงสกนธ) จึงคิดจัดทําหนังสือแนะนําแพทยสมาคมฯ นี้ จะไดชวยแนะนําใหแพทยทกุ ทานไดรูจักแพทยฉบับยอขึ้น เพือ่ ใหพวกแพทยรุนใหม ไดรูจักสมาคม สมาคมฯไดมากขึ้น และมารวมเปนสมาชิกของแพทยแหง แรกของประเทศ องคกรแพทยแหงนี้ เพือ่ ชวยกันจรรโลงสังคมแพทย และสงั คมไทยใหพ ัฒนากา วไกลยิ่งๆขนึ้ ไป ศาสตราจารยเกยี รติคุณแพทยหญิง สมศรี เผาสวสั ด์ิผอู าํ นวยการสํานักงานแพทยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ วนั ที่ 9 กุมภาพันธ 2561

ศาสตราจารยน์ ายแพทยร์ ณชัย คงสกนธ์ รับมอบต�าแหน่งนายกแพทยสมาคมฯ วาระ 2561 -2562 จาก ศาสตราจารยน์ ายแพทยส์ ารเนตร์ ไวคกลุ เม่ือวนั เสารท์ ่ี 20 มกราคม 2561 งานประชุมใหญ่สามัญประจ�าปแี พทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯณ หอ้ งประชุมสยามมกฎุ ราชกุมาร อาคารเฉลมิ พระบารมี ๕๐ ปี

คาํ นาํ แพทยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรม ของเรา และรายนามนายกแพทยสมาคมฯ ทุกทานราชูปถัมภ มีประวัติศาสตรอันยาวนาน ถือเปนความ ในสวนถดั มา จะเปน การนําเสนอ ทิศทางการทาํ งาน:ภาคภูมใิ จรวมกันของเรานับต้ังแตการกอตัง้ ตลอด นายกแพทยสมาคมฯ 2561-2562 ประกอบดวยระยะเวลาการดําเนนิ งานท่ีผา นมา แพทยสมาคมแหง วิสัยทศั น การกําหนดคุณคาการปฏิบัติงาน โครงการประเทศไทยฯ ไดมีการพัฒนางานในดานตางๆ ใหมี ตางๆ ทีจ่ ะดําเนินงานตามวัตถุประสงคของแพทยความกาวหนามาอยางตอเนื่อง และประสบความ สมาคมฯ รวมถึงความมุงหวังทจี่ ะสรางสวัสดิภาพสาํ เร็จ ไดรับการยอมรับในวงกวาง ทัง้ ในระดับ ในการปฏิบัติงานของแพทย เพือ่ สนับสนุนใหแพทยประเทศและระดับนานาชาติ เปนเสาหลกั ของสังคม ไดทาํ หนาทเี่ ต็มบทบาท และรับผิดชอบตอสุขภาพไทยอยา งเชน ทุกวนั น้ี ของประชาชนไดดยี งิ่ ข้ึน ในโอกาสทกี่ ระผม ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ ได และสุดทายนี้ กระผมใครขอเชิญชวนสมาชิกรบั ความไวว างใจใหด าํ รงตาํ แหนง นายกแพทยสมาคม แพทยทกุ ทาน นอมนําและสืบสานพระราชปณิธานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ วาระระหวา ง ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรมป พ.ศ. 2561-2562 กระผมมีความตัง้ ใจทจี่ ะทาํ งาน พระบรมราชชนก “พระราชบิดาแหงการแพทยไทย”รว มกบั คณะกรรมการบรหิ ารฯ เพ่อื สบื สาน และพฒั นา ใหสมดังเกียรติยศ ศักดิ์ศรีวิชาชีพแพทย และมางานแพทยสมาคมแหง ประเทศไทยฯ ใหม คี วามกา วหนา รวมกัน รวมพลัง รวมคิด รวมทํากิจกรรมโครงการอยางตอเนือ่ ง จึงไดจัดทาํ หนงั สอื เลมนี้ เพื่อเปนการ ของแพทยสมาคมฯ อนั จะเปนประโยชนตอประเทศสอื่ สารกับสมาชิกแพทย โดยเนอื้ หาในสวนแรก จะ ชาตแิ ละสังคมไทยเปน การบอกเลา เร่อื งราวอันทรงคณุ คา ในประวตั ศิ าสตร ศาสตราจารยนายแพทย รณชัย คงสกนธ นายกแพทยสมาคมแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ วนั ท่ี 9 กมุ ภาพันธ 2561

สารบัญ 40 Presidential Report (in Brief) Dr. Wonchat Subhachaturas M.D. 61st WMA President from Thailand.08 44ก�าเนิดแพทยสมาคม ประเภทของสมาชิกแหง่ ประเทศไทย และการสมคั รเป็นสมาชิกฯในพระบรมราชูปถมั ภ์ 46 สทิ ธิประโยชนข์ องสมาชิกฯ16รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์พ.ศ. 2464-2562 23 การดา� เนนิ งานของ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์

48 ทศิ ทางการทา� งาน:นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ วาระ พ.ศ. 2561-256258 71รายนาม คณะกรรมการท่ปี รึกษาราชวิทยาลยั แพทยต์ ่างๆ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ61 73สมาคมแพทยต์ ่างๆ คณะกรรมการในอาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปี แพทยสมาคมเขต68 74คณะกรรมการบริหาร สา� นกั งานแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ

08 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ กําเนดิ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ แพทยสมาคมแหงกรุงสยาม ไดถือกําเนดิ ขึน้ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2464 โดยการจดทะเบียนเปน“สมาคม” มีสํานักงานชัว่ คราวอยูทตี่ ึกอาํ นวยการของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ การดําเนินการจัดตั้ง เริ่มดวยคณะแพทยช ั้นผใู หญ จาํ นวน 10 ทาน ซง่ึ มรี ายนามดังน้ี 1 นาวาเอก หมอ มเจา ถาวรมงคลวงษ ไชยันต นายแพทยใหญท หารเรือ 2 พันเอก พระยาวบิ ลุ อายรุ เวท นายแพทยใ หญท หารบก 3 พนั เอก พระศักดาพลรักษ ผูอํานวยการโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ

09MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND 4 อาํ มาตยโ ท หลวงอายุรแพทยพิเศษ ผอู าํ นวยการโรงพยาบาลศิริราช 5 อํามาตยต รี หลวงอัพภันตราพาธพิศาล แพทยโ รงพยาบาลศริ ิราช 6 อาํ มาตยตรี หลวงไวทเยศรางกูร แพทยโ รงพยาบาลศริ ิราช 7 นายแพทย เอม็ . อี บารนส ผูอํานวยการกองสุขาภบิ าล สภากาชาด 8 อํามาตยเอก พระยาเวชสทิ ธ์ิพลิ าศ คณบดีคณะแพทยศาสตรแ หงจุฬาลงกรณ 9 พันตรี หมอมเจา วลั ลภากร วรวรรณ ผอู าํ นวยการกองอนามัย สภากาชาด 10 นายแพทย เลโอโปลด โรแบรต ผูอาํ นวยการกองวิทยาศาสตร สภากาชาด หมายเหตุ : สมเด็จมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชนก ไดท รงเปนสมาชกิ ลําดบัท่ี 387 ของสมาคมดว ย

10 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในชัน้ แรก สมาคมยัง สะพานกษตั ริยศกึ ไปยังโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ และ ไมมชี ือ่ เปนทางการ คณะ ไดมอบสถานทใี่ หแพทยสมาคมฯ ใชเปนสํานักงาน ผูดําเนินการจึงไดกราบทูล การขนยายไดทําเสร็จเมือ่ วันที่ 4 สิงหาคม 2475 จึง ขอจาก จอมพลสมเด็จเจา ฟา นับเปนคร้ังแรกทีแ่ พทยสมาคมฯ ไดมีหลักแหลงเปน กรมพระนครสวรรควรพินิต ของตนเอง ตกึ น้ีสภากาชาดไมไดย กใหเลย ใหส มาคม องคอุปนายก ผูอาํ นวยการ อาศัยอยูและเก็บคา เชา ในราคาทถ่ี กู มาก สภากาชาดสยามในครั้งนัน้ ไดประทานนามวา “แพทยะ แพทยสมาคมฯ ไดมีการออกวารสารเพื่อใช สมาคมแหงกรุงสยาม” และ เปนสื่อกับสมาชิกและเปนการเผยแพรความรู โดย ตอมาเปลีย่ นเปน “แพทย ครัง้ แรกเมือ่ ตั้งแพทยสมาคมฯ ขึน้ ในป 2464 นั้น สมาคมแหงประเทศไทย” สมาคมยังไมมีวารสารของตนเอง แตไดซือ้ หนังสือ ตอมาในป พ.ศ. 2473 จดหมายเหตุทางแพทยสภากาชาดมาแจกใหสมาชิก พระอพั ภันตราพาธพิศาล ตอมาใน พ.ศ. 2468 แพทยสมาคมฯ จึงไดรับโอน ซึง่ ดํารงตําแหนงสภานายก กรรมสิทธิ์จากสภากาชาดมาจัดทาํ เอง และตั้งชื่อวา ไดทําหนังสอื กราบบังคมทูล “จดหมายเหตุทางแพทยของแพทยะสมาคมแหง พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร กรงุ สยาม”มหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7ขอใหทรงรับแพทยสมาคมไวในพระบรมราชูปถัมภ วารสารพระองคไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ รับไว แพทย จดหมายเหตุสมาคมฯ จึงไดใช “ในพระบรมราชูปถัมภ” ตอจาก แพทยสมาคมช่ือของสมาคมตัง้ แตน ัน้ มา แห่งกรุงสยาม พ.ศ. 2466 แพทยสมาคมฯ ไดเริ่มใชตราของสมาคม อันเปนฝพ ระหัตถของสมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอเจาฟา กรมพระนริศรานุวัติวงศ ในตรานีม้ รี ูปนาค ตรศี ลู คอื งกู ับตรศี ูล แบบน้ีทําเทยี บกับของฝรงั่ซึง่ นิยมใชเครือ่ งหมายเปนรูปงูพันไม นาคตรีศูลนีอ้ ยูในวงกลม ภายในขอบของวงกลมมีอกั ษรวา“แพทยะสมาคมแหงกรุงสยาม” ตอมาไดเปลยี่ นเปน“แพทยสมาคม แหงกรุงสยาม” และเปลีย่ นอีกครัง้หน่ึงเปน “แพทยสมาคมแหง ประเทศไทย” ในระยะแรก แพทยสมาคมฯ ไดร บั อนญุ าตใหใ ชสถานทขี่ องโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ เปนสาํ นกั งานชั่วคราว จนกระทัง่ พ.ศ. 2475 สภากาชาดไทยไดยายกองอนามัยของสภาฯ ทถี่ นนบาํ รุงเมืองตอนใกล

MEDICAL ASSOCIATION 11 OF THAILAND สโมสรแพทยแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั สโมสรแพทย์ ความเห็นนี้ในทีป่ ระชุมใหญประจําปของแพทยแหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั สมาคมฯ และของสโมสรแพทยฯ แตยังไมไดมีการ จัดการอยางใดอยางหนึ่งลงไป ตอมาเพื่อ พ.ศ.2476ในระหวางป 2469-2470 เกิดเสียงเลาลือวา พระยาบริรักษเวชชการไดรับเลือกใหเปนสภานายกแพทยะสมาคมแหงกรุงสยามไมคอยจะมกี ิจกรรม แพทยสมาคมฯ และในขณะเดียวกันก็เปนนายกอะไรทีเ่ ปนประโยชน มบี ุคคลบางทานรวมกันผลักดัน สโมสรแพทยฯ ดวย การรวมสองสถาบันจึงเปนรูปใหเกิดสโมสรแพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปน รา งขึน้ โดยจดั ใหมกี ารออกเสียงลงมติ ปรากฏวาขึ้น สโมสรนีไ้ ดจดทะเบียนตามกฎหมายเมื่อ วันที่ ผูทเี่ ห็นชอบกับการรวมชนะอยางเด็ดขาด (การนับ15 มีนาคม 2470 มสี าํ นกั งานครั้งแรกตัง้ อยูที่ คะแนนเสียงนีท้ าํ เมือ่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2476)โรงพยาบาลศิริราช ตอมากรมสาธารณสขุ ไดอนุญาต ทงั้ นตี้ ้ังแตว ันที่ 2 กุมภาพนั ธ 2476 ซ่ึงเปนวนั ประชุมใหสโมสรแพทยฯ มาใชสถานท่ีดานหลงั สุขศาลา ใหญประจําปแพทยสมาคมฯ และของสโมสรแพทยฯบางรัก เปนทที่ าํ การสโมสร สโมสรไดจัดสรางสนาม จึงถือวา แพทยสมาคมฯ และสโมสรแพทยฯไดรวมเทนนิส มที งั้ กีฬาในรมและกลางแจง และมเี ครือ่ งดื่ม กจิ การกนั นบั แตว นั นน้ั เปน ตน มาในนามใหมว า “แพทยในราคายอมเยา สโมสรแพทยจึงไดมีสโมสรจริงๆ สมาคมแหง กรงุ สยามและสโมสรแพทยแ หง จฬุ าลงกรณเมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2471 สโมสรแหงนเี้ ปนทีน่ ิยม มหาวิทยาลัย” โดยในชัน้ ตน ยังคงมคี ณะกรรมการของสมาชิกเปนอยางยิง่ เนือ่ งจากอยูในทาํ เลทดี่ ี บริหารแยกกัน จนถึงพ.ศ. 2479 สโมสรแพทยฯ ไดการคมนาคมสะดวก ทัง้ รถรางและรถเมล ยายจากบริเวณสุขศาลาบางรัก มาอยูทเี่ ดียวกับ แพทยสมาคมฯ ทีถ่ นนบํารุงเมือง ตัง้ แตนัน้ มา สโมสรแพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรรมการบรหิ ารทมี่ ีอยู 2 ชุดกร็ วมกันเปนชดุ เดยี วไดบงั เกิดตามหลงั แพทยสมาคมฯ 6 ป ทาํ ใหสถาบันการแพทยมีเปนสองสถาบนั ไดมผี ูคิดทีจ่ ะรวม ในชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 นับตัง้ แตสองสถาบันนีเ้ ขาดวยกัน ซึง่ จะทําใหมคี วามเปน ประเทศไทยเขารวมสงคราม เมือ่ วันที่ 8 ธันวาคมปกแผนและเปนการประหยดั โดยมีการแสดง 2484 มีการทิง้ ระเบิดสถานทีต่ างๆ ในกรุงเทพ ฯ

12 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์แพทยสมาคมฯและสโมสรแพทยฯ ไดสรางทหี่ ลบภัย ไดมีสวนชวยดวย ฉะนั้นเมื่อซอมเสร็จแลว ทัง้ สามไวทีใ่ กลๆ 1 แหง นอกจากภัยของสงครามแลว ในป สมาคมจึงมาอยูรวมกัน แพทยสมาคมฯ ไดยายมาอยู2485 ยังมนี ํา้ ทวมใหญทัง้ กรุงเทพฯ นาน 1 เดือน บานศาลาแดงเมอื่ วันที่ 4 พฤษภาคม 2491 ในสมัยหลังนํา้ ลด ผูมาใชสโมสรก็ยังนอยลง แตภายหลัง นายแพทยเฉลิม พรมมาส เปนนายก ตอมาใน พ.ศ.สงครามเลกิ สโมสรก็คึกคักขึน้ อกี 2492 สมาคมพยาบาลไดข อเขา มาอยรู ว มดวย จงึ เปน อนั วาบานศาลาแดงนี้ เปนสถานทีข่ อง 4 สมาคม ในระหวาง พ.ศ. 2483-2485 ทานพลเรือตรี คอื แพทย ทนั ตแพทย เภสชั กรรม และพยาบาล และสงวน รุจิราภา เปนนายก ทานปรารภถึงการทีจ่ ะหา ใชอ ักษรยอวา พ.ท.ภ.พบ.สถานทใี่ หมใหกวางใหญและโอโถงกวาเดิม แมกระนัน้ ก็ยังกินเวลาหลายป จนกระทงั่ ลวงมาถึงสมัย ตนป พ.ศ.2509 สํานักงานทรัพยสินสวนนายแพทยเฉลิม พรมมาสเปนนายก การจึงไดสําเร็จ พระมหากษัตริยก็มีหนังสือแจงมาบอกเลิกสัญญาเชาโดยสํานกั งานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริยไดยอม อางวาจะปรับปรุงทีด่ ินบริเวณศาลาแดงใหเปนใหเ ชา “บา นศาลาแดง” อยตู รงกนั ขา มกบั โรงพยาบาล ศูนยการคาทีท่ นั สมัยและจะใหเงินแกแพทยสมาคมฯจุฬาลงกรณ ตรงสีแ่ ยกถนนพระรามสตี่ ัดกับรอยตอ 2.5 ลา นบาทเปน คา ชดเชย ภายหลงั การเจรจาตอรองของถนนราชดําริและถนนสีลม หรือพูดอกี อยางหนึ่ง ไดเพ่มิ เปน 5 ลานบาท จึงไดแบง ใหอ ีกสามสมาคมไปวา อยตู รงทโี่ รงแรมดสุ ิตธานตี ั้งอยเู ดย๋ี วน้ี คร่งึ หนง่ึ เงินท่เี หลือ 2.5 ลานบาท นาํ ไปซอ้ื ที่ดนิ ของ บรษิ ัทเคหพฒั นาที่ซอยศนู ยว ิจยั ถนนเพชรบรุ ตี ดั ใหม บ้านศาลาแดง และไดเริม่ กอสรางอาคารในเดือนพฤษภาคม 2510 เมอื่ เชาไดแลวตองทําการซอมแซมใหญและใช โดยใชเ งินกอสราง 1.3 ลานบาทเงินมาก เพราะบานศาลาแดงทรุดโทรมมาก ในการซอมแซมนี้ ทนั ตแพทยสมาคมและเภสัชกรรมสมาคม บา นใหม ณ ซอยศนู ยวิจยั ในระหวางที่มกี าร กอสรางอาคารใหม แพทยสมาคมฯ ไดอาศัยสถานที่บ้านศาลาแดง

13MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND ตางๆ ภายใตการกํากับของแพทยสภามาเปนเวลา มากกวา 20 ป และการฝกอบรมแพทยเฉพาะทางนี้ ไมไดอยูในแผนพัฒนาของราชการ เปนกระบวนการ อาสาสมัคร ฉะนั้น ตองอิงหรือแอบแฝงกับองคกร ของรัฐ โดยยายไปอาศัยตามสถาบันตางๆ ทปี่ ระธาน หรือเลขาธิการสังกัดอยู จึงทําใหการประสานงาน ตา งๆ ตอ งยงุ ยากอยเู สมอ เนอ่ื งจากตอ งยา ยสาํ นกั งาน บอยๆ จึงทาํ ใหหลายๆ ฝายเริ่มมคี วามคิดทจี่ ะหา ท่ีทาํ การถาวรของตนเองบา้ นใหมข่ องศูนยว์ ิจยั ดังนัน้ นายแพทยอรุณ เผาสวัสดิ์ เลขาธิการ ราชวิทยาลัยศัลยแพทยฯ ในขณะนัน้ จึงไดออกของสมาคมปราบวัณโรคฯ เปนการชั่วคราว และได จดหมายเชิญ ประธาน รองประธาน เลขาธิการของยา ยมาอยูสถานทถ่ี าวร ทซ่ี อยศนู ยวิจยั เมื่อวันเสารที่ ราชวิทยาลัย วิทยาลัย เลขาธิการแพทยสภา และ13 มกราคม 2511 สมาคมแพทยตางๆ มารวมประชุมเพื่อปรึกษาหารือ ในการทจี่ ะจัดหาสถานท่ที ําการถาวร โดยมีผูแทน นบั เปน พระมหากรณุ าธคิ ณุ แกแ พทยสมาคมฯ จาก 9 สถาบนั รวม 11 ทา น เขารว มการประชุม จากอยางหาทสี่ ุดมิได และยงั ความปลาบปลืม้ แกแพทย การประชมุ น้ี ทุกสถาบนั เห็นพอ งตองกนั วาควรจัดหาทัง้ ปวง ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จ สถานท่ีเพอ่ื จัดสรา งท่ีทาํ การถาวรโดยอาจอาศัยพระราชินนี าถไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จมาทรงเปด อาคารของแพทยสมาคมฯ ในวนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ 1. กระทรวงสาธารณสขุ2511 2. แพทยสมาคมแหง ประเทศไทยฯ 3. ดาํ เนินการดวยตนเอง อาคารเฉลิมพระบารมี ๕o ปี แพทยผูใหญหลายทานไดใชความพยายาม เนอื่ งจากจํานวนราชวิทยาลัยมีมากขึ้น อยางมากทจี่ ะหาสถานท่เี พือ่ กอสรางทที่ าํ การถาวร ของกลุม มีการขอใชทดี่ ินของโรงพยาบาลศรีธัญญาประกอบกับกิจกรรมของแตละราชวิทยาลัยทีม่ ุงสู กรมการแพทย ไปจนกระทัง่ ขอใชทดี่ ินบริเวณชุมชนก็เพิม่ ขึน้ เปนลําดับ ทงั้ ยงั มีจํานวนสมาชิกที่ กระทรวงสาธารณสุขใหม แตก็ยังไมมีอะไรคืบหนาเพิม่ ขึ้นทกุ ป แตราชวิทยาลัยตางๆ ก็ยังไมมีทที่ ําการ มากนัก ตอมาเม่ือ วันท่ี 23 ธนั วาคม พ.ศ. 2536 ในถาวร เนือ่ งจากเปนองคกรอิสระมิไดรับการสนับสนุน ระหวางการประชุมใหญของแพทยศาสตรศึกษาแหงทางการเงินจากรัฐและเปนองคกรทีไ่ มสามารถหา ชาติที่โรงแรมแอมบาสซาเดอร ซิตี้ จอมเทียน พัทยาผลประโยชน (Non Profit Organization) ได หากแต ไดมีการเชิญประชุมครัง้ สําคัญขึ้น โดยมี นายแพทยมหี นาทีใ่ นการฝกอบรมแพทยเฉพาะทาง ในสาขา อรุณ เผาสวัสดิ์ ประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหง ประเทศไทย เปนประธานการประชุม การประชุมใน ครั้งนี้ พลอากาศโทนายแพทยกิตติ เย็นสุดใจ นายก

14 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ อาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปีแพทยสมาคมแหงประเทศไทยฯ ไดเสนอใหใชทดี่ ิน กราบบังคมทลู พระกรุณาอันเชิญทรงเปนองคอุปถัมภของแพทยสมาคมแหงประเทศไทยฯ สาํ หรับกอสราง อํานวยการจัดสรางอาคารดังกลาวเพื่อเปนการอาคารที่ทาํ งานถาวรของกลมุ ซึ่งในทปี่ ระชมุ มีมตเิ ห็น เฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภมู ิพลชอบและไดต ั้งกรรมการการกอสรางอาคารขึ้น 8 ทา น อดุลยเดช ในวโรกาสมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติเพื่อดําเนินการตอ ไป ครบ 50 ป ในพุทธศักราช 2539 เพือ่ เปนอาคาร ทที่ าํ การของแพทยสมาคมฯ ราชวิทยาลัยตางๆ และ นอกจากนี้ ไดมกี ารเสนอใหตั้งเปน “กลุม สมาคมทางการแพทยอ่นื ๆ โดยในระยะแรกกระทรวงสถาบนั ฝก อบรมแพทยเฉพาะทาง” (Consortium of สาธารณสุขไดชวยสนับสนุนของบประมาณจากMedical Specialty Training Institution) เพือ่ ให สํานักงานสลากกินแบงรัฐบาลและองคกรตางๆ มากลุมมคี วามเปนปกแผนทจี่ ะดําเนินกิจกรรมตางๆ ได เปนทุนทรัพยเบื้องตนในการกอสราง โดยจัดสรางเปนอยางดี ตอมาคณะกรรมการไดมีโอกาสเขาเฝาฯ อาคาร 12 ช้นั พื้นทใี่ ชส อยรวม 32,000 ตารางเมตรสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกุฎราชกมุ าร และ

15MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDอาคารเฉลิมพระบารมี ๕๐ ปีมรี าชวิทยาลยั 14 ราชวิทยาลยั และอีก 37 สมาคม อ า ค า ร นี ้ไ ด  รั บ พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ จ า กแพทยเฉพาะทาง และ แพทยสภา ใชงบประมาณ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระกอสราง 440 ลานบาท บนทดี่ ินของแพทยสมาคม กรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามอาคารวาแหงประเทศไทยฯ ณ ซอยศูนยวิจัย ถนนเพชรบุรี “อาคารเฉลิมพระบารมี ๕o ป”ตัดใหม กรุงเทพมหานคร โดยดําเนินการในรูปมูลนิธิซึ่งตอมาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราช วันท่ี 18 มีนาคม พ.ศ. 2540 อกี วาระหนง่ึ แหงกุมาร ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน ความปลาบปลืม้ ยนิ ดีอยางหาทีส่ ุดมิไดแกเหลาแพทยนามวา “มลู นิธิวชิรเวชวิทยาลยั เฉลิมพระเกียรติใน ทงั้ ปวง เปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาทสี่ ุดมิไดที่พระราชูปถัมภสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชกมุ าร” และทรงพระกรณุ ารบั เปน องคอ ุปถมั ภด ว ย กรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ แทนพระองคทรงเปด “อาคารเฉลมิ พระบารมี ๕o ป” ซงึ่ เปนสํานักงานของ แพทยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ ตัง้ แตนัน้ มาจนถึงปจจุบนั

16 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ รายนามกรรมการ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ พ.ศ. 2464-2562 รายนามกรรมการ รายนามกรรมการ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ พ.ศ. 2464-2467 พ.ศ. 2468-2472น.อ.มจ.ถาวรมงคลวงษ ไชยันต สภานายก น.อ.พระยาดํารงแพทยาคุณ สภานายกพ.อ.นายแพทยพระศักดิ์ดาพลรักษ เลขาธกิ าร อํามาตยโท หลวงอายรุ แพทยพ ิเศษ เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2473-2475 พ.ศ. 2476พระอพั ภันตราพาธพศิ าล สภานายก พระยาบรริ กั ษเ วชชการ สภานายกม.จ.วัลลภากร วรธรรม เลขาธกิ า ม.จ.วลั ลภากร วรวรรณ เลขาธิการ

17MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2477 พ.ศ. 2478-2479หลวงเฉลิมคัมภรี เ วชช สภานายก พ.อ.พระศลั ยเวทยวศิ ษิ ฎ สภานายกหลวงพิณพากยพทิ ยาเภท เลขาธกิ าร หลวงกายวิภาคบรรยาย เลขาธิการรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2480 พ.ศ. 2481-2482พ.อ.พระศัลยเวทยวศิ ิษฎ สภานายก หลวงเฉลิมคมั ภรี เวชช สภานายกและสโมสรหลวงวิเชียรแพทยาคม เลขาธิการ (ไมมีเลขาธิการ)รายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2483-2485 พ.ศ. 2486-2489น.ท.สงวน รุจริ าภา สภานายก น.อ.สงวน รุจิราภา สภานายกนพ.ชัชวาล โอสถานนท เลขาธกิ าร นพ.ชัชวาล โอสถานนท เลขาธิการรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2490 พ.ศ. 2491-2492นพ.เฉลิม พรมมาส นายก นพ.เฉลิม พรมมาส สภานายกนพ.สงัด เปลงวาณชิ เลขาธิการ นพ.สมยั จนั ทวมิ ล เลขาธิการ

18 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์รายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2493-2494 พ.ศ. 2495นพ.เฉลิม พรมมาส นายก นพ.เฉลิม พรมมาส นายกนพ.มาลา ศตี ะจิตต เลขาธิการ นพ.ไกรสหี  ทองเปลงศรี เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2496-2497 พ.ศ. 2498นพ.เฉลมิ พรมมาส นายก ศ.นพ.เฉลมิ พรมมาส นายกศ.นพ.สนอง อนู ากลู เลขาธิการ นพ.ดิถี จึงเจริญ เลขาธิการรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2499-2500 พ.ศ. 2501-2502พล.อ.ต.นพ.เจือ ปุณโสณี นายก พล.อ.ต.นพ.เจือ ปณุ โสณี นายกนพ.ดิถี จงึ เจรญิ เลขาธกิ าร พ.อ.นพ.ทพิ ย ผลโภค เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2503-2504 พ.ศ. 2505-2506พล.ต.นพ.สงวน โรจนวงศ นายก นพ.สมัย จนั ทวิมล นายกนพ.จิตต เหมะจฑุ า เลขาธกิ าร ศ.นพ.เสนอ อินทรสขุ ศรี เลขาธิการ

19MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2507-2508 พ.ศ. 2509-2510นพ.สงกรานต นิยมเสน นายก ศ.นพ.สนอง อนู ากูล นายกศ.นพ.สนอง อูนากลู เลขาธิการ ศ.นพ.ดิเรก พงศพ ิพัฒน เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2511-2512 พ.ศ. 2513-2514นพ.ดิเรก พงศพพิ ฒั น นายก ศ.นพ.บญุ สม มารต ิน นายกนพ.รุงธรรม ลดั พลี เลขาธกิ าร ศ.นพ.ขจร ประนิช เลขาธิการรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2515-2516 พ.ศ. 2517-2518ศ.นพ.สนอง อูนากลู นายก ศ.นพ.อุดม โปษะกฤษณะ นายกนพ.หทัย ชิตานนท เลขาธกิ าร นพ.สงคราม ทรพั ยเจริญ เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2519-2520 พ.ศ. 2521-2522ศ.นพ.เสม พริ้งพวงแกว นายก ศ.นพ.บุญธรรม สุนทรเกยี รติ นายกนพ.สงคราม ทรพั ยเจรญิ เลขาธิการ นพ.สงคราม ทรพั ยเจรญิ เลขาธิการ

20 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์รายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2523-2524 พ.ศ. 2525-2526พล.ท.นพ.ทิพย ผลโภค นายก นพ.ประกอบ ตูจินดา นายกนพ.ปณต มคิ ะเสน เลขาธกิ าร นพ.ปณต มคิ ะเสน เลขาธิการรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2527-2528 พ.ศ. 2529-2530นพ.สงคราม ทรพั ยเจรญิ นายก พล.อ.ต.นพ.ประกอบ บรุ พรัตน นายกนพ.ปณต มคิ ะเสน เลขาธิการ นพ.อดลุ ย วิรยิ เวชกลุ เลขาธิการรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2531-2532 พ.ศ. 2533-2534ศ.นพ.ประเสริฐ ทองเจริญ นายก พล.อ.สิงหา เสาวภาค นายกนพ.วินติ รอดอนันต เลขาธกิ าร พล.อ.ท.นพ.กติ ติ เยน็ สดุ ใจ เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2535-2536 พ.ศ. 2537-2538ศ.นพ.ปณต มคิ ะเสน นายก พล.อ.ท.นพ.กิตติ เย็นสดุ ใจ นายกนพ.ขจิต ชปู ญ ญา เลขาธกิ าร น.อ.ท.นพ.อภิชาติ โกยสขุ โข เลขาธิการ

21MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2539-2540 พ.ศ. 2541-2542นพ.ขจิต ชปู ญญา นายก ศ.นพ.อรุณ เผาสวสั ด์ิ นายกนพ.ไพฑรู ย ชวลิตธํารง เลขาธกิ าร น.อ.นพ.อภิชาติ โกยสขุ โข เลขาธิการรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2543-2544 พ.ศ. 2545-2546นพ.ไพจติ ร ปวะบตุ ร นายก พล.ร.ต.นพ.วิทุร แสงสงิ แกว นายกน.อ.นพ.อภิชาติ โกยสุขโข เลขาธกิ าร น.อ.นพ.อภชิ าติ โกยสุขโข เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2547-2548 พ.ศ. 2549-2550ศ.พญ.สมศรี เผาสวัสดิ์ นายก พล.อ.ท.นพ.อภิชาติ โกยสขุ โข นายกนพ.เอ้ือชาติ กาญจนพิทกั ษ เลขาธกิ าร พล.ต.ต.นพ.จงเจตน อาวเจนพงษ เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯพ.ศ. 2551-2552 พ.ศ. 2553-2554นพ.เอื้อชาติ กาญจนพิทักษ นายก พล.ต.ท.นพ.จงเจตน อาวเจนพงษ นายกรศ.นพ.ประเสริฐ ศัลยววิ รรธน เลขาธิการ รศ.นพ.ประเสริฐ ศัลยวิวรรธน เลขาธิการ

22 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์รายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2555-2556 พ.ศ. 2557-2558นพ.วันชาติ ศุภจตั รุ สั นายก รศ.นพ.ประเสรฐิ ศัลยววิ รรธน นายกศ.นพ.สารเนตร ไวคกลุ เลขาธกิ าร ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ เลขาธกิ ารรายนามกรรมการ รายนามกรรมการแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯพ.ศ. 2559-2560 พ.ศ. 2561-2562ศ.นพ.สารเนตร ไวคกลุ นายก ศ.นพ.รณชยั คงสกนธ นายกนพ.สวัสดิ์ เถกิงเดช เลขาธกิ าร ศ.ดร.นพ.ประกิตพนั ธุ ทมทติ ชงค เลขาธิการ

23MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND การดําเนินงานของแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ปจจบุ นั ป 2561-2562 นายกแพทยสมาคมฯ คือ ศ.นพ. รณชัย คงสกนธ

24 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ คณะกรรมการบริหารแพทยสมาคมแหง ประธานฝายสวสั ดิการประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ (ตามขอบังคบั ) มี ประธานฝา ยวิชาการทง้ั หมด 40 ทา น ประกอบดวย ประธานฝา ยการแพทยศาสตรศ ึกษา คณะกรรมการจากการเลอื กตง้ั จํานวน 11 ทา น ประธานฝายจรรยาแพทย  กรรมการกลาง จาํ นวน 29 ทา น ไดแก ประกอบดวย นายกแพทยสภา และ ผูแทน นายก ประธานราชวิทยาลัยตางๆ ผูแทนภาคตางๆ และ ผรู ้ังตาํ แหนง นายก กรรมการกลาง ที่ไดรับแตงตัง้ จากคณะกรรมการ อปุ นายก จากการเลอื กตัง้ เลขาธกิ าร  คณะกรรมการที่ปรึกษา เหรัญญิก  ผแู ทนเขตของแพทยสมาคมฯ ปฏคิ ม ประธานฝา ยวารสารการแพทย

25MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND การบรหิ าร กรรมการบริหารฯ และกรรมการทปี่ รึกษา มีการประชุมทกุ วันพุธที่ 4 ของเดือน ซึง่ กรรมการไดแตงตั้งกรรมการตางๆ เพือ่ ชวยดําเนินการในขอบเขตความรับผิดชอบของแตล ะฝา ยใหส ําเรจ็ ลุลวงไปดว ยดีงานบริหารสํานักงาน เนอื่ งจากแพทยสมาคมแหงประเทศไทยฯ ขณะ มอี ายุการกอตั้งจะครบ 8 รอบ ไดปรับปรุงหอง นทิ รรศการและหองสมุดของแพทยสมาคมฯ ให เปนพิพิธภัณฑอันทรงคุณคาของแพทยสมาคมฯ โดยไดร บั เงนิ สนบั สนนุ จากทา นอาจารยน ายแพทย ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ - หองนิทรรศการ ใชชื่อวา หอง “แพทยะ สมาคมแหง กรงุ สยาม” - หองสมดุ ใชชื่อวา “หอง ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ” โดยทา นอาจารยน ายแพทยป ราเสรฐิ ปราสาท ทองโอสถ ไดใหเกียรติมาเปนประธานในการ เปดหองพิพธิ ภัณฑ ทงั้ 2 หอง เมอื่ วนั พุธที่ 26 กรกฎาคม 2560 เวลา 10.00 น.  ไดรับเกียรติใหเปนเจาภาพการบําเพ็ญกุศล ถวายพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช โดยสํานักพระราชวังไดจัด วันบําเพ็ญกุศลของแพทยสมาคมแหงประเทศ ไทยฯ ในวันพฤหสั บดี ท่ี 1 มิถนุ ายน 2560 เวลา 17.00 น.

26 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ แผนงานผดงุ เกียรตวิ ิชาชีพ - จดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “เวลาการทํางาน และเสรมิ สร้างจริยธรรม สขุ ภาพและความปลอดภยั ” โดยแพทยสมาคม แหงประเทศไทยฯ รวมกับ สมาพันธแพทย จัดตงั้ โครงการบริหารความเสี่ยง เพือ่ ใหคํา โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป ณ ปรกึ ษาและใหค วามชว ยเหลอื แกส มาชิกทม่ี ปี ญหา อาคารกรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ กระทรวง ทางกฎหมาย หรือถูกฟองรองอันเนื่องมาจากการ สาธารณสขุ จงั หวัดนนทบุรี ประกอบวชิ าชพี แพทยตลอด 24 ชวั่ โมง - จัดการแถลงขาว บุหรี:่ ตัวรายทาํ ลายการ สรางสือ่ สัมพนั ธถึงสมาชิกใหมากขึน้ ผานชอง พฒั นา เนือ่ งในวันงดสูบบุหรี่โลก. ณ อาคาร ทางตา งๆ ดังนี้ เฉลิมพระบารมี ๕๐ ป โดยแพทยสมาคม - วารสารจดหมายเหตุทางแพทย ออกทุกเดอื น แหงประเทศไทยฯ รว มกับราชวิทยาลัยแพทย - จดหมายขา วแพทยสมาคมฯ ออกทุกเดือน ตางๆ จํานวน 14 ราชวิทยาลัย เมือ่ 30 - ลง Website ของแพทยสมาคมฯ www.mat- พฤษภาคม 2560 thailand.org โครงการปองกันความเสยี่ งในวชิ าชพี - ดําเนนิ การผลักดัน พ.ร.บ. ท่เี กี่ยวกับการ ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของบุคลากรวิชาชีพ สุขภาพที่เกิดความเสียหายแกผูปวยจากการ บริการดานการแพทยและสาธารณสุขโดยไม เจตนา ไมสามารถฟองเปนคดีอาญาได ทัง้ นี้ เพือ่ ใหเปนไปดวยความเรียบรอย ถูกตองตาม วตั ถุประสงค

27MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND - จัดการประชุม เรื่อง มาตรการรักษาความ  โครงการเยี่ยมเยือนเพอ่ื นสมาชกิ แพทย ปลอดภัยในสถานพยาบาล ณ หองประชุม ไดจัดกรรมการเดินทางไปเยีย่ มเยือนสมาชิก สยามมกุฎราชกุมาร อาคารเฉลมิ พระบารมี แพทยใ นตา งจงั หวดั เปน คร้ังคราว ๕๐ ป ซึง่ เปนการจัดประชุมรวมระหวาง แพทยสมาคมฯ แพทยสภา และ สํานักงาน  โครงการเสริมสรา งจริยธรรมวชิ าชีพ ตํารวจแหงชาติ บรรยายความรูเกี่ยวกับจริยธรรมใหเพื่อนแพทย ทัง้ ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน - นายกแพทยสมาคมฯ พรอมคณะกรรมการฯ เขายืน่ จดหมายสนับสนุน (ราง) พระราช บญั ญตั ิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ณ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ อาคาร 1 โดยเขา พบ นพ.มรตุ จริ เศรษฐสริ ิ โครงการแนะแนวชีวิตในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรมแกนกั ศึกษาแพทยปที่ 6 และแพทย ประจําบา นของคณะแพทยต างๆ กอนจะออกไป ประกอบวิชาชีพเวชกรรม เปนประจําทกุ ป ปละ 15-20 สถาบัน โดยไดรับการสนับสนุนจากมูลนิธิ ไฟเซอร เริ่มกิจกรรมมาตั้งแตป 2547 เปนตนมา จนปจจบุ ัน

28 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ แผนงานส่งเสริมการศึกษา การฝกึ อบรม และการวจิ ัยทางการแพทย์ งานจดั ทํา “จพสท” - จดั พิมพวารสารจดหมายเหตุทางแพทย - จัดพิมพบทความทางดานจริยธรรมในวารสาร จดหมายเหตุทางแพทยประจาํ ทกุ เดือน  งานสนับสนุนการทําวิจัยทางการแพทยและ จดั หาทนุ - มูลนิธิทาเคดา (Takeda Science Foundation) ไดใหทุนสมาชิกแพทยสมา คมฯ ไดมีโอกาสไปศึกษาดูงาน ณ ประเทศ ญี่ปุนครั้งละ 3 เดือน ปละ 4 ทนุ และทนุ ไป ศึกษาวิจัย ณ ประเทศญีป่ ุนเปนเวลา 1-2 ป จํานวน 1 ทนุ พรอ มทั้งทุน 6 เดือน จํานวน 3 ทุน ขณะนี้มีผูไดรับทนุ ทงั้ สิ้น 203 คน ทัง้ นี้ ตั้งแตป  2509 จนถงึ ปจ จุบนั

29MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND- ทุนวจิ ัย “นายแพทยป ราเสริฐ ปราสาททอง โอสถ” เริม่ มาตัง้ แต พ.ศ.2548 ทานอาจารย นายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ได มอบทุนวิจัยใหแพทยสมาคมฯ เปนจํานวน 1 ลานบาทตอป ในการสนบั สนนุ แพทย ทมี่ ี โครงการวิจัยทีจ่ ะกอใหเกิดประโยชนแก วงการแพทย เพือ่ ใหแพทยไทยไดเพิ่มพูน ความรูและคิดคนแนวทางการรักษาโรคสมยั ใหม หรือทาํ วิจัยเพือ่ นําผลมาประยกุ ตใช ทางการแพทยเพื่อแกไขปญหาสขุ อนามัยของ ประชาชนในชาติ และเผยแพรง านวจิ ัยใหร จู กั ในระดับนานาชาติ และ ตั้งแตป 2557 ทาน อาจารยนายแพทยปราเสริฐ ปราสาททอง โอสถ ไดเ พ่มิ ทุนวิจยั ใหเ ปน จาํ นวนเงิน 2 ลาน บาทตอป ปจจุบันมีผูไดรับทนุ ไปแลว จํานวน 85 โครงการ- ทุนวิจยั ของแพทยสมาคมฯ ปละ 1 ทุน ให ผทู ําวจิ ยั ปญ หาสาธารณสุขพน้ื ฐาน หรอื งานวจิ ยั เพื่อพัฒนาวธิ กี ารใหบ รกิ ารทางสาธารณสุข

30 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สงเสริมและสนบั สนุนแพทยทีเ่ สียสละดูแล นับถือของวงการแพทยทงั้ ในและนอก สุขภาพอนามัยความเจบ็ ไขไดปวยของ ประเทศ สมควรยกยอ งและมผี เู สนอชือ่ ประชาชนดวยความรูความสามารถและเปยม - รางวัลแพทยดีเดนของแพทยสมาคมฯ เปน ไปดวยคณุ ธรรมอยางดีเยี่ยม โดยการมอบรางวัล รางวัลสําหรับแพทยทปี่ ฏิบัติงานอยูในโรง ให จาํ นวน 2 ประเภท ไดแก พยาบาล และมีผลงานดีเดนเปนทีป่ ระจักษ - รางวลั สมเด็จพระวันรัตของแพทยสมาคมฯ จาํ นวน 3 ดาน ไดแ ก ดา นบรกิ าร, ดานบริหาร เปนรางวัลสําหรับแพทยผูมผี ลงานดีเดน และ ดานวิชาการ ทาํ ใหเกิดประโยชนแกสังคม เปนทีย่ อมรับ

31MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND งานประชมุ วชิ าการทางการแพทย - จดั การประชุมวชิ าการแพทยสมาคมฯ ประจําป 2560 (ครั้งที่ 61) ระหวางวันที่ 8 -10 กันยายน 2560 ณ Novotel Hua Hin Cha Am Beach Resort & Spa อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี โดยมที านผูวาราชการจังหวัด เพชรบุรีใหเกียรติมารวมเปนประธานครั้งนี้ ดวย - การจัดประชุมวชิ าการนานาชาติ หัวขอ “2nd One Health International Conference (OHIC 2017)” ระหวางวันที่ 14-15 ธันวาคม 2560 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนตแอทเซนทรัลพลาซา ลาดพราว

32 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ แผนงานพัฒนา ทําใหรูสึกวาทึบ สมองมันทึบ สมองมันตนั ก็เลย ประสิทธิภาพองคก์ ร เห็นวาเลิกสูบบุหรี่ดีกวา เห็นมีการรณรงคใหเลิก สูบบหุ ร่ี แลว ก็หา มขายบหุ ร่ี แกเ ดก็ อายุตํา่ กวา 18 นอกจากการดําเนินงานในดานของบคุ ลากร ทีจ่ ริงเดก็ อายุ 50 ก็ควรจะหาม” ประกอบกับแพทยแลว แพทยสมาคมแหงประเทศไทย ใน องคการอนามัยโลกมีคําขวัญวันงดสูบบุหรี่โลกวาพระบรมราชูปถัมภ ยังใหความสําคัญตอสุขภาพของ “บุคลากรวิชาชีพสุขภาพกับการควบคุมยาสูบ”ประชาชนเปนอนั ดับแรก และเมือ่ พระบาทสมเด็จ หมายความวากลุมวิชาชีพสุขภาพโดยเฉพาะแพทยพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ไดม พี ระราชดาํ รสั เปนผูท่จี ะชวยใหผูคนเขาใจและตระหนักถึงพิษภัยพระราชทานแกคณะบุคคลตางๆ ทีเ่ ขาเฝาฯ ถวาย ของบุหรี่ทีไ่ ดผลดีเพราะประชาชนเชือ่ ถือคําแนะนําชยั มงคล ในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลา ดานสุขภาพของแพทย ศาสตราจารยเกียรติคุณดสุ ิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯ วันเสารท่ี 4 แพทยหญิงสมศรี เผา สวัสด์ิ นายกแพทยสมาคมฯ ในธันวาคม พ.ศ. 2547 โดยมขี อความบางสวนในพระ ขณะนัน้ ไดรวมมือกับสํานักงานกองทนุ สนับสนุนการราชดํารัส “คนที่สูบบุหร่ี สมองก็ทึบ ทําไปทํามาก็ สรางเสริมสุขภาพ (สสส.)เชิญชวนแพทยจากสถาบันทึบขึน้ ทุกที เพราะวาเสนเลือดในสมองมันตบี มัน ตางๆรวมกันจัดตั้ง “เครือขายวิชาชีพแพทยในการเล็ก คิดอะไรไมออก ตอนแรกนึกวาคิดออก แต ควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู ” ขึ้นต้งั แต ป 2548 จนถงึทีหลังมันก็คดิ ไมออก ทีแรกนึกวาคนเราสูบบุหรี่ ปจจุบันเพื่อรวมกันพัฒนากลยทุ ธเชิงรุกใหแพทยทําใหกระฉับกระเฉง ตรงขามไมกระฉับกระเฉง นิสิตนักศึกษาแพทย และบุคลากรวิชาชีพสุขภาพ ตระหนักถึงความสําคัญและมสี วนรวมในการดูแล รักษาโรคเสพยาสูบ และ พัฒนาระบบเครือขาย บริการเลิกเสพยาสูบ โดยมีชุมชนเปนฐาน ซึ่งเปน ทม่ี าของ “คลนิ ิกฟาใส” จํานวน 391 แหง ทว่ั ประเทศ ในขณะนี้ ทที่ ําหนาท่ใี หบ ริการเลกิ ยาสูบแกประชาชน โดยไมม ีคา ใชจา ย และในปเดียวกันไดจัดตั้ง “เครือขายวชิ าชีพ สุขภาพเพือ่ สังคมไทยปลอดบุหรี”่ โดยเมือ่ เริม่ แรก จัดตั้งเครือขายนัน้ มีองคกรวิชาชีพดานสาธารณสุข

33MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDรว มดวย 5 องคกรคอื องคก รวชิ าชพี แพทย ทันตแพทย ควบคุมยาสูบยังเปนการดําเนินงานกันในวงจํากัดพยาบาล เภสชั และนกั สาธารณสุข และทานไดเชิญ ทาํ ใหไมมีประสิทธิภาพเพียงพอเมือ่ เทียบกับชวนองคกรอืน่ ๆอยางตอเน่อื ง จนปจจุบนั เครือขาย มาตรการเชิงรุกทเี่ พิม่ ขึน้ อยางมากและรุนแรงของวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบหุ รี่ มีองคกร อตุ สาหกรรมยาสูบ โดยเฉพาะอยางยง่ิ การดําเนนิ การวิชาชีพดานสาธารณสุขจํานวน 22 องคกร รวมกัน ควบคุมยาสูบยังจํากัดอยูเฉพาะหนวยงานภาคควบคุมการบรโิ ภคยาสบู และพฒั นาระบบการบริการ สุขภาพ และหนวยงานในเมืองเปนหลัก จึงมคี วามเลกิ ยาสบู ใหเ ขม แขง็ พรอมทัง้ ใหค วามรถู งึ พษิ ภยั บหุ รี่ จําเปนอยางยงิ่ ทจี่ ะตองแสวงหาความรวมมือรวมแรงและดําเนินการรณรงคมากมาย จนเปนทยี่ อมรับทงั้ เพิ่มขึ้นจากเครือขายทกุ ภาคสวนทีม่ ีบทบาทในการในประเทศและตางประเทศทั่วโลก และเมื่อป พัฒนาสังคมทงั้ ภาครัฐและภาคประชาสังคม ทัง้ ภาค2558เครือขายวิชาชีพสุขภาพเพือ่ สงั คมไทยปลอด การสาธารณสุขและนอกวงการสาธารณสุข เพ่ือรวมบุหรี่ไดรับรางวลั WORLD HEALTH PROFESSIONS กนั ขบั เคลื่อนการควบคมุ ยาสูบใหท ันตอ สถานการณที่ALLIANCE (WHPA) COLLABORATIVE PRACTICE เปลย่ี นไปมาก”AWARD 2015 ณ กรุงเจนีวา ซึง่ เปนรางวัลสําหรับเครือขายทีม่ ีองคกรวิชาชีพดานสาธารณสุขรวมกัน ดวยเหตุผลขางตนกลุมองคกรภาคีหลักทไี่ ดทาํ งานมากทีส่ ดุ และมีประสทิ ธิภาพ ผลงานชัดเจน รวมกันดําเนินงานควบคุมยาสูบ จึงไดเสนอใหมีการเปน รปู ธรรม จัดตัง้ “สมาพนั ธเครือขายแหงชาติเพอื่ สังคมไทย ปลอดบุหรี่ (สคสบ)” เปนพันธมิตรรวมสรางความและในป 2557 แพทยสมาคมแหง ประเทศไทย เขมแข็งในการควบคุมการบริโภคยาสูบ และขับในพระบรมราชูปถัมภ ไดเล็งเห็นถึงการเกิดนักสูบ เคลือ่ นยทุ ธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงชาติใหมีหนาใหมทีเ่ พิม่ ขึ้นในกลุมวัยรุน อันเปนสาเหตุทาํ ให ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อใหสังคมไทยเปนอตั ราการสบู บหุ รี่ของประเทศไทยแทบจะไมลดลง สงั คมปลอดบุหรี่เลย แพทยสมาคมแหงประเทศไทยฯ จึงไดจัดตัง้“โครงการพัฒนามหาวิทยาลยั สูการเปนมหาวิทยาลัย สมาพันธเครือขายแหงชาติเพือ่ สังคมไทยปลอดบหุ รี่”เพื่อสงเสริมและสนบั สนนุ กระตุน และ ปลอดบุหรี่ ซึ่งเปนองคกรที่มีสมาชิกประกอบดวยเสริมแรงใหมหาวิทยาลัยในประเทศไทยสามารถ บุคลากรหลายฝายทัง้ ภาครัฐและเอกชน อาทิเชนพัฒนาสูการเปนมหาวิทยาลัยปลอดบุหร่ี โดยมีการ องคกรวิชาชีพแพทย องคกรวิชาชีพสุขภาพ องคกรวางแผนการดําเนนิ การอยางเปนระบบ การติดตาม ดานการศึกษา ดานแรงงาน เครือขายพระสงฆกํากับดแู ล และประเมนิ ความกา วหนาของการพัฒนา สื่อสารมวลชน ศิลปนดารา มูลนิธิ ราชวิทยาลัยอยางตอเนื่องเพือ่ ใหเปนมหาวิทยาลยั ปลอดบุหรี่ตาม มหาวทิ ยาลัย ภาคประชาสังคมและองคกรตา งๆทงั้ ในเกณฑม าตรฐานมหาวิทยาลยั ปลอดบุหรี่ของประเทศ ประเทศและตางประเทศรวม 834องคกร รวมเปน พันธมิตรเครือขาย รวมสรางความเขมแข็งในการนับจากชวงเวลาทีแ่ พทยสมาคมแหง ควบคุมการบริโภคยาสูบ และรวมสนับสนุนการประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ ไดร ว มดําเนนิ การ ดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรการควบคุมยาสูบแหงควบคุมการบริโภคยาสูบกับภาคีเครือขายตางๆ เปน ชาติใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพือ่ สังคมไทยเวลามากกวา 10 ป ทําใหอ งคก รภาคีหลกั ทไี่ ดร วมกนั ปลอดบหุ รี่ดําเนนิ งานควบคุมยาสูบเห็นพองตรงกันวา “การ

34 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ การพัฒนาประสิทธิภาพองคกรดวยงาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว วิเทศสัมพันธ CMAAO GA ท่ีโตเกียว และ World Medical - สงเสริมความสัมพันธระหวางแพทยสมาคม Association General Assembly เปน แหงประเทศไทยฯ และแพทยสมาคมประเทศ ประจําทุกปตั้งแต 2546 เปนตนมาที่ ตางๆ โดยเขารวมประชุมกับการประชุม Fortaleza ประเทศ Brazil, Durban ประเทศ ประจําปของแพทยสมาคมประเทศอื่นๆ อยู แอฟริกา, กรุงมอสโค, ประเทศรัสเซีย, ไทเป เปนนิจ เชน กับแพทยสมาคมสาธารณรัฐ ประเทศไตหวัน เนื่องจากประเทศไทยเปน ประชาชนจีน มาเลเซีย ออสเตรเลีย อเมริกา สมาชิกของ WMA ดว ย ทําใหแ พทยสมาคมฯ ไตหวนั กมั พชู า เปนตน รวมท้ังเขา รว มประชุม แหงประเทศไทยฯเปนทรี่ ูจัก และยอมรับใน Asia Pacific Association of Medical ความเขมแข็ง จากแพทยสมาคมประเทศ Journal Editors (APAME) ที่เมอื งเวยี งจันทร ตา งๆ

35MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND- กรรมการบริหารของแพทยสมาคมแหงประ 4. นายแพทยว นั ชาติ ศุภจัตุรสั เทศไทยฯ ทีเ่ คยไดรับการเลือกตัง้ ใหดํารง Chair of CMAAO Council: 2006- ตําแหนงในสมาคมแพทยนานาชาติมีหลาย Present ทา น อาทิ President of the World Medical 1. นายแพทยส งคราม ทรัพยเ จรญิ Association: 2010-2011 President of CMAAO: 1988-1989 2. นายแพทยข จิต ชูปญญา 5. รองศาสตราจารยนายแพทยประเสริฐ President of MASEAN และ CMAAO: ศัลยว วิ รรธน 1998-1999 President of CMAAO: 2016-2017 3. ศาสตราจารยแพทยหญิงสมศรี เผา สวัสดิ์ President of CMAAO: 2008-2009 6. ศาสตราจารยน ายแพทยสารเนตร ไวคกุล President of MASEAN: 2016-2018

36 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ งานดําเนินการเกีย่ วกับที่ดิน สิทธิแลว ตองขายคืนใหแกแพทยสมาคมฯ ของแพทยสมาคมฯ ในราคาซื้อเดมิ 4. กรณีเจาของเสียชีวิตแลว คูครองสามารถ แพทยสมาคมฯ ไดดําเนินการดูแลทีด่ ิน พักอาศัยอยูตอได หรือหากไมประสงคอยูสวัสดิการแกสมาชิกในบริเวณบึงกุมกับบริเวณ ตอใหขายคืนแกแพทยสมาคมฯ ตาม ขอ 3คลองจั่น และ รวมทัง้ บริเวณลาดพราว ซึง่ ไดมกี าร ราคาตอ 1 ยูนิต = 5,600,000 บาท สถานริเริ่มมาในอดีต โดยมีคณะอนกุ รรมการฯ ดูแลให ทตี่ ัง้ โครงการอยูในซอยแพทยสมาคมฯถูกตองตามระเบยี บดําเนนิ การสละการถือครองทีด่ ิน (นวมนิ ทร 111 แยก 13) เขตบึงกุมสวนทีเ่ ปนถนน เพื่อเปนสาธารณประโยชน ปจจุบัน กรุงเทพมหานครทีด่ ินเปนของแพทยสมาคมฯ อยู จํานวน 45 แปลงไดดําเนินการจัดทําโครงการสวัสดิการบานพัก ทา นอาจารยน ายแพทยปราเสรฐิ ปราสาททองแพทยผสู ูงอายุของแพทยสมาคมฯ โดยไดแตง ตัง้ คณะ โอสถ ใหค วามอนเุ คราะหส นบั สนุนโครงการสวสั ดกิ ารอนกุ รรมการดาํ เนินโครงการ 14 ทาน มีศาสตราจารย บานพักแพทยผูสูงอายขุ องแพทยสมาคมฯ ซึ่งทานเกียรตคิ ณุ แพทยห ญิงสมศรี เผา สวสั ด์ิ เปนประธาน อาจารยนายแพทยปราเสริฐ ไดตอบตกลงท่ีจะใหการ สนับสนุนโครงการดังกลาวโดยทานยนิ ดีจะออกคาใช โดยใหคณะอนุกรรมการดําเนินโครงการฯ จายใหค รงึ่ หน่ึงมีหนาทีด่ งั ตอไปน้ี1. เสนอโครงการตอคณะกรรมการบริหาร แพทยสมาคมฯ แผนงานเพ่ิมประสิทธภิ าพ การบริการสมาชกิ ประชาชน2. ดําเนินการตามโครงการท่ไี ดรบั อนมุ ตั ิขอกําหนดเฉพาะเจาะจงและคุณสมบัติของ  งานปรับปรงุ ทําเนียบสมาชกิ แพทยผจู องหองพกั ปจจุบันจากขอมลู เมื่อธันวาคม 2560 แพทย1. ผูมีสิทธิเ์ ขาพักอาศัยตองเปนสมาชิกแพทย สมาคมแหงประเทศไทยฯ มีจํานวนสมาชิกสมาคมฯ ประเภทตางๆ ดงั น้ี2. มีอายุต้ังแต 55 ปข ้ึนไป สมาชกิ สามญั ตลอดชีพ จาํ นวน 25,344 ราย3. เมือ่ แพทยผูเปนเจาของไมประสงคจะใช ยวุ สมาชกิ จาํ นวน 6,926 ราย

37MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND งานปรบั ปรงุ Website ของแพทยสมาคมฯ ให Digest มารวมเพือ่ ใหเกิดการศึกษาและสือ่ สาร ทนั สมัย และเปนท่ีนยิ ม ในกลุมแพทยแบบครบวงจร (Social-Education สําหรับตัวเว็บไซตหลักและโดเมนเนม ฝาย and Research) โดยฝายประชาสัมพันธมีความ ประชาสัมพันธไดทาํ การกูคืนจาก Google Back มุงมั่นตอไปในการเชื่อมตอ ในดานการสื่อสาร lists ทีต่ ิดคางตัง้ แตประมาณ 5 ปกอนเรียบรอย ประชาสัมพันธทัง้ ระบบปด (Private Social ทาํ ใหขณะนีเ้ ราสามารถเขาผาน เว็บไซตทัง้ Network-MOU)และเปด (Publics-Website, https://www.mat-thailand.org และ http:// Facebook, You tube station) การศึกษา www.mat.or.th ซึง่ redirect โดเมนเนมเปน ตอเนอ่ื ง (CME-MOU) และ Research Network เว็บไซตหลักและสามารถผานไดทัง้ สองทางอยาง & Digest (JMAT-Research Network in มีประสิทธิภาพ สามารถหาชื่อองคกรไดพบจาก MASEANs-MASEAN GoJ-Research Digest) Google Search ในลําดับแรกและภายใน 1-5 ซึ่งขณะนีเ้ ริ่มเชือ่ มฐานขอมลู การออกและ ลําดับถัดมา รวมทัง้ ไดจัดทํา Tag สถานทใี่ น infrastructure เขา ดวยกันแลว เพือ่ การพฒั นาตอ Google Map ใหถูกตองและมีรายละเอยี ดครบ ไปแบบย่งั ยนื ถวน ในอนาคตจะปรับเปลี่ยนรูปแบบและทาํ เปน  งานดา นสวัสดิการสมาชกิ อิเลก็ ทรอนิกสมากขึน้ โดยจะครอบคลุมทัง้ ใน ไดจัดใหสมาชิกไปศึกษาสาธารณสุขมูลฐาน ดาน Website, ดาน Media และ Social เชน ประเทศเพือ่ นบานใกลเคียงเปนประจําทุกป ซึ่ง official sites ของ Face book, YouTube, พ.ศ. 2560 จัดไปประเทศอิหราน อารยธรรม Twitter ของแพทยสมาคมฯ ซึ่งไดจัดทาํ เรียบรอ ย เปอรเซีย (เตหะราน-ราชท-หมูบานมาซูเลห- แลว ในปทผี่ านมาไดทํา MOU กับ Platform ก า ซ วิ น - ชี ร า ซ - เ ป อ ร  ซี โ ป ลิ ส - ย า ซ ด  - น า อ ิน - Private Social Network for Doctors และยงั ทํา อศิ ฟาฮาน-หมูบา นอะบยี าเนห - คาชาน) MOU รวมกับทาง CME ทําใหเกิด Platform จัดทาํ เอกสิทธิ์ SCB First ของแพทยสมาคมฯ เฉพาะขึน้ เฉพาะแพทยในประเทศไทย คือ ใหกับสมาชิกแพทยสมาคมฯและเพื่อนแพทย Docquity CME+ ซึง่ จะเนนการสื่อสารในกลุม ทสี่ นใจ เปนเอกสิทธิพ์ ิเศษทีย่ กเวนเงื่อนไขทเี่ ปน แพทย เพือ่ ความปลอดภัยของขอมูล ความลับ ขอกําหนดปกติของ SCB First ของธนาคาร จริยธรรม ซ่ึงจะเริม่ เปดตัวในป 2561 สําหรับ ไทยพาณชิ ยโดยการประสานของทานนายก กาวแรกและกาวถัดไป โดยทาง จพสท.จะผนวก แพทยสมาคมฯ (ศ.นพ. รณชัย คงสกนธ) Platform ของ Research Highlight และ

38 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ งานบรกิ ารของสโมสรแพทย สมาชิกแพทยสมาคมฯ ในอตั ราพิเศษ วันละ โค ไดมหี องพัก บริเวณ ช้ันที่ 12 เพอ่ื ความสะดวกแก 1,000 บาท ผปู้ความเจริญกา้ วหนา้ และความสําเรจ็ ในการดาํ เนนิ งานของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปัจจุบัน เป็นผลสืบเนื่องมาจากคณะกรรมการบรหิ ารสมาคมทกุ ยุค ทกุ สมัย ได้ร่วมกันเสียสละเพ่ือพัฒนาองค์กรของเรามาอย่างตอ่ เน่อื งในทุกๆด้าน ตลอดระยะเวลา 98 ปี โดยมิไดม้ คี ่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น ทั้งนี้ก็เพื่อผดงุ ศักดิศ์ รีและอํานวยคณุ ประโยชนใ์ หแ้ กม่ วลสมาชิก และแพทย์ทุกท่าน ทัง้ นเ้ี พ่ือหวังท่จี ะให้วงการแพทย์ไทย มีช่ือเสียงเกียรตคิ ุณเป็นท่ีปรากฏขจรขจายไปท่วั ท้ังภายในประเทศและตา่ งประเทศ จึงขอเชิญชวนแพทย์ไทยทุกทา่ นได้รว่ มกันดําเนนิ ตามรอยพระยุคลบาท ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก องค์พระบิดาของการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย เพ่ือความเจริญรงุ่ เรอื งสถาพรของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเพ่ือความเปน็ ปกึ แผน่ มั่นคงของวงการแพทย์ไทยในภายหนา้ สืบไป

โครงการแพทยสมาคม SCB FIRST สำหรบั สมาชิกแพทย โครงการระหวา งวันที่ 12 ม.ค.-31 มี.ค.2561 โดยยกเวนเกณฑส นิ ทรัพยกบั ธนาคารไทยพาณชิ ยท ี่ 10 ลา นบาท ศาสตราจารย์นายแพทย์ รณชยั คงสกนธ์ ศ.นพ.รณชยั คงสกนธ ไดประสานกบั ธนาคารไทยพาณชิ ยเพ�อชวยเหลือการทำงานของแพทยและสนับสนนุ แนวนโยบาย ของนายกแพทยสมาคมฯ ธนาคารไทยพาณิชย จงึ มอบเอกสทิ ธิ์ SCB Frist สำหรบั สมาชกิ แพทย เงอ� นไขการสมคั ร นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ แพทยสมาคม SCB Frist เหมือนกับ การสมคั ร SCB Frist ปกติ ยกเวน เกณฑการมสี ินทรัพยก บั ธนาคารไทยพาณชิ ยท ี่ผูป้ ระสาน โครงการแพทยสมาคม SCB FIRST สำหรบั สมาชกิ แพทย์ 10 ลานบาท โดย มรี ะยะเวลาใชส ิทธใิ นโครงการ 2 ป ตามวาระการดำรงตำแหน�งนายกแพทยสมาคมฯ (2561 - 2562) โครงการแพทยสมาคม SCB FIRST สำหรบั สมาชิกแพทย ธนาคารไทยพาณิชยร ว มมือกับแพทยสมาคม ขอมอบสทิ ธิ์พิเศษบตั ร SCB FIRST อายุ 2 ป ใหก บั สมาชกิ แพทย โดยไทยพาณิชยขอสงวนสิทธกิ์ ารตออายุบตั ร แพทยทกุ คนที่มีใบประกอบวชิ าชีพเวชกรรม ท่ีรายไดต ้งั แต 50,000 ตอ เดอื นขน้ึ ไป แพทยส มาคมจัดสงจดหมายเชญิ สมาชกิ กลมุ แพทยทวั่ ไป โดยมรี ายละเอียดดังนี้สิทธปิ ระโยชนบ ัตร SCB FIRSTเอกสิทธ์ิคคู ิดทางการเงินและการลงทุนแบบ FIRST• บริการที่ปรกึ ษาทางการเงนิ และการลงทุนสว นบคุ คล พรอมดแู ลใหคาปรึกษาดานการบริหารสนิ ทรพั ยอ ยางครบวงจร• บรกิ ารรายงานสรุปขอ มูลการเคลอ� นไหวทางการเงนิ ในรายงานฉบับเดยี ว• บริการ Investment Center ศูนยรวมความรูและการใหคำแนะนำบริหารความมัง่ คัง่• สทิ ธ์ยิ กเวนคา ธรรมเนียมรายปบัตรเอทีเอม็ และบัตรเดบติ (1 บัตร/ป ไมรวมบตั รเดบติ พลสั ทกุ ประเภท)• สิทธสิ์ ว นลดคาธรรมเนยี ม 50 % สำหรบั เชาตนู ิรภัยรายป (1 ต/ู 1 ทาน/ป)• สิทธเ์ิ ขา รวมกิจกรรมสัมมนาพเิ ศษกบั ผูเชี่ยวชาญ เพอ� เสรมิ ทกั ษะความรูท างดานการเงิน การลงทุนเดินทางเหนือระดับแบบ FIRST• รับสิทธ์อิ พั เกรดบัตรช้นั โดยสารสายการบนิ ไทยสูงขึน้ 1 ระดบั (1 สิทธิ์/12 รอบบัญชีบัตรเครดิต) เสนทางบนิ ในทวีปเอเชีย• บริการหองรบั รองพิเศษช้ันธุรกจิ ของบริษัทการบนิ ไทย (2 สิทธิ์/ป) ไดทั้งเดินทางในประเทศและระหวางประเทศ• บรกิ ารหองรับรองพิเศษ Priority Pass ณ สนามบินช้ันนำทัว่ โลกกวา 1,000 แหง ใหผ ถู ือบตั รและผูตดิ ตามอกี 1 ทา น เฉพาะเดินทางระหวางประเทศ (ไมจำกดั จำนวนครงั้ )• ประกนั อุบัติเหตรุ ะหวางการเดินทางวงเงนิ คมุ ครองสูงสดุ 20 ลา นบาท (เมอ� ชำระคา บัตรโดยสารผา นบัตร SCB FIRST)เต็มทีท่ ุกไลฟส ไตลแ บบ FIRST• บริการนวดแผนไทยท่ี Health Land หรอื Let’s Relax (1 สทิ ธิ์/เดือน)• บรกิ าร Treatment Juventide Ultra Life Facial Treatment ท่ี DIVANA (2 ครั้ง/ป)• เครดติ เงนิ คนื สงู สุด 300 บาท/เดอื น ท่สี ุกี้ เอ็มเค หรือ S&P• บริการฟตเนส ณ โรงแรม และคลบั ชัน้ นำทงั้ ในกรงุ เทพฯ และตา งจังหวดั• สว นลดโรงแรมและรา นอาหารจากโรงแรมช้นั นำ ข้ันตอนการสมคั รบัตร SCB FIRST แพทยท์ ีส่ นใจสมคั รบัตร SCB First กรุณาติดต่อแพทยสมาคม โทร. 02-544-6867 เพอื่ ลงทะเบียนรบั สิทธ์ิ หลังจากนัน้ ทางเจ้าหน้าทีข่ อง ธ.ไทยพาณชิ ย์ จะติดต่อกลบั ปิดรับสมคั ร 31 มีนาคม 2561

40 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Presidential Report (in Brief)Dr. Wonchat Subhachaturas M.D. 61st WMA President from Thailand. During one year of my term of 61st. health personnel had been unethically andPresidency of the World Medical Association unjustified alleged. Many of them werestarted October 16th, 2010 in Vancouver, injured, tortured, punished, or jailed. ThoseCanada, to October 14th, 2011 in Montevideo, practices were unfair to the health andUruguay, there had been a lot of events medical personnel who had been doing theirongoing on this planet. The natural disasters jobs for humanity, the job that must bethat hit several countries from Chile, recognized worldwide both in peace and inChristchurch, Yunnan and the worst of the war.history was the city of Miyaki, Sendai, Japan,killing thousands of lives and leaving a great During that 12 month period, I had haddevastating loss to the city and subsequent the honour being invited as the President andleakage of the radiation from the power representative from WMA to visit andplants. It was not just the natural disasters delivered speeches at many places in manybut also the man made disasters that countries at their special occasions such assuperimposed and worsen the situations. The annual meetings of the Medical Associationspolitical conflicts around the Mediterranean and Medical Forums in 5 continents, onlyhad created and agitated the medical and one continent that I did not have thehealth professional instability. Many of the opportunity to visit was Africa.

41MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND I had the opportunity to encourage ourmember states and countries for the unity of our profession which I think is the most important and essential to bring usAchievement Secondly: In many occasions that the First and most important: I had partly WMA had produced statements either by WMA ourselves or in connection with thefulfilled my wish and policy in connecting the partners, alliances in protecting Healthpeople and to meet with our members as Professions including Medical Profession fromthe time allowed. Encouraged them about being unacceptable illegally treated,the medical Ethics, professional collaboration unethical or unfair justice such as in Iran,and empowered them to work for the Bahrain etc.community with the heart and soul ofMedical Profession as a representative of the Thirdly: I had the opportunity toWorld Medical Association. During my visits I encourage our member states and countrieshad also opportunity to learn a lot from their for the unity of our profession which I think isviews and policies some are similar and some the most important and essential to bring usare different depending on their culture and close relationship and ties for the internationaleconomy context but they can be bonded collaboration and sharing of the Medical andtogether. Health information. This will give us stronger voice in the global community.

42 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์Challenges What is my concern?1. There were still barriers and political Provision of Health care is the ultimate conflicts amongst states and countries goal of all health and medical personnel, but and in many occasions that health it could not be achieved if we don’t have provision was interfered and our Medical 1. Professional Unity and Health Profession had been affected. 2. Ethical Practice 3. Equitable provision of Health cares2. Economic Crisis that stayed for the period 4. Global collaboration within our profession of my term had been a great barrier of the development of medical care in many and with the other health alliances countries. without discrimination of races, nationalities, colours, beliefs, religions,3. Apart from the natural disasters that genders. happened around the world and killed 5. Care for our young generation thousands of people and a devastating 6. Independent from politics loss of economy there had been also 7. Professional social responsibility several manmade disasters especially around the Mediterranean that took away also a lot of lives. Medical Profession needs to be sincere andtrustful. Medical practice is a science supported byevidence-base, transparency, reasonable, neutral inpolitics, patient targeted and no boundary in between.Fake or non-evidenced allegation at each other is animportant mean of tearing us apart.

43MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND การประชมุ World Medical Association, General Assembly และ 192nd-193rd Council Sessions จัดขึน้ ระหว่างวนั ที่ 10-13 ตุลาคม 2555ท่โี รงแรม Centara Grand at World Trade กรงุ เทพฯ

44 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ประเภทของสมาชกิ และการสมัครเป็นสมาชกิ ฯ นายแพทย์ คมกรบิ ผ้กู ฤตยาคามี ประธานฝา่ ยทะเบียน แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ มีสมาชกิ ๕ ประเภท คือ 1. สมาชกิ สามัญ ไดแก สมาชิกทเี่ ปนแพทยศาสตรบัณฑิตซึง่ ได รับใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพเวชกรรมจากแพทยสภา 2. สมาชิกสามัญจากราชวิทยาลัย ไดแก สมาชิกทเี่ ปนสมาชิก สามญั ราชวิทยาลัยทางการแพทยตางๆ ทยี่ งั ไมไดสมัครเปน สมาชิกสามญั 3. สมาชิกวิสามัญ ไดแก สมาชิกทจี่ บการศึกษาแพทยศาสตร บณั ฑิตจากสถาบันตางๆ ทงั้ ในและตางประเทศทแี่ พทยสภา รับรอง แตยังไมไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม จากแพทยสภา 4. ยุวสมาชิก ไดแก สมาชิกที่เปนนิสิตหรือนักศึกษาแพทยจาก สถานศึกษาทีค่ ณะกรรมการบรหิ ารเชื่อถือ 5. สมาชิกกิตตมิ ศักดิ์ ไดแก บุคคลผูทรงคุณวุติหรือเกียรติคุณ ซึง่ คณะกรรมการบริหารไดมีมติเปนเอกฉันทเชิญใหเปน สมาชกิ เพ่อื เปน เกียรตแิ กสมาคมฯ

45MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND อัตราค่าบํารงุ สมาชิก1. สมาชิกสามัญ-ประเภทสามญั ตลอดชีพ ชาํ ระครง้ั เดียว 2,000 บาท ตลอดชีพ2. สมาชิกสามัญจากราชวทิ ยาลัย ใหเรียกเก็บจากราชวิทยาลัย แตละราชวิทยาลยั ตามจํานวนสมาชิกทีร่ าชวิทยาลัยแจง- ประเภทคา บาํ รงุ ตลอดชพี ชาํ ระครั้งเดยี ว 500 บาทตอ คน3. สมาชกิ วสิ ามัญ ใหช าํ ระเปน รายป ปละ 200 บาท4. ยวุ สมาชกิ ยกเวนคา บํารงุ สมาชกิ5. สมาชิกกิตตมิ ศกั ด์ิ ยกเวนคา บํารงุ สมาชิก การสมัครเป็นสมาชิก แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สามารถสมัครเปนสมาชิกแพทยสมาคมฯไดทเี่ ว็บไซต www. mat.or.th หรือ www.mat-thailand.org หรอื ติดตอโดยตรงที่ฝา ย ทะเบยี นของแพทยสมาคมฯ หมายเลขโทรศัพท 02-3144333 และ 02-3188170 นายแพทย คมกรบิ ผกู ฤตยาคามี ประธานฝา ยทะเบียน 089-7611441 www.mat.or.th www.mat-thailand.org

46 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์สิทธิประโยชน์ของสมาชิกฯ สิทธิประโยชนของสมาชิกแพทยสมาคมแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถมั ภ มีดงั น้ี 1 เมือ่ สมัครเปนสมาชิกแพทยสมาคมฯครบ 1 ป สามารถสมัคร ขอรับทุนแพทยสมาคมฯ ไดดังตอไปนี้ 1. ทุนทาเคดา (ทุนศกึ ษาดงู าน ณ.ประเทศญ่ีปุน) ปละ ๘ คน (ทุน 3 เดือน 4 คน, ทุน 6 เดอื น 3 คน, ทนุ 1 ป 1 คน) 2. ทุนวิจัยนายแพทยปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ ปละ 2,000,000 บาท 2 รางวัลสมเดจ็ พระวันรตั ปละ 1 รางวัล

47MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND34. รางวัลแพทยดีเดนของแพทยสมาคมฯ ปละ 3 ดาน ไดแก ดานบรหิ าร ดานบรกิ าร และ ดา นวิชาการ45. การเขาถึงหนังสือจดหมายเหตุทางแพทย แพทยสมาคมฯ ทกุ ๆเดือนและสามารถ download full paper ไดท ั้งหมด56. สามารถสงผลงานวิชาการเพือ่ ตีพิมพในวารสารจดหมายเหตุ ทางแพทยฯ67. สามารถสมัครเขา รับเลอื กต้งั และแตงตงั้ เปนกรรมการ แพทย สมาคมฯ78. ไดรับสวนลดพิเศษในการเชาสถานทีจ่ ัดประชุมอาคารเฉลิม พระบารมี ๕๐ ป จํานวน 40%89. สามารถเสนอความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอกรรมการ บริหารแพทยสมาคมฯ910. สทิ ธิการเขารว มกจิ กรรมตางๆ ของแพทยสมาคมฯ1101. สทิ ธิการใชบ รกิ ารโครงการ “สมาชิกสมั พนั ธ”1112. สิทธิการเขา ใชหองสมดุ ของแพทยสมาคมฯ1123. การสนับสนนุ ดานจรยิ ธรรม1134. สทิ ธกิ ารไดรับเอกสิทธิ์ SCB First ของธนาคารไทยพาณิชย1145. สิทธิการสมัครและเขารวมเปนสมาชิก แผนกสโมสร ของ แพทยสมาคมฯ ...... ฯลฯ .......

48 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ทศิ ทางการทาํ งาน: นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ วาระ พ.ศ. 2561-2562 ศาสตราจารย์นายแพทย์ รณชัย คงสกนธ์ นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ แพทยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรม สมาชิกแพทยสมาคมฯ ทกุ ทานครับ จากราชูปถัมภ ไดกอตั้ง เมื่อป พ.ศ.2464 สถานทีต่ ัง้ ประวัติศาสตรอันยาวนาน และถือเปนความภาคสาํ นักงาน คือ “อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ป” ซึง่ ภูมใิ จรวมกันของเรานับตัง้ แตกอตัง้ มาจนถึงปจจุบันอาคารแหงนีไ้ ดรับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาท รวมระยะเวลา 97 ป โดยตลอดระยะเวลาทีผ่ านมาสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถ แพทยสมาคมฯ ไดมกี ารพัฒนา กาวหนามาอยางตอบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนาม เนือ่ ง ประสบความสําเร็จเปนทีย่ อมรับทัง้ ในระดับอาคาร วา “อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ป” และนับ ชาติและนานาชาติอยางปจจุบันไดนัน้ ก็ดวยการเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาทีส่ ุดมิได เมือ่ ดําเนินงานของ อดีตนายกแพทยสมาคมฯ ทกุ ทานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และนับตัง้ แตกระผมไดมีโอกาสมาทํางานรวมกับบรมนาถบพิตร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหสมเดจ็ แพทยสมาคมฯ ก็ไดรับการสอนสัง่ จากทานอาจารยพระเจาอยหู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ทุกๆทานเม่อื ครัง้ ยังดํารงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไดเสด็จพระราชดําเนิน ในโอกาสทกี่ ระผมไดรับความไววางใจใหดํารงทรงทําพธิ ีเปด “อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ป” เมอื่ วนั ตําแหนง นายกแพทยสมาคมแหงประเทศไทย ในที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2540 พระบรมราชูปถัมภ ในวาระระหวางป พ.ศ.2561- 2562 นัน้ กระผมมีความตั้งใจทีจ่ ะทํางานรวมกับ คณะกรรมการฯ ทีม่ ีความรูความสามารถ ดวยวิสัย ทศั น 2 ป (3C 2S)

49MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDVision(3C 2S) ม่งุ มัน่ สร้างเสริม สวัสดิภาพ และความมน่ั คงในวชิ าชพี ของสมาชกิ แพทยสมาคมฯ (Comfortibility) มงุ่ มั่นสืบสาน แนวทาง จติ วญิ ญาณ ของแพทยสมาคมฯ (Continuity) สรา้ งความสัมพันธก์ ับองค์กรทางการแพทยร์ ะหว่างประเทศ (Connectivity) สร้างจติ สํานึก วิชาชีพแพทย์เพื่อสังคม (Social Responsibility) ยดื มัน่ วฒั นธรรม เคารพ ผู้อาวโุ ส (Seniority)

50 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มงุ มน่ั สรา งเสรมิ สวัสดิภาพ และความม่นั คงใน  สรา งจติ สาํ นกึ วชิ าชพี แพทยเ พ่อื สงั คม (Social ว ิช า ช พี ข อ ง ส ม า ช ิก แ พ ท ย ส ม า ค ม ฯ Responsibility) การทาํ งานทางดา นน้ขี องแพทย (Commitment to Security) แพทยม บี ทบาท สมาคมฯ ถอื เปน ภารกจิ หนง่ึ ท่ีสาํ คญั ทางดา นสงั คม หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบตอสุขภาพของ เพือ่ เปนสวนหนึง่ ในการสนับสนุนใหสังคมมกี าร ประชาชน ท้งั ในดา นการสง เสรมิ สนบั สนนุ ปอ งกนั พฒั นาไปในทางทด่ี ที ้งั สขุ ภาพและมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ี รักษาโรค และฟนฟูสมรรถภาพ ดังนั้นแพทยสมา ดขี ้นึ โดยจะเนน การสรา งจติ สาํ นกึ วชิ าชพี แพทยใ ห คมฯจะมงุ มน่ั สรา งเสรมิ สวสั ดภิ าพ รวมท้งั จดั ใหม ี แกแพทย ในการชวยเหลือผูปวย อนั จะกอใหเกิด สวัสดิการท่ีเหมาะสมตอการประกอบวชิ าชีพ โดย ความสัมพันธระหวางแพทยกับผูปวยทีม่ ีความไว จะมกี ารหาแนวทางในการปรับปรุงแกไขในสิ่งที่ วางไจกนั จะนาํ ไปสกู ารลดซ่งึ ความขดั แยง ท่ีอาจจะ เปน ปญ หาอยใู นปจ จบุ นั เพ่อื ใหเ กดิ ความม่นั คงใน เกิดข้ึนจากการทาํ งานของแพทย เกิดประโยชน วชิ าชพี แพทย สูงสุดตอผูปวย และประการสําคัญ คือ เปนการ นอมนําและสืบสานพระราชปณธิ านของสมเด็จ มงุ มน่ั สบื สาน แนวทาง จิตวิญญาณ ของแพทย พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรมพระบรมราช สมาคมฯ (Continuity) ดังที่แพทยสมาคมฯ มี ชนก “พระราชบิดาแหงการแพทยไทย” ดังพระ ประวัติอันยาวนาน มีการพัฒนา ใหเกิดความ ราชดาํ รสั ใจความตอนหนง่ึ วา “ขอใหถ อื ประโยชน กา วหนา ประสบความสาํ เรจ็ เปน ท่ียอมรบั ซง่ึ เกดิ สวนตนเปนทสี่ อง ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปน จากความตอเนอื่ งในการทาํ งาน ของทมี ผูบริหาร กิจทหี่ นึง่ ลาภ ทรัพยและเกียรติยศจะตกมาแก แพทยสมาคมฯ ทกุ ยคุ ทุกสมัย กอใหแพทยสมา ทานเอง ถาทานทรงธรรมะแหงวิชาชีพไวให คมฯ เกิดความม่นั คง เปนหลกั ในสังคมไทย ดังนี้ บรสิ ทุ ธ์”ิ ใหส มกบั เกยี ตรยิ ศ ศกั ดศ์ิ รวี ชิ าชพี แพทย ทีมบริหาร วาระสมยั นี้ จึงมุงมนั่ ทีจ่ ะสบื สาน แนวทาง จิตวิญญาณ รวมทงั้ สานตอในงานตางๆ  ขอยึดมัน่ วฒั นธรรมเคารพยกยอง ผูอาวุโส ใหเ กดิ ความตอ เน่ือง (Seniority) การใหค วามเคารพยกยอ ง ผใู หญ เปน วัฒนธรรมอนั ดีงามของสงั คมไทย โดยสวนตัวของ สรางความสัมพันธกับองคกรทางการแพทย กระผมนัน้ ยดึ มัน่ และ ใหความสําคัญในเรื่องนี้ ระหวา งประเทศ (Connectivity) การสรา งความ เพราะเราจะไดร บั แนะนาํ จากประสบการณท ่ีดขี อง สัมพันธกับองคกรทางการแพทยระหวางประเทศ ผูใหญ การใหคําปรึกษา คําแนะนํา รวมทงั้ ความ ถือเปน ภารกิจหนึง่ ทีส่ ําคัญของแพทยสมาคมฯ เมตตาท่ีทา นมตี อ เรา ทาํ ใหส ามารถทํางานไดอ ยา ง เพื่อจะไดพัฒนาความสัมพันธใหใกลชิด อนั จะนํา มัน่ ใจ ภายใตการสนับสนุนของผูอาวุโส จึงขอยึด ไปสูการแลกเปลี่ยนเรียนรู ความรวมมือทาง มนั่ วัฒนธรรมเคารพยกยองผูอาวุโสไว ใหกลาย วิชาการ การศึกษา และรวมกันทํางานเพือ่ สังคม เปน “วฒั นธรรมแพทยสมาคมฯ” สบื ตอ ไป แพทยในระดับนานาชาติ และอีกความภาคภูมิใจ ในการทาํ งานรวมกับทีมบริหารแพทยสมา ของแพทยสมาคมฯ เมอื่ ครั้งหนึ่ง เราไดรับเกียรติ ให นายกแพทยสมาคมแหงประเทศไทยฯ ดํารง คมฯ ในชว งตอไปนี้ ในสว นแรก คือ สานตอโครงการ ตาํ แหนง เปน นายกแพทยสมาคมโลก นพ. วนั ชาติ หรือภารกิจทสี่ ําคัญ ของแพทยสมาคมฯ ทไี่ ดดําเนิน ศุภจัตุรัส (พ.ศ. 2553) นับเปนเกียรติภูมทิ างการ งานมาและกําลังดําเนินการอยู ใหเกิดความตอเนื่อง แพทยไ ทย ซง่ึ เปน ท่ยี อมรบั ในระดบั นานาชาติ บรรลุตามเปาหมายหรือวัตถุประสงคของโครงการ

51MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDหรอื ภารกิจน้นั เชน  โครงการยุวชนแพทย  การใหความชวยเหลอื แพทย กรณมี ีความ  โครงการ Senior complex เส่ียงตอการฟอ งรอ ง  โครงการสาธารณสุขมูลฐาน  โครงการ วิชาชีพสขุ ภาพเพือ่ สงั คมไทย  โครงการประชมุ วิชาการประจาํ ป ปลอดบุหร่ี  โครงการ ขยายสมาชิกแพทยสมาคมฯ  โครงการวิชาพชีพแพทย เพื่อสังคมไทย จากการที่ มแี นวทางการทํางานทดี่ ีของ ปลอดบุหร่ี โครงการหรือภารกิจทสี่ ําคัญ ของแพทยสมาคมฯที่  โครงการสมาพันธแหงชาติเพื่อสงั คมไทย กลาวมาขางตน ประกอบกับความมุงมัน่ ความตั้งใจ ปลอดบุหร่ี อยางสูงสุด ของทีมบริหารวาระสมัยนี้ ในกาวตอไป  โครงการคัดเลือก แพทยดีเดนแพทยสมา ของแพทยสมาคมฯ จึงไดมแี นวคิดทจี่ ะสรางคุณคา คมฯ และคัดเลอื กผูร บั ทนุ วิจยั ทนุ ศกึ ษาดู ของการปฏิบตั งิ าน อนั จะนําพาแพทยสมาคมฯ ใหทัน งาน Takeda ตอความเปลี่ยนแปลงทัง้ สังคมไทยและสังคมโลก  โครงการ วเิ ทศสัมพนั ธ และกาวหนาสูระดับสากล เปนประโยชนตอประเทศ  วารสาร จดหมายเหตุทางการแพทย ชาติและสังคม จงึ ไดต ้งั คุณคาการปฏิบตั ิงานไว ดังนี้ ( จพสท)MAT Strategic 2 Years Value Plan INCREASE RECOGNIZE STRENGTHENMAT and members Leadership in Plan’s value and engagement and medical profession with satisfaction, reach as an community quality care and integrated finance involvement utilization and delivery efficiency system with accountability EXPAND ACCELERATE OPTIMIZEInternational MAT’s reputation Performance on for advancing cost controls, Network professional technology support and adoption and strategic expansion linkage

52 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ACCELERATE ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ MAT’s reputation for advancing professional support and linkage INCREASE แพทยสมาคมฯ จะมีการนําเสนอเผย MAT and members engagement แพรการดําเนินงานตางๆ ซึ่งเปนการสนับสนุนand community involvement และเชื่อมโยงกับระบบสุขภาวะของสังคมไทย แพทยสมาคมฯ และสมาชิกแพทย ทุกมิติ อันจะนําไปสูการสนับสนนุ ความรวมมือสมาคมฯ มีบทบาทและมสี ว นรวมกบั สังคมเพิ่ม ทีด่ ี และกอใหเกิดการรับรูแกประชาชนและมากขึน้ ดวยการสรางความตระหนักในฐานะ สงั คมถึงบทบาทของแพทยสมาคมฯผูประกอบวิชาชีพแพทย ใหสามารถทาํ งานกับสังคมและชุมชน เพื่อการดูแลสขุ ภาพคนไข STRENGTHENและประชากร ตลอดจนเขาใจและแสดง Plan’s value and reach as anบทบาทแกไข ปจ จัยเชงิ สังคม ท่มี ีผลตอสขุ ภาพ integrated finance and delivery system with accountability EXPAND แพทยสมาคมฯ จะมีการจัดทําแผน International Network ทางการเงินอยางเปนระบบ มุงเนนใหเกิด แพทยสมาคมฯ จึงมกี ารขยายเครอื ขา ย ประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนบูรณาการรวมกับในระดับนานาชาติ เพือ่ เพิ่มความเขมแข็งใหแก สถาบันการเงิน เพื่อจัดประโยชน ในรูปแบบองคกร และเหตุผลอกี ประการสาํ คัญ คือ สวัสดิการ หรือเอกสิทธิพิเศษ อนั จะเปนการเพอ่ื กอใหเกดิ ประโยชนใ นการแลกเปล่ียน องค เสริมสรางขวัญและกําลังใจ ความมัน่ คง แกความรู ขาวสาร ขอมูลระหวางกัน ตลอดจน สมาชกิ แพทยการทํากิจกรรมทางสังคมแพทยรวมกนั OPTIMIZE RECOGNIZE Performance on cost controls, Leadership in medical technology adoption and strategicprofession with satisfaction, quality expansioncare and utilization efficiency แพทยสมาคมฯ จะมงุ สรา งประสิทธภิ าพ แพทยสมาคมฯ มุงมัน่ ทจี่ ะสรางความ ในการปฏิบัติงานในทุกภารกิจ ซึ่งจะใชตะหนกั รู ในการเปนผูนาํ ในวิชาชีพแพทย ให ทรัพยากรทมี่ ีอยูใหเหมาะสมในทุกดาน ทงั้แกแพทยผูประกอบวิชาชีพแพทย ในการดูแล การนําเทคโนโลยี และนํากลยทุ ธการขยายตัวผูปวย ใหไดร ับการรกั ษาอยางมีคุณภาพ ตลอด มาปรับใชอยางเหมาะสมในการดําเนินงานจนการใชทรัพยากรทางการแพทยรวมกัน กิจกรรมโครงการใหม หรือเพิม่ มูลคาหรือตออนั จะเกิดผลสมั ฤทธิต์ อสุขภาพของประชาชน ยอดกิจกรรมเดิมทีอ่ ยูระหวางดําเนินการ ใหอยา งสูงสดุ เกิดประสิทธิภาพในทุกมิติ

53MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND ดว ย วสิ ัยทัศน และ คณุ คา การปฏิบตั ิงานทตี่ ้ัง ประจําป 2560 เมือ่ วันที่ 20 มกราคม 2561 โดยมีไว จึงมีความจําเปนทจี่ ะตองมโี ครงการ ทจี่ ะดําเนิน ผูเขารวมรับฟง และเปนผูรวมทาํ งาน จํานวน 375การอยา งเปนรปู ธรรม เพอ่ื ใหส ามารถท่ีจะบรรลุ ตาม ทาน จึงขอนาํ มาเสนอ โครงการทีจ่ ะเปน ประโยชนตอเปาหมายที่ตัง้ ไว โดยโครงการตางๆ ไดแถลงเปน แพทยสมาคมฯ สมาชิกแพทย ประชาชน และสังคมนโยบายการทาํ งานไวใน ทีป่ ระชุมแพทยสมาคมฯ โดยท่ีจะมกี ารดําเนนิ การ จาํ นวน 9 โครงการ ดังนี้9 Projects drive for the GoalDDD (Doctor Do ดี, Doctor ดู ด)ี การสรรหา แพทยท์ ่มี ีจริยธรรม เพ่ือสงั คม สมควรตอ่ การยกย่อง ถา่ ยทอดผ่านส่อื เพ่ือ ความเขา้ ใจ มุมบวกต่อการทา� งานของแพทยท์ ่เี สยี สละเพ่ือผ้ปู ว่ ยPSG (Patient Supporting Group) จดั ต้งั ชมรม ผู้ป่วย กลุ่มโรคเบ้อื งตน้ 8 กลุ่ม ผปู้ ว่ ย : เบาหวาน โรคมะเรง็ โรคปอด โรงสมองเส่อื ม โรคเขา่ เส่อื ม ฯลฯ Education , media , support good practiceRMA (Regional Members Activities) รว่ มประชุมประจา� เขต กบั ผู้ตรวจ 13 เขต พบปะสงั รรค์ รับทราบการท�างานของแพทย์ สรา้ งความเข้าใจ บทบาท แพทยสมาคมฯ ต่อ สมาชิกแพทยสมาคมฯHPA (Health Professional Alliance) พันธมติ ร กับ สมาคมวชิ าชีพทางดา้ นการแพทย์ ร่วม สร้างสวสั ดิภาพการท�างาน เพ่ือสังคมไยHealth care in Danger มุ่งเน้น การหามาตรการ ป้องกนั ภาวะคกุ คามต่อแพทย์ สรา้ งภูมิคุ้มกันการท�างานของแพทย์MPI (Medical Practice Improvement) สรา้ งสรรค์ การฏบิ ัตงานทางการแพทย์ ท่ี ควรค่าต่อการยกย่อง และ ลดซงึ่ ความขดั แยง้ มงุ่ สร้างสวัสดิภาพต่อสมาชิกแพทย์ในการปฏบิ ตั ิงานFSS (Financial Sustain and Secure) มุ่งสรา้ งฐานะทางการเงินของ MAT มน่ั คงและยั่งยืน แนวทางการหาเงนิ ทุนสนับสนนุ มากขึ้นIT for MAT Visibility มุง่ สู่ MAT 4.0EC (Ethical Consideration) ส่งเสริมจรยิ ธรรมทางการแพทย์ ยกยอ่ ง แพทย์ ผูเ้ สยี สละเพ่ือสงั คม

54 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์1 โครงการ สื่อสังคมแพทย์ คณุ ธรรม2 (โครงการ DDD : Doctor do ดี และ Doctor ดู ด)ี เปนโครงการที่ แพทยสมาคมฯ จะมกี ารคัดเลือกแพทยทีม่ จี ริยธรรม สมควรตอ3 การยกยองนาํ เสนอตอสงั คมผานสื่อ ใหเขาใจถึงบทบาท หนาท่ีการทํางานของแพทยที่4 อุทิศตนเสยี สละเพ่ือผปู วยและสวนรวม5 โครงการ อ่นุ ใจ เมื่อใกล้แพทยสมาคมฯ (Patient Supporting Group : PSG) เปนโครงการ ทแี่ พทยสมาคมฯ จะสนับสนุนใหม ีการจัดตัง้ ชมรมผูปว ย กลุมโรค เบอื้ งตน 8 กลุม เชนผูปวย โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคปอด โรคสมองเสื่อม โรค เขาเสอื่ ม ฯลฯ เพือ่ ทจี่ ะใหความรูแกผูปวย และจะมีการถอดบทเรียนที่ไดจากการ ตั้งชมรม หรือกลุม เพื่อประโยชนใ นดานการศึกษาในรูปแบบสือ่ ประเภทตา งๆ โครงการ แพทยสมาคมฯ สัมพันธ์สาธารณสุข (Regional Members Activities: RMA) เปนโครงการ ทีแ่ พทยสมาคมฯ จะมีการรวมประชุมประจําเขต กับ ผูตรวจ ราชการกระทรวงสาธารณสุข ทัง้ 13 เขต เพือ่ พบปะสังสรรค สงเสริมความสําเร็จ รบั ทราบการทาํ งานของแพทย และสรางความเขา ใจบทบาทแพทยสมาคมฯ ตอ สมาชิก แพทยสมาคมฯท่ัวประเทศ โครงการ ภาคแี พทยข์ ับเคลอ่ื นสุขภาวะไทย (Health Professional Alliance :HPA) เปน โครงการ ทแ่ี พทยสมาคมฯ จะเปน ภาคีพนั ธมติ ร กบั สมาคมวชิ าชีพทางดา น การแพทย โดยจะรวมกันสรางสวัสดิภาพ เพือ่ สนับสนุนการทาํ งานของแพทย ใหทาํ หนาที่แพทยอยา งเต็มกําลงั ความสามารถอนั จะนําไปสสู ขุ ภาวะที่ดีของสังคมไทย โครงการ คมุ้ กนั ภยั คุกคาม (Health care in Danger :HCD) เปน โครงการ ทแี่ พทยสมาคมฯ จะรวมคนหามาตรการ วธิ ีการ เพื่อปอ งกนั ภาวะ คกุ คามตอแพทย และรวมสรา งภูมคิ ุมกันการทาํ งานของแพทย

55MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND6 โครงการ MAT-Med Best Practice7 (Medical Practice Improvement:MPI)8 เปนโครงการ ทแี่ พทยสมาคมฯ จะสรางแนวทางการปฏิบัติงานทางการแพทย9 ทเ่ี ปน Best Practice ควรคา ตอ การยกยอ ง นําไปสูการขยายผลแนวทางการปฏิบตั ิงาน เพื่อลดซึง่ ความขัดแยงหรือความไมเขาใจในแนวทางการปฏิบัติงาน และมุงสราง สวัสดภิ าพตอสมาชกิ แพทยใ นการปฏิบตั ิงาน โครงการ Happy MAT Money (Financial Sustain and Secure : FSS) เปนโครงการ ทีแ่ พทยสมาคมฯ มุงสรางฐานะทางการเงินของแพทยสมาคมฯ ใหมคี วามเขมแข็ง มีการจัดทาํ แผนการเงิน เพื่อใหเกิดม่ันคงและยัง่ ยนื ทางการเงิน บรู ณาการรวมกับสถาบนั ทางการเงิน เพื่อเปนแนวรวมทางการเงิน และสรางแนวทาง การจัดหาแหลง เงินทุนสนับสนนุ มากข้ึน เพอ่ื ใชส นบั สนนุ การดาํ เนินงานตามภารกจิ ของ แพทยสมาคมฯ ใหบรรลุตามเปา หมาย โครงการ IT for MAT Visibility เปนโครงการ ทแี่ พทยสมาคมฯ มุงเนนการบริหารจัดการโดยเทคโนโลยี สารสนเทศ มาพัฒนาการบริหารงานทีม่ ีประสิทธิภาพ และเปนชองทางในการสือ่ สาร กบั สมาชิกแพทย เผยแพรข อ มลู ขาวสารทางการแพทยแกป ระชาชน โดยสามารถเขาถงึ ขอมลู ไดอยางรวดเร็ว และมีระบบความปลอดภัยดานสารสนเทศ ซึง่ จะสอดคลองกับ นโยบาย Thailand 4.0 โครงการ จริยธรรมนําแพทย์ (Ethical Consideration :EC) เปน โครงการ ที่แพทยสมาคมฯ มุงสง เสรมิ จรยิ ธรรมทางการแพทย โดยเนน ให เกิดวิธีปฏิบตั ิบนพืน้ ฐานหลักจริยธรรมวาแพทยทีค่ วรปฏิบัติตอผูปวยอยางถูกตองและ เหมาะสม ลดปญหาความขัดแยงในแงจริยธรรม (Medical dilemma) และยกยอง แพทย ผอู ุทศิ ตนในการปฏิบัตหิ นาที่ และบําเพญ็ ประโยชนเสยี สละเพอ่ื สังคม

56 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ โดยความสาํ คัญของการปฏิบตั ิงานทงั้ หมด ก็  รวมมอื กับองคกรทางการแพทยตาง ๆ ทัง้ หนวยจะเปนการดําเนินงาน เพือ่ ใหบรรลุตามวัตถุประสงค งานของรัฐและเอกชนในการพัฒนามาตรฐานการของแพทยสมาคมฯ คอื ใหการรักษาพยาบาล และการสาธารณสุขของ ชวยเหลอื และสงเสรมิ การประกอบวิชาชีพแพทย ประชาชนทงั้ ประเทศใหอยูในระดับมาตรฐานที่ นานาอารยประเทศรบั รอง ใหอ ยใู นกรอบแหง จรรยาบรรณ สง เสรมิ สามคั คธี รรมและจรรยาแพทย ในหมมู วล  เผยแพรค วามรเู กย่ี วกบั การแพทยแ ละสาธารณสขุ แกประชาชน เพือ่ ใหประชาชนสามารถปฏิบัติตน สมาชกิ ใหถ กู ตอ งทัง้ ดา นการปอ งกนั และการรกั ษาโรค สง เสรมิ การแพทยศาสตรศ กึ ษา การวจิ ยั และการ  รว มมือกบั องคก รทางการแพทยใ นตา งประเทศ ใน บรกิ ารทางการแพทย การรักษาระดับมาตรฐานการดูแลสุขภาพอนามัย สง เสรมิ สวสั ดภิ าพของสมาชกิ ของประชากรโลกMedical Association of Thailand Promotion and maintain the Professional Ethics Promotion of the Professional solidarity Promotion of Medical Education, Researches & Services Promotion of member welfare Cooperate & collaborate with governmental & private organizations Advocate Medical & Health education to public Collaborate with int’l organizations to leverage the global Health Care

57MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDด้วยวสิ ัยทัศน์น้ี ประกอบกับ คุณค่าการปฏิบัติงาน แผนงานโครงการที่ชัดเจน ที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์แพทยสมาคมฯ ตลอดจนการสานตอ่ โครงการทีด่ ําเนินการไว้ รวมกบั ความมงุ่ มน่ัรว่ มมือ ร่วมใจของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ท่ีจะดําเนนิ งานใน 2 ปีตอ่ ไปนี้ จะเป็นประโยชนต์ ่อประเทศชาตแิ ละสังคมไทย ในท้ายนี้กระผมขอแสดงความขอบคุณ ท่านอาจารย์ผู้บรหิ าร สมาชกิ แพทยท์ กุ ทา่ น ที่ใหก้ ําลงั ใจและร่วมช่วยเหลอื กิจการของแพทยสมาคมฯ มาโดยตลอด…ขอบพระคณุ ครบั

58 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ รายนาม ราชวิทยาลยั แพทย์ตา่ งๆ1 ราชวทิ ยาลยั แพทย์ออรโ์ ธปดิ ิกส์แหง่ ประเทศไทยประธาน ศ.นพ.บรรจง มไหสวริ ยิ ะ 081-8148299เลขานกุ าร น.ส.ศิริรัตน์ รักพันธ์02-7165439 [email protected] ราชวทิ ยาลยั วสิ ัญญแี พทย์แหง่ ประเทศไทยประธาน พญ.ประภา รตั นไชย 088-7821156เลขานุการ คณุ ละอองดาว กบลิ พัสด์ุ02-7167220 [email protected] ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ประธาน ศ.นพ.ธนพล ไหมแพงเลขานกุ าร น.ส.ธนาศิริ รตั นวศิ ิษฏ์กลุ02-7166141 [email protected]

59MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND4 ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ประธาน ศ.เกยี รตคิ ณุ นพ.อมร ลลี ารัศมี 081-8304283เลขานกุ าร นางวรรณพร ลอยสวสั ดิ์02-7166744 [email protected] ราชวทิ ยาลยั สูตนิ รีแพทย์แห่งประเทศไทย ประธาน ศ.นพ.ภเิ ศก ลมุ พิกานนท์เลขานุการ น.ส.จีระพันธุ์ มวลจมุ พล02-7165721-22 [email protected] [email protected] ราชวิทยาลัยรังสีแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย 089-6336542 ประธาน รศ.พญ.อญั ชลี ชโู รจน์เลขานุการ น.ส.ธัญลกั ษณ์ กจิ รุ่งไพโรจน์02-7165963 [email protected] ราชวิทยาลยั กมุ ารแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย 098-2461549ประธาน ศ.นพ.พิภพ จิรภิญโญเลขานุการ คุณอรัญญา ประเสรฐิ สุข02-7166200-1 [email protected] ราชวทิ ยาลัยจกั ษุแพทยแ์ ห่งประเทศไทย ประธาน รศ.นพ.อนชุ ติ ปุญญทลังค์เลขานกุ าร คณุ จิราพร สุวรรณธรรมา02-7180715-6 [email protected] ราชวทิ ยาลัยแพทย์เวชศาสตรฟ์ ้ นื ฟูแหง่ ประเทศไทย ประธาน พญ.อุไรรตั น์ ศิริวฒั น์เวชกุลเลขานุการ นางศิรพิ ร ศิรวิ ัฒนานกุ ลู02-7166809 [email protected]

60 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์10 ราชวทิ ยาลยั ประสาทศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ประธาน พล.ต.นพ.สิรรุจน์ สกลุ ณะมรรคา เลขานุการ พ.ต.หญิงเพ็ญศรี ญะวงษา 02-7181996 02-7181997 E-mail : [email protected] ราชวทิ ยาลยั แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแหง่ ประเทศไทย ประธาน ผศ.ดร.นพ.อภนิ ันท์ อรา่ มรตั น์ เลขานุการ นางศรีสุดา ประชากลู 02-7166651 02-7166653 [email protected] ราชวทิ ยาลยั พยาธแิ พทย์แหง่ ประเทศไทย ประธาน นพ.ทรงคณุ วิญญวู รรธน์ เลขานุการ น.ส.จรรยา ประจงจัด 02-3548200 02-3548208 [email protected] ราชวิทยาลยั จิตแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย ประธาน พ.อ.หญิงนวพร หริ ญั วิวัฒน์กลุ เลขานกุ าร น.ส.จันทนา คาํ ประกอบ 02-6404488 02-6404488 [email protected] ราชวิทยาลยั โสต ศอ นาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย ประธาน ศ.พญ.เสาวรส ภทรภกั ดิ์

61MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDสมาคมแพทย์ต่างๆ ในอาคารเฉลมิ พระบารมี ๕๐ ปี1 สมาคมแพทย์เวชปฏิบัติทัว่ ไป/เวชศาสตรค์ รอบครวั ประเทศไทยนายกสมาคม พญ.สุพัตรา ศรีวณชิ ชากรเลขานุการสํานกั งาน คุณศรีสุดา ประชากุล02-716-6651-2 [email protected] สมาคมอัลตร้าซาวด์ทางการแพทยแ์ ห่งประเทศไทยนายกสมาคม รศ.พญ.วลัยลกั ษณ์ ชยั สูตรเลขานุการสํานักงาน คุณสืบศรี ธุพันธ์02-718-1703 [email protected] สมาคมศัลยแพทยท์ ัว่ ไปแหง่ ประเทศไทยนายกสมาคม นพ.สุทธจติ ลีนานนท์เลขานุการสํานกั งาน คณุ สุภาวรรณ เสนีรตั น์02-716-6450 [email protected]

62 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์4 สมาคมศัลยแพทยท์ รวงอกแห่งประเทศไทยนายกสมาคม นพ.สมภพ พระธานีเลขานุการสํานักงาน คณุ มาเรยี ฟรานซสิ กา ส่ิงชูวงศ์02-318-2711 [email protected] สมาคมโรคเบาหวานแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์นายกสมาคม ศ.เกยี รติคณุ พญ.วรรณี นิธยิ านันท์เลขานุการสํานักงาน คุณวรนั ทย์ า พีรภัทรเวธน์02-716-5412 [email protected] สมาคมโรงพยาบาลเอกชน นพ.พงษ์พัฒน์ปธานวนิชนายกสมาคมเลขานกุ ารสํานักงาน คุณพัชรา สุริยา02-716-7058 [email protected] สมาคมความดนั โลหิตสูงแหง่ ประเทศไทยนายกสมาคม ศ.นพ.อภิชาต สุคนธสรรน์เลขานุการสํานกั งาน คุณซาลิคอ หมดั มี02-716-6448 [email protected] สมาคมจกั ษุแพทยแ์ ห่งประเทศไทยนายกสมาคม รศ.นพ.อนุชิต ปุญญทลงั ค์เลขานุการสํานักงาน คุณจิราพร สุวรรณธรรมา02-7180715-6 [email protected] สมาคมโลหติ วิทยาแห่งประเทศไทยนายกสมาคม นพ.วชิ ยั ประยูรววิ ฒั น์เลขานกุ ารสํานักงาน คณุ คนึงนติ ย์ ต้งั ใจตรง02-716-5977 [email protected]

63MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND10 สมาคมตอ่ มไร้ท่อแหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม นพ.บุญส่ง องคพ์ ิพัฒนกุล เลขานกุ ารสํานกั งาน คณุ สมพร สุขสุทธิ์ 02-716-6337 02-716-6338 [email protected] สมาคมรมู าติสซ่ัมแหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม พญ.กนกรตั น์ นันทริ ุจ เลขานุการสํานกั งาน คณุ สุจนิ ดา ใจใส 02-716-6524 02-716-6525 [email protected] สมาคมแพทย์ผิวหนังแหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม รศ.นพ.นภดล นพคุณ เลขานุการสํานักงาน คุณสุรีย์พร ไตรรัตน์ 02-716-6857 02-716-6857 [email protected] รังสีวิทยาสมาคมแหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม พญ.จามรี เช้อื เพชระโสภณ เลขานุการสํานกั งาน - 02-716-6583 02-716-6594 [email protected] สมาคมเวชศาสตรป์ ริกําเนดิ แหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม ศ.นพ.ประทักษ์ โอประเสริฐสวสั ดิ์ เลขานกุ ารสํานักงาน คณุ อรณุ ีโสมณวัฒน์ 02-716-6632-3 02-716-5220 [email protected] สมาคมโรคติดเชอ้ื ในเดก็ แหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม รศ.พิเศษ นพ.ทวี โชติพิทยสุนนท์ เลขานกุ ารสํานักงาน คณุ รงุ่ รตั น์ หนมู น่ั 02-716-6534-5 02-716-6535 [email protected]

64 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์16 สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย นายกสมาคม นพ.เกรยี งศักด์ิ วารแี สงทพิ ย์ เลขานกุ ารสํานกั งาน - 02-716-6091 02-718-1900 [email protected] สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย นายกสมาคม พลเอกนพ.ถนอม สุภาพร เลขานุการสํานักงาน คณุ นงนุช ขัตติยะ 02-716-6184 02-716-6184 [email protected] สมาคมโรคหวั ใจแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ นายกสมาคม รศ.นพ.ถาวร สุทธไิ ชยากุล เลขานุการสํานกั งาน คณุ วรางคณ์ ธีระกุล 02-718-0060-4 02-718-0065 [email protected] สมาคมแพทย์โรคหลอดเลือดแห่งประเทศไทย นายกสมาคม ศ.นพ.ประมุข มทุ ิรางกูร เลขานกุ ารสํานกั งาน คณุ นสิ าชล กลาํ่ ทพั 02-716-6989 02-716-6989 [email protected] สมาคมศัลยแพทย์ระบบปสั สาวะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ นายกสมาคม รศ.นพ.ไชยยงค์ นวลยง เลขานุการสํานกั งาน คณุ นรสิ า นาคไพรชั 02-716-6672 02-716-6672 [email protected] สมาคมวิทยาลยั ศัลยแพทยน์ านาชาตแิ หง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ นายกสมาคม ศ.นพ.สุกจิ พันธุ์พิมานมาศ เลขานุการสํานกั งาน คุณสุทศั รา ดคี วาพันธ์ุ 02-716-6672 02-716-6672 [email protected]

65MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND22 สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย นายกสมาคม นพ.ไพโรจน์ บญุ คงช่นื เลาขานกุ ารสํานกั งาน คณุ ปราณี ธูปนดุ ซา 02-716-5901 02-716-6004 [email protected] สมาคมโรคเอดส์แห่งประเทศไทย นายกสมาคม รศ.นพ.วนิ ัย รัตนสุวรรณ เลขานุการสํานกั งาน คุณวรรณภา พัฒนาวศิ ิษฎ์ 02-716-6922 02-716-6923 [email protected] สมาคมโรคตดิ เชื้อแหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม ผศ.นพ.กําธร มาลาธรรม เลขานกุ ารสํานกั งาน คณุ ธนญั ชกร คล้ายอไุ ร 02-716-6874 02-716-6807 [email protected] สมาคมโรคสมองเส่ือมแห่งประเทศไทย นายกสมาคม ศ.นพ.กัมมันต์ พันธมุ จนิ ดา เลขานกุ ารสํานกั งาน คุณเมธิณี ใจแข็ง 02-716-5995 02-716-6004 [email protected] สมาคมโรคลมชกั แหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม ศ.นพ.อนันต์นิตย์ วสิ ุทธิพันธ์ เลขานกุ ารสํานักงาน คุณพิมพ์ชญา ปักศรีสิงห์ 02-716-5114 02-716-6004 [email protected] สมาคมเวชศาสตรม์ ารดาและทารกในครรภ์ (ไทย) นายกสมาคม รศ.นพ.ถวลั ยว์ งค์ รตั นสิริ เลขานกุ ารสํานักงาน คณุ พรธวัล บญุ ชนะทองเลิศ 02-718-1489 02-718-1488 [email protected]

66 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์28 สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย นายกสมาคม ศ.นพ.จตพุ ล ศรสี มบรู ณ์ เลขานกุ ารสํานกั งาน คุณนรนิ ทร์พัชร อศั วบญุ มี 02-716-6441 02-716-6442 [email protected] สมาคมกมุ ารแพทย์แหง่ ประเทศไทย นายกสมาคม ศ.นพ.พิภพ จิรภิญโญ เลขานุการสํานกั งาน คณุ เรณู ขนั ธโภค 02-716-6200-1 02-716-620 [email protected]

67MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND

68 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์คณะกรรมการบรหิ าร แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ1 ศาสตราจารย์นายแพทย์รณชัย คงสกนธ์ นายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ2 ศาสตราจารย์เกยี รติคุณนายแพทยอ์ มร ลีลารศั มี ผรู้ ัง้ ตําแหนง่ นายกแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ3 นายแพทยส์ วัสดิ์ เถกงิ เดช อปุ นายก4 ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยป์ ระกติ พันธุ์ ทมทิตชงค์ เลขาธิการ5 รองศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญงิ ยวุ ดี เลย่ี วไพรัตน์ เหรญั ญิก6 พันตรนี ายแพทยช์ าญฤทธิ์ ลอ้ ทวสี วสั ดิ์ ปฏคิ มและรองเลขาธกิ าร7 ศาสตราจารยน์ ายแพทยว์ ชิร คชการ ประธานฝ่ายวิชาการ8 ศาสตราจารย์นายแพทย์อภชิ าติ จติ ต์เจรญิ ประธานฝ่ายวารสารการแพทย์9 พลตรผี ู้ชว่ ยศาสตราจารย์นายแพทย์กฎิ าพล วฒั นกูล ประธานฝา่ ยวเิ ทศสัมพันธ์10 รองศาสตราจารย์นายแพทยโ์ ยธนิ เบญจวัง ประธานฝ่ายการแพทยศาสตร์ศึกษา11 รองศาสตราจารยแ์ พทย์หญงิ อรวรรณ คีรวี ัฒน์ ประธานฝ่ายจรรยาแพทย์12 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ศักดา อาจองค์ วัลลิภากร ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์13 นายแพทยค์ มกรบิ ผูก้ ฤตยาคามี ประธานฝ่ายทะเบียน14 นายแพทย์นธิ ิวัฒน์ กจิ ศรีอุไร ประธานฝ่ายสวัสดกิ าร15 รองศาสตราจารยน์ ายแพทย์กรี ติ เจรญิ ชลวานชิ ประธานฝ่ายกิจกรรมพิเศษ

69MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND16 พลตํารวจตรีนายแพทย์ชุมศักดิ์ พฤกษาพงษ์ กรรมการกลาง 17 นายแพทยพ์ ินจิ หริ ญั โชติ กรรมการกลาง18 ศาสตราจารย์นายแพทย์อภชิ าติ อศั วมงคลกลุ กรรมการกลาง19 แพทยห์ ญิงรงั สิมา แสงหริ ัญวัฒนา กรรมการกลาง20 นายแพทยส์ มชาย เทพเจริญนริ ันดร์ กรรมการกลาง (ประจาํ ภาคกลาง) 21 นายแพทย์วรพันธ์ อณุ จักร กรรมการกลาง (ประจําภาคเหนอื )22 นายแพทย์ชตุ ิเดช ตาบ-องครักษ์ กรรมการกลาง (ประจําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)23 นายแพทยบ์ รรเจิด สุขพิพัฒปานนท์ กรรมการกลาง (ประจําภาคใต)้24 ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ประสิทธ์ิ วฒั นาภา กรรมการกลาง (นายกแพทยสภา)25 ศาสตราจารยน์ ายแพทยพ์ ิภพ จริ ภญิ โญ กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลยั กุมารแพทย์แห่งประเทศไทย)26 รองศาสตราจารย์นายแพทยอ์ นชุ ติ ปุญญทลงั ค์ กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลยั จักษุแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย)27 พันเอกหญงิ แพทยห์ ญงิ นวพร หิรญั ววิ ัฒนก์ ุล กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลยั จติ แพทย์แหง่ ประเทศไทย)28 ศาสตราจารยน์ ายแพทย์ธนพล ไหมแพง กรรมการกลาง (ประธานราชวิทยาลยั ศัลยแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย)29 ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ นายแพทยอ์ มร ลีลารัศมี กรรมการกลาง (ประธานราชวิทยาลัย อายุรแพทย์แห่งประเทศไทย)30 แพทย์หญงิ ประภา รัตนไชย กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลยั วิสัญญีแพทยแ์ ห่งประเทศไทย)31 รองศาสตราจารยแ์ พทย์หญงิ อญั ชลี ชโู รจน์ กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลยั รงั สีแพทย์แห่งประเทศไทย)32 นายแพทยท์ รงคณุ วิญญูวรรธน์ กรรมการกลาง (ประธานราชวิทยาลยั พยาธิแพทยแ์ ห่งประเทศไทย)33 ศาสตราจารย์แพทยห์ ญงิ เสาวรส ภทรภักดิ์ กรรมการกลาง (ประธานราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย)34 ศาสตราจารย์นายแพทยบ์ รรจง มไหสวรยิ ะ กรรมการกลาง (ประธานราชวิทยาลยั แพทย์ออรโ์ ธปิดกิ ส์แหง่ ประเทศไทย)

70 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์35 แพทย์หญงิ อุไรรตั น์ ศิริวัฒน์เวชกลุ กรรมการกลาง (ประธานราชวิทยาลัย36 ศาสตราจารย์นายแพทยภ์ เิ ศก ลมุ พิกานนท์ แพทยเ์ วชศาสตรฟ์ ้ นื ฟูแหง่ ประเทศไทย)37 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์อภินันท์ อรา่ มรตั น์ กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลัย38 พลตรีนายแพทยส์ ิรรุจน์ สกุลณะมรรคา สูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย)39 นายแพทย์สุนทร สุนทรชาติ กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลัย40 นายแพทย์พงษ์พัฒน์ ปธานวนชิ แพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั แห่งประเทศไทย) กรรมการกลาง (ประธานราชวทิ ยาลัย ประสาทศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย) กรรมการกลาง (ผแู้ ทนแพทย์กรุงเทพมหานคร) กรรมการกลาง (นายกสมาคมโรงพยาบาลเอกชน)

71MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND คณะกรรมการทป่ี รึกษา แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ 1 ศาสตราจารยเ์ กยี รติยศนายแพทย์สงคราม ทรัพย์เจรญิ 2 นายแพทยข์ จติ ชปู ัญญา 3 ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทยอ์ รณุ เผ่าสวสั ดิ์ 4 ศาสตราจารย์ (พิเศษ) นายแพทยไ์ พจติ ร ปวะบุตร 5 ศาสตราจารย์เกยี รติคุณแพทยห์ ญงิ สมศรี เผา่ สวสั ดิ์ 6 พลอากาศโทนายแพทย์อภชิ าติ โกยสุขโข 7 นายแพทยเ์ ออื้ ชาติ กาญจนพิทกั ษ์ 8 พลตาํ รวจเอกนายแพทยจ์ งเจตน์ อาวเจนพงษ์ 9 นายแพทย์วันชาติ ศุภจัตรุ ัส10 รองศาสตราจารยน์ ายแพทยป์ ระเสริฐ ศัลยว์ ิวรรธน์ 11 ศาสตราจารย์นายแพทย์สารเนตร์ ไวคกุล12 นายแพทย์วินิต รอดอนนั ต์13 นายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ14 นายแพทย์สุรศักดิ์ สัมปัตตะวนชิ15 นายแพทยว์ ินัย วิรยิ กจิ จา16 ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ แพทย์หญงิ เพ็ญศรี พิชยั สนิธ17 แพทยห์ ญิงสุวณี รกั ธรรม18 แพทยห์ ญงิ เบญจมาศ พิศาลสารกจิ19 นายแพทย์ชาตรี บานช่นื

72 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 20 รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยพ์ ิชิต สุวรรณประกร 21 รองศาสตราจารย์นายแพทย์ศุภชยั รัตนมณฉี ตั ร 22 นายแพทยป์ ระจวบ อึ๊งภากรณ์ 23 แพทยห์ ญงิ อภิรมย์ เวชภตู ิ 24 นายแพทยช์ ัยวฒั น์ เตชะไพฑูรย์ 25 รองศาสตราจารย์นายแพทยป์ ราโมทย์ ธีรพงษ์ 26 ศาสตราจารยก์ ิตติคุณนายแพทย์สุขติ เผา่ สวสั ดิ์ 27 ปลดั กระทรวงสาธารณสุข 28 เจา้ กรมแพทย์ทหารบก 29 เจ้ากรมแพทยท์ หารเรอื 30 เจ้ากรมแพทยท์ หารอากาศ 31 นายแพทย์ใหญ่สํานักงานตาํ รวจแห่งชาติ 32 นายกสมาคมแพทยส์ ตรีแห่งประเทศไทย 33 นาวาอากาศเอก (พิเศษ) นายแพทยไ์ พศาล จนั ทรพิทักษ์ 34 ศาสตราจารย์เกยี รติคุณนายแพทย์กฤษฎา รตั นโอฬาร 35 ศาสตราจารยน์ ายแพทยพ์ รชัย สิมะโรจน์ 36 พลอากาศตรีนายแพทย์อทิ ธพร คณะเจรญิ 37 พลตํารวจโทนายแพทยอ์ รรถพันธ์ พรมณฑารัตน์ 38 ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณนายแพทย์ธีรชยั ฉนั ทโรจนศ์ ิริ 39 ศาสตราจารยน์ ายแพทยส์ มเกียรติ วัฒนศิริชยั กุล 40 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทยเ์ มธี วงศ์ศิรสิ ุวรรณ 41 ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทยห์ ญงิ วรินี เล็กประเสริฐ 42 นายแพทยว์ ริ ฬุ ห์ พรพัฒน์กุล 43 นายแพทยท์ วศี ิลป์ วิษณโุ ยธนิ 44 นายแพทย์ประดษิ ฐ์ ไชยบุตร 45 แพทยห์ ญงิ นาฎ ฟองสมทุ ร 46 พลตาํ รวจตรนี ายแพทยท์ วศี ิลป์ เวชวิทารณ์ 47 ผ้ชู ่วยศาสตราจารยน์ ายแพทย์ภชู งค์ ลิขิตธนสมบตั ิ 48 รองศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญิงฉัตรประอร งามอุโฆษ 49 แพทย์หญิงอารยา ทองผวิ 50 นายแพทย์สมคิด สุรยิ เลศิ 51 แพทย์หญงิ ฤทัย วรรธนวินจิ 52 นายแพทย์ชาตชิ าย อตชิ าติ

73MEDICAL ASSOCIATION OF THAILANDคณะกรรมการ แพทยสมาคมเขตเขต 1 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทยว์ ิชยั ชื่นจงกลกุล ผอู้ ํานวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่เขต 2 นายแพทย์ทรงวุฒิ ทรัพยท์ วสี ิน ผู้อาํ นวยการโรงพยาบาลอุตรดติ ถ์เขต 3 แพทย์หญงิ รจนา ขอนทอง ผ้อู ํานวยการโรงพยาบาลกาํ แพงเพชรเขต 4 นายแพทยป์ ระสิทธิ์ มานะเจรญิ ผู้อาํ นวยการโรงพยาบาลพระนัง่ เกล้าเขต 5 นายแพทย์ทรงพล ชวาลตันพิพัทธ์ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลราชบรุ ีเขต 6 นายแพทยส์ ุเทพ เพชรมาก ผู้ตรวจราชการ เขต 6เขต 7 นายแพทย์สุนทร ยนต์ตระกลู ผูอ้ ํานวยการโรงพยาบาลมหาสารคามเขต 8 นายแพทย์กติ ตศิ ักดิ์ ด่านวบิ ลู ย์ ผู้อาํ นวยการโรงพยาบาลสกลนครเขต 9 นายแพทย์ชวมัย สืบนุการณ์ รองผอู้ ํานวยการกล่มุ ภารกิจดา้ นบริการปฐมภมู ิ โรงพยาบาลสุรินทร์เขต 10 นายแพทยว์ ันชยั เหล่าเสถยี รกิจ นายแพทยส์ าธารณสุขจงั หวัดศรสี ะเกษเขต 11 นายแพทย์สุพจน์ ภเู ก้าล้วน ผ้อู าํ นวยการโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีเขต 12 แพทย์หญงิ จิรวรรณ อารยะพงษ์ ผู้อาํ นวยการโรงพยาบาลตรงั

74 แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สํานักงานแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ1 แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์นายกแพทยสมาคมฯ ศ.นพ.รณชัย คงสกนธ์ผอู้ าํ นวยการสํานักงานแพทยสมาคมฯ ศ.เกยี รติคุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสด์ิเลขานกุ ารสํานกั งาน นส.ศุภธดิ า เพ็งแจ้ง02-318-8170, 02-314-4333 [email protected] เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพ เพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ เครอื ข่ายวชิ าชพี แพทย์ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบ สมาพันธ์เครอื ขา่ ยแหง่ ชาตเิ พื่อสังคมไทยปลอดบหุ รี่ประธานโครงการ ศ.เกยี รตคิ ุณ พญ.สมศรี เผ่าสวัสด์ิผ้จู ดั การโครงการ นายจักรเทพ โกศลโพธทิ รพั ย์02-716-6556 [email protected] , [email protected] โครงการพัฒนาวารสารจดหมายเหตุทางแพทย์ประธานโครงการ ศ.นพ.อภชิ าติ จิตตเ์ จริญเลขานกุ ารสํานกั งาน นส.สุพัตรา จติ บุญเรือง02-716-6102 [email protected]

นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างยิ่งแก่ วงการแพทย์ไทยและเป็นเกียรติประวัติของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นอย่างสูงสุดท่ีได้รับการโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9, สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร, สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเป็นสมาชิกกิตติมศักด์ขิ องแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยฯ ดังมีรายละเอียดดังตอ่ ไปน้ีสมาชกิ กิตติมศักด์ิ หมายเลข 001 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั การลที่ 9 ทรงรบัเปน็ สมาชกิ กิตตมิ ศักด์ิ เม่ือวนั ศุกรท์ ่ี 29 กันยายน 2549สมาชิกกิตติมศักดิ์ หมายเลข 004 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารทรงรับเป็นสมาชกิ กิตตมิ ศักด์ิ เม่อื วันพุธท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2548สมาชกิ กิตตมิ ศักด์ิ หมายเลข 005 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารีทรงรบั เป็นสมาชกิ กติ ตมิ ศักด์ิ เม่อื วนั พุธท่ี 4 มกราคม 2549