ทานยาลดกรดย ร กค ยาแก อ กเสบได ม ย

�ä�ô�����͹����ŧ ���áԹ��Ŵ�ô����������������͹��Ǣͧ�ҧ�Թ�����㹡�áӨѴ�ô�繡���ѡ�ҷ������˵� �������ش�Թ�Ҵѧ����� ��м��������˵ط������ô�����͹����� �����¡�С�Ѻ�����ҡ���ա�ѧ��� �ѧ��鹼����¨�Ŵ������ҷ���ͧ��Դ�ѧ�������������� ����������û�ԺѵԵ�Ǣͧ������ ���

“โรคเกาต์พบได้บ่อยในคนไทย ส่วนใหญ่มักพบในเพศชายอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง 9-10 เท่า”

เกาต์ (Gout) เป็นโรคข้ออักเสบที่พบได้บ่อยที่สุดในบรรดาโรคข้ออักเสบทั้งหมด สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของการสันดาป (Metabolism) สาร Purines ซึ่งมีอยู่ในเนื้อเยื่อต่างๆ ทั่วร่างกาย ได้เป็นกรดยูริคที่มีระดับสูงกว่าปกติในเลือด

กรดยูริคในเลือดสูงและสะสมอยู่ในร่างกายเป็นเวลานานจนร่างกายขับออกทางไตไม่ทัน กรดยูริคจะตกผลึกเป็นเกลือยูเรตสะสมที่กระดูกอ่อนและเนื้อเยื่อรอบข้อ ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อในข้อ ส่งผลให้มีอาการปวด บวม แดงบริเวณข้ออย่างเฉียบพลันรุนแรงอย่างรวดเร็วในเวลา 12 – 24 ชั่วโมง

ปัจจัยเสี่ยงโรคเกาต์ จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นเกาต์

อาการข้ออักเสบมักกำเริดด้วยระดับกรดยูริคในเลือดที่เปลี่ยนแปลงทันทีทันใด คือ ระดับสูงขึ้นหรือลดลงฉับพลันซึ่งอาจเกิดจาก

  • หลังจากการดื่มไวน์ โดยเฉพาะไวน์แดง
  • ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หลังออกกำลังกาย
  • ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขนาดหนัก
  • รับประทานยาต้านมะเร็ง

ปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ล้วนเป็นตัวกระตุ้นให้ระดับกรดยูริคในเลือดสูงจนโรคเกาต์กำเริบได้ ผู้ป่วยบางรายอาจมีข้ออักเสบกำเริบหลังจากที่รับประทานอาหารที่ประกอบด้วย Purines ในปริมาณมาก การมีกรดยูริคในเลือดสูงโดยไม่มีข้ออักเสบไม่ถือว่าเป็นโรคเกาต์

  • มีเพียง 70% ของผู้ที่มีกรดยูริคในเลือดสูงที่ไม่มีอาการแต่อย่างใด
  • มีเพียง 30% ของผู้ที่มีกรดยูริคในเลือดสูงเท่านั้น ที่มีอาการข้ออักเสบ หรือ เป็นโรคเกาต์
  • ผู้ที่มีกรดยูริคสูงมากมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเกาต์สูงกว่าผู้ที่มีระดับกรดยูริคในเลือดสูงเพียงเล็กน้อย
  • มีผู้ป่วยประมาณ 20% ที่มีระดับของกรดยูริคในเลือดปกติ (ค่าปกติผู้ชาย 3.5-7.2 mg/dl , ค่าปกติผู้หญิง 2.6-6.0 mg/dl) ขณะที่มีข้ออักเสบเฉียบพลันจากโรคเกาต์

ทานยาลดกรดย ร กค ยาแก อ กเสบได ม ย

ปวดตามข้อ ปวดข้อเรื้อรัง อาการเตือนโรคเกาต์

ผู้ป่วยโรคเกาต์ไม่จำเป็นต้องมีระดับกรดยูริคในเลือดสูง และการมีระดับกรดยูริคในเลือดสูง ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นโรคเกาต์เสมอไป

ในการตรวจวินิจฉัยโรคเกาต์ ไม่ได้ใช้ระดับกรดยูริคเป็นหลัก แต่แพทย์จะทำการตรวจวินิจฉัยจากอาการปวดข้อรุนแรงฉับพลัน และการตรวจพบผลึกยูริคจากของเหลวที่เจาะจากข้อ

การอักเสบแต่ละครั้ง มักเกิดเพียงข้อเดียวเท่านั้น ส่วนใหญ่เป็นที่ข้อหัวแม่เท้าและอาจเกิดอาการที่ข้ออื่นๆ เช่น ข้อเท้า ข้อเข่า และที่พบไม่บ่อย ได้แก่ ข้อมือ ข้อศอก และข้อนิ้วมือ

ข้อที่อักเสบมักเกิดการบวม แดง กดเจ็บ และปวดมากขึ้นเมื่อขยับข้อหรือลูบสัมผัสเพียงเบาๆ อาการปวดรุนแรงฉับพลันอาจทำให้เดินลำบาก และอาจมีไข้ต่ำๆ ในผู้ป่วยบางราย

โรคเกาต์รักษาให้หายได้ไหม? รักษาอย่างไร?

ผู้ป่วยโรคเกาต์หากได้รับการรักษาจะหายสนิทภายในเวลา 1-3 วัน แต่ถ้าไม่ได้รับการรักษา มักหายเป็นปกติได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ และเว้นระยะเวลาอีกหลายเดือนหรือนานเป็นปี จึงมีอาการข้ออักเสบกำเริบขึ้นมาใหม่

อาการกำเริบของข้ออักเสบจะถี่ขึ้น นานขึ้น และเป็นหลายข้อขึ้นตามระยะเวลาที่ป่วย ดังนั้น จึงมีเพียงนานๆ ครั้งเท่านั้น ที่เราจะพบข้ออักเสบมากกว่า 1 ข้อในเวลาเดียวกัน ซึ่งอาการนี้มักพบในผู้ป่วยโรคเกาต์เรื้อรัง

โรคเกาต์เรื้อรัง หากไม่ได้รับการรักษา ผลึกเกลือยูเรตปริมาณมากที่สะสมในข้อ เนื้อเยื่อรอบข้อ กระดูกอ่อน จะรวมกันเป็นของเหลวลักษณะคล้ายชอล์กหรือยาสีฟันเกิดเป็นก้อนใต้ผิวหนัง ซึ่งจะค่อยๆ มีขนาดใหญ่ขึ้น เรียกว่า Tophus ซึ่งก้อน Tophus นี้จะทำลายเนื้อเยื่อโดยรอบ ทำให้ข้อผิดรูป พิการ เส้นเอ็นขาดได้

ผู้ป่วยที่เป็นเกาต์เรื้อรังนานวันเข้า ก้อน Tophus มีขนาดใหญ่มากขึ้นเรื่อยๆ เกิดก้อนตะปุ่มตะป่ำที่เนื้อเยื่อรอบข้อ อาจแตกออกเป็นแผล และมีของเหลวสีขาวคล้ายยาสีฟันไหลออกมาจากก้อน

นอกจากนี้ กรดยูริคในเลือดที่สูงถูกขับออกทางไตในปริมาณมากทำให้ความเข้มข้นของเกลือยูเรตในปัสสาวะสูงตามไปด้วย หากไม่ได้รับการรักษา เกลือยูเรตที่มีปริมาณสูงสะสมมาเป็นระยะเวลานานจะตกผลึกในไต ก่อให้เกิดภาวะไตวาย หรือ นิ่วในทางเดินปัสสาวะ

ใครบ้างเสี่ยงเป็นโรคเกาต์

มีแนวโน้มที่จะพบโรคเกาต์ในเครือฐาติ นั่นคือ ผู้มีที่กรดยูริคในเลือดสูง และมีญาติสายตรงเป็นโรคเกาต์ มีความเสี่ยงในการเกิดโรคสูงกว่าผู้ที่มีกรดยูริคในเลือดสูงเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีญาติสายตรงเป็นโรคเกาต์

โรคเกาต์สามารถพบได้บ่อยในเพศชาย ซึ่งมากกว่าเพศหญิง 9-10 เท่า พบผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเพศชายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และสำหรับเพศหญิงมักจะพบได้ในวัยหมดระดูเป็นส่วนใหญ่

นอกจากนี้แล้วยังพบโรคแทรกซ้อน หรือโรคที่มักพบได้ในผู้ป่วยโรคเกาต์ ได้แก่

  • ความดันโลหิตสูง
  • หลอดเลือดแดงแข็ง
  • ไขมันในเลือดสูง
  • เบาหวาน

ดูแลตนเองอย่างไรเมื่อเป็น “เกาต์”

  • พบแพทย์ทันทีหากมีอาการข้ออักเสบเฉียบพลัน
  • ประคบเย็นขณะข้ออักเสบเฉียบพลัน
  • รักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน หากน้ำหนักเกินมาตรฐานควรควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ ดัชนีมวลกาย (BMI) ไม่ควรเกิน 32 kg/m2 โดยคำนวณจากน้ำหนักตัว (กิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง (เมตร) ยกกำลังสอง หรือวัดรอบเอวแล้วไม่ควรเกิน 32 นิ้ว (80 เซนติเมตร) ในเพศหญิง และ 36 นิ้ว (90 เซนติเมตร) ในเพศชาย
  • รับประทานอาหารให้เหมาะสมและถูกสัดส่วน หลีกเลี่ยงอาหารที่มี Purines สูง โดยเฉพาะผู้ที่เคยมีอาการข้ออักเสบกำเริบหลังรับประทานอาหารที่มี Purines มาก่อน เช่น เครื่องในสัตว์ ไก่ เป็ด ซุปจากการต้มเคี่ยวเนื้อสัตว์ น้ำต้มกระดูก น้ำเกรวี่ ปลาซาร์ดีน ไข่ปลา หอยบางชนิด ถั่ว ยอดผัก หน่อไม้ และแตงกว่า เป็นต้น (ทั้งนี้การควบคุมอาหาร สามารถลดระดับกรดยูริคในเลือดได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น)
  • จำกัดปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะเบียร์ ไวน์ ของหมักดองจากยีสต์
  • ดื่มน้ำในปริมาณมาก เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดนิ่วในไต รับประทานยาสม่ำเสมอตามแพทย์สั่ง ห้ามหยุดยาเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน หากมีอาการแพ้ยา ควรหยุดยาแล้วรีบไปพบแพทยื

ยาลดกรดยูริคควรกินเวลาไหน

ควรรับประทานยาหลังมื้ออาหาร เพื่อป้องกันอาการระคายเคืองในกระเพาะอาหาร การใช้ยาในปริมาณมากกว่า 300 มิลลิกรัม/วัน ควรแบ่งรับประทานเป็นหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งโดยทั่วไปมักแบ่งออกเป็น 3 ครั้ง/วัน เพื่อป้องกันการเกิดเก๊าท์แบบข้ออักเสบเฉียบพลัน ปริมาณยาน้อยที่สุดที่จะส่งผลต่อการรักษา คือ 100-200 มิลลิกรัม/วัน

ยาลดกรดยูริคอันตรายต่อไตไหม

นอกจากนี้ กรดยูริคในเลือดที่สูงถูกขับออกทางไตในปริมาณมากทำให้ความเข้มข้นของเกลือยูเรตในปัสสาวะสูงตามไปด้วย หากไม่ได้รับการรักษา เกลือยูเรตที่มีปริมาณสูงสะสมมาเป็นระยะเวลานานจะตกผลึกในไต ก่อให้เกิดภาวะไตวาย หรือ นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ใครบ้างเสี่ยงเป็นโรคเกาต์

ยาลดกรดยูริค มีผลเสียอย่างไร

ผลข้างเคียงของการใช้ยาลดกรดยูริค มีอาการบวมบริเวณหน้า ริมฝีปาก เปลือกตา และมีอาการลมพิษ มีอาการข้างเคียงทางผิวหนัง คัน ผื่น หนังลอก มีตุ่มพอง มีอาการไข้ขึ้น และอาการข้างเคียงที่เป็นเบื้องต้นเช่น ปวดหัว ครั่นเนื้อครั่นตัว รู้สึกหนาวสั่น คลื่นไส้วิงเวียน ท้องไส้ปั่นป่วน ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสียรุนแรง

โรคเก๊าท์กินน้ำเต้าหู้ได้ไหม

อาการที่รับประทานได้ตามปกติ นมสด, นมพร่องมันเนย, เนย, โยเกิร์ตไขมันต่ำ, น้ำเต้าหู้ ข้าวชนิดต่างๆ ยกเว้น ข้าวโอ๊ต ผัก ผลไม้ชนิดต่างๆ นอกจากที่กล่าว