ตัวอย่าง โครง งาน ปลูก ผัก สวน ครัว อนุบาล

"โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.7 ต.ปลักหนู อ.นาทวี จ.สงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง)


บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.7 ต.ปลักหนู อ.นาทวี จ.สงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ความเป็นมา/หลักการเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ กิจกรรม/การดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ได้ การประเมินผล ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ เอกสารประกอบอื่นๆ


ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคตแต่ในปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหาร พืช ผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆได้ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการและการเจ็บป่วยโดยไม่จำเป็นและปัญหาอื่นๆในบริบทของสังคมไทยที่ส่งผลกระทบต่อเด็กทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กเยาวชน และประชาชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน นอกจากการสร้างมาตรการป้องกันและการบังคับใช้กฎหมาย การส่งเสริมกิจกรรมทางสุขภาพที่มีความหลากหลายวิธีควบคู่กันไปจะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กไทยได้รับการคุ้มครองอย่างปลอดภัย โรงเรียนบ้านสม็องเห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ได้จัดกระบวนการเรียนรู้ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช2542และนโยบายของรัฐบาล โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชั้น ป1-6 ทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียนเพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารกลางวัน ส่วนผลผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครองในชุมชน ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับความรู้และฝึกทักษะในการทำงานด้านอาชีพเบื้องต้นและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเองและพัฒนาอาชีพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
  2. นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม
  3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบการที่ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผักปลอดสารพิษ
  2. กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย
  3. กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้ นักเรียนระดับชั้น ป.1-6 200

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนได้นำหลักการนี้ไปใช้ในการคำรงชีวิตโรงเรียนจึงได้นำหลักการปรับใช้เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้กับนักเรียนด้านทักษะอาชีพทางเกษตรพื้นฐานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี โรงเรียนจึงได้วางโครงการเพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและความปลอดภัยรู้จักเลือกการบริโภคอาหารที่ปลอดสารพิษและส่งเสริมนักเรียนปลูกผักและผลิตปุ๋ยชีวภาพแทนปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มรายได้แก่ครอบครัว



ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม: บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ :

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย 1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนร้อยละ80มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ 30.0030.00

นักเรียนมีความสนใจและนำความรู้ไปปฏิบัติ

2 นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม 40.0040.00

เด็กให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

3 เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบการที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : 3.นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย 30.0030.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) นักเรียนระดับชั้น ป.1-6 200

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน (2) นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม (3) เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบการที่ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักปลอดสารพิษ (2) กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย (3) กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย