ตัวอย่าง หนังสือ แจ้ง ไม่ ผ่าน ทดลอง งาน

ขอคำปรึกษาค่ะ ฝ่ายบุคคลบอกไม่ผ่านทดลองงาน และจะไม่ยอมจ่ายเงินชดเชย

ขอคำปรึกษาด่วนค่ะ วันนี้ฝ่ายบุคคลเรียกเพื่อนไปพบและแจ้งว่า "ไม่ผ่านทดลองงาน" ให้มีผลทำงานวันสุดท้ายวันที่ 7 พ.ย.56 เพื่อนถามถึงเงินชดเชยที่จะได้รับ ฝ่ายบุคคลแจ้งว่า ก็ได้แค่เงินเดือนของงวดเดือน ต.ค.นี้ เพื่อนจึงแย้งไปว่า แล้วเงินชดเชยของเดือน พ.ย 56 ไม่ได้เหรอ เค้าบอกไม่ได้มันผิดกฎหมาย ฝ่ายบุคคลเขาบอกมาอย่างนี้ แต่ตามที่เข้าใจและอ่าน กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายระบุว่า 1.ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า 1รอบของการจ่ายเงินเดือน -ถ้าบริษัทจะให้มีผลเดือนพ.ย.56 เค้าต้องแจ้งเราก่อน 30 ก.ย.56 ไช่ไหมคะ กรณีแจ้งเราก่อน 30ก.ย.56 เราก็จะได้แค่เงินเดือนของงวดเดือนก.ย.ไม่ต้องจ่ายเงินชดเชย แต่ 2.ถ้าบริษัทแจ้งเราวันนี้ 7 ต.ค.56 ให้ทำงานถึง 7 พ.ย.56 แสดงว่าบริษัทต้องจ่ายชดเชยเราอีกตั้งแต่วันที่ 8พ.ย-30พ.ย.56 ถูกต้องรึเปล่าคะ **สรุปเราก็จะได้เงินเดือนของเดือนต.ค.+เงินชดเชยเดือนพ.ย.รวม2เดือนใช่หรือเปล่าคะ.. เงินเดือนเข้าบัญชีทุกสิ้นเดือนค่ะ ไม่วันที่ 30 ก็ วันที่ 31ค่ะ

ธปท. จะเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลข้างต้นของท่าน เพื่อประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวสารของศูนย์การเรียนรู้ ธปท. อนึ่ง ท่านมีสิทธิในฐานะเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ ธปท. ข้าพเจ้าให้ความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวของข้าพเจ้าตามวัตถุประสงค์ที่ได้ระบุไว้

ในทุกกรณี, การสิ้นสุดสัญญาจ้างต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของสัญญา, กฎเกณฑ์ด้านแรงงานที่บังคับใช้ และกฎหมายอื่นที่บังคับใช้. ภายใต้พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน, สัญญาจ้างงานแบบมีกำหนดระยะเวลาจะสิ้นสุดโดยอัตโนมัติเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า. ถ้าพนักงานมีสัญญาจ้างปลายเปิด, นายจ้างอาจบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งให้พนักงานบอกเลิกจ้างก่อนหรือถึงเวลาจ่ายค่าจ้าง. พนักงานมีสิทธิได้รับค่าข้อมูลอย่างน้อยหนึ่งรอบเต็มก่อนวันที่การเลิกจ้างหรือการจ่ายค่าจ้างแทนมีผล. อย่างไรก็ตาม, ระยะเวลาการบอกกล่าวต้องไม่เกินสามเดือน.

สำหรับพนักงานที่ได้รับค่าจ้างรายวัน, ให้ส่ง หนังสือเลิกจ้าง ก่อนหรือในวันจ่ายเงินเดือน เพื่อให้วันเลิกจ้างมีผลเป็นวันจ่ายเงินเดือนถัดไป. นายจ้างอาจยุติการให้บริการของพนักงานทันทีโดยจ่ายค่าจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากับจำนวนวันที่ข้อมูลไม่เพียงพอ. หลังจากการเลิกจ้าง, พนักงานอาจดำเนินการทางกฎหมายสำหรับการเลิกจ้างโดยมิชอบได้.

ดังนั้น, ในบริบทของการบอกเลิก, สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดต่อไปนี้:

ก่อนทำการบอกเลิก, โปรดแน่ใจว่าคุณคุ้นเคยกับขั้นตอนการบอกเลิกเพื่อหลีกเลี่ยงการจ่ายเงินเพิ่มเติม.

➤ เคารพระยะเวลาการบอกกล่าวของพนักงาน 30 วันขึ้นไป หากสัญญาจ้างระบุระยะเวลานานกว่านี้ ➤ จ่ายค่าชดเชยให้พนักงาน, โดยจำนวนเงินจะแตกต่างกันไปตามเวลาทำงานของพนักงาน

การยุติระยะเวลาทดลองงานของลูกจ้างในประเทศไทย จำเป็นต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบและปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานของประเทศ การสิ้นสุดการจ้างงานในช่วงทดลองงานนั้นเป็นกระบวนการที่ละเอียดอ่อนสำหรับนายจ้าง ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีเอกสารที่เหมาะสมและถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ที่ Themis Partner เราเข้าใจความซับซ้อน เข้าใจยากที่เกิดจากสถานการณ์ดังกล่าว ดังนั้นทีมนักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญของเราจึงได้สร้างแบบฟอร์มหนังสือแจ้งไม่ผ่านทดลองงานที่สามารถแก้ไขได้ขึ้นมา รวมทั้งมีการปรับให้เหมาะสมกับกฎหมาย และข้อบังคับต่าง ๆ ในประเทศไทย เอกสารที่ครอบคลุมนี้จะช่วยกระบวนการเลิกจ้างของคุณเป็นไปอย่างราบรื่น และเป็นไปตามกฎหมายกำหนด ทำให้คุณสามารถมั่นใจได้ว่าทั้งนายจ้าง และลูกจ้างจะได้รับความคุ้มครองทางกฎหมายตลอดช่วงสิ้นสุดการทดลองงาน

ในประเทศไทย การเลิกจ้างพนักงานในช่วงทดลองงาน โดยทั่วไปแล้วสามารถทำได้ แต่นายจ้างจำเป็นจะต้องมีเหตุผลที่เพียงพอในการเลิกจ้าง เหตุผลสามารถเฉพาะเจาะจงไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาจ้างงาน และนโยบายขององค์กร โดยเหตุผลทั่วไปที่สามารถพบได้ในการเลิกจ้างพนักงานช่วงทดลองงานในประเทศไทย มีดังนี้:

1. ปัญหาด้านประสิทธิภาพการทำงาน: หากผลการปฏิบัติงานของลูกจ้างในช่วงทดลองงานไม่เป็นไปตามมาตรฐานหรือข้อกำหนดขององค์กร นายจ้างอาจพิจารณาการเลิกจ้างได้

2. ทักษะและความสามารถ: หากพนักงานขาดทักษะหรือคุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งนั้น ๆ นายจ้างอาจพิจารณาการเลิกจ้างได้

3. ปัญหาด้านพฤติกรรม: หากพนักงานมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม หรือละเมิดนโยบายขององค์กรในช่วงทดลองงาน นายจ้างอาจพิจารณาการเลิกจ้างได้

4. ปัญหาด้านความเข้ากันได้: หากพิจารณาแล้วพบว่าพนักงานไม่สามารถเข้ากับสภาพแวดล้อมหรือวัฒนธรรมการทำงานขององค์กรได้ นายจ้างอาจพิจารณาการเลิกจ้างได้

5. ทัศนคติ และจรรยาบรรณในการทำงาน: หากพนักงานมีการแสดงทัศนคติทางลบหรือจรรยาบรรณในการทำงานที่ไม่ดี ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการปฏิบัติงาน นายจ้างอาจพิจารณาการเลิกจ้างได้

6. ปัญหาด้านความน่าเชื่อ และการเข้างาน: หากพนักงานมาสายอย่างเป็นประจำ ขาดงาน หรือไม่ปฏิบัติตามตารางการทำงาน นายจ้างอาจพิจารณาการเลิกจ้างได้

7. ปัญหาด้านการละเมิดสัญญา: หากพนักงานละเมิดข้อตกลงใด ๆ ของสัญญาจ้าง หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขของการทดลอง นายจ้างอาจพิจารณาการเลิกจ้างได้

8. ความไม่เหมาะสมกับการจ้างงานต่อ: เมื่อพิจารณาแล้วเห็นได้ชัดว่าพนักงานไม่เหมาะสำหรับการจ้างงานต่อ นายจ้างอาจพิจารณาเลิกจ้างได้

นายจ้างจำเป็นจะต้องจัดทำเอกสารบันทึกการปฏิบัติงาน พฤติกรรมที่มีปัญหาในระหว่างการทดลองงาน และทำการสื่อสารพูดคุยกับพนักงานในส่วนที่จำเป็นต้องปรับปรุง โดยสามารถดาวน์โหลดเอกสารการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อการประเมินพนักงานที่มีประสิทธิภาพ

ในประเทศไทย ไม่มีกฎหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับระยะเวลาในการส่งแบบฟอร์มแจ้งไม่ผ่านทดลองงาน แต่อย่างไรก็ตาม นายจ้างควรดำเนินการทันทีและปฏิบัติอย่างยุติธรรมต่อพนักงานเมื่อตัดสินใจเลิกจ้าง

เพื่อให้แน่ใจว่า กระบวนการเลิกจ้างเป็นไปอย่างราบรื่นและถูกต้องตามกฎหมาย นายจ้างควรปฏิบัติตามแนวทางต่อไปนี้:

1. ประเมินผลการปฏิบัติงาน: ในระหว่างช่วงทดลองงาน นายจ้างควรให้ความสำคัญกับการติดตามผลการปฏิบัติงานของลูกจ้าง รวมไปถึง พฤติกรรม และความเหมาะสมของตำแหน่ง อย่างใกล้ชิด หากมีปัญหาในด้านใดควรจัดการทันที และให้ข้อเสนอแนะกับพนักงาน

2. การแจ้งล่วงหน้า: หากพิจารณาแล้วเห็นได้ว่าลูกจ้าง ไม่สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานขององค์กร หรือไม่เหมาะสมกับตำแหน่งนั้น ๆ นายจ้างควรแจ้งความกังวลนี้ให้ลูกจ้างรับรู้ล่วงหน้า เพื่อให้พนักงานมีโอกาสในการปรับปรุง หรือพัฒนาเพิ่มเติม

3. ปฏิบัติตามระยะเวลาที่แจ้ง (ถ้ามี): หากในสัญญาจ้างงาน หรือนโยบายขององค์กร มีการระบุระยะเวลาที่ต้องแจ้งล่วงหน้าสำหรับการสิ้นสุดการทดลองงาน นายจ้างควรปฏิบัติตามระยะเวลาที่กำหนดไว้

4. เอกสารหลักฐาน: ตลอดช่วงเวลาการทดลองงาน นายจ้างควรเก็บรักษาเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการประเมิลผลการปฏิบัติงานของพนักงาน ข้อเสนอแนะ และการลงโทษทางวินัยใด ๆ ที่มีความเกี่ยวข้อง เพราะเอกสารเหล่านี้อาจมีความสำคัญในกรณีที่เกิดข้อพิพาททางกฎหมาย

5. ใช้ดุลยพินิจ และความยุติธรรม: นายจ้างควรใช้ดุลยพินิจ และความเป็นธรรมในการตัดสินใจเลิกจ้างพนักงานในช่วงทดลองงาน การตัดสินใจควรอยู่บนพื้นฐานของเหตุและผล ไม่เลือกปฏิบัติในทุกกรณี

6. การประชุมแจ้งสิ้นสุดการจ้าง: ก่อนจะออกหนังสือแจ้งไม่ผ่านทดลองงาน ควรมีการจัดประชุมกับพนักงานเพื่อสนทนาพูดคุยเกี่ยวกับเหตุผลในการเลิกจ้าง และให้โอกาสพนักงานได้ตอบกลับหรือขอคำชี้แจง

7. ออกหนังสือแจ้งอย่างเป็นทางการ: การเลิกจ้างควรมีการยืนยันโดยการออกหนังสือเลิกจ้างไม่ผ่านทดลองงาน และควรระบุวันที่สิ้นสุดการทำงาน รวมถึงสาเหตุในการเลิกจ้าง

แม้ว่าจะไม่มีกรอบเวลาที่กฎหมายกำหนดสำหรับหนังสือเลิกจ้างไม่ผ่านทดลองงาน แต่นายจ้างควรจัดลำดับความสำคัญในการสื่อสารพูดคุย และปฏิบัติตามขั้นตอนการเลิกจ้างที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดความเข้าใจผิดและข้อพิพาททางกฎหมายที่อาจเกิดขึ้นได้ ในขณะเดียวกันยังแสดงออกถึงกระบวนการที่ยุติธรรม และชอบด้วยกฎหมาย

ในประเทศไทย ไม่มีกฎหมายกำหนดเกี่ยวกับการแจ้งสิ้นสุดระยะเวลาทดลองงานล่วงหน้า แต่จะเป็นการตกลงร่วมกันของนายจ้างและลูกจ้าง เพื่อประเมินความเหมาะสมในการทำงาน ในช่วงเวลานี้ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งสามารถบอกสิ้นสุดได้โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า

อย่างไรก็ตาม นายจ้างจำเป็นต้องอ้างอิงกับข้อกำหนด และเงื่อนไขที่ถูกระบุไว้ในสัญญาจ้างหรือนโยบายขององค์กร เกี่ยวกับการสิ้นสุดการทดลองงาน ซึ่งสัญญาอาจมีการระบุระยะเวลาในการแจ้งล่วงหน้า แม้จะอยู่ในช่วงทดลองงานก็ตาม

หากสัญญาจ้างงานไม่ได้ระบุระยะเวลาในการแจ้งล่วงหน้าไว้ นายจ้างสามารถยุติการทดลองงานของลูกจ้างโดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า ถึงกระนั้นก็จำเป็นจะต้องแจ้งให้พนักงานรับทราบในระยะเวลาที่เหมาะสม ให้ความเคารพ และให้เหตุผลที่ชัดเจนในการเลิกจ้าง

ในกรณีที่เลิกจ้างทันทีเนื่องจากมีการประพฤติผิดอย่างร้ายแรง หรือทำผิดสัญญาอย่างร้ายแรงในช่วงทดลองงาน นายจ้างสามารถเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า โดยนายจ้างควรมีเอกสาร และหลักฐานที่เหมาะสมในการนำมาสนับสนุนการตัดสินใจดังกล่าว

การจัดการกับการสิ้นสุดการทดลองงานอย่างมืออาชีพนั้นเป็นสิ่งสำคัญสำหรับนายจ้าง เพื่อที่จะสามารถรักษาชื่อเสียงเชิงบวก และลดข้อพิพาททางกฎหมาย โดยนายจ้างควรแจ้งให้พนักงานเข้าถึงความคาดหวังขององค์กร และคอยให้คำแนะนำแก่พนักงานอย่างสม่ำเสมอในช่วงทดลองงาน และทำการจดบันทึกการปฏิบัติงานอย่างเป็นกลาง

เมื่อสิ้นสุดการทดลองงาน นายจ้างควรดำเนินการอย่างรอบคอบพร้อมด้วยความเคารพ ควรอธิบายเหตุผลของการสิ้นสุดการทดลองงาน และมอบข้อเสนอแนะที่สร้างสรรค์ ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน ให้การสนับสนุนและทรัพยากร ในการหาโอกาสอื่น ๆ ของพนักงาน รักษาความน่าเชื่อถือขององค์กร รับมือกับปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่อาจเกิดขึ้นด้วยความเห็นอกเห็นใจ และพิจารณาจัดการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของพนักงาน เพื่อขอข้อเสนอแนะก่อนออกจากงาน

เพียงดำเนินการตามแนวปฏบัติเหล่านี้ นายจ้างก็จะสามารถสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีความยุติธรรม และให้เกียรติซึ่งกันและกัน ซึ่งเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร

ไม่ผ่านทดลองงาน ต้องแจ้งล่วงหน้ากี่วัน

หากเป็นไปได้บริษัทควรกำหนดระยะเวลาทดลองงานให้ชัดเจนเพื่อชี้แจงให้กับพนักงานใหม่ตั้งแต่แรก โดยควรกำหนดให้น้อยกว่า 120 วัน หรือมีกำหนด 120 วัน แต่ให้มีการแจ้งก่อนวันครบกำหนดที่ชัดเจน (อย่างน้อยควรแจ้งล่วงหน้า 1 วัน) ซึ่งกรณีนี้หากบริษัทตัดสินใจไม่จ้างงานเนื่องมาจากความไม่เหมาะสมใดๆ หรือไม่ผ่านการทดลองงาน ก็ไม่จำเป็นจะ ...

ไม่ผ่านทดลองงาน ต้องเขียนใบลาออกไหม

ปกติแล้วหากแจ้งผลไม่ผ่านการทดลองงานพนักงานก็มักจะขอลาออกหรือยุติบทบาทในบริษัททันที แต่ก็อาจมีบางกรณีที่อยากเจรจาขอทำงานต่อไปสักพักจนกว่าจะหางานใหม่ได้ แต่กรณีนี้บริษัทก็อาจพิจารณาข้อเสนอนอกกรอบนี้ได้ว่าจะจ้างต่อไปหรือไม่ แต่ก็ต้องไม่ให้เกินระยะเวลา 120 วัน ตามกฎหมายกำหนด และต้องเจรจาเรื่องระยะเวลาตลอดจนค่าจ้างให้ ...

ไม่ผ่านทดลองงาน ต้องทำอย่างไร

1.หากแจ้งไม่ผ่านทดลองงานในวันสุดท้ายแล้วให้ออกเลย = ต้องจ่ายเงินชดเชย 30 วัน (เป็นค่าชดเชยที่ไม่บอกล่วงหน้า) 2.หากแจ้งไม่ผ่านทดลองงานล่วงหน้า 30 วัน ใน 30 วันต่อมาไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

ไม่ผ่านทดลองงาน ให้ออกได้เลยไหม

แม้นายจ้างจะทำสัญญากับลูกจ้างไว้แล้วว่า “ระหว่างทดลองงานนั้น นายจ้างสามารถเลิกจ้างได้ทันที หากผลการทำงาน ไม่เป็นที่น่าพอใจ” แต่ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 17 วรรคสองและวรรคสี่ ซึ่งเป็นวรรคที่กำหนดให้ การเลิกสัญญาจ้างลูกจ้าง จะต้องบอกกล่าวล่วงหน้า หรือหากไม่บอกกล่าวล่วงหน้าก็ต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว ...