ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การดำเนินธุรกิจ และแม้กระทั่งการดูแลตัวเอง ทุกวันนี้เราสามารถเพลิดเพลินไปกับ นวัตกรรมบนโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ และการใช้โปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งนวัตกรรมเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นโดยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในหลายแขนง

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล (ICT Mahidol) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เทคนิคคอมพิวเตอร์ขั้นสูง ซึ่งเป็นพื้นฐานของสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศและเชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ วิทยาศาสตร์ข้อมูล การบริหารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความมั่นคงทางไซเบอร์ และกราฟิกคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ การจัดการฐานข้อมูลปัญญาประดิษฐ์ และวิทยาศาสตร์ข้อมูล โดยเป็นหลักสูตร 2 ปี ผู้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรฯ จะต้องมีความรู้และทักษะด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องตามที่คณะฯ กำหนด

ปัจจุบันวิทยาการคอมพิวเตอร์และทักษะด้านไอทีเป็นสิ่งสำคัญสำหรับวัยทำงานในการขับเคลื่อนประเทศ ประเทศไทยได้ริเริ่มนโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยไปสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งต้องอาศัยความรู้และเครื่องจักรอัตโนมัติ ด้วยความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ สามารถช่วยให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายนั้นได้ หากคุณสนใจที่จะเป็นส่วนหนึ่งของความคิดริเริ่มนี้สำหรับอุตสาหกรรมและธุรกิจที่ทันสมัย หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์เหมาะสำหรับคุณ

ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหน วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ ปัจจุบันได้มีการนำความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ หรือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการสรรสร้างนวัตกรรม แก้ไขปัญหาเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตของมนุษย์

อุปกรณ์ เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ อาหาร ยา เครื่องสำอาง ซอฟต์แวร์ รวมถึงกระบวนการผลิต การขนส่ง การเงิน การธนาคาร และระบบคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพล้วนเกิดขึ้นจากการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และคอมพิวเตอร์ ไปประยุกต์ใช้ ดังนั้นกล่าวได้ว่า ทุกอุตสาหกรรมในโลกนี้ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมการเงิน อุตสาหกรรมการธนาคาร อุตสาหกรรมการประกันภัย และ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ต่างมีความต้องการนักวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้งานได้จริงเป็นอย่างมาก

วันนี้พี่จะพาน้อง ๆ ไปรู้จักคณะวิทยาศาสตร์ กับ 10 หลักสูตรนักวิทย์ฯ ผลิตนวัตกรรม ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ( KMITL ) หรือ สจล ที่น้อง ๆรู้จักและคุ้นเคย มีสาขาไหนน่าสนใจกันบ้าง?!? โดยหลักสูตรที่นี่จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ หลักสูตรที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิต ได้แก่ พวกพี่ๆ นักเคมี นักฟิสิกส์ นักชีววิทยา และ หลักสูตรที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม การเงิน การธนาคาร การประกันภัย ซอฟต์แวร์ ได้แก่พวก พี่ๆ นักคณิตศาสตร์ นักสถิติ และ นักพัฒนาโปรแกรม

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

หลักสูตรที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิต 1. ฟิสิกส์อุตสาหกรรม ( Industrial Physics )

หลักสูตรผลิตบัณฑิตที่สามารถบูรณาการองค์ความรู้ทางด้านฟิสิกส์และวิศวกรรมเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของอุตสาหกรรม 4.0 มีโครงสร้างหลักสูตรที่บูรณาการองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์ประยุกต์ อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์และระบบควบคุมอัตโนมัติเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ที่จะสามารถนําองค์ความรู้ไปแก้ไขปัญหาในการทำงานจริงได้ นักศึกษาของหลักสูตรจะมีโอกาสสมัครเข้าร่วม โครงการหลักสูตรควบระดับปริญญาตรี 2 ปริญญา และได้รับ 2 ปริญญา คือ 1. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมระบบไอโอทีและสารสนเทศ และ 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรม ในระยะเวลา 4 ปี

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง
ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

2. เคมีสิ่งแวดล้อม ( Environmental Chemistry )

เป็นหลักสูตรวิทยาศาสตรประยุกต์ที่เน้นด้านเคมีและสิ่งแวดล้อม หลักสูตรครอบคลุมตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา วิทยาศาสตร์และเทคโลยีสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559 มุ่งผลิตบัณฑิตที่เป็นนักปฏิบัติที่มีความเชี่ยวชาญทางเคมี สิ่งแวดล้อม สามารถบูรณาการความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์โดยเน้นหลักการทางเคมีในการคิด วิจัย วิเคราะห์ และแก้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อม นําประสบการณ์การเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง
ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

3. เคมีอุตสาหกรรม ( Industrial Chemistry )

มุ่งผลิตบัณฑิตสาขาเคมีอุตสาหกรรม ที่มีความรู้และทักษะทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพทางเคมีอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยคํานึงถึงทักษะของตลาดแรงงานในอนาคต ( 21st Century Skills ) และนโยบายการขับเคลื่อนประเทศไทยที่มุ่งมั่นเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ( Value-Based Economy ) นักศึกษาสามารถนําความรู้ไปศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง
4. เคมีวิศวกรรมและอุตสาหกรรม นานาชาติ ( Industrial & Engineering Chemistry )

เป็นหลักสูตรใหม่จากคณะวิทยาศาสตร์ สจล. ที่มุ่งสร้าง " นักเคมีวิศวกรรม " ที่ไม่ใช่วิศวกร โดยนักเคมีมีวิศวกรรม อาจมิใช่ผู้ออกแบบหรือสร้างเครื่องปฏิกรณ์เคมี แต่เป็นผู้กำหนดว่าเรา " ควรใส่สารเคมีอะไร เมื่อไหร่ และเท่าไหร่ ในเครื่องปฏิกรณ์นั้น! " ด้วยการผสานองค์ความรู้ทางเคมีที่ลึกซึ้งและความเข้าใจทางวิศวกรรม หลักสูตรนี้จะไขปัญหาทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับเคมีได้อย่างประสิทธิภาพ ด้วยความเป็นหลักสูตรนานาชาติ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้ทั้งที่ สจล. และ University of Strathclyde ประเทศสกอตแลนด์ โดยมีโอกาสได้รับสองปริญญาบัตร

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง
ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง
ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง
5. เทคโนโลยีชีวภาพ ( Biotechnology )

เป็นการศึกษาสหวิชาการที่บูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและวิศวกรรมศาสตร์เข้าด้วยกัน โดยมุ่งเน้นการนำเซลล์สิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์และจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในแง่มุมต่าง ๆ ผู้เรียนมีความสามารถทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติการเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาสำหรับการสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกิดประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมและด้านอื่น ๆ อันจะมีความสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและความสามารถในการแข่งขันเชิงวิชาการที่สูงขึ้น

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง
ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

6. จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม

จุลินทรีย์เป็นแหล่งทรัพยากรที่มีความหลากหลายและสำคัญของประเทศ ปัจจุบันมีเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการคัดเลือก และพัฒนาสายพันธุ์จุลินทรีย์ให้มีศักยภาพในการผลิตสารมูลค่าสูงขึ้น เพื่อนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมอาหาร การเกษตร และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งควบคุมการผลิตให้ได้มาตรฐาน หลักสูตรจุลชีววิทยาอุตสาหกรรมจึงมุ่งเน้นผลิตบุคลากรที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับจุลินทรีย์ สามารถนำจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์มาใช้และเพิ่มมูลค่าในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมนำไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไป

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

7. จุลชีววิทยาประยุกต์ นานาชาติ ( Applied Microbiology International program )

โปรแกรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถบูรณาการความรู้ทางจุลชีววิทยากับความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อตอบสนองการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมชีวภาพจึงมีการศึกษา 2 รูปแบบ ได้แก่ แบบที่ 1 โดยใช้ระยะเวลา 4 ปี. เมื่อสำเร็จการศึกษาคุณจะได้รับปริญญาตรี วท.บ. จุลชีววิทยาประยุกต์จาก KMITL แบบที่ 2 เป็นรูปแบบการเรียนรู้ 4 + 1 ที่ใช้เวลาเรียน 5 ปี เมื่อสำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาตรี วท.บ. จุลชีววิทยาประยุกต์จาก KMITL และ วท.ม. Nutraceuticals and Functional Foods จากมหาวิทยาลัยมหิดล

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

หลักสูตรที่เกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการเงิน การธนาคาร การประกันภัย ซอฟต์แวร์ และ ข้อมูล

8. วิทยาการคอมพิวเตอร์ ( Computer Science )

ผลิตนักพัฒนาซอฟต์แวร์มืออาชีพทางดิจิทัลที่มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ รองรับยุคการปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว ( Disruption ) บัณฑิตสามารถบูรณาการศาสตร์ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ทันสมัย ร่วมกับองค์ความรู้ด้าน วิทยาการข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน สถิติ และคณิตศาสตร์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา Digital Platform ที่ใช้แก้ปัญหาสำหรับภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้ดำเนินการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมกับภาคธุรกิจผ่านสหกิจศึกษามากว่า 8 ปี และโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ 3 ปี

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

ว ทยาศาสตร คอมพ วเตอร และไอท ม สาขาอะไรบ าง

9. สถิติประยุกต์

สถิติศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่งที่ศึกษาการวางแผน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลอย่างเป็นระบบเพื่อช่วยในการวางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาและสร้างโอกาสทางธุรกิจให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ธุรกิจ รวมถึงอุตสาหกรรม นอกจากเรียนรู้หลักการเลือกระเบียบวิธีทางสถิติ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่สอดคล้องกับระเบียบวิธีทางสถิติดังกล่าว เช่น Big Data, Business Intelligence และ Data Visualizationเป็นต้น เพื่อตอบโจทย์การขับเคลื่อน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีศักยภาพตามทิศทางเป้าหมายของประเทศ