ว ฒนาธรรมชองไทยท ม การเร ยนร ก บต างชาต

สงั คมไทย ๕-51  
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลดหลน่ั ลงมาในภาคใตแ้ ละภาคเหนอื ตามลำ� ดบั ขอ้ มลู นส้ี อดรบั กบั รายงานของ  
คณะผู้เช่ียวชาญจากธนาคารโลกที่เข้ามาส�ำรวจเศรษฐกิจไทยใน พ.ศ. ๒๕๐๐ ท่ีระบุว่า ยังมีหมู่บ้านใน  
ประเทศไทยจ�ำนวนมากท่ีมีวิถีชีวิตอยู่ในเศรษฐกิจพอยังชีพ และสภาพดังกล่าวได้แตกสลายไปอย่างส้ิน  
เชิงเมอ่ื มีการเร่งพัฒนาประเทศแบบมีแผนกำ� กับตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๔ ต่อเน่ืองมาถงึ ทุกวันน้ี (พ.ศ. ๒๕๔๕)
       นักวชิ าการบางกลุม่ ไดว้ เิ คราะห์วา่ กระแสทุนนิยมท่แี ผ่เขา้ มายังหมู่บา้ นหรอื สงั คมชนบทภายใต้  
แผนพฒั นาฉบบั ตา่ งๆ น้นั ทำ� ใหห้ มบู่ ้านลม่ สลาย อยู่ในความครอบงำ� และการพึ่งพาสังคมเมืองทกุ ดา้ น15  
ทง้ั นเ้ี พราะรฐั ไมม่ แี นวทางการรองรบั ทเ่ี หมาะสมเมอ่ื หมบู่ า้ นตอ้ งแปรเปลยี่ นไปตามพลงั ผลกั ดนั ของทนุ นยิ ม  
อีกทั้งยุทธศาสตร์การพัฒนากระแสหลักของไทยก็เป็นการพัฒนาแบบไม่สมดุล มุ่งสู่ภายนอก และเน้น  
ตลาดเสรี ก่อให้เกดิ ความเหลอื่ มล้ำ� อยมู่ าก เมอ่ื หมบู่ า้ นล่มสลาย วถิ ีชวี ติ ชมุ ชนมลายไป การรองรับก็ไมด่ ี  
ทรพั ยากรถกู โยกยา้ ยดดู ซบั มาทเ่ี มอื ง ชวี ติ ชาวบา้ นจงึ ไรท้ ศิ ทาง ชนบทในพนื้ ทกี่ นั ดารหา่ งไกลอยใู่ นสภาพ  
ดอ้ ยพัฒนา ต่อเนอื่ งใหเ้ กดิ ปญั หานานปั การ เชน่ ความยากจน การว่างงาน การยา้ ยถน่ิ การขาดโอกาส  
ทางการศึกษา สุขภาพอนามยั ไมด่ ี และความแปลกแยกทางสังคม-วัฒนธรรม
       เม่ือเวลาผ่านไป สภาพการพฒั นาได้เห็นชดั ว่า ย่งิ พฒั นายง่ิ เกิดความเหลือ่ มลำ�้ มากและความไม่  
เปน็ ธรรมระหวา่ งภาคอตุ สาหกรรมภาคบรกิ ารและภาคเกษตรกรรม เมอื งและชนบท เจา้ ของทนุ และเจา้ ของ  
แรงงาน ดว้ ยเหตนุ ใ้ี นแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ ๕ ซง่ึ ดำ� เนนิ การระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๒๕  
ถึง พ.ศ. ๒๕๒๙ นั้น รัฐบาลจึงเริ่มเน้นการพัฒนาชนบทโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตชนบทล้าหลัง ซึ่งส่วน  
ใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในพื้นที่กันดารห่างไกล และตามชายแดน โดยมีแนวคิดการพัฒนา  
แบบผสมผสานทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาชนบทและการพฒั นาความจำ� เปน็ พน้ื ฐานหรอื จปฐ. (Basic  
Minimum Needs - BMN) สำ� หรบั ชาวชนบท ซ่งึ ในตอนแรกกำ� หนดไว้ ๘ หมวด ต่อมาเพิม่ เป็น ๙  
หมวด คอื อาหารดี มบี า้ นอาศัย ศกึ ษาอนามยั ถว้ นท่ัว ครอบครวั ปลอดภัย รายได้ดี มีลูกไมม่ าก อยาก  
ร่วมพัฒนา พาสู่คุณธรรรม บ�ำรุงส่ิงแวดล้อม มีเครื่องชี้วัดย่อย ๓๗ ตัวท่ีจะบ่งบอกว่าการด�ำรงชีวิตของ  
ผ้คู นในสังคมชนบทน้ันๆ บรรลุคณุ ภาพชีวิตที่ดตี ามความจ�ำเปน็ พ้นื ฐานหรือไม่ อยา่ งไร
       การพฒั นาชนบทได้ดำ� เนนิ ตอ่ เน่อื งมาจนถงึ ปัจจบุ นั (พ.ศ. ๒๕๔๕) ทรี่ ัฐบาลไดล้ งไปในเรือ่ งการ  
พฒั นาเศรษฐกจิ ทอ้ งถน่ิ มากยงิ่ ขนึ้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการตงั้ กองทนุ หมบู่ า้ น โครงการ ๑ ตำ� บล ๑ ผลติ ภณั ฑ์  
และธนาคารประชาชน (ธนาคารออมสนิ ) ทใี่ หเ้ งนิ กดู้ อกเบยี้ ตำ�่ เพอ่ื การประกอบอาชพี การดำ� เนนิ การเหลา่  
นเ้ี พงิ่ อยใู่ นชว่ งเรม่ิ ตน้ ทจี่ ะตอ้ งทดลองหาประสบการณ์ เพอ่ื นำ� มาสแู่ นวทางการปฏบิ ตั ทิ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ให้  
ประสทิ ธผิ ลที่ดีตามเปา้ หมายทีไ่ ด้ตั้งไว้
       แตใ่ นอกี ดา้ นหนงึ่ นน้ั ตงั้ แตต่ น้ ทศวรรษ ๒๕๒๐ ปญั ญาชนชาวบา้ นและองคก์ รพฒั นาเอกชนไดเ้ รมิ่  
การพัฒนาหมู่บ้านชนบทบางแห่งโดยใช้วิถีวัฒนธรรมชุมชนท่ีเคยด�ำรงอยู่ก่อนทศวรรษ ๒๕๐๐ มาเป็น  
หลกั ในการพฒั นา และได้ด�ำเนินการในแนวนมี้ าอย่างตอ่ เนอ่ื ง เป็นแนวการพัฒนาที่ใช้วฒั นธรรมชมุ ชนที่
         15 เชน่ ดา้ นการเมอื ง ชาวชนบทไมม่ สี ว่ นรว่ มในอำ� นาจทางการเมอื ง ตอ้ งพงึ่ พารฐั บาลในการกำ� หนดนโยบายตา่ งๆ อาทิ  
การประกนั ราคาพืชผล การหาแหลง่ เงนิ ทุนให้ ด้านเศรษฐกจิ เมอื งควบคมุ การคา้ ราคา และตลาด ดา้ นสงั คม อยู่ในความครอบงำ�  
ของเมืองทางการศึกษา ตลอดยนถึงวัฒนธรรมของสังคมเมืองท่ีชาวชนบทมองด้วยความช่ืนชม ในขณะท่ีชาวเมืองมองชาวชนบท  
เปน็ พวก บา้ นนอกคอกนา