ว ชาภาษาไทย เร อง การเข ยน ม.ปลาย

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·ÂµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹ ๗๕.-ÀÒÊ¡Ã à¡Ô´Í‹Í¹ÃÐÇÕÇÃó ÍÔ¹·Ã»Ãоѹ¸¿Í§¨Ñ¹·Ã ÊØ¢ÂÔ觡ÑÅÂÒ Ê˪ҵÔâ¡ÊՏÈÃÕÇÃó ªŒÍÂËÔÃÑÞªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè๔Á.3.46712.92373.185553.9194 0 0

¼Ñ§Áâ¹·Ñȹ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ Á .๔˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ Áôڞ|¬Ù‰ž–ÙÐ ลัก า า ละการ า า ม ๔µÍ¹·ÕèÕèó¡Òÿ˜§ ¡Òô٠áÅСÒþٴµÍ¹·ÕèÕèôËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§º·ÃŒÍÂá¡ŒÇ áÅк·ÃŒÍ¡ÃͧwŸ‘›hŸÙ˜Þ²›˜¡²|Ü¡ÜЫ“Ý ˜Þ²››¡ª“±w‰‘›Ù¡w˜ÐwŸ‘›hŸÙªÜÞ²›«˜†|z•Ÿz¡†ª™±Ù¸ÃÃÁªÒµÔáÅоÅѧ¢Í§ÀÒÉÒwŸ‘ªx¢Ù‹žÙ‰£wz•Ÿ‘¥iËÅÑ¡¡Òÿ˜§áÅСÒôÙÊ×èÍ¡Òþٴµ‹Í·Õè»ÃЪØÁª¹ÅѡɳТͧÀÒÉÒä·ÂwŸ‘ªx¢Ùª‘¢|z•Ÿ h›z•Ÿ }†™ŸwŸ‘˜‘¤Œz•Ÿ }ŸwwŸ‘q| wŸ‘†¥z·Ÿ‘ŸŸ–žÜ‰Ð¡ÒÃà¢Õ¹͸ԺÒÂwŸ‘«‡h|z·ŸŒ‘ÝܞيЌ‘ݪŽ‰wŸÜÐ«“ݬz“|¡ÒáÃ͡ẺÃÒ¡ÒÃ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèñ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèó ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèò˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèô˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèñ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèñ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèñ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèò˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèò˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèò˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèó˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèó˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèó˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèô˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·ÕèÕèôwŸ‘›hŸÙ«Œ“z•Ÿ ‡¢z•Ÿ «“ÝxŸz•ŸµÍ¹·ÕèÕèò ¡ÒÃà¢Õ¹µÍ¹·ÕèÕèñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ช�อ…………………………………………………………………นามสกุล………………………………………………………………เลขประจำตัว………………………………………………… …………………………………ชั้นเลขที่…………………………….โรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………………………………หนังสือเลมนี้เปนของกรอบบันทึกนี้ สำนักพิมพจัดทำขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกแกการใชงานของนักเรียน

ภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษา ม.๔ชั นมั ยมศ กษาป ที่ ๔กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒ ๑ผู้เรียบเรียงนายภาสกร เกิดอ่อนนางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ์นาง องจันทร์ สุขยิ่งนางกัลยา สหชาติโกสีย์นางสาวศรีวรรณ ช้อยหิรัญผู้ตรว นางประนอม พงษ์เผือกนางจินตนา วีรเกียรติสุนทรนางวรวรรณ คงมานุสรณ์บรร า การนายเอกรินทร์ สี่มหาศาล˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹พิมพครั้งที่ ๑๐สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติISBN : 978-616-203-877-8รหัสสินคา ๓๔๑๑๐๐๘

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒ ๑ ได้ก�าหนดให้ภาษาไทย ซึ่งเป็นภาษาประจ�าชาติ เป็นรายวิชาพื้นฐานที่ผู้เรียนทุกคนต้องเรียน เพื่อพั นาศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องตามหลักภาษาไทยและเกิดความรู้ความเข้าใจในเอกลักษณ์ทางภาษาของชาติภาษาไทย เป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวั นธรรมอันท�าให้เกิดเอกภาพ และเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีของคนในชาติ นอกจากนี้ ภาษาไทยยังเป็นเครื่องมือส�าคัญที่ช่วยในการแสวงหาความรู้ทั้งจากหนังสือและแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ทั้งนี้ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ และเลือกสรรใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง เพื่อธ�ารงไว้ซึ่งเอกภาพของชาติไทย และสามารถน�าไปใช้พั นาทักษะอาชีพต่างๆ เพื่อประโยชน์ของตนเองและสังคมส�าหรับหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ นี้ ทางคณะผู้เรียบเรียงได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น ๒ เล่ม ได้แก่ หลักภาษาและการใช้ภาษา ๑ เล่มและวรรณคดีและวรรณกรรม ๑ เล่มหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษานี้ มีเนื้อหามุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจในภาษาไทยกว้างขึ้น มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความคิดที่แจ่มชัด และสามารถน�าภาษาไปปรับใช้ในชีวิตประจ�าวัน ทั้งการอ่าน การเขียน การ ัง การดู และการพูด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้การที่ผู้เรียนจะสามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ จ�าเป็นต้องเรียนรู้ จดจ�า ฝ กท�า และน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน คณะผู้เรียบเรียงมีความมั่นใจว่า สถานศึกษาที่เลือกใช้หนังสือเรียนชุดนี้ จะพั นาคุณภาพและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ทุกประการ ผู้เรียบเรียง¤íÒ¹íÒ

ÊÒúÑÞหนาตอนที่ ๑การอาน ๑ ๕ นวยการ รียนร ที่ ๑ การอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ๒หนวยการเรียนรูที่ ๒ การอานสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส ๑๙หนวยการเรียนรูที่ ๓การอานแปลความ ตีความ และขยายความ ๑หนวยการเรียนรูที่การอานเพื่อแสดงความคิดเห็น ๙ตอนที่ ๒การเขียน ๕๕ ๑๐ นวยการ รียนร ที่ ๑ การเขียนบันท กความรู ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การเขียนเรียงความ ยอความ จดหมาย ๗หนวยการเรียนรูที่ ๓การเขียนอธิบาย ๘๘หนวยการเรียนรูที่การกรอกแบบรายการ ๙๙

หนาตอนที่ ๓การ ง การดู และการพูด ๑๐๗ ๑๒๘ นวยการ รียนร ที่ ๑ หลักการ งและการดูสื่อ ๑๐๘หนวยการเรียนรูที่ ๒ การสรุปความจากการ ง การดู ๑๑๕หนวยการเรียนรูที่ ๓การพูดตอที่ประชุมชน ๑๒๐ตอนที่ หลักภา าและการใชภา า ๑๒๙ ๑๘ นวยการ รียนร ที่ ๑ ธรรมชาติและพลังของภา า ๑๓๐หนวยการเรียนรูที่ ๒ ลัก ะของภา าไทย ๑ หนวยการเรียนรูที่ ๓ค าราชา ัพท ๑๕ หนวยการเรียนรูที่การแตงค าประพันธประเภทกาพยและโคลง ๑๗๑บรร านุกรม๑๘๗

ตอนที่ñการอานารอานเปนเครื่องมือที่สําคัญอยางหนึ่งในการแสวงหาความรูเ ื่อ ั นาตนเองใหเปนผูรอบรู ทันเหตุการ  และสามารถอานสารตาง ไดอยางแตก าน ถูกตองตามอักขรวิธี ึ่งป จจุบันมีสื่อตาง ใหเลือกอยางหลากหลายทั้งประเ ทรอยแกวและรอยกรอง หากผูอานเขาใจหลักการอานและมีวิจาร ญา ในการเลือกอานสารที่มีคุ คา ยอมสงผลใหการอานเกิดประโยชนและผูอานไดรับอรรถรสจากการอาน

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ñสาระการ รียนร กนกลา • การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว• การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองการอานออกเสียง ทรอยแกวและ ทรอยกรองการอาน เปนทักษะที่ส าคั ในการรั สารมีความ าเปนในชีวิตประ าวัน ไมวา ะเปนการอานออกเสียงหรืออานในใ โดยเ พาะการอานออกเสียง าเปนอยางยิ่งที่ ะตองศึกษาและท าความเขาใ เกี่ยวกั ร ปแ ังหวะ และทวงท านองในการอานใหเขาใ กอานใหถ กตองชัดเ น ึง ะท าใหการอานสัม ทธิ ลและเกิดประโยชนส งสุดตัว ี วัด• อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๑ ๖

๑.การอ่าน ร อ แก วร้อยแก้ว หมายถึง บทประพันธ์ที่เรียบเรียงด้วยภาษาที่ใช้เขียนหรือพูดกันทั่วไป ภาษาที่ใช้ส�าหรับร้อยแก้วไม่มีการบังคับสัมผัส หรือก�าหนดจ�านวนค�าแต่อย่างใด เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็นส�าคัญรูปแบบของงานเขียนประเภทร้อยแก้ว แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้๑. บันเทิงคดี เป็นลักษณะงานเขียนที่มีเนื้อหามุ่งเสนอเรื่องที่แต่งขึ้นจากจินตนาการเพื่อความเพลิดเพลินเป็นหลัก ได้แก่ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย นิยายอิงพงศาวดาร และนิทานชาดก๒. สารคดี เป็นลักษณะงานเขียนที่มีเนื้อหามุ่งเสนอข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้ ข้อคิดเป็นหลัก ได้แก่ ความเรียง บทความ สารคดี รายงาน ต�ารา พงศาวดาร ก หมาย จดหมายเหตุ พระราชหัตถเลขา จารึก และคัมภีร์ศาสนา ๑.๑ ห กการอ่านออกเส งบทร้อ แก้ว เป็นการอ่านออกเสียงธรรมดาหรือสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ มีหลักการอ่าน ดังนี้๑. ศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจโดยตลอดเสียก่อน โดยเข้าใจทั้งสาระส�าคัญของเรื่องและข้อความทุกข้อความ เพื่อจะแบ่งวรรคตอนในการอ่านได้อย่างเหมาะสม๒. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาที่ยืมมาจากภาษาอื่นๆ เช่น บาลี สันสก ต เขมร เป็นต้น รวมทั้งค�าที่ถูกต้องตามความนิยม โดยอาศัยหลักการอ่านจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานเป็นส�าคัญ๓. อ่านอย่างมีสมาธิและมั่นใจ ไม่อ่านผิด อ่านตก หรืออ่านเติม ขณะอ่านต้องควบคุมสายตาให้ไล่ไปตามตัวอักษรทุกตัวในแต่ละบรรทัดจากซ้ายไปขวา ด้วยความรวดเร็ว ว่องไว และรอบคอบ แล้วย้อนสายตากลับลงไปยังบรรทัดถัดไปอย่างแม่นย�า๔. อ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างธรรมชาติที่สุด โดยเน้นเสียงหนัก เบา สูง ต�่า ตามลักษณะการพูดโดยทั่วไป ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่อ่านออกเสียงเป็นส�าคัญ การอานออกเสียงที่ถูกตองชัดเจนเกิดจากการปลูกฝงการอาน ที่ดี และฝกอานจนเกิดทักษะ▼3

๕. อ่านออกเสียงให้ดังพอสมควร ให้เหมาะกับสถานที่และจ�านวนผู้ฟัง ไม่ดังหรือค่อยจนเกินไป จะท�าให้ผู้ฟังเกิดความร�าคาญและไม่สนใจ๖. ก�าหนดความเร็วให้เหมาะสมกับผู้ฟังและเรื่องที่อ่าน ไม่อ่านเร็วหรือช้าเกินไป การอ่านเร็วเกินไปท�าให้ผู้ฟังจับใจความไม่ทัน แต่การอ่านช้าเกินไปท�าให้ผู้ฟังเกิดความร�าคาญได้ผู้อ่านจึงต้องพิจารณาพื้นความรู้ของผู้ฟังและพิจารณาประเภทของเรื่องที่อ่านด้วย๗. อ่านให้ถูกจังหวะวรรคตอน ต้องอ่านให้จบค�าและได้ใจความ ถ้าเป็นค�ายาวหรือค�าหลายพยางค์ ไม่ควรหยุดกลางค�าหรือตัดประโยคจนเสียความ๘. อ่านเน้นค�าที่ส�าคัญและค�าที่ต้องการ เพื่อให้เกิดจินตภาพที่ต้องการ ควรเน้นเฉพาะค�า ไม่ใช่ทั้งวรรคหรือทั้งประโยค เช่น“พิมน ่งงัน ค�าพูดของแม่บา ล กเข้าไปในความรู้สึก” . เมื่ออ่านข้อความที่มีเครื่องหมายวรรคตอนก�ากับ ควรอ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษา ส่วนค�าที่ใช้อักษรย่อต้องอ่านให้เต็มค�า เช่นทูลเกล้า อ่านว่า ทูน เกล้า ทูน กระ หม่อม พ ศ อ่านว่า พุด ทะ สัก กะ หราด๑ . เมื่ออ่านจบย่อหน้าหนึ่งควรผ่อนลมหายใจและเมื่อขึ้นย่อหน้าใหม่ควรเน้นเสียงทอดเสียงให้ช้าลงกว่าปกติเล็กน้อย เพื่อดึงความสนใจจากผู้ฟัง จากนั้นจึงใช้เสียงในระดับปกติ ๑.๒ การอ่านในใ การอ่านในใจ เป็นการท�าความเข้าใจสัญลักษณ์ที่มีผู้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รูปภาพ และเครื่องหมายต่างๆ แล้วผู้อ่านจะต้องท�าความเข้าใจโดยแปลสัญลักษณ์ที่บันทึกไว้นั้นให้ตรงตามความต้องการของผู้บันทึก การอ่านในใจจึงใช้เพียงสายตากวาดไปตามตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ แล้วใช้ความคิดแปลความ ตีความ รับสารต่างๆ ที่อ่านนั้น ท�าให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ความคิด และความบันเทิง อันเป็นจุดมุ่งหมายของการอ่านโดยทั่วไปการอ่านที่จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายในการอ่านไม่ว่าจะเป็นการอ่านเพื่อศึกษาหาความรู้ เพื่อหาค�าตอบ หรือเพื่อความบันเทิงนั้น ผู้อ่านต้องอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ วิธีที่จะช่วยให้อ่านอย่างมีประสิทธิภาพได้นั้น ผู้อ่านต้องสามารถจับใจความส�าคัญของเรื่องที่อ่านได้ต้องรู้ว่าเรื่องที่ตนอ่านนั้นผู้เขียนกล่าวถึงอะไร มุ่งเสนอความคิดหลักว่าอย่างไร และฝึกอย่างสม�่าเสมอ เพื่อให้สามารถจับใจความจากข้อความหรือเรื่องราวที่อ่านได้อย่างรวดเร็ว อันจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการแสวงหาความรู้หรือความบันเทิงในเวลาอันจ�ากัด4

.การอ่าน ร อ กรองคนไทยมีนิสัยเจ้าบทเจ้ากลอนมาตั้งแต่โบราณ ด้วยเหตุนี้ ถ้อยค�าส�านวนที่ได้ยินได้ฟังอยู่เสมอ จึงมักมีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน เช่น ก่อร่างสร้างตัว ข้าวยากหมากแพง คดในข้องอใน-กระดูก จองหองพองขน แม้แต่เพลงส�าหรับเด็กร้องเล่น เช่น รีรีข้าวสาร สองทะนานข้าวเปลือก เลือกท้องใบลาน คดข้าวใส่จาน เป็นต้นภาษาไทยเป็นภาษาดนตรีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ มีเสียงวรรณยุกต์ ๕ ระดับเสียง เมื่อน�าถ้อยค�ามาเรียงร้อยเข้าด้วยกันแล้วจะก่อให้เกิดบทร้อยกรองหลายลักษณะ เช่น กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ นอกจากนั้น ยังมีการน�าบทร้อยกรองบางรูปแบบมาประสมประสานกัน แล้วเรียกว่า กาพย์ห่อโคลงบ้าง กาพย์เห่บ้าง ลิลิตบ้าง บทร้อยกรองที่คนไทยได้สร้างสรรค์มาแต่โบราณนี้ล้วนงดงามด้วยวรรณศิลป ทั้งสิ้น๑ดังนั้น การอ่านบทร้อยกรองให้มีความไพเราะ เกิดความซาบซึ้งและมีอารมณ์ร่วมนั้น ผู้อ่านต้องอ่านบทร้อยกรองทั้งอ่านออกเสียงเป็นท�านองต่างๆ ตามลักษณะฉันทลักษณ์อันเป็นสิ่ง ก�าหนดท�านองให้แตกต่างกันออกไป ๒.๑ ก ะของบทร้อ กรองประเ ท ่าง บทร้อยกรองแต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกัน จึงมีวิธีการอ่านที่ต่างกันโดยขึ้นอยู่กับบทร้อยกรองประเภทนั้นๆ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทการอ่านบทร้อยกรองได้ ดังนี้๑. โคลง เป็นค�าประพันธ์ดั้งเดิมของไทย นิยมแต่งอย่างแพร่หลายอย่างน้อยราวต้นกรุงศรีอยุธยา ส�าหรับโคลงสี่สุภาพถือเป็นโคลงที่ได้รับอิทธิพลจากโคลงที่แพร่หลายในล้านนาแทนโคลงดั้นที่ใช้อยู่แต่เดิม ด้วยฉันทลักษณ์ที่ไม่ซับซ้อนจึงถือเอาโคลงสี่สุภาพเป็นพื้นฐานส�าหรับการแต่งและอ่านค�าประพันธ์ประเภทโคลงในปัจจุบัน๒. ฉันท์ เป็นค�าประพันธ์ประเภทหนึ่ง มีการบังคับเสียงหนักเสียงเบา ครุ ลหุ โดยอาจจ�าแนกลักษณะการแต่งออกเป็น ๒ ช่วง ได้แก่ ฉันท์รุ่นเก่า เช่น สมุทรโฆษ อนิรุทธ์ ฉันท์ปัจจุบันอาจพิจารณาว่า เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ เรื่อยมา เริ่มมีการน�าค�าบาลี สันสก ต มาใช้มากขึ้น คล้ายกับเป็นการบังคับครุ ลหุ ซึ่งลักษณะดังกล่าวมาสมบูรณ์ปรากฏชัดเจนในผลงานของชิต บุรทัต๓. กาพย์ เป็นค�าประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทย ที่นิยมแต่งมี ๓ ประเภท คือ กาพย์ยานี ๑๑กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ในสมัยโบราณนิยมแต่งกาพย์ทั้ง ๓ ประเภทนี้สลับกัน๑กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ อานอยา ร ด รส กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว ม.ป.ป. หน้า ๓ . 5

๔. กลอน เป็นค�าประพันธ์ที่เกิดหลังสุด แต่งง่ายที่สุด และเป็นที่นิยมแพร่หลายมากที่สุด ด้วยกลอนจะมีจังหวะและท�านองเฉพาะตัว คือ กลอน ๑ บท มี ๔ วรรค ได้แก่ วรรคสดับวรรครับ วรรครอง และวรรคส่ง การอ่านค�ากลอนจะเน้นให้เห็นสัมผัสนอกที่ถูกต้องชัดเจนและถ้ามีสัมผัสในเพิ่มด้วยจะช่วยให้ค�ากลอนมีความไพเราะยิ่งขึ้น๕. ร่าย เป็นค�าประพันธ์ที่เก่าแก่ที่สุดของไทย ข้อบังคับต่างๆ มีเพียงค�าสุดท้ายส่งสัมผัสไปยังวรรคถัดไป จะมีกี่วรรคก็ได้ ร่ายสุภาพจะมีวรรคละ ๕ ค�า ส่วนร่ายยาวเป็นร่ายที่ไม่ก�าหนดจ�านวนค�าในวรรคหนึ่งๆ แต่ละวรรคอาจมีค�ามากน้อยแตกต่างกัน ถ้าเป็นร่ายสุภาพจะจบด้วยโคลงสองสุภาพหรือโคลงสามสุภาพ หากเป็นร่ายดั้นจะจบด้วยโคลงสองดั้นหรือโคลงสามดั้น การก�าหนดจังหวะในการอ่านร่ายชนิดต่างๆ จึงไม่แน่นอน ทั้งนี้เพราะจ�านวนค�า ค�าประพันธ์ประเภทร่าย ประกอบด้วย ร่ายสุภาพ ร่ายโบราณ ร่ายดั้น และร่ายยาว๒.๒ การอ่านบทร้อ กรอง บทร้อยกรองหรือกวีนิพนธ์ มีวิธีการอ่านได้ ๒ ลักษณะ กล่าวคือ อ่านออกเสียงธรรมดา โดยอ่านออกเสียงเช่นเดียวกับการอ่านร้อยแก้ว และการอ่านท�านองเสนาะ คือ อ่านเป็นท�านองเพื่อความไพเราะอานออก สีย รรมดา เป็นการอ่านออกเสียงพูดธรรมดาเหมือนอ่านออกเสียงร้อยแก้ว แต่ต้องเว้นจังหวะวรรคตอนให้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของค�าประพันธ์แต่ละชนิด มีการเน้นค�ารับสัมผัสเพื่อเพิ่มความไพเราะ รวมทั้งสามารถใส่อารมณ์ให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหาที่อ่านได้อานท านอ สนาะ เป็นการอ่านที่มีส�าเนียงสูง ต�่า หนัก เบา ยาว สั้น ทอดเสียง เอื้อนเสียง เน้นจังหวะ เน้นสัมผัสในชัดเจนไพเราะ และท�าให้เกิดอารมณ์คล้อยตาม ดังนั้น ผู้อ่าน ต้องมีส�าเนียง น�้าเสียงที่เหมาะสมกับลักษณะเนื้อความที่อ่าน เช่น บทเล้าโลม เกี้ยวพาราสี ตัดพ้อ โกรธเกรี้ยว คร�่าครวญ โศกเศร้า ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องฝึกฝนโดยเฉพาะ๑) คุ สมบัต ของผู้อ่าน ๑. มีความรู้เรื่องฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรองที่จะอ่าน เพื่อให้สามารถอ่านได้อย่าง ถูกต้องแม่นย�า ๒. มีความช่างสังเกต รอบคอบ ปฏิภาณไหวพริบดี ๓. มีทักษะและสมาธิในการอ่าน ไม่อ่านผิด อ่านตกหล่น หรือต่อเติม ท�าให้เสียความไพเราะ ๔. มีความเพียรพยายาม มีความอดทนในการฝึกฝนการอ่านอย่างสม�่าเสมอ ๕. มีความรักและสนใจการอ่านอย่างแท้จริง อันจะน�าไปสู่ความแตกฉานในการอ่าน ๖. มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก ๗. มีสุขภาพดี ๘. มีน�้าเสียงแจ่มใส อวัยวะในการออกเสียงไม่ผิดปกติ

๒) หลักเก ์ในการอ่าน ๑. ศึกษาค�าประพันธ์ชนิดต่างๆ ให้เข้าใจถ่องแท้ จดจ�ารูปแบบ และข้อบังคับให้แม่นย�า ถ้าจ�าเป็นสามารถเขียนคณะ จ�านวนค�า ครุ ลหุ ก�ากับลงในบทร้อยกรองได้ ๒. อ่านบทร้อยกรองเป็นส�าเนียงการอ่านร้อยแก้วธรรมดา อ่านออกเสียงดังชัดเจนให้ได้จังหวะ หรือช่วงเสียงตามรูปแบบร้อยกรองชนิดนั้นๆ ออกเสียงค�าต่างๆ ให้ถูกต้องชัดเจน โดยเฉพาะการอ่านตัว ร ล ตัวควบกล�้า และออกเสียงให้ถูกต้องตามระดับเสียงวรรณยุกต์ ๓. ฝึกอ่านทอดเสียงโดยอ่านผ่อนเสียงและผ่อนจังหวะให้ช้าลง เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการอ่านค�าแต่ละค�าให้ชัดเจน โดยให้ผู้ฝึกอ่านลากเสียงให้ยาวออกไปเล็กน้อยแล้วจึงอ่านทอดเสียงนั้น ๔. อ่านใส่ท�านองเสนาะ ซึ่งมีลักษณะส�าคัญ คือ การแบ่งช่วงเสียงของค�าในวรรคในบาท ในบทได้ถูกต้อง สอดคล้องกับลักษณะวรรณศิลป ที่มีอยู่ในบทร้อยกรองนั้นๆ การใส่ท�านองเสนาะนี้ให้เลือกแบบแผนที่นิยมกันมาก ผู้อ่านต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัวในการอ่าน โดยค�านึงถึงความไพเราะเป็นส�าคัญ ๕. ฝึกอ่านบทร้อยกรองชนิดต่างๆ เพื่อให้รู้จังหวะ วรรคตอน ท่วงท�านอง ลีลา จนเกิดความแม่นย�าในท�านองแล้ว จึงเพิ่มศิลปะในการอ่านที่จะท�าให้การอ่านท�านองเสนาะเกิดความไพเราะยิ่งขึ้น โดยมีวิธีการ ดังนี้●การทอดเสียง คือ วิธีการอ่านโดยผ่อนเสียง ผ่อนจังหวะให้ช้าลง●การเอื้อนเสียง คือ การลากเสียงช้าๆ เพื่อให้เข้าจังหวะและไว้หางเสียงเพื่อความไพเราะ● การครั่นเสียง คือ การท�าเสียงให้สะดุดสะเทือน เพื่อความไพเราะ เหมาะสมกับบทร้อยกรองบางตอน● การครวญเสียง คือ การสอดแทรกเสียงเอื้อน หรือส�าเนียงครวญคร�่าร�าพัน ใช้ได้ทั้งกรณีที่ต้องการขอร้อง วิงวอน หรือส�าหรับอารมณ์โศก● การหลบเสียง คือ การเปลี่ยนเสียง หรือหักเสียงหลบจากสูงลงไปต�่า หรือจากเสียงต�่าขึ้นไปสูง เป็นการหลบจากการออกเสียงที่เกินความสามารถการสวดโอเอวิหารรายเปนลักษณะของเสียงเสนาะไทยหนึ่งในเกาชนิด คือ การสวด การขับ การเห การกลอม การพากย การวาการแหล การรอง และการอาน ซึ่งไดรับความนิยมมาตั้งแตสมัย อยุธยาจนถึงปจจุบัน▼

๒กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ อานอยา ร ด รส กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว ม.ป.ป. หน้า ๓๔-๓ .● การกระแทกเสียง คือ การลงเสียงในแต่ละค�าให้หนักเป็นพิเศษ มักใช้บรรยายความโกรธ ความเข้มแข็ง หรือตอนที่ต้องการความศักดิ สิทธิ ๒ ๖. ฝึกใส่อารมณ์ให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อความที่อ่าน ท�าได้โดยการออกเสียงหนักเบา อ่อนโยน ช้าเร็ว กระแทกกระทั้น ทอดเสียงเนิบช้า ละมุนละไม เสียงสูงต�่า โดยเปลี่ยนแปลงเสียงไปตามอารมณ์ความรู้สึกของบทร้อยกรองแต่ละวรรคแต่ละตอน ๓) ว ีการอ่านการอ่านท�านองเสนาะของค�าประพันธ์แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันด้านท�านอง ลีลา การทอดเสียง และความสามารถของผู้อ่าน ส่วนจังหวะจะคล้ายคลึงกัน ส่วนมากจะอ่านตามท�านองลีลาที่ได้รับการสั่งสอนกันมา การอ่านจะไพเราะหรือไม่ ขึ้นอยู่กับน�้าเสียงและความสามารถของผู้อ่าน โดยมีเครื่องหมายวรรคตอนในการอ่าน ดังนี้เครื่องหมาย หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะสั้นๆเครื่องหมาย หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะที่ยาวกว่าเครื่องหมาย ๑ การอานกลอนส า าร ่งช่วงเ ยงหรือจังหวะกลอนของกลอนสุภาพ โดยมีลีลาการอ่าน ดังนี้ หลวงธรรมาภิมณฑ์ ถึก จิตรกถึก นักเลงกลอนในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้กล่าวถึงลีลาของกลอนสุภาพไว้ ดังนี้กลอนสุภาพ แปดค�า ประจ�าบ่อน อ่านสามตอน ทุกวรรค ประจักษ์แถลง ตอนต้นสาม ตอนสอง สองแสดง ตอนสามแจ้ง สามค�า ครบจ�านวน ก�าหนดบท ระยะ กะสัมผัส ให้ าด ัด ชัดความ ตามกระสวน วางจังหวะ กะท�านอง ต้องกระบวน จึงจะชวน ังเสนาะ เพราะจับใจ (ประชุม ล�าน�า : หลวงธรรมาภิมณฑ์ (ถึก จิตรกถึก)) เนื่องจากกลอนสุภาพวรรคหนึ่งอาจมีจ�านวนค�า ๖- ค�า มิได้มี ๘ ค�าเสมอไปดังนั้น ถ้าจะอ่าน ตอนต้นสาม ตอนสอง ต้องแสดง ตอนสามแจ้ง สามค�า ครบจ�านวน ก็คงจะไม่ได้ต้อง ก�าหนดบท ระยะ กะสัมผัส และ วางจังหวะ กะท�านอง ต้องกระบวน จึงจะชวน ฟังเสนาะเพราะจับใจ ารเอื อนเ ยง อดเ ยงการอ่านท�านองเสนาะ นิยมอ่านเสียงสูง ๒ วรรค ในวรรคที่ ๑ และ ๒ ลดเสียงต�่าลงในวรรคที่ ๓ และลดเสียงต�่าลงไปอีกจนเป็นเสียงพื้นระดับต�่าในต้นวรรคที่ ๔ การทอดเสียง นิยมทอดเสียงระหว่างวรรคไปยังค�ารับสัมผัสซึ่งเป็นต�าแหน่งที่

แบ่งช่วงเสียงด้วย นอกจากนี้การออกเสียงสูงต�่า สั้นยาว หนักเบา และการทอดเสียง ต้องพิจารณาลีลาและเนื้อความของบทร้อยกรองประกอบด้วย อควรค าน นการอานกลอน ๑. อ่านให้ถูกท�านองของกลอนประเภทนั้นๆ ๒. อ่านออกเสียงค�าให้ถูกต้องตามอักขรวิธี ออกเสียงตัว ร ล ตัวควบกล�้า และเสียงวรรณยุกต์ให้ถูกต้อง ๓. อ่านค�าให้เอื้อสัมผัสในเพื่อเพิ่มความไพเราะ เช่นคิดถึงบาทบพิตรอ ศรอ่านว่า อะ ดิด สอน เพื่อเอื้อสัมผัสกับค�าว่า บพิตร ข้าอุตส่าห์มาเคารพอภ วันท์ อ่านว่า อบ พิ วัน เพื่อเอื้อสัมผัสกับค�าว่า เคารพ บุญบันดาลดลจิตพระ าอ่านว่า ทิด ดา เพื่อเอื้อสัมผัสกับค�าว่า จิต ๔. ต้องใส่อารมณ์ให้เหมาะสมกับเนื้อความ หากผู้อ่านเข้าใจเนื้อความทั้งหมดหรือเนื้อความในตอนที่อ่าน และมีลีลาอารมณ์ตามนั้น เช่น เนื้อความบรรยายธรรมชาติควรอ่านด้วยเสียงเนิบนุ่ม กังวาน แจ่มใส ชัดเจน ความดังของเสียงประมาณ ๓ ใน ๔ ของเสียงตน ส่วนบทตื้นตันต้องอ่านด้วยลีลาช้าบ้าง เร็วบ้าง ดังบ้าง ค่อยบ้าง เพื่อให้ตื่นเต้น เร้าใจตามความหมายของเนื้อความ ทั้งนี้เพื่อให้กระทบอารมณ์ของผู้ฟัง๕. อ่านให้ถูกช่วงเสียง หรือจังหวะของกลอน และต้องค�านึงถึงความเหมาะสมความถูกต้องตามความหมายและเนื้อความของบทกลอนที่อ่านด้วย มิฉะนั้นอาจสื่อความหมายผิดพลาดได้ เช่น แขกเต้า ับเต่าร้างร้อง เหม อนร้างห้องมาหยารัศมีควรอ่านแขกเต้า จับเต่าร้าง ร้องจึงจะได้ความ เพราะเต่าร้างเป็นชื่อของต้นไม้ชนิดหนึ่งหากอ่านแขกเต้า จับเต่า ร้างร้องถูกตามจังหวะของกลอน แต่ความหมายจะผิดไป ๒ การอานกา ย าพย ยาน ๑ การแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะของกาพย์ยานี ๑๑ วรรคหน้า ๕ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น วรรคหลัง ๖ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น พระเสด็จ โดยแดนชล ทรงเรือต้น งามเ ิด าย กิ่งแก้ว แพร้วพรรณราย พายอ่อนหยับ จับงามงอน นาวา แน่นเป็นขนัด ล้วนรูปสัตว์ แสนยากร เรือริ้ว ทิวธงสลอน สาครลั่น ครั่นครื้น อง (กาพย์เห่เรือ : เจ้า าธรรมธิเบศร)

๒ การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านนิยมอ่านทอดเสียงตามต�าแหน่งที่ส่งรับสัมผัสและเอื้อนระหว่างท้ายวรรค าพย ง ๑ การแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะของกาพย์ฉบัง ๑๖ วรรคที่ ๑ และ ๓ มีวรรคละ ๖ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๓ ช่วง เป็น วรรคที่ ๒ มี ๔ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น กลางไพร ไก่ขัน บรรเลง ังเสียง เพียงเพลง ซอเจ้ง จ�าเรียง เวียงวัง ยูงทอง ร้องกะโต้ง โห่งดัง เพียง ้อง กลองระ ัง แตรสังข์ กังสดาล ขานเสียง (กาพย์พระไชยสุริยา : สุนทรภู่) ๒ การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านนิยมอ่านทอดเสียงตามต�าแหน่งที่ส่งรับสัมผัสและเอื้อนระหว่างท้ายวรรค าพย รางคนางค ๑ การแบ่งช่วงเสียง หรือจังหวะของกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น วันนั้น จันทร มีดารากร เป็นบริวาร เห็นสิ้น ดิน า ในป่า ท่าธาร มาลี คลี่บาน ใบก้าน อรชร (กาพย์พระไชยสุริยา : สุนทรภู่) ๒ การเอื้อนเสียงทอดเสียง นิยมเอื้อนเสียงค�าท้ายวรรค โดยเฉพาะท้ายวรรคที่ ๖ รวมถึงค�ารับส่งสัมผัสและเมื่อจะขึ้นบทใหม่ อควรค าน นการอานกา ย ๑. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี เช่น●การอ่านค�าที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นและสระเสียงยาว อย่าอ่าน ผิดเพี้ยน●การอ่านพยัญชนะบางตัว เช่น ฑ ร ล และค�าควบกล�้า ควรศึกษาให้ดีว่าอ่านออกเสียงอย่างไร ทั้งต้องพิจารณาเรื่องการอ่านเอื้อสัมผัสและรับสัมผัส●การอ่านให้ถูกต้องตามเสียงวรรณยุกต์ เช่น เมื่อไร ไม่อ่านเป็น เมื่อไหร่10

๒. อ่านให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ เพราะจังหวะท�านองของกาพย์แต่ละประเภทแตกต่างกัน จึงควรศึกษาให้เข้าใจเพื่ออ่านได้อย่างถูกต้อง ๓. ใช้น�้าเสียงในการอ่านให้สอดคล้องกับค�าและเนื้อความ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตามและเกิดจินตภาพ เช่น เนื้อความบรรยายธรรมชาติ ควรอ่านด้วยเสียงนุ่มกังวาน แจ่มใส ชัดเจน เนื้อความตื่นเต้น ควรอ่านด้วยลีลาช้าบ้าง เร็วบ้าง ดังบ้าง ค่อยบ้าง เพื่อให้ตื่นเต้น เป็นต้น ๔. ใช้เสียงในการอ่านอย่างมีศิลปะ เช่น●การเอื้อนเสียง ทั้งเสียงค�าเป็นและเสียงค�าตาย ควรลากเสียงให้เข้าจังหวะและไว้หางเสียงให้ไพเราะ●การทอดเสียง เพื่อให้เกิดความไพเราะ หรือเพื่อให้ทราบว่าบทที่อ่านก�าลังจะจบ ควรฝึกออกเสียงให้แนบเนียน● การรวบค�า ควรฝึกให้ลงจังหวะได้พอดี● การเชื่อมเสียง ในกรณีที่บทอ่านมีค�ายัติภังค์ ควรฝึกการอ่านออกเสียงต่อเนื่องกัน เพื่อผู้ฟังจะได้ทราบว่าค�าที่อ่านคือค�าว่าอะไร การอานโคล สี่ส า าร ่งช่วงเ ยงหรือจังหวะของโคลงสี่สุภาพวรรคหน้า ๕ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น หรือ วรรคหลัง ๒ ค�า อ่าน ๑ ช่วง ถ้ามีค�าสร้อยอ่านเพิ่มอีก ๑ ช่วง เป็น ๒ ช่วง วรรคหลังบาทที่ ๔ มี ๔ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น เสียง เสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย บาทที่ ๑เสียงย่อม ยอยศใคร ทั่วหล้า บาทที่ ๒สองเขือ พี่หลับใหล ลืมตื่น ฤ พี่ บาทที่ สองพี่ คิดเองอ้า อย่าได้ ถามเผือ บาทที่ (ลิลิตพระลอ : ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง) ารเอื อนเ ยง อดเ ยงนิยมอ่านเอื้อนเสียงท้ายวรรคแรกของแต่ละบาท และในบทที่ ๒ อาจเอื้อนเสียงได้ถึงค�าที่ ๑ ค�าที่ ๒ ของวรรคที่ ๒ และบาทที่ ๔ ระหว่างค�าที่ ๒ กับค�าที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ และทอดเสียงตามต�าแหน่งรับสัมผัส อควรค าน นการอานโคล สี่ส า ๑. อ่านให้ถูกต้องตามข้อบังคับของค�าเอกและค�าโท โคลงสี่สุภาพมีค�าเอก ๗ แห่ง ค�าโท ๔ แห่ง ค�าเอกนั้นสามารถใช้ค�าตายแทนได้ เวลาอ่านผู้อ่านต้องค�านึงถึงต�าแหน่งของค�าเอกและค�าโทแล้วตรวจสอบว่าค�าในต�าแหน่งนั้นควรอ่านอย่างไรจึงจะถูกฉันทลักษณ์ เช่น11

นกแรงบินได้เพื่อ เวหาหมู่จระเข้เต่าปลา พึ่งน�้าเข็ญใจพึ่งราชา จอมราช ลูกอ่อนอ้อนกลืนกล�้า เพื่อน�้านมแรง(โคลงโลกนิติ : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร)๒. อ่านให้ถูกต้องตามลักษณะของการใช้ค�ายัติภังค์ มีโคลงหลายบทที่ใช้ค�ายัติภังค์ ทั้งที่ปรากฏและไม่ปรากฏเครื่องหมาย ผู้อ่านจึงต้องพิจารณาค�าที่ใช้ในโคลงให้เข้าใจ หากพบค�าเดียวกันเขียนแยกวรรคกัน จะต้องอ่านค�าที่แยกนั้นให้ผู้ฟังทราบว่าเป็นค�าใดแน่ เช่นล�าพูดูหิ่งห้อย พรอยพรายเหมือนเม็ดเพชรรัตน์ราย รอบก้อยวับวับจับเนตรสาย สวาทสบ เนตรเอยวับเช่นเห็นหิ่งห้อย หับหม้านนานเห็น(โคลงนิราศสุพรรณ : สุนทรภู่)บาทที่ ๓ มีค�ายัติภังค์ ๒ ค�า คือ สายสวาท และ สบเนตร ดังนั้น จังหวะที่ตกหลังค�าว่า สาย และค�าว่า สบ จึงทอดเสียงได้น้อยที่สุด เพราะต้องอ่านค�าถัดไปให้ผู้ฟังทราบว่าค�าคู่นี้คืออะไร๓. ใช้น�้าเสียงในการอ่านให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อความ เพื่อดึงดูดให้ผู้ฟังคล้อยตามบทประพันธ์ ทั้งยังท�าให้ผู้ฟังเกิดภาพพจน์และอารมณ์ร่วมได้ง่าย ดังเช่น●การอ่านบทรัก บทนิราศ ควรปรับเสียงให้นุ่มนวลและเบากว่าเสียงปกติ●การอ่านบทเศร้า ควรครั่นเสียง ครวญเสียง อ่านช้า และเนิบกว่าปกติ●การอ่านบทตลกขบขัน ควรใช้เสียงให้มีชีวิตชีวา เน้นบางค�า หรือเน้นความส�าคัญให้เด่นชัด●การอ่านบทกล่าวเกินจริง ควรใช้เสียงปกติ เน้นค�าให้ความหมายเกินจริง๔. เมื่อจะจบตอนที่อ่านต้องชะลอจังหวะให้ช้าลงกว่าเดิม แล้วทอดเสียงยาวกว่าทุกครั้งตรงค�ารองสุดท้ายและค�าสุดท้าย เพื่อให้ผู้ฟังทราบว่าก�าลังจะสิ้นกระแสความที่อ่าน ๔ การอาน ันท อิน รวิเช ยร น ๑ แผนผังอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ า เอ ั ั ั ั ั ั ั า ั ั ั ั ั ั ั 12

๒ การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะ วรรคหน้า ๕ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น วรรคหลัง ๖ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น บงเนื้อ ก็เนื้อเต้น พิศเส้น สรีร์รัว ทั่วร่าง และทั้งตัว ก็ระริก ระริวไหว แลหลัง ละลามโล หิตโอ้ เลอะหลั่งไป เพ่งผาด อนาถใจ ระกะร่อย เพราะรอยหวาย (สามัคคีเภทค�า ันท์ : ชิต บุรทัต) ๓ การเอื้อนเสียงทอดเสียง นิยมเอื้อนที่ ๒ ค�า ท้ายวรรคที่ ๒ ของบาทที่ ๑ และท้ายวรรคที่ ๑ ของบาทที่ ๒ แต่ทั้งนี้ต้องดูความเหมาะสมของเสียงของค�าในแต่ละวรรคด้วย ว น ดิ น ๑ แผนผังวสันตดิลกฉันท์ ๑๔ า เอ ั ั ั ั ั ั ั า ั ั ั ั ั ั ั ๒ การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะ วรรคหน้ามี ๘ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๓ ช่วง เป็น วรรคหลังมี ๖ ค�า อ่านแบ่งเสียง ๒ ช่วง เป็น เรืองรอง พระมน ทิรพิจิตร กลพิศ พิมานบน ก่องแก้ว และกาญ จนระคน รุจิเรข อลงกรณ์ ช่อ า ก็เ ื อย กลจะ ัด ดล าก ทิ ัมพร บราลี พิไล พิศบวร นภศูล สล้างลอย (อิลราชค�า ันท์ : ผัน สาลักษณ์) ๓ การเอื้อนเสียงทอดเสียง ให้ทอดเสียงไปยังค�ารับสัมผัสตามต�าแหน่งนิยมเอื้อนเสียงที่ท้ายวรรคที่ ๒ ของบาทโท และระหว่างค�าที่ ๕ ค�าที่ ๖ ของวรรคที่ ๒ บาทที่ ๑ และบาทที่ ๒ อควรค าน นการอาน ันท ๑. ต้องศึกษาลักษณะของฉันทลักษณ์ให้เข้าใจ ต้องรู้ค�าครุ ค�าลหุ และคณะ ของฉันท์แต่ละประเภท13

๒. การแบ่งจังหวะในการอ่านฉันท์ต้องแม่นย�า ถูกต้อง หากค�าใดมีเครื่องหมายยัติภังค์คั่น ต้องอ่านค�าเต็มก่อนแล้วจึงอ่านตามคณะฉันท์สูงลิ่วละลานนั ยนพ้นประมาณหมายสูง ลิ่ว ละ ลาน นัย ยะ นะ พ้น ประ มาน หมาย ๓. ค�าที่รับสัมผัสกันต้องอ่านเน้นเสียงให้ชัดกว่าปกติ ถ้าเป็นสัมผัสนอกต้องทอดเสียงให้มีจังหวะยาวกว่าปกติ ดังตัวอย่างที่อ่านเน้นเสียงค�าว่า กุด สุด ดังนี้ข้าแต่พระจอมจุ มกุฎ บริสุทธิก�าจายข้า แต่ พระ จอม จุ ละ มะ กุด บอ ริ สุด ทิ ก�า จาย ๔. ไม่อ่านเอื้อนเสียงที่ค�าลหุ เพราะมีเสียงเบาและสั้น๕. การใส่ท�านอง ต้องเอื้อนท�านองให้ถูกต้องตามประเภทของฉันท์แต่ละชนิด๖. การใส่อารมณ์ ต้องฝึกฝนการถ่ายทอดอารมณ์และน�้าเสียงให้เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง โดยพยายามไว้จังหวะในบทและบาทของฉันท์ จึงจะท�าให้การอ่านฉันท์ไพเราะน่าฟัง๗. การอ่านตอนจบของบทต้องเอื้อนเสียงและทอดจังหวะให้ช้าลงจนกระทั่งจบ ๕ การอานราย ร่ายยาว ๑ การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะของร่ายยาว ร่ายยาวในแต่ละวรรคมักมีค�าเกิน ๕ ค�า ผู้อ่านควรแบ่งช่วงเสียงตามกลุ่มค�าที่จบความหนึ่ง หรืออ่านติดต่อกันให้จบวรรคเน้นเสียงค�าที่รับสัมผัสเพื่อให้ได้รับรสจากเสียงสัมผัสราชา ส ชโย ปางเมื่อพระทูลกระหม่อมจอมนราธิบดีศรีสญชัย ได้ ังพระโอรสทูลร�่าพิไร พระทัยเธอเร่าร้อนทีประหนึ่งว่าจะผ่อนให้ แล้วจึ่งผินพระพักตร์มาตรัสปราศรัย กับพระสุณิสาศรีสะใภ้ว่า มัทรีเอ่ย พาพ่อชาลีมาไย จะไปด้วยผัวหรือพระลูกรัก อนิจจานิจจาเอ่ย ไม่ควรเลยจะประดักประเดิด ดูเอาเถิดไม่เกรงกลัว เจ้าโกรธพ่อหรือว่าขับผัวจากบุรี มัทรีจะไปด้วยผัวก็เป็นได้ พระลูกเอ่ย อย่าไปเลย ังพ่อว่า (มหาเวสสันดรชาดก ทานกัณฑ์ : ส�านักวัดถนน) ๒ การเอื้อนเสียงทอดเสียง ส่วนมากนิยมเอื้อนท้ายวรรคเมื่อจบความหนึ่ง และเอื้อนที่กลางวรรคสุดท้ายซึ่งเป็นวรรคจบร่าย14

ร่าย าพ ๑ การแบ่งช่วงเสียงหรือจังหวะ วรรคหนึ่งมี ๕ ค�า แบ่งช่วงเสียง ๒ ช่วงเป็น ในบางแห่งอาจแบ่ง เป็น เพื่อไม่ให้ค�าฉีกศรีสิทธิ พิศาลภพ เลอหล้าลบ ล่มสวรรค์ จรรโลงโลก กว่ากว้าง แผนแผ่นผ้าง เมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทร์ แย้ม า แจกแสงจ้า เจิดจันทร์ เพียงรพิพรรณ ผ่องด้าว ขุนหาญห้าว แหนบาท สระทุกข์ราษฎร์ รอนเสี้ยน ส่ายเศิกเหลี้ยน ล่งหล้า ราญราบหน้า เภริน เข็ญข่าวยิน ยอบตัว ควบค้อมหัว ไหว้ละล้าว ทุกไทน้าว มาลย์น้อม ขอออกอ้อม มาอ่อน ผ่อนแผ่นดิน ให้ผาย ขยาย แผ่น าให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้ว ให้กล้า พระยศไท้ เทิด า เ ื อง ุ ง ทศธรรม ท่านแ (นิราศนรินทร์ : นรินทรธิเบศร์) ๒ การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านร่ายเมื่ออ่านถึงค�ารับสัมผัส ผู้อ่านต้องเน้นเสียง หรือทอดเสียงให้เหมาะกับเนื้อความ และต้องทอดเสียงท้ายวรรคทุกวรรค เมื่ออ่านถึง ตอนจบซึ่งจบด้วยโคลงสอง ให้เอื้อนเสียงท้ายวรรคให้ยาวนานกว่าทอดเสียงท้ายวรรคอื่นๆ เพื่อให้ผู้ฟังทราบว่าเรื่องที่ฟังอยู่ก�าลังจะจบ อควรค าน นการอานราย ๑. การอ่านร่ายทุกชนิดจะมีท�านองเหมือนกัน คือ ท�านองสูงอ่านด้วยเสียงระดับเดียวกัน การลงจังหวะอยู่ที่ท้ายวรรคทุกวรรค ส่วนจะอ่านด้วยลีลาช้าเร็วเพียงใดขึ้นอยู่กับอารมณ์ที่ปรากฏตามเนื้อความ แต่เมื่ออ่านพบค�าที่มีเสียงสูงจะนิยมอ่านหลบเสียงลงต�่าให้อยู่ในระดับเสียงอ่านปกติและต้องทอดเสียงท้ายวรรคทุกวรรค ๒. ร่ายส่วนใหญ่จะมีวรรคละ ๕ ค�า ซึ่งไม่มีปัญหาในการอ่านให้จบวรรคภายใน ๑ ช่วงลมหายใจ ยกเว้นร่ายยาว ซึ่งแต่ละวรรคมักมีค�าเกินกว่า ๕ ค�า หรือเกินกว่า ๑ ช่วงลมหายใจ ผู้อ่านจะต้องใช้วิจารณญาณตัดสินว่าควรจะหยุดผ่อนลมหายใจช่วงใด ต้องฝึกฝนการกักลมหายใจ เพื่ออ่านให้จบวรรค ๓. การใส่อารมณ์ในการอ่านร่าย ผู้อ่านจะต้องพิจารณาลักษณะเนื้อความว่าเป็นประเภทใด เพื่อให้ใช้น�้าเสียงในการอ่านได้เหมาะสมสัมพันธ์กับอารมณ์และเนื้อความ ท�าให้กระทบใจผู้อ่าน เช่น●เนื้อความแสดงอารมณ์เศร้า น�้าเสียงควรเบาลง สั่นเครือ จังหวะการอ่านช้าลงกว่าปกติ●เนื้อความแสดงอารมณ์โกรธ น�้าเสียงควรหนักแน่น เน้นเสียงดัง กว่าเดิม กระชับ สั้น ห้วน15

●เนื้อความบรรยายการรบการต่อสู้ น�้าเสียงดัง หนักแน่น ห้วน กระชับ●เนื้อความตัดพ้อต่อว่า น�้าเสียงต�่า เน้นบ้าง สะบัดเสียงบ้าง●เนื้อความสั่งสอน น�้าเสียงปานกลางไม่เบาไม่ดังเกินไป เน้นเสียงที่ ค�าสอนแต่ไม่ห้วน ๔. การอ่านตอนจบของร่ายทุกชนิด ผู้อ่านต้องทอดเสียงให้ยาวนานกว่าการทอดเสียงท้ายวรรคอื่นๆ เพื่อให้ผู้ฟังทราบว่าเรื่องที่ฟังอยู่ก�าลังจะจบ ๒.๓ การอ่านแ ะพิ าร าบทร้อ กรองการอ่านบทร้อยกรองมีแนวทางในการอ่านและพิจารณาตามองค์ประกอบ ดังนี้๑) เน อหาสาระ บทร้อยกรองที่ดีมีคุณค่าจะต้องมีเนื้อหาที่แสดงความรู้สึกนึกคิดที่เป็นประโยชน์แก่การด�ารงชีวิต ผู้อ่านต้องหาค�าตอบให้ได้ว่าได้รับอะไรจากการอ่านบทร้อยกรองนั้นบ้าง๒) รูปแบบหมายถึง ลักษณะการประพันธ์หรือฉันทลักษณ์ และศิลปะในการประพันธ์ ได้แก่ ๑. ลักษณะการประพันธ์ ผู้อ่านควรทราบว่าบทร้อยกรองที่อ่านเป็นค�าประพันธ์ชนิดใด ผู้ประพันธ์ประพันธ์ตามก เกณฑ์หรือไม่ เลือกใช้ฉันทลักษณ์ได้เหมาะสมกับเนื้อหาหรือไม่ ๒. ศิลปะการประพันธ์ การพิจารณาศิลปะการประพันธ์ควรพิจารณาในด้านต่างๆ ต่อไปนี้●การสรรค�า ถ้อยค�าที่ใช้ในบทร้อยกรองมักเป็นค�าที่มีลักษณะพิเศษนอกจากนี้การสรรค�าควรสอดคล้องกับเนื้อหาและรูปแบบ จึงจะเกิดความกลมกลืนมีศิลปะ เช่น ถ้ากวีใช้ศัพท์ว่า ทิวา ราตรี บุรุษ นงลักษณ์ ก็จะเห็นได้ว่าเนื้อหาและรูปแบบจะต้องเป็นร้อยกรองที่ค่อนข้างวิจิตรบรรจง หากใช้ค�าธรรมดาต้องใช้กับค�าประพันธ์ประเภทกลอน ร่าย กาพย์ เช่น ตรากตร�า ล�าเค็ญ ซมซาน เป็นต้น● การใช้ภาพพจน์ คือ การใช้ค�าสร้างภาพ ภาพพจน์ที่กวีใช้มีหลายชนิดด้วยกัน เช่น อุปมา อุปลักษณ์ บุคคลวัต สัทพจน์ เป็นต้น อุปมา การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น สวยเหมือนนางฟา อุปลักษณ์ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ขอเป็นเกือกทองรองบาทา บุคคลวัต การสมมติสิ่งต่างๆ ให้มีกิริยาอาการ ความรู้สึกเหมือนมนุษย์ เช่น ทะเลไม่เคยหลับใหล สัทพจน์ การใช้ค�าเพื่อเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ครืนครืนคลื่นพิรุณทั่วหล้า1

● ความไพเราะ รสของบทร้อยกรองอยู่ที่เสียง ซึ่งเกิดจากกลวิธีการซ�้าค�าการซ�้าวลี การเล่นค�า การเล่นสัมผัส และลีลาจังหวะ เช่นระรื่นรื่นชื่นชมด้วยลมพลิ้ว ละลิ่วลิ่วริ้วคลื่นครืนผวาละลอกเรื่อยกระทบกระทั่งฝั งสุธา ละลานตารวิวาบอาบนที(ภาพพิมพ์ใจสองฝั งเจ้าพระยา : นิภา บางยี่ขัน)ค�า รื่นรื่น หมายถึง ชื่น สบายใจจากสายลมที่พัดผ่าน ิ่ว ิ่ว หมายถึง คลื่นที่เคลื่อนไปโดยเร็วเป็นระลอกกระทบฝั ง มองดูสวยงาม ตื่นตา เป็นศิลปะการสรรค�ามาใช้ท�าให้ผู้อ่านเห็นภาพตาม●ความหมายลึกซึ้งกินใจ บทร้อยกรองในบางครั้งอาจใช้ค�าธรรมดาที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจ�าวัน แต่เมื่อน�ามาร้อยเรียงเป็นบทร้อยกรองก็สามารถสื่อความหมายที่ลึกซึ้งกินใจได้ เช่น บทนมัสการมาตาปตุคุณ ที่กล่าวถึงบิดามารดาที่เฝาเลี้ยงลูกจนเติบโต โดยไม่คิดถึงความล�าบากของตน พระคุณของท่านทั้งสองทดแทนอย่างไรก็ไม่หมดข้าขอนบชนกคุณ ชนนีเป็นเค้ามูลผู้กอบนุกูลพูน ผดุงจวบเจริญวัย ูม ักทะนุถนอม บ บ�าราศนิราไกลแสนยากเท่าไรๆ *บ คิดยากล�าบากกายตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเลี้ยง ฤ รู้วายปกป องซึ่งอันตราย จนได้รอดเป็นกายาเปรียบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผาใหญ่พื้นพสุนธรา ก็ บ เทียบ บ เทียมทันเหลือที่จะแทนทด จะสนองคุณานันต์แท้บูชไนยอัน อุดมเลิศประเสริฐคุณ(นมัสการมาตาป ตุคุณ : พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร))*อ่านว่า เท่าไรไร การอ่านเป็นทักษะการสื่อสารที่ส�าคั และจ�าเป็น เพราะเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ เพื่อให้เป็นคนทันโลกทันเหตุการณ์ ผู้อ่านควรค�าน งถ งหลักการอ่านให้สอดคล้องกับลักษณะการอ่านแล้วน�ามาใช้อย่างเหมาะสม การอ่านจ งจะสัม ท ิผล เช่น หากเป็นการอ่านออกเสียงจะท�าให้เสียงนั นน่า ง ผู้ งเกิดอารมณ์คล้อยตาม หากเป็นการอ่านในใจ ผู้อ่านจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ ความบันเทิง อย่างแท้จริง ผู้อ่านจ งต้องหมั่นฝึกฝนอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดทักษะ และสามารถน�าไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิท ิภาพ1

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนจับคู่กันฝึกอ่านท�านองเสนาะให้ถูกต้องตามขั้นตอนการอ่าน แล้วติชมหรือให้ข้อเสนอแนะซึ่งกันและกัน๒. ให้นักเรียนเลือกวรรคทองในวรรณคดีที่ชื่นชอบมาฝึกอ่านท�านองเสนาะให้ถูกต้องและมีความไพเราะ๓. จัดโครงการประกวดการอ่านเพื่อให้นักเรียนเห็นความส�าคัญของการอ่านและฝึกการอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดเจน เช่น - โครงการประกวดผู้ประกาศข่าววัยใส - โครงการประกวดเยาวชนเสียงเสนาะ๑. การอ่านออกเสียงร้อยแก้วเป็นทักษะที่จ�าเป็นต้องฝึกฝนหรือไม่ อย่างไร๒. การศึกษาฉันทลักษณ์ของค�าประพันธ์แต่ละประเภทก่อนอ่านบทร้อยกรอง มีความจ�าเป็นหรือไม่ อย่างไร๓. การอ่านบทร้อยกรองประเภทค�าฉันท์ มีหลักในการอ่านอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๔. คุณสมบัติของผู้ที่จะอ่านท�านองเสนาะได้ดีมีอะไรบ้าง จงอธิบาย๕. การอ่านท�านองเสนาะแบบกระแทกเสียง มักจะใช้กับการอ่านเนื้อหาในลักษณะใด จงอธิบายและยกตัวอย่าง1

ตอนที่ นวยการ รียนร ที่òสาระการ รียนร กนกลา • อ่านสื่อสิ งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์• มารยาทในการอ่าน• การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์การอานสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกสในโลกป ุ ันเทคโนโลยีการพิมพมีความเ ริ กาวหนาอยางรวดเร็วดวยวิทยาการที่ทันสมัย และสามารถเ ยแพรสื่อสิ่งพิมพตางๆ ไดอยางรวดเร็วและมีความหลากหลายในการน าเสนอขอม ล ขาวสาร และความ ันเทิง ในร ปแ ของสื่อสิ่งพิมพประเภทหนังสือทั้งสารคดีและ ันเทิงคดี ตลอด นสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ ดังนั้น อานตองมีความร ความเขาใ ในสื่อที่อานและเลือกอานใหเหมาะสม ึง ะท าใหการอานสัม ทธิ ลตัว ี วัด• ตอบค�าถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่ก�าหนด ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๖ • อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ • สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ฯลฯ ท ๑ ๑ ม ๔-๖ • มีมารยาทในการอ่าน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ • วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ท ๔ ๑ ม ๔-๖

๑.การอ่านสื่อสิ่งพิมพ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายค�าที่เกี่ยวกับ สื่อสิ่งพิมพ์ ไว้ว่า“สื่อ หมาย ง า าร ิด ่อ ห้ ง น ช น า ห้ร ้จ นน ผู้หรือสิ่งที่ท�าการติดต่อให้ถึงกัน หรือชักน�าให้รู้จักกัน “พิมพ หมาย ง ่าย ช้เครื่องจ ร ด วหน ง ือหรือ าพ ห้ ิด นว เช่น ่น ระดา ้า า ห้เป็น วหน ง ือหรือร ปรอย ดย าร ดหรือ าร ช้พิมพ หิน เครื่อง วิ เคม หรือวิ อื่น ด อ นอาจ ห้เ ิดเป็น ิ่งพิมพ นห าย าเนา “สิ่งพิมพ หมาย ง ม ด ่น ระดา หรือว ด ่พิมพ น รวม อด ง เพ ง น ่ น ง น าพ าพวาด าพระ าย ประ า ่นเ ยง หรือ ิ่งอื่น ดอ นม ะเช่นเด ยว น ดังนั้น สื่อสิ่งพิมพ์ มีความหมายว่า สิ่งที่พิมพ์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นแผ่นกระดาษหรือวัตถุใดๆด้วยวิธีการต่างๆ อันเกิดเป็นชิ้นงานที่มีลักษณะเหมือนต้นฉบับขึ้นหลายส�าเนาปริมาณมากเพื่อเป็นสิ่งที่ท�าการติดต่อ หรือชักน�าให้บุคคลอื่นได้เห็นหรือทราบข้อความต่างๆสื่อสิ่งพิมพ์ในปัจจุบันมีความหลากหลาย และเข้าถึงผู้อ่านได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้สื่อสิ่งพิมพ์ มีหลายประเภท และแต่ละประเภทมีกลุ่มเปาหมายที่แตกต่างกัน๑) ส ่อส ่ง ม ์ประเภทหนังส อ ได้แก่๑ ๑ นั ส อสารคดี ต ารา บบ รียน เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่แสดงเนื้อหาวิชาการในศาสตร์ความรู้ต่างๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมาย ด้วยความรู้ที่เป็นจริง จึงเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นความรู้อย่างถูกต้อง๑ ๒ นั ส อบัน ทิ คดี เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยใช้เรื่องราวสมมติ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความเพลิดเพลินสนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก เรียกว่า หนังสือฉบับกระเป า สื่อสิ่งพิมพมีหลากหลายประเ ท ูอานที่ดีจึงควรเลือกอานสื่อสิ่งพิมพที่มีสาระประโยชนและเหมาะสมกับตนเอง▼20

๒) ส ่อส ่ง ม ์เ ่อเผยแ ร่ข่าวสาร ได้แก่๒ ๑ นั ส อ ิม เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อน�าเสนอเรื่องราว ข่าวสาร ภาพ และ ความคิดเห็น ในลักษณะแผ่นพิมพ์แผ่นใหญ่ที่ใช้วิธีการพับรวมกัน สื่อสิ่งพิมพ์ชนิดนี้พิมพ์เผยแพร่ทั้งรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน๒ ๒ วารสาร นิตยสาร เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อน�าเสนอสาระ ข่าว ความบันเทิง ที่มีรูปแบบการน�าเสนอที่โดดเด่น สะดุดตา และสร้างความสนใจให้กับผู้อ่าน ทั้งนี้การผลิตมีการก�าหนดระยะเวลาเผยแพร่ที่แน่นอน ทั้งลักษณะวารสาร นิตยสาร รายปักษ์ ๑๕ วัน และรายเดือน๒. ใบปลิว เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ใบเดียว ที่เน้นการประกาศ หรือโฆษณา ลักษณะเนื้อหาเป็นข้อความที่ผู้อ่านอ่านแล้วเข้าใจง่าย๓. แผ่นพับ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตโดยเน้นการน�าเสนอและการสรุปใจความส�าคัญ มีลักษณะการพับเป็นรูปเล่มต่างๆ๔. ใบปด เป็นสื่อสิ่ง-พิมพ์โฆษณา โดยใช้ปดตามสถานที่ต่างๆ มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษ ซึ่งเน้นการน�าเสนออย่างโดดเด่น ดึงดูดความสนใจ▼๒ ลสาร เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นแบบไม่มุ่งหวังผลก�าไร เป็นแบบให้เปล่าโดยให้ผู้อ่านได้ศึกษาหาความรู้ มีก�าหนดการเผยแพร่เป็นครั้งๆ หรือล�าดับต่างๆ ในวาระพิเศษ๒ ๔ สิ่ ิม โ ณา๑. โบรชัวร์ เป็นค�าที่ยืมมาจากภาษาฝรั่งเศสโดยใช้เรียกทับศัพท์สื่อสิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นสมุดเล่มเล็กๆ เย็บติดกันเป็นเล่มจ�านวน ๘ หน้า เป็นอย่างน้อย มีปกหน้าและปกหลัง แสดงเนื้อหาโฆษณาสินค้า โบรชัวรสินคาเปนสื่อสิ่งพิมพที่ ู ลิตจัดท าขึ้นเพื่อน าเสนอสินคาและบริการ แ นพับเปนสื่อสิ่งพิมพที่มีรูปลักษณสวยงาม เนื้อหา สาระเนนเ พาะใจความส าคั โดยใช าษาที่สั้นกระชับ อานเขาใจงาย▼21

๓) ส ่ง ม ์เ ่อการบรร ุภั ์ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้ในการห่อหุ้มผลิตภัณฑ์การค้าต่างๆแยกเป็นสิ่งพิมพ์หลัก ได้แก่ สิ่งพิมพ์ที่ใช้ปดรอบขวด หรือกระป องผลิตภัณฑ์การค้า สิ่งพิมพ์รอง ได้แก่ สิ่งพิมพ์ที่เป็นกล่องบรรจุ หรือลังสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจ�าวันมีทั้งรูปแบบของหนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร ที่น�าเสนอข่าวสาร สาระและบันเทิง เช่น บทความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย เป็นต้น ผู้อ่านจึงควรทราบวิธีการอ่าน เข้าใจลักษณะหรือประเภทของสารที่ปรากฏอยู่ในสิ่งพิมพ์มีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจภาษาในระดับค�า วลี ประโยค ส�านวนภาษา และก�าหนดเปาหมายในการอ่านชัดเจนเพื่อช่วยให้การอ่านมีประสิทธิภาพ และตรงตามวัตถุประสงค์ในการอ่านผลิตโดย ชุมชนบานทา๓/๕๐ หมู ๑ ต.บานทา อ.บางไทร จ.อยุธยาผลิต ๒๑ ๐๗ ๕๒๖๑-๒-๑๐๐๔๔-๒-๐๐๐๕¹éÓÇ‹Ò¹ËÒ§¨ÃÐࢌAloe Vera Juiceสวนประกอบที่สำคัญโดยประมาณน้ำวานหางจระเข ๘๐%น้ำตาล ๑๙%ปริมาตรสุทธิ ๒๕๐ ซม.๓เด็กไมควรรับประทานไมใชอาหารทางการแพทยหยุดบริโภคเมื่อมีอาการผิดปกติชื่อที่อยู่ผู้ผลิต โดยมีค�าว่า ผลิตโดย น�าหน้าเลขสารบบอาหารหรือเลข อย. ให้แสดงตามที่ได้รับแจ้งรายละเอียดของอาหารแต่ละชนิด ในเครื่องหมาย อย. ด้วยอักษร ขนาดความสูงไม่น้อยกว่า ๒ มม. สีของตัวอักษรตัดกับพื้นภายในกรอบสีของ อย. และกรอบสีตัดสีพื้นของฉลากชื่ออาหารภาษาไทยรูปภาพให้สอดคล้องกับผลิตภัณฑ์หรือชื่อตรา ถ้ามี ปริมาตรสุทธิ มีหน่วยเป็นระบบเมตริก เช่น ลบ.ซม. ซม มล. มิลลิลิตร๓ส่วนประกอบ แจ้งเฉพาะส่วนที่ส�าคัญ เป็นร้อยละของน�้าหนัก เรียงจากปริมาณมากไปน้อยค�าเตือนให้แสดงด้วยอักษรสีแดงชนิดไม่เล็กกว่า ๒ มม. เห็นได้ชัดเจนในกรอบสี่เหลี่ยมวันเดือนป ที่ผลิต โดยมีค�าว่า ผลิต ก�ากับสรรพ์สาระ©ÅÒ¡âÀª¹Ò¡Òà ÃÙŒänj䴌»ÃÐ⪹©ÅÒ¡·ÕèáÊ´§¢ŒÍÁÙÅâÀª¹Ò¡ÒâͧÍÒËÒê‹ÇÂãËŒ·ÃÒº¶Ö§ª¹Ô´áÅлÃÔÁÒ³ÊÒÃÍÒËÒ÷Õè¨Ðä´ŒÃѺ¨Ò¡¡ÒÃÃѺ»ÃзҹÍÒËÒùÑé¹æ à¾Õ§ᤋ͋ҹ©ÅÒ¡áÅйíÒ¢ŒÍÁÙÅÊÒÃÍÒËÒâͧÍÒËÒÃᵋÅÐÍ‹ҧÁÒà»ÃÕºà·Õº¡Ñ¹ àÅ×Í¡ÍÒËÒ÷ÕèÁÕä¢Áѹ ËÃ×;Åѧ§Ò¹¹ŒÍ·ÕèÊØ´ à·‹Ò¹Õé¡çª‹Ç¤Ǻ¤ØÁ¹íéÒ˹ѡ áÅÐËÅÕ¡àÅÕè§ÊÒÃÍÒËÒ÷ÕèäÁ‹µŒÍ§¡ÒÃä´Œ ઋ¹ ໚¹âÃ¤äµ «Ö觵ŒÍ§¤Çº¤ØÁ»ÃÔÁÒ³â«à´ÕÂÁ ËÃ×͵ŒÍ§¡ÒäǺ¤ØÁ¤ÍàÅÊàµÍÃÍÅà¾Õ§ᤋ͋ҹ©ÅÒ¡¡çÊÒÁÒöËÅÕ¡àÅÕè§äÁ‹«×éÍÍÒËÒ÷ÕèÁÕà¡Å×ͼÊÁÍÂÙ‹ã¹»ÃÔÁÒ³ÁÒ¡ÁÒºÃÔâÀ¤ ¹ÑºÇ‹Ò໚¹»ÃÐ⪹¡Ñº¼ÙŒ·ÕèãÊ‹ã¨ÊØ¢ÀÒ¾ ËÃ×ͼٌÊÙ§ÇÑ·Õ軆ÇÂ໚¹âäàÃ×éÍÃѧ«Ö觡ÒÃÍ‹Ò¹©ÅÒ¡à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§»ÃÔÁÒ³¾Åѧ§Ò¹áÅÐÊÒÃÍÒËÒ÷Õèä´ŒÃѺ ÊÒÁÒö͋ҹ䴌§‹ÒÂæ â´Â´Ù¨Ò¡©ÅÒ¡âÀª¹Ò¡ÒÃ22

.การอ่านสื่อสิ่งพิมพ ร เ เรื่องส นเร ่องสั น คือ งานเขียนที่คล้ายนวนิยาย แต่มีขนาดสั้นและไม่ซับซ้อน เปลื้อง ณ นคร ๒๕๑๔ ๗๑ ให้ความหมายว่า เรื่องสั้น หมายถึง เรื่องซึ่งบรรจุค�าประมาณ ๑ -๑ ค�า เป็นเรื่องที่อ่านรวดเดียวจบในระยะเวลาไม่เกินสี่สิบนาที กระชับ และมีพ ติการณ์ส�าคัญอย่างเดียวโดยเฉพาะ กล่าวโดยสรุป เรื่องสั้นจะต้องมีขนาดสั้น โครงเรื่องง่าย ใช้ตัวละครน้อย การกระท�า และพ ติกรรมของตัวละครต้องมุ่งไปสู่จุดส�าคัญของเรื่อง ๑) องค์ประกอบของเร ่องสั น๑ ๑ นวคิด ร อ กน อ ร ่อ แนวคิด คือ สาระส�าคัญของเรื่องที่เขียนขึ้น เรื่องสั้นจะมีแนวคิดส�าคัญเพียงจุดเดียว และจะเป็นแก่นของเรื่อง การเสนอแนวคิดอาจบอกตรงๆ บอกผ่านตัวละคร อยู่ที่ชื่อเรื่อง หรืออาจจะต้องตีความเอง เมื่ออ่านเรื่องสั้นจบแล้ว ความหมายที่ผู้อ่านสรุปได้คือแนวคิดของเรื่องสั้นเรื่องนั้น ซึ่งเรื่องสั้นที่ดีต้องเขียนให้ผู้อ่านเข้าใจแก่นเรื่อง๑ ๒ โคร ร ่อ คือ การผูกเค้าโครงของเรื่อง ก�าหนดทิศทางของเรื่อง ว่าจะให้เหตุการณ์เกิดขึ้นอย่างไร และจบอย่างไร เพื่อจะได้แสดงจุดมุ่งหมายของเรื่องอย่างเด่นชัด โดยค�านึงถึงความน่าติดตาม๑ น อ ร ่อ คือ เรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ อาจเป็นเพียงส่วนหนึ่งของชีวิตเป็นเรื่องราวบางแง่มุมไม่ใช่เรื่องราวละเอียดทั้งชีวิตของตัวละคร๑ ๔ ตัวละคร บทสนทนา ตัวละครหลักมีเพียง ๑-๒ ตัว ตัวละครอื่นมีเท่าที่จ�าเป็นเท่านั้น ตัวละครและบทสนทนาจะเล่าเรื่อง แสดงพ ติกรรมในเหตุการณ์ที่สมเหตุสมผล บทสนทนาจะใช้เท่าที่จ�าเป็นเพื่อท�าให้เนื้อเรื่องและตัวละครมีชีวิตชีวา ๑ ๕ าก ผู้เขียนจะใช้การบรรยาย หรือบอกผ่านบทสนทนา อาจเป็นฉากในชีวิตจริงหรือเหนือจริง แต่จะไม่บรรยายอย่างชัดเจนเหมือนนวนิยาย ฉากแม้จะมีความสัมพันธ์กับพ ติกรรมของตัวละคร สอดคล้องกับโครงเรื่องและแนวคิด หากผู้เขียนน�าเสนอฉากที่ผู้อ่านไม่รู้จัก เช่นฉากในต่างประเทศจะต้องบรรยายละเอียดขึ้นเพื่อให้ผู้อ่านสร้างจินตนาการได้๒) ชน ของเร ่องสั น ผู้อ่านเรื่องสั้นสามารถเข้าใจเจตนาของผู้เขียนได้ ถ้าผู้อ่านทราบชนิดของเรื่องสั้น แบ่งเรื่องสั้นได้ ๔ ชนิด คือ๒ ๑ นิดผ ก ร ่อ เป็นเรื่องสั้นที่มีการก�าหนดเค้าเรื่องไว้อย่างซับซ้อน มีการผูกปมเรื่องให้เกิดความฉงนสนเท่ห์ บางครั้งเนื้อเรื่องก็ท�าให้ผู้อ่านเขวไปทางหนึ่ง แต่พอถึงตอนจบกลับหักมุมเป็นการจบที่ผู้อ่านคาดไม่ถึง๒ ๒ นิด  สด ลัก ณะ อ ตัวละคร เป็นเรื่องสั้นที่มุ่งแสดงให้เห็นบุคลิกภาพของตัวละครเป็นหลัก เป็นการวาดภาพตัวละครเพื่อชี้ให้เห็นลักษณะนิสัยของตัวละคร ซึ่งจะมี23

ความโดดเด่นเป็นพิเศษ เช่น เกรี้ยวกราด เมตตากรุณา ฉลาดเกินคน มีความเชื่อในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อย่างฝังใจ เรื่องสั้นที่แสดงลักษณะตัวละครนี้ผู้เขียนสามารถสื่อสารเรื่องราวได้อย่างสมจริง และสอดคล้องกับความรู้สึกที่ต้องการ๒ นิด อ าก ป นสวนส าคัญ เป็นเรื่องสั้นที่ผู้เขียนเน้นการพรรณนาฉาก โดยมีตัวละครเป็นส่วนประกอบที่เกี่ยวโยงอยู่ในฉากนั้น ผู้เขียนจะบรรยายฉากอย่างละเอียดจนผู้อ่านสามารถเห็นภาพจากการอ่านได้ชัดเจน๒ ๔ นิด สด นวความคิด น เป็นเรื่องสั้นแนวอุดมคติที่ต้องการชี้ให้เห็นประเด็นความคิดใดความคิดหนึ่งที่ผู้เขียนต้องการจะบอก หรือชี้ให้เห็นความเชื่อในสิ่งหนึ่งสิ่งใด รวมถึงการวิพากษ์สังคมโดยผ่านตัวละคร๓) แนวทางในการอ่านเร ่องสั นการอ่านเรื่องสั้นมีประเด็นที่ควรสังเกต ดังนี้๑. พิจารณาชื่อเรื่อง และเนื้อเรื่องว่าสอดคล้องกันหรือไม่ เพียงใด๒. พิจารณารูปแบบการเขียนว่า ใช้แนวการเขียนแบบใด เช่น การเขียนโดยใช้เหตุการณ์เป็นหลัก หรือใช้ความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หรือใช้สัญลักษณ์๓. วิเคราะห์วิจารณ์ลักษณะเด่นของเรื่องสั้น เช่น โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก บทสนทนา ส�านวนภาษา วิธีด�าเนินเรื่อง โดยอาจใช้หลักเกณฑ์ที่กล่าวไว้แล้วมาประกอบการพิจารณา๔. พิจารณาแก่นเรื่องว่าคืออะไร ผู้เขียนสามารถสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างชัดเจนหรือคลุมเครือ๕. สรุปความคิดเห็นของผู้เขียนจากการอ่านเรื่องที่เป็นผลงานของเขาหลายๆ เรื่อง เช่น ต้องการพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น ต้องการชี้ให้เห็นความส�าคัญของการศึกษาตัวอยา ร ่อ สั น ันค อต้น ม้ ันยืนต้นอยู่ในป่าลึก ล�าต้นของ ันสูงใหญ่เด่นอยู่ท่ามกลางหมู่พฤกษาทั้งหลาย นอกจากภูเขาเท่านั้นที่ ันด้อยกว่า กิ่งก้านใบของ ันแน่นหนาและแผ่กว้าง แสงอาทิตย์ไม่อาจส่องลอดได้เบื้องล่างจึงร่มรื่น ล�าธารน้อยๆ ไหลผ่านใกล้ล�าต้น ันไป น�้าในล�าธารใสจนเห็นกรวดทราย ท้องธารและปลาว่ายเวียน ทุกวันจะมีสัตว์ป่านานาชนิดมากินน�้าที่ล�าธารสายนี้ บางตัวพอกินเสร็จจะอาศัยใต้ร่มใบของ ันนอนหลับอย่างเป็นสุขฤดูน�้าหลาก น�้าจะเต็มล�าธารล้นตลิ่งมาถึง ัน น�้าไหลแรงแต่ ันก็มีรากหยั่งลึกลงไปในดินน�้าไม่อาจพา ันเคลื่อนย้ายไปไหนได้24

ันไม่รู้ว่า ันยืนต้นอยู่นานเท่าไร แต่เมื่อจ�าความได้ ันได้ยืนอยู่ ณ ที่แห่งนี้แล้ว รอบด้านเป็นป่าโปร่ง ไกลออกไปเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนยามเช้าอากาศหนาว เที่ยงแดดร้อน ลมพัดตลอดเวลา บางขณะลมแรง ใบและกิ่งของ ันแกว่งไกวไม่หยุดหย่อน ฝนตกบ่อย ันชอบสายฝนเพราะฝนท�าให้ ันสดชื่นและได้ช�าระกิ่งใบของ ันให้สะอาดอยู่เสมอ ันออกลูกในหน้าฝน ลูกของ ันเป็นเม็ดเล็กๆ สีเหลืองเข้ม ดกเต็มต้น อีกา นกเอี้ยง นกขุนทอง และนกอีกหลายชนิดจะมากินลูกของ ันเต็มไปหมด พวกมันจิกกินกันอย่างเอร็ดอร่อย ส่งเสียงร้องอื้ออึง ตัวนี้อิ่มบินจากไป ตัวใหม่มาแทน กินก็กินไปเถิด ันไม่ว่าหรอก ันมีลูกเหลือเ ือให้เหล่านกกินไปนานเป็นเดือนทีเดียว หรือถ้านกไม่กิน พอถึงเวลาเมื่อลูกแก่จัดมันก็จะหลุดจากขั้ว ตกหล่นลงไปในล�าธารไหลไปตามน�้าเป็นอาหารของปลาเช่นกันนกนานาชนิดเหล่านี้ท�าให้ ันเพลิดเพลินเหมือนเป็นเพื่อนสนิท ันจึงอยากออกลูกทั้งปี เพื่อ ันจะได้อยู่ใกล้พวกมัน ถ้า ันจะไม่ชอบพวกมันอยู่บ้างก็ตรงที่นกบางตัวกินแล้วชอบถ่ายรดกิ่งใบของ ัน ันยืนต้นอยู่อย่างสงบ ันมีต้นไม้ สัตว์ป่า สายลม และแสงแดดเป็นเพื่อน มองไปทางไหนก็งามสดชื่น ันชอบที่นี่ ันคงจะต้องอยู่ที่นี่ไปอีกนานแสนนานทีเดียววันหนึ่งพรานป่ามายืนอยู่ใกล้ ัน นายพรานมองไปที่ริมธาร ซึ่งเป็นพื้นทรายและกรวดหิน เห็นรอยเท้าสัตว์มากมาย ตั้งแต่คืนนั้นนายพรานจึงปีนขึ้นท�าห้างบนต้นของ ันเพื่อคอยส่องยิงสัตว์คืนไหนเดือนหงาย ดวงจันทร์ขึ้นเต็มดวงเหนือเขาสูง ป่าสว่าง คืนไหนเดือนมืดจะมีดาวเต็ม าหลายคืน ันได้ยินเสียงปืนดังแผดก้อง พร้อมกับสัตว์ที่ถูกกระสุนปืนร้องลั่นก้องไปทั้งป่า ันไม่ชอบเสียงปืนและการกระท�าของพรานป่าเลย ันไม่เข้าใจด้วยว่ามนุษย์ท�าเช่นนั้นเพื่ออะไรกัน ท�าไมต้อง ่ากันด้วย ันสงสารสัตว์ป่าที่น่ารักเหล่านั้นมาก แต่ ันไม่รู้ว่าจะช่วยเหลืออะไรพวกมันได้ นอกจากยืนดูด้วยความอดทนนายพรานมาที่นี่บ่อยครั้ง บางครั้งก็มาคนเดียว บางครั้งก็มากันหลายคน ดูเขาสนุกกับการกระท�าของเขา ต่อมาได้เปลี่ยนหน้ากันเรื่อยๆ เป็นสัญญาณแจ้งเหตุว่าตรงนี้ก�าลังเริ่มจะไม่สงบเสียแล้วนานจนกระทั่งไม่มีสัตว์จะยิง เหล่านักล่าสัตว์จึงหายไป ความสบายใจกลับมาหา ันอีกครั้งหนึ่ง ระยะต่อมามีคนแปลกหน้าผ่านมาบ่อย ทุกครั้งที่ผ่านมาทางนี้พวกเขาจะแวะอาบน�้าในล�าธารและนอนพักผ่อนที่ใต้ต้นของ ันครั้งละนานๆ บางคณะถึงกับกางเต็นท์ค้างคืนเลยก็มี25

มีอยู่คณะหนึ่งค้างอยู่หลายคืน คนหนึ่งในคณะเอาธูปเทียนและดอกไม้ป่าสีขาวมากราบไหว้ ัน แล้วปักธูปไว้ที่โคนต้น เขาท�าเช่นนี้ทุกวันจนก้านธูปปักอยู่ก�าโต แล้วก็จากไปตั้งแต่นั้นมาใครผ่านมาที่นี่จะท�าตามอย่างบ้าง บางคนไม่ได้เตรียมธูปมาก็ยกมือเปล่าไหว้ ัน ันงงต่อการกระท�าของมนุษย์มาก สงสัยว่าเขากราบไหว้ ันท�าไม ันกลายเป็นสิ่งที่ต้องกราบไหว้ไปแล้วหรือ ันรู้ตัว ันดีว่า ันเป็นเพียงต้นไม้ธรรมดาที่ยืนรอวันตายเหมือนสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายเป็นอยู่เช่นนี้มานานมาก จนเป็นประเพณีว่าใครผ่านมาป่านี้จะต้องมาบูชา ันก่อนนานหลายปีต่อมา ล�าต้นของ ันแข็งแรงและบึกบึนยิ่งขึ้น พร้อมกันนั้นป่าเริ่มไม่เป็นป่า มีชาวบ้านบุกรุกมาสร้างบ้านและหักร้างถางพง ท�าไร่บ้าง เก็บของป่าขายบ้าง จากครอบครัวเดียวทยอยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ทุกครอบครัวนับถือ ัน สังเกตได้จากใครผ่านก็ต้องยกมือไหว้ หรือบางคนจะเอาอาหารใส่กระทงเล็กๆ มาวางไว้ที่โคนต้นของ ันเหมือนตั้งใจให้ ันกินอย่างนั้นแหละ โธ่ ันจะกินได้อย่างไร ปากของ ันก็คือรากที่หยั่งลึกลงไปในดิน ันกินได้แต่น�้าอย่างเดียวเท่านั้น ทิ้งอาหารไว้ก็เท่ากับให้เป็นอาหารอันโอชะของสัตว์อื่นไปก่อนเข้าพรรษาในปีหนึ่ง ชาวบ้านถึงกับแห่เป็นขบวนเอาผ้าแดงมาห่มให้ ันใกล้โคนต้น พวกเขาช่วยกันตัดหญ้าท�าความสะอาด ขุดดินยกพื้นสูงไว้เป็นที่ปักธูปเทียนและวางของสักการบูชาตั้งแต่นั้นมาได้เกิดเป็นธรรมเนียมทุกปีว่าจะต้องเอาผ้าแดงมาเปลี่ยนให้ ัน พวกชาวบ้านจัดท�าเป็นพิธีใหญ่โต เริ่มต้นด้วยการแห่เป็นขบวนกลองยาว ตามด้วยผ้าแดงผืนยาว ซึ่งพวกเขาช่วยกันจับริมผ้า ๒ ข้างแห่มา ก่อนเอาผ้าแดงผืนเก่าออกเอาผืนใหม่ห่มแทน ขบวนแห่ต้องเดินรอบ ัน รอบ และผู้เป็นหัวหน้าจุดธูปบอกกล่าวให้ ันทราบก่อน ันกลายเป็นต้นไม้ศักดิ สิทธิ ของชาวบ้านอย่างเต็มภาคภูมิไปเสียแล้วหรือนี่ ันก็ไม่รู้ว่า ันศักดิ สิทธิ อย่างไร หรือ ันได้ช่วยให้ใครโชคดีถูกหวยเบอร์บ้าง ผู้คนจึงนับถือ ันนัก มนุษย์บางครั้งท�าอะไร ันไม่เข้าใจเลย ันเคยเห็นเครื่องบินบินผ่านไปบน า ันยกย่องปัญญาของมนุษย์ที่สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ แต่ขณะเดียวกัน ันก็งงไปหมดที่มากราบไหว้ต้นไม้อย่าง ันโลกช่างเจริญเร็วเหลือเกิน ชั่วไม่นานมนุษย์เริ่มมาอยู่ในป่ามากขึ้น ถนนใหญ่เริ่มตัดผ่านมา ันเห็นการสร้างถนนของมนุษย์ทุกวัน เริ่มตั้งแต่การส�ารวจ ถางป่า และรถแทรกเตอร์ขนาดใหญ่กรุยทาง และดูเหมือนว่าแนวถนนจะตัดผ่านมายังที่ที่ ันยืนเสียด้วย ถ้าเป็นเช่นนั้นจริง ันก็คงต้องถูกตัดทิ้งเหมือนต้นไม้น้อยใหญ่ที่ถูกตัดทิ้งมาแล้ว ันเริ่มวิตก2

หลังจากนั้น มีมนุษย์ ๒ คน แบกขวานคมกริบและเลื่อยมาพิงไว้ที่โคนต้นเพื่อเตรียมจะตัด ันทิ้ง ต้นไม้อย่าง ันยืนทนแดดทนฝนมานานปี เวลาถึงคราวตายก็ตายเอาง่ายๆ เหลือเกินนักตัดต้นไม้ทั้ง ๒ เริ่มจุดธูปเทียนไหว้ ัน ปากของเขาขมุบขมิบ ดูซิ จะ ่า ัน ันแล้วยังมาไหว้ ันอีก จะมีประโยชน์อันใดเล่า ันนั้นเตรียมตัวล้มทั้งยืนตั้งแต่วินาทีแรกที่เห็นขวานในมือของคนทั้งสองไม่ทันที่ขวานอันคมกริบจะถากผิวเนื้อ ัน ทันใดนั้น ันได้ยินเสียงของชาวบ้านจ�านวนมากเดินแห่เป็นขบวนเข้ามา หลายคนในขบวนตะโกนเสียงดัง ัน ังไม่รู้หรอกว่าตะโกนว่าอะไรบ้าง แต่ท�าให้ชายที่ก�าลังจับขวานหยุดชะงักได้ เสียงมนุษย์คุยกันจอแจแล้วก็ชวนกันกลับเลิกใช้ขวานที่จะ าด ันอีกต่อไป ันรอดตายอย่างหวุดหวิด ถ้าชาวบ้านมาช้าไปสักนิด ันคงต้องล้มไปทั้งยืนอยู่ตรงนั้น แต่ถึงอย่างไร ันก็ไม่แน่ใจว่ามนุษย์จะไม่หวนกลับมาท�าร้าย ันอีกพระอาทิตย์โผล่ทิวไม้ฝั งโน้นแล้วก็ตกลับชายฝั งนี้ จากวันเป็นเดือนทุกอย่างหายเงียบไปพักหนึ่ง ันรอชะตากรรมอยู่นาน ไม่รู้ว่ามนุษย์จะท�าอย่างไรกับ ันแน่ ชาวบ้านก็ยังมากราบไหว้ ันไม่ขาดชายแต่งกายชุดสีกากีมีขีดสีเหลืองบนบ่ามาดูถนนบ่อยครั้ง ให้คนงานกางแผนที่ออกส่องกล้อง ดึงเทปวัด ทุกคนที่มาจะยืนอยู่ใต้ต้นของ ัน บางคนจะดู ันอย่างหมิ่นๆ และไม่ยอมยกมือไหว้ ันเหมือนคนอื่นๆ ันว่าเขาคิดถูกแล้วที่ท�าเช่นนั้น ันคงเป็นต้นไม้ที่ศักดิ สิทธิ จริงๆ เพราะปรากฏว่าพวกช่างได้ท�าถนนเบี่ยงหลบ ันออกไปเล็กน้อยเพียงให้ล�าต้นของ ันพ้นแนวถนนเท่านั้น ันจึงมีสิทธิ ยืนอยู่ที่เดิมอย่างสง่าได้อีกต่อไปจากสภาพป่ากลายเป็นถนนลูกรัง คนงานท�างานกันฝุ่นคลุ้ง เสียงเครื่องยนต์ดัง ถนนลาดยางราบเรียบและท�าสะพานคอนกรีตข้ามล�าธารอย่างดี ันเห็นการกระท�าของมนุษย์ทุกวันจนกระทั่งถนนเป ดให้เดินรถได้ เสียงรบกวนกลับยิ่งรุนแรงขึ้นอีก บนถนนมีรถแล่นไม่ขาดระยะ บางคันแล่นเร็วมากผ่าน ันไปเหมือนต้องการให้ถึงจุดหมายในวินาทีนั้น บางคันแล่นช้าเพราะหนักด้วยสิ่งที่บรรทุกมาเต็ม แทบทุกคันเวลาผ่าน ันไปถ้าไม่กดแตรดังก็จะจอดรถเอาพวงมาลัยดอกมะลิบ้าง ดอกพลาสติกบ้างมาบูชา ันจากเริ่มต้นจนบัดนี้ ันยังไม่เข้าใจการกระท�าของมนุษย์เลย ันเบื่อ ันร�าคาญต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใหม่ มองลงไปในล�าธารน�้าก็ไม่ใสสะอาดเหมือนก่อน ฝุ่นก็มาก ใบและกิ่งก้านของ ันสกปรกไปด้วยฝุ่นละอองทั้งวัน ันนึกถึงอดีตครั้ง ันยืนอยู่ในป่าลึก นึกถึงความสงบเงียบในป่า เสียงน�้าไหล นกร้อง ต่อไปนี้ ันคงไม่มีวันได้พบมันอีกแล้ว นอกจากความวุ่นวายต่างๆ ที่มนุษย์มอบให้แก่ ัน ถึงเวลานี้ ันจึงอยากมีตีนเหลือเกิน เพื่อ ันจะได้เดินหนีไปจากตรงนี้( ันคือต้นไม้ : ไมตรี ลิมป ชาติ)2

ตัวอยา การวิ คราะ ร ่อ สั น ันค อต้น ม้เรื่องสั้น “ ันคือต้นไม้” ของไมตรี ลิมป ชาติ เป็นเรื่องที่เน้นให้เยาวชนไทยตระหนักในคุณค่าและความส�าคัญของสิ่งแวดล้อม โดยถ่ายทอดแนวคิดผ่านตัวละคร “ต้นไม้” เป็นตัวละครเอก ซึ่งชื่อเรื่องและเนื้อหาภายในเรื่องมีความสอดคล้องกัน ท�าให้ผู้อ่านเห็นภาพของต้นไม้ที่มีชีิวิต จิตใจ ความรู้สึกโครงเรื่อง เป็นเรื่องของ “ ัน” คือ ต้นไม้ที่บอกเล่าความสุขของตนเองที่อยู่ในป่าลึก ต่อมาความวุ่นวายก็เกิดขึ้นเพราะความเจริญ ถนนที่ก�าลังจะตัดผ่านป่าแห่งนี้ท�าให้ต้องตัดต้นไม้ออกไป ซึ่งผู้เขียนได้สอดแทรกความเชื่อของคนไทยเกี่ยวกับต้นไม้ใหญ่ที่ท�าให้ “ ัน” ไม่ถูกท�าลาย แต่ผู้เขียนก็ทิ้งประเด็นไว้ให้ผู้อ่านขบคิดว่าต้นไม้จะมีความสุขจริงหรือไม่ เนื้อเรื่องเริ่มต้นโดย “ ัน” ซึ่งเป็นต้นไม้เล่าเรื่องราวของตนเองที่อยู่ในป่าอย่างมีความสุขแต่เมื่อความเจริญเดินทางมาถึง ต้นไม้ทั้งหมดก็ต้องหลีกทาง มนุษย์เลือกความเจริญมากกว่าธรรมชาติ แต่อย่างไรก็ตามค่านิยม ความเชื่อของมนุษย์ซึ่งเกิดจากความกลัว ว่าถ้าท�าลายต้นไม้ใหญ่จะมีสิ่งไม่ดีเกิดขึ้น ท�าให้ “ ัน” ไม่ถูกท�าลายผู้แต่งก�าหนดให้ “ ัน” เป็นตัวละครเอก และมีตัวละครเพียงตัวเดียว เป็นศูนย์กลางของเรื่องทั้งหมด เล่าเรื่องตามล�าดับเวลา เหตุการณ์ก่อน หลัง มุ่งถ่ายทอดภาพชีวิต ความคิดความรู้สึกของต้นไม้ที่เฝ ามองการกระท�าของมนุษย์ที่ไม่ว่าจะตัดต้นไม้ หรือท�าลายอย่างไรก็ไม่อาจหลีกหนีได้ มนุษย์ท�าราวกับว่าเป็นเจ้าของธรรมชาติเรื่อง “ ันคือต้นไม้” มี ากที่น่าสนใจคือ “ป่าลึก” ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของ “ ัน” กับเพื่อนสัตว์ต่างๆ ที่อยู่กันแบบถ้อยทีถ้อยอาศัย ผู้เขียนใช้ถ้อยค�าไม่ซับซ้อน กระชับ ให้ภาพชัดเจน แม้จะไม่มีบทสนทนา แต่การบรรยาย าก ท�าให้เกิดความรู้สึกว่า “ ัน” ก�าลังสนทนากับผู้อ่านจากโครงเรื่องที่ผู้เขียนวางไว้อย่างเหมาะสม คือ ไม่ซับซ้อน เพราะเป็นเรื่องที่มุ่งสื่อสารแนวคิดกับเยาวชน ผ่านการใช้ภาษาที่เรียบง่าย กระชับ ให้ภาพชัดเจน ท�าให้เกิดความรู้สึกเข้าใจ เห็นใจ “ ัน” จากที่เคยอยู่อย่างมีความสุขในป่าลึก เมื่อความเจริญเข้ามาแล้วมนุษย์เลือกความเจริญท�าให้ต้นไม้บางส่วนถูกท�าลาย เหลือเพียง “ ัน” ที่ยังยืนต้นอยู่ด้วยความเชื่อ ค่านิยมของมนุษย์ เมื่อวิเคราะห์โดยมองในมุมของต้นไม้ ความเชื่อนี้อาจไม่ได้สร้างความสุขให้แก่ต้นไม้เลย เพราะถ้าต้นไม้มีอวัยวะที่ใช้เดินได้ ต้นไม้ก็คงจะเดินหนีไปเสียจากตรงนี้ สิ่งที่ได้รับจากการอ่านเรื่องสั้นนี้ คือ มนุษย์ไม่ควรคิดว่าตนเป็นเจ้าของทุกสรรพสิ่ง ไม่ควรมองเ พาะผลประโยชน์ของตน แต่จะต้องอยู่ร่วมกับทุกสรรพสิ่งแบบถ้อยทีถ้อยอาศัย เหมือนที่ธรรมชาติอยู่ร่วมกันเพราะธรรมชาติไม่เคยท�าร้ายมนุษย์2

.การอ่านสื่อสิ่งพิมพ ร เ นวนิ า นวนิยายแปลตามศัพท์ว่า นิยายใหม่ มาจากค�าว่า เป็นงานเขียนร้อยแก้วที่ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน มีคนให้ค�าจ�ากัดความของนวนิยายไว้ต่างๆ กัน แต่ที่ชัดเจนและง่ายที่สุด คือ ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ ได้อธิบายไว้อย่างสั้นๆ ว่า รรมชา ิ องนวนิยายน น อย่าง ่หน ่งคือเป็นเรื่อง ่ง ม ว ะคร ม ช้ วิ ่ า ห้ ้อ่าน เห็นได้ง่ายว่าไม่ ช่เรื่องจริง เป็นเรื่อง มม ิ ม้จะ ่งเรื่อง อง คค ่ม ช วิ อย ่จริง ็จะ า ห้คนอ่านร ้ว่าไม่ได้เ ยนเรื่องจริง ่วิ เจรจา อง ว ะคร นเรื่องจะเ ยน ช วิ จริงมา ่ ด วิ เจรจาหรือ าร น นา อง ว ะครนิยม ห้เป็นไป าม านะ ามว ย ะพยายามวาด าพ ห้เห็นอา าร ิริยา อง ว ะคร ห้ช ด ่งเป็น ่วนหน ่ง น ารช่วยด าเนินเรื่อง ๑) องค์ประกอบของนวน ยายนวนิยายเป็นเรื่องเล่าร้อยแก้วที่ยึดหลักความจริง กล่าวคือเขียนให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงเท่าที่จะสามารถท�าได้ แต่ไม่ได้พยายามแสดงให้เห็นว่าเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริงเป็นเพียงเรื่องแต่งขึ้นเท่านั้น องค์ประกอบส�าคัญของนวนิยายที่จะท�าให้ผู้อ่านเกิดความบันเทิง มีดังนี้๑ ๑ โคร ร ่อ เป็นเค้าโครงของพ ติกรรมต่างๆ นวนิยายแต่ละเรื่องจะมีโครงเรื่องใหญ่และโครงเรื่องย่อย โครงเรื่องใหญ่ หมายถึง เรื่องที่เกี่ยวพันกับปัญหาความขัดแย้งที่ส�าคัญของตัวละครเอก โครงเรื่องย่อย คือ เรื่องที่แทรกอยู่ในโครงเรื่องใหญ่ มีความส�าคัญน้อย แต่เสริมให้เรื่องสนุกสนานขึ้น ในโครงเรื่องจะมีส่วนประกอบที่ส�าคัญอยู่ ๒ ประการ คือ พ ติกรรมที่เป็นการกระท�าของตัวละครในเรื่องและความขัดแย้งในลักษณะต่างๆ กัน เช่น ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายใน ตนเอง เป็นต้น๑ ๒ กน ร ่อ ร อความคิด ลัก คือ จุดส�าคัญของเรื่องที่จะเชื่อมโยงเรื่องทั้งหมดเข้าด้วยกัน เพื่อสื่อความคิดของผู้แต่ง แก่นเรื่องมีหลายแนวทาง เช่น แนวแสดงทรรศนะเป็นแนวที่ผู้เขียนเสนอความคิดเห็นต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่น ความแค้น ความหึงหวง ความกลัวแนวแสดงพ ติกรรม เป็นแนวที่ผู้เขียนเน้นพ ติกรรมของตัวละคร เช่น พ ติกรรมตอบแทนบุญคุณตลอดทั้งเรื่อง๑ ตัวละคร คือ ผู้ที่มีบทบาทในเรื่อง จะต้องเหมือนมนุษย์หรือเทียบเท่า มีชีวิตจิตใจ แสดงอารมณ์ บทบาท ค�าพูด และมีปฏิกิริยาเช่นคนจริงๆ พ ติกรรมที่ตัวละครแสดงออกต้องน่าเชื่อถือ2

ตัวละครส�าคัญในเรื่องเรียกว่า ว ะครเอ ตัวละครอื่นเป็นตัวประกอบ วิธีแสดงลักษณะนิสัยของตัวละครอาจท�าได้หลายวิธี เช่น ผู้แต่งบรรยายนิสัยของตัวละครเองจากการสังเกต ภายนอก หรืออธิบายความคิด ความรู้สึกภายในจิตใจของตัวละคร บางครั้งอาจใช้วิธีที่ตัวละครแสดงตัวตนด้วยค�าพูดและพ ติกรรม หรือใช้วิธีกล่าวถึงปฏิกิริยาของตัวละครอื่นๆ ที่มีต่อตัวละครตัวนั้น เพื่อเป็นเครื่องชี้ว่าเป็นบุคคลเช่นใด โดยทั่วไปแล้วตัวละครในนวนิยายแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ตัวละครที่มีมิติเดียว เป็นตัวละครที่มีลักษณะนิสัยประจ�าหรือแสดงนิสัยด้านเดียวตลอดเรื่อง เช่น นิสัยร่าเริง นิสัยเศร้าสร้อย เป็นต้น อีกประเภทหนึ่งเป็นตัวละครที่มีหลายมิติ โดยมีลักษณะนิสัยหลายอย่างเปลี่ยนไปตามเหตุการณ์และสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตาม ตัวละครที่ดีต้องมีลักษณะสมจริง๑ ๔ าก ละบรรยากา ฉาก คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่องบอกให้รู้ว่าเหตุการณ์นั้นเกิดที่ใด การใช้ฉากที่มีจริงและเป็นที่รู้จักย่อมท�าให้เรื่องมีความสมจริงมากขึ้น ฉากที่ดีควรสอดคล้องกับเนื้อเรื่องและช่วยสร้างบรรยากาศ นอกจากนี้ควรถูกต้องตามสภาพความเป็นจริง ฉากที่มีความถูกต้องตามสภาพภูมิศาสตร์และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ช่วยส่งเสริมนวนิยายเรื่องนั้นให้มีคุณค่าเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ในทางตรงกันข้ามจุดอ่อนของฉากบางเรื่องท�าให้คุณค่าของเรื่องด้อยลงไปอย่างน่าเสียดาย ผู้แต่งที่ประณีตจึงเอาใจใส่ต่อความถูกต้องของฉาก๑ ๕ บทสนทนา คือ การโต้ตอบระหว่างตัวละคร บทสนทนาจะต้องช่วยสร้างความสมจริง เป็นธรรมชาติ คล้ายคลึงกับชีวิตจริงและต้องเหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของตัวละครแต่ละตัวลักษณะบทสนทนาที่ดี ควรช่วยให้เนื้อเรื่องคืบหน้าไป ท�าให้เห็นลักษณะนิสัยของตัวละครชัดเจน และช่วยให้เห็นสภาพสังคม ประเพณี วัฒนธรรม การศึกษา การปกครอง สภาพเศรษฐกิจและอื่นๆ ประกอบไปด้วย ดังนั้น บทสนทนาจึงเป็นส่วนประกอบที่ท�าให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวพ ติกรรมต่างๆ ได้มากขึ้น การอ่านนวนิยายจะเห็นว่าบทสนทนาจะแยกออกจากบทบรรยายหรือบทพรรณนา๑ ๖ ทรร นะ อ ผ ต คือ ข้อคิดเห็นของผู้แต่งที่ต้องการเสนอต่อผู้อ่าน ส่วนใหญ่เสนอผ่านตัวละครในเรื่อง เช่น ดอกไม้สด เสนอทรรศนะเกี่ยวกับผู้ดีในนวนิยายเรื่อง สามชายว่าผู้ดีที่แท้จริง คือ ผู้ที่ยังคงมีความประพ ติดี ไม่ว่าจะตกต�่าหรือยากจนเพียงใด เป็นต้น๑ ทว ท านอ ต ร อกลวิ ี คือ ลักษณะวิธีการของผู้แต่งที่จะแสดงความคิด ความรู้สึก เพื่อให้เนื้อเรื่องด�าเนินไปตามโครงเรื่องที่ผูกไว้ รวมไปถึงการเลือกใช้ส�านวนภาษา30

๒) แนวทางในการอ่านนวน ยายคนส่วนใหญ่เมื่อหยิบนวนิยายขึ้นมาอ่านก็มุ่งหวังความเพลิดเพลินเป็นหลัก ไม่ได้ตั้งใจจะศึกษาอย่างจริงจัง แต่นวนิยายเป็นเรื่องของชีวิต การอ่านนวนิยายแล้วน�ามาพินิจพิจารณาแม้เพียงเล็กน้อย ย่อมจะให้แง่คิดหรือบทเรียนแก่ผู้อ่านบ้าง การพิจารณานวนิยายจะต้องน�าองค์ประกอบของนวนิยายมาเป็นเกณฑ์ ดังนี้๒ ๑ น อ ร ่อ โคร ร ่อ ละ กน ร ่อ เมื่ออ่านนวนิยายเรื่องใดแล้วควรจะเล่าเรื่องย่อได้ บอกได้ว่าใช้กลวิธีอะไรบ้างในการด�าเนินเรื่อง และรู้ว่าแก่นหรือแนวคิดหลักของเรื่องคืออะไร โครงเรื่องต่อเนื่องสัมพันธ์กันหรือไม่๒ ๒ ตัวละคร ผู้อ่านต้องอธิบายได้ว่าตัวละครตัวใดเป็นตัวเอก มีลักษณะนิสัยอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น หรืออะไรคือสาเหตุของพ ติกรรม และตัวละครแต่ละตัวสร้างได้สมจริงหรือไม่๒ าก ละบรรยากา ผู้แต่งจะกล่าวถึงสถานที่ ช่วงเวลา เหตุการณ์ ภูมิประเทศหรือบรรยากาศใดๆ ก็ตาม ผู้อ่านต้องพิจารณาความสมจริงและความถูกต้องตรงกับช่วงเวลา หรือสภาพการณ์ในเรื่องนั้น ตลอดจนพิจารณาว่าฉากและบรรยากาศมีอิทธิพลต่อตัวละครหรือไม่๒ ๔ บทสนทนา ส านวน า า ละกลวิ ี นการ ต นวนิยายควรใช้ภาษาให้เหมาะกับตัวละคร เช่น วัย การอบรม และยุคสมัย เพื่อจะได้แสดงบุคลิกกับลักษณะของตัวละครได้ และควรแยกค�าบรรยายกับค�าเจรจาหรือส�านวนภาษาของตัวละครให้เห็นเด่นชัด ในแง่ของกลวิธีที่จะน�าเสนอเรื่องให้มีความน่าสนใจ พิจารณาว่าผู้แต่งเลือกใช้เหมาะสมหรือไม่ เช่น อาจเดินเรื่องสลับไปสลับมา เล่าเหตุการณ์ต่างสถานที่ในเวลาเดียวกันผู้แต่งบรรยายเรื่องเองทั้งหมด เป็นต้น๒ ๕ ทรร นะ อ ผ ต การมองหาทรรศนะของผู้แต่งต้องมองจากส่วนต่างๆ ของนวนิยาย เช่น จากค�าพูดของตัวละคร จากวิธีการที่ผู้แต่งบรรยายเหตุการณ์ต่างๆ จากทรรศนะของตัวเอก เป็นต้น ผู้แต่งนวนิยายแฝงทรรศนะไว้มากเพียงใด ผู้อ่านก็ต้องพิจารณาให้มากขึ้น บางครั้งอาจรางเลือนจนต้องอ่านงานของผู้แต่งคนนั้นหลายๆ เรื่องก็มี อย่างไรก็ตามนักอ่านที่ดีน่าจะลองพิจารณาว่า นวนิยายเรื่องที่ตนอ่านอยู่นี้ ผู้แต่งแฝงทรรศนะหรือปรัชญาไว้หรือไม่และทรรศนะนั้นคืออะไร31

ตัวอยา นวนิยายบ งห ้าป าให ่ย่างเข้าฤดูฝน ต้นอะไรๆ ก็พากันรีบงอก แตกใบอ่อนๆ ออกมาจนดินไม่มีที่ว่าง หลังจากฝนสาดซัดพื้น ปลุกเมล็ดพันธุ์ต่างๆ ที่นอนฝังดินให้ตื่น มาโป่งหน่อแตกใบ ทุกหนทุกแห่งเต็มไปด้วยลูกพืชแย่งกันขึ้น พวกลูกมะขามเทศ ทั้งมะขามเปรี้ยวก็เขียวพรึ่บเป็นลานอยู่เต็มใต้ต้นแม่ของมัน ต่างพากันหยั่งรากใสๆ ลงไปให้ลึกตอนที่ดินยังอ่อนนุ่มอยู่ด้วยน�้าฝน แล้วม้วนตัวอายๆ ขึ้นมาชูเม็ดเป ดเหมือนปีกพวกเถาวัลย์ที่ชูต้นตรงกับเขาไม่เป็น ก็เลื้อยทอดยอดออกไปไม่ยอมหยุด อยากให้แมลงปอเกาะ ทุกข้อแตกใบไม่บกไม่พร่อง เข้าคลุกกิ่งไม้แห้งและต้นไม้ตาย ให้ดูเป็นพุ่มสีเขียวคืนกลับมีชีวิตชีวาขึ้นมาใหม่ทั้งต้นหญ้าและป่าใหญ่ต่าง ูหนีแผ่นดิน ขยับสูงขึ้นไปๆ เช้าวันนี้ตลอดฝั งแควที่ไหลเอื่อยล้วนแล้วแต่ต้นไม้ขนาดโอบไม่รอบ ขึ้นอยู่มากต้นจนเดินหลีกไม่พ้น ท�าให้ทางเล็กๆ ริมฝั งต้องคดโค้งอ้อมไปมา พากันยืนสงบ รอคอยแสงแดดอุ่น อยากอวดใบใหม่ที่ก�าลังเติบโตใบเต็มและยังไม่มีรูพรุน ด้วยว่าเดือนนี้ใบไม้ช่างมากมายเสียจนแมลงลืมกินแผ่นดินทั้งหมู่บ้านก�าลังอิ่มเอิบ ใจผมเต้นกระทบอกนกเป็นร้อยๆ เริ่มร้องเพลงเพรียกอยู่ตามยอดไม้ที่แดดอ่อนค่อยๆ ส่องมาแล้ว มันเกาะอยู่ตามปลายกิ่งที่ผลหวานๆ ชอบมาเกิด พากันกระพือปีกริกๆ โผบินขึ้นไปแล้วกลับลงเกาะเริงโลด กระโดดเต้นอยู่กับการขยับกลับตัว แล้วก็เอียงหัวลงดูว่าผมเดินมากับใคร มันกระพือปีก ทักถี่ๆ แล้วหุบปีกพับ พอเห็นผมยิ้มให้ มันก็บินปร ออวดปีกที่ขยับเร็วจนโปร่งใส ตัวกลมๆ เท่านั้นที่เห็นด�าๆ ห่างไปฤดูฝนอันสดใสปลุกผมให้ตื่นขึ้นมา ให้ลิ้มรสความลี้ลับแห่งเม็ดฝนเมื่อยามตกต้องแผ่นดินเพื่อการเกิดใหม่ของพฤกษามาท�าให้โลกนี้เป็นอุทยานสีเขียวประดับดอกไม้ ใครหนอจะนึกเชื่อว่าฤดูร้อนเคยมาอยู่ที่นี่ อากาศขุ่นๆ ไม่มีแล้ว ฤดูฝนปัดควันมัวๆ ไปเสียจาก า น�้าฝนกวาดผืนพสุธาเสียใหม่จนไม่เหลือฝุ่น สายน�้าในล�าแควไหลเร็วกว่าหน้าแล้ง และเอ่อขึ้นมาถึงครึ่งค่อนฝั งใครจะยั้งเท้าไว้ได้ ใครจะยั้งใจไว้อยู่ “ต้นไม้ ต้นไม้” ผมตะโกน “แกกินน�้าฝนอร่อยไหม” แล้วก็วิ่งทิ้งแม่ห่างไป รองเท้าใหม่ส่งเสียงดังกับๆ ก้องไปในราวป่า สะท้อนกลับมาท�าให้ผมต้องหยุดกึก ใจเต้นระทึก จ้องมองที่ริมทางข้างหน้า ดอกไม้ป่าเริ่มบานกันบ้างแล้วพลางก็นึกตรึกตรองอยู่ด้วยค�าถามมากมาย ผมวิ่งหน้าตั้งกลับไปทางเก่า“แม่จ า ท�าไมสีแดงชอบมาอยู่ตามดอกไม้”32

แม่ยิ้มละไม แล้วผมก็วิ่งออกหน้าไปอีก อยากไปให้ไกลแสนไกลสุดกู่ อยู่ๆ มีเสียงพึบพับจากทางด้านขวาราวกับใครสะบัดผ้าผืนใหญ่ ผมชะงักตัวตรง ปลาก็ ุบโผงจากล�าแควทางซ้ายจนผมต้องหันขวับไปดู กระรอกตกใจกระโดดโหยงๆ เขย่ากิ่งไม้เหนือหัวท�าลูกไม้ป่าหล่น อะไรมาท�าให้ป่าตื่น ผมตัวสั่นอ้อ กล้วยป่านั่นเอง มันสะบัดพรึบแผ่ใบยอดสีเขียวอ่อนกางออกเต็มที่ ขึ้นตั้งต้านลม ใบอื่นที่อ่อนโอนลงข้างๆ สีเขียวเข้มเริ่มแตกเป็นริ้วๆ ก็พลิกพลิ้วพลอยไปกับเขา พอใบยอดมันโยกเยกเท่านั้น ผมก็ตาค้าง ตั้งท่าจะวิ่งกลับไปหาแม่ที่เดินใกล้เข้ามา“มันล้อลมน่ะลูก” แม่มองที่ใบกล้วยโบกไหว“ลมมันชอบเล่นด้วยหรือแม่จ า”ใบกล้วยนั้นก�าลังโยกซ้ายย้ายขวา พลิกใบไปมา แล้วลมก็พัดเลยเข้าไปทางต้นไม้ใหญ่ ที่ใบแบนๆ ส่งเสียงกรูเกรียว หมุนควงอยู่กับปลายขั้วเล็กๆ ของมัน ก้านใบเรียวๆ มีไว้ให้ใบมากมายกระพือพัด ดังกับต้นไม้ต้องการความเย็นอยู่เป็นอาจิณ ความลับเหล่านี้ท�าให้ผมโล่งใจ จนต้องวิ่งต่อ พอถึงตรงที่ทางยุบต�่าขวางอยู่ผมหยุดดูไม่กล้าเดินลง“คลองน�้าแห้งไงลูก” แม่ตะโกนให้ผมกล้า“แม่จ า คลองมันรอน�้าใช่ไหม”“ใช่จ้ะ พอหน้าแควน�้าหลาก น�้าก็ไหลเข้าคลองไปทางนี้แหละ”“น�้ามันไปไหน”“ไปสวนหลังบ้านเราซิลูก”“ไปสวนแล้วไปไหน”“ไปถนนที่มีรถยนต์วิ่ง”“ไปถนนที่รถวิ่งแล้วไปไหน”“ไปบึงหญ้าใหญ่จ้ะลูก”“โอ บึงหญ้าใหญ่ น�้าไปอยู่ที่นั่นท�าไมแม่จ า มันอยากให้ปลาโตหรือ”แม่อุ้มผมขึ้นเอว แล้วเดินลงคลองแห้งๆ ที่เต็มไปด้วยรอยควายย�่า พอข้ามพ้นคลองไปแล้วแม่ก็วางผมลงเดิน เดินๆ ไปจนถึงทางควายขรุขระ ทางนั้นก็หายไปทางป่าขวามืออีกคงจะไปถึงบึงหญ้าใหญ่ ควายคงชอบไปกินหญ้าที่ริมบึงใหญ่แต่มีรอยควายใหม่ๆ ไปตามทางข้างหน้าเรา รอยเล็กและรอยใหญ่ อาจจะเป็นควายแม่ กับลูกแอของมัน พอเดินตามรอยไปได้ไม่ทันนาน ผมก็ต้องชะงัก ยั้งเท้าไว้ตรงที่มีกองเบ้อเริ่มกลมเกลี้ยงขวางทาง แมลงหวี่บินตอมว่อน ควันอ่อนๆ ก�าลังกรุ่นลอยขึ้น ควายคงจะเพิ่งผ่านไปเมื่อครู่33

“อ้อมไปซิลูก อ้อมไป ไม่น่าเกลียดหรอกเห็นไหม แมลงมันดีใจ ถ้าวัวควายถ่ายมา”แม่หลายคนก�าลังลากจูงลูกสาวมาเข้าโรงเรียน บางคนแก่แล้ว เป็นยาย เป็นป า แต่ก็ยังเป็นแม่ ต่างก็มีลูกตัวเล็กๆ อายุไล่เลี่ยกัน เด็กผู้ชายบางคนเดินร้องไห้น�้าตาไหลพรากมาข้างหน้าพ่อที่ถือไม้เรียว เกือบทุกคนไม่ใส่เสื้อ จึงพากันโผล่พุงกลมเป่งออกมาอวด บ้างใส่เสื้อยาวจนคลุมเข่าหลวมโพรกเพราะเอาเสื้อพ่อมาใส่ เป ดเรียนใหม่วันแรกจะหาใครใหม่เอี่ยมทั้งหมดแทบไม่มีเลย ทุกคนจึงมองรองเท้าของผมด้วยสายตาเป็นมันเพื่อนๆ ของแม่ที่ช่างมากมาย พากันรุมเข้ามาทักทาย ไถ่ถาม ท�าให้ผมต้องซ่อนหน้าโอดครวญซ�้าๆ“แม่จ า กลับบ้านเรานะแม่นะ”“ตายจริง ลูกชายใครพูดจาจ ะจ าน่า ัง” แม่คนหนึ่งมองมาทางผม“ก็แม่คนสวยเขาอยากได้ลูกคนแรกเป็นลูกสาวไง ดันเกิดมาเป็นลูกชายเสียนี่” เพื่อนสนิทของแม่อธิบายท�าให้ทุกคนหัวเราะ แม่ก็ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่ผมจึงยึดผ้าถุงของแม่เสียจนแน่น แล้วซบหน้าซ่อนตาลงไป ไม่อยากเห็นใครๆ อีก หูผึ่งคอย ังคนเขาพูดกัน แม้จะมองไม่เห็น ผมก็ยังได้ยิน เสียงลนลานร้อนใจของบรรดาแม่ๆ ที่วิ่งถามกันด้วยความกังวล “เออ ลูกใครสอบเลื่อนชั้นสองได้ มีลูกใครไหม ใครเห็นลูกใครสอบได้ชั้นสองบ้าง”“ลูก ันสอบได้” เสียงแม่คนหนึ่งตอบอย่างภาคภูมิ “ลูกบ้านโน้นเขาก็สอบได้”“ของ ันสอบขึ้นชั้นสี่ได้ต่างหาก”“อุ ยตายแม่คุณ ช่างเก่งจริงๆ ลูกบ้านเราน้อยคนจะขึ้นถึงชั้น ทั้งหมู่บ้านนี่นับคนได้เลย มีแต่พวกจะต้องเอาออกจากโรงเรียนกลางคัน ก็จะอะไรเสียอีกล่ะอายุมันเกิน ๑ น่ะ ใครเป็นพ่อเป็นแม่มีหรือจะทนดูพวกมันซ�้าชั้นอยู่ได้ ของ ันอายุ ๑๒ แล้วเพิ่งเรียนแค่ชั้นหนึ่ง”“เรามันคนท�ากินนะ ก็ต้องอาศัยเด็กดูน้อง เฝ าบ้าน เลี้ยงควาย กว่าจะไปเข้าโรงเรียนก็อายุใกล้เกินเกณฑ์แล้ว ไหนล่ะ ลูกใครที่ว่าขึ้นชั้นสองได้”“ลูก ันจ้ะ ท�าไมหรือ”“อย่าพูดดังไป อยากจะขอหนังสือเก่าที่ใช้แล้วให้ไอ้หนูของ ัน ปีนี้แย่ ข้าวโพดไม่ได้ฝัก กับเขา ของ ันเข้าโรงเรียนรวมคนนี้ด้วยเป็นสามแล้ว”“โอย หนังสือน่ะจะไปเอาอะไรเหลือ กระดาษบางๆ จะมาทนมือลูกชาย ันได้ไง”“แล้วเสื้อแสงมันคับหรือยังล่ะ”“อ อ ถ้าเสื้อละก็พอจะได้ มันกินจุกันจริงๆ โตรวดโตเร็วจนเสื้อซื้อให้แทบไม่ทัน พรุ่งนี้ ันจะเอามาให้ แต่ต้องไปเย็บกระดุมเอาเองนะ ไม่มีเหลือติดเสื้อเลยสักเม็ด”34

“เสื้อลูกสาว ันที่ไม่ใช้แล้วก็มีจ้ะ ใครอยากได้บ้าง กระเป าเสื้อขาดไปหน่อย เย็บเสียนิดก็คงใช้ได้” แม่อีกคนว่า“งั้นหรือ ไม่เป็นไรหรอก ันไปเย็บได้”ผมก็ค่อยๆ กล้าขยับเข้าไปแล้วก้มลงดูใกล้ๆ “มันท�าด้วยหญ้า” ผมร้องลั่นรีบกระโดด ยืนขึ้น แล้วก็นึกรักมันขึ้นมา ช่างกลมเกลี้ยงและเขียวเข้มเต็มไปด้วยหญ้าหน้าฝนพอเดินไปได้อีกสักประเดี ยว ถึงตรงที่มีเสียงนกกวักร้องก้อง ก็เจอะสีเขียวอย่างเดียวกันคราวนี้เหลวเป วกระจัดกระจายอยู่เต็มทาง“ของลูกแอใช่ไหมแม่จ า” ผมร้องเสียงดัง หันไปมองแม่“อยู่นั่นไง เจ้าควายน้อย” แม่ชี้มือไปข้างหน้าลูกแอหัวโหนกตัวหนึ่งเขายังไม่ทันขึ้น ก�าลังวิ่งไปรอบๆ แม่ของมันที่เคี้ยวหญ้าเพลินจนน�้าลาย ูม อง ถกแต่หญ้าอ่อนดังพรึ่ดๆ ไม่ยอมกินอื่น เพื่อจะได้ถ่ายเป็นสีเขียวออกมากองกลมๆ อีกลูกแอวิ่งหกหน้าหกหลังวนไปได้ครู่หนึ่งก็หยุด เข้าไปดุนๆ ดูดนมที่ท้องแม่ของมัน แล้วก็ท�าเป็นหยุดเบิ่งตาราวกับว่าเป็นควายใหญ่ พอเห็นผมสนใจ มันก็ท�าทีเป็นเล็มหญ้าเลียนแบบแม่ของมัน“แม่จ าดูลูกแอนั่น มันหัดเป็นควายตั้งแต่เล็กๆ แน่ะๆ” ผมเขย่ามือแม่เด็กนักเรียนตัวโตๆ ส่งเสียงเอะอะตามหลังมา แล้ววิ่งแซงขึ้นหน้าไป หลายคนไม่มีเสื้อใส่ บางคนหอบหนังสือเก่าๆ เท้าเปล่าเปลือย“ประเดี ยวลูกแม่ก็จะได้เป็นนักเรียนเหมือนเขารู้ไหม” แม่พูดแล้วก็ยิ้มดูอิ่มใจแล้วทางเล็กๆ ที่เราแม่ลูกก�าลังเดินก็ทะลุเป ดโล่งเป็นลานใหญ่ โบสถ์เด่นจับแสงเป็นประกายพราวอยู่ตรงหมู่ไม้ต้นโต เจดีย์ยอดแหลมเรียงแถวสลอนอยู่ข้างศาลาทึม ใครๆ ก็ก�าลังจูงลูกจูงหลานเข้าไปยังศาลานั้น ใจผมเต้น เห็นคนมากๆ เข้า ก็ตื่นแผ่ตัวสั่น คนหนอช่างมากมายมาจากไหนกัน ยิ่งใกล้ศาลาเข้าไปหัวใจก็ดูจะยิ่งเต้นแรงขึ้น ศาลาก็หลังโตขึ้น ต้นก้ามปูเก่าแก่ที่แผ่กิ่งคลุม าก็ใหญ่ขึ้น ตะไคร่จับเขียวอยู่ตามเปลือกหยาบ ท�าให้ดูเหมือนกับเป็นไม้มีขน ออกดอกสีชมพูพราว ต้นสะตือก็แตกกิ่งไปชนกัน ออกฝักสีน�้าตาลแบนๆ ต่างทิ้งเงากิ่งเป็นทางยาวทาบลานตัดกันไปมา ให้ร่มแก่บรรดาแม่ๆ ที่พาลูกมาเข้าโรงเรียน ซึ่งก�าลังส่งเสียงขรมคุยกันอย่างไม่ออมเสียงมีทางหลายสายจากหมู่ไม้โดยรอบเข้ามายังศาลาใหญ่ ทางเหล่านี้จะไปถึงไหนหนอทั้งใต้วัดและเหนือวัด ล้วนแต่เป็นทางที่ผมยังไม่เคยเดินทั้งนั้น อีกทั้งฝั งแคว ากตะวันตกโน้นซึ่งผมยังไม่เคยข้ามเรือไปแตะ เท้าคนเรานี่แหละที่ท�าทางขึ้นมาแล้วก็เดินกันจนทางสึก35

“แม่จ า บ้านเราอยู่ใต้วัดใช่ไหมจ ะ” ผมถาม“จ้ะ” แม่บอกว่ายังมีทางจากเหนือวัด และโน่นที่ถนน ซึ่งนานๆ จะมีรถยนต์วิ่ง อยู่ไกลออกไปทางตะวันขึ้น ก็มีทางจากเหนือและใต้เลยถนนออกไปคือ บึงหญ้าใหญ่ที่ป่าไม้สูงบังอยู่ผมใจระริก ด้วยความอยากรู้อยากเห็น สักวันผมจะตระเวนไปให้ทั่วถึง อะไรบ้างหนอที่รอคอยผมอยู่ ไว้ให้ผมโตอีกหน่อยจะไม่มีแต่ทางใต้วัดบ้านผมเท่านั้นหรอก แม่จ า จะต้องกินข้าวอีกกี่ค�า ันจึงจะโตเช้าวันนี้ สมบัติค้างปีอันได้แก่หนังสือเน่าๆ เก่าหลุดลุ่ย กับเสื้อถอดสีมีรูรั่วลม จะถูกเปลี่ยนมือ จากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง นั่นเป็นสิ่งที่คาดไม่ถึงและผมได้ยินกับหู“พ่อแม่พี่น้องขา” เสียงครูพูด “วันนี้ ันดีใจที่ได้มาสอนลูกหลานที่นี่ พี่ป าน้าอาไม่รังเกียจกัน มีอะไรก็แบ่งกัน ันไม่มีวันจะทิ้งลูกหลานบ้านนี้ไปไหนได้อีกแล้ว” เสียงครูสั่น “หนังสือที่ไม่ใช้แล้วถ้าให้ลูกบ้านอื่นไปอ่าน ถือว่าเป็นวิทยาทานนะคะ ให้สิ่งที่เป็นความรู้กัน ลูกบ้านเราจะได้เจริญทันบ้านอื่นเขา ยังหาใครให้ไม่ได้ก็ให้เอาหนังสือเก่า เสื้อกางเกงเก่ามาไว้ที่ครูก่อนได้ค่ะ”“ครู” เสียงผู้ชายพูด “ปีนี้ของผมค่อยยังชั่ว ไม่ต้องเสียเงินซื้อ โชคดี ทีแรก แหม ผมกลุ้ม จะแย่กับไอ้หนูมัน” แล้วก็หัวร่อดังลั่น“ท�าไมว่าโชคดีล่ะ” เสียงป าคนหนึ่งสงสัย “เออ แกพูดยังไง ัน ังแล้วงงๆ ไอ้หนูมันสอบตกหรือไร”“มันก็ไม่ตกหรอก” เสียงพ่อคนเดิมว่าแล้วก็หัวร่อ ่า ่าอีก “มันก็อยู่ชั้นเดิมเหมือนเมื่อปีกลายนั่นแหละ เลยไม่ต้องเสียเงินซื้อหนังสือใหม่ๆ”พ่อๆ แม่ๆ ก็หัวเราะชอบใจ ครูผู้ชายได้ช่องก็ประกาศว่า “เอ้า ลูกใครที่โชคร้ายได้เลื่อนชั้นจะต้องใช้หนังสืออะไรเรียนบ้างก็ให้ไปที่โต ะครูส�าเภาที่มีกองหนังสือใหม่ๆ นั่น ส่วนลูกใครที่เพิ่งจะพามาเข้าเรียน ให้พาไปลงทะเบียนที่โต ะครูลูกจันทน์โน่น”ผมลืมตาขึ้น และจ�าครูสาว ๒ คนได้ครูส�าเภาอ่อนหวาน ครูลูกจันทน์ก็แจ่มใส ครูใหม่ของผมอยู่ท่ามกลางกองหนังสือใหม่กลิ่นกระดาษหอม ทั้งดินสอลายๆ กระดานชนวน ดินสอหิน ทุกอย่างใหม่เอี่ยมสมบูรณ์ราวกับ ฤดูฝน(ตัดตอนมาจากบึงหญ้าป่าใหญ่ : เทพศิริ สุขโสภา)3

ตัวอยา การวิ คราะ นวนิยายบ งห ้าป าให ่แนวคิดหรือแก่นเรื่องของนวนิยายเรื่อง “บึงหญ้าป่าใหญ่” หนึ่งในหนังสือ ๑๐๐ เล่มที่เยาวชนไทยควรอ่าน คือ สิ่งมีชีวิตทุกชีวิตควรอยู่ร่วมกันด้วยความรัก ความเข้าใจ ความผูกพัน ความช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัันและกัน การตั้งชื่อเรื่องช่วยท�าให้ผู้อ่านท�าความเข้าใจเรื่องได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ รู้ว่าเนื้อหาจะกล่าวถึงสิ่งใดบ้างจากแนวคิดหรือแก่นเรื่อง ผู้เขียนจึงได้สร้างโครงเรื่อง หรือเหตุการณ์ต่างๆ ภายในเรื่อง เพื่อถ่ายทอดแนวคิดไปสู่ผู้อ่าน โดยส่วนที่ตัดตอนมานี้เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวละครตัวหนึ่งในเรื่อง ก�าลังจะเดินทางไปโรงเรียน ซึ่งกว่าจะถึงโรงเรียนก็ต้องเดินผ่านป่าใหญ่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทาง ร้อยเรียงต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน มีความสอดคล้องกับชื่อเรื่อง เนื้อเรื่องโดยรวมของนวนิยายเรื่อง “บึงหญ้าป่าใหญ่” เป็นเรื่องราวของเด็กชายสองคน (ผมและโทน) ที่รักและผูกพันกับชีวิตในชนบท เป็นเพื่อนรุ่นพี่รุ่นน้องที่คอยช่วยเหลือเกื้อกูลกัน วันเวลาผ่านไปเด็กคนหนึ่งมีโอกาสได้ไปศึกษาต่อที่อื่น ต้องจากบ้านไป แต่อีกคนหนึ่งไม่มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียน มีชีวิตอยู่กับป่าและบึงเช่นเดิม แต่คนทั้งสองก็ยังมีความอ่อนโยนในหัวใจเนื้อเรื่องเ พาะที่ตัดตอนมานี้ กล่าวถึง เด็กชายคนหนึ่งที่ก�าลังเดินทางไปโรงเรียน โดยมีแม่มาส่ง ตลอดทางก่อนถึงโรงเรียนต้องผ่านป่าใหญ่ ท�าให้เขาตื่นตาตื่นใจกับความเป็นไปของธรรมชาติรอบตัวตัวละคร เ พาะที่ตัดตอนมานี้ มีตัวละครที่ด�าเนินเรื่องได้แก่ “ผม” และแม่ โดยพฤติกรรมของผมสะท้อนบุคลิกของตัวละครว่าเป็นเด็กช่างสังเกต สนใจที่จะเรียนรู้โลกกว้าง แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีความกล้าๆ กลัวๆ ตามประสาเด็ก ส่วนตัวละคร “แม่” สะท้อนแนวคิดส�าคัญเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูกที่ผู้เขียนได้สอดแทรกไว้ คือ พ่อแม่มีส่วนอย่างมากต่อการปลูกฝังพฤติกรรมการเรียนรู้ของลูก เห็นได้จากตอนที่ “ผม” ไม่กล้าที่จะเดินข้ามคลองแห้งๆ “แม่” ก็ผลักดันที่จะให้ก้าวข้ามไปนอกจากนี้ยังเป็นแม่ที่ตอบค�าถามของลูกในทุกๆ ข้อ จึงท�าให้ “ผม” เป็นเด็กที่มีความสุขกับการสังเกตและตั้งค�าถาม าก “บึงหญ้าป่าใหญ่” เป็นนวนิยายที่พรรณนา ากได้น่าสนใจ ให้รายละเอียดชัดเจน แสดงให้เห็นพฤติกรรมของทั้งพืชและสัตว์ เช่น อาการสะบัดใบของกล้วยป่า กิริยาอาการบินของนก นอกจากป่าใหญ่แล้ว เ พาะที่ตัดตอนมานี้ยังมีโรงเรียนเป็น ากส�าคัญอีก ากหนึ่ง ผู้เขียนบรรยายให้เห็นทั้งลักษณะที่ตั้ง สภาพของโรงเรียน รวมถึงบรรยากาศของการเป ดเทอมวันแรก ซึ่งนับเป็นประสบการณ์ร่วมที่ผู้อ่านทุกคนเคยประสบมาก่อน จึงท�าให้เกิดภาพตามได้ ทั้งหมดถูกน�าเสนอผ่านภาษาที่เรียบง่าย ชัดเจน กลวิธีไม่ซับซ้อน จึงนับได้ว่านวนิยายเรื่องนี้มีความน่าสนใจ และควรค่าแก่การเป็นหนึ่งในหนังสือ ๑๐๐ เล่ม ที่เยาวชนไทยควรอ่าน3

▼ คอมพิวเตอรเปนสื่ออิเล กทรอนิกสที่ใชส าหรับการคนควา .การอ่านสื่ออิเ ็ก รอนิกส มนุษย์ในยุคปัจจุบันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็วด้วยการใช้เทคโนโลยี ส่งผลให้สามารถสื่อสารกันได้ด้วยวิธีการหลากหลายรูปแบบ จากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีท�าให้ติดต่อกันได้ในลักษณะของเครือข่ายการสื่อสารข้อมูล สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนั้นเครือข่ายการสื่อสารแบบไร้สายท�าให้การรับข้อมูลข่าวสารเป็นไปได้โดยทั่วถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทุกคนรู้จัก คือ อินเทอร์เน็ต ซึ่งเชื่อมโยงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน จากการที่อินเทอร์เน็ตสามารถใช้ได้ โดยไม่ว่าผู้ใช้จะอยู่ที่ใดในโลก จึงเป็นช่องทางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้เป็นอย่างดี บริการต่างๆ ถูกสร้างขึ้นโดยอาศัยอินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางในการน�าส่ง เช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ กระดานข่าว และบริการสนทนาโต้ตอบทันที เป็นต้น๑) ความหมายของส ่ออ เล กทรอน กส์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ได้ให้ความหมายของค�าว่า สื่อ ว่าหมายถึง สิ่งที่ติดต่อให้ถึงกัน ชักน�าให้รู้จักกัน สื่อหรือมีเดีย มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน แปลว่า ระหว่าง ซึ่งหมายถึง สิ่งที่บรรจุข่าวสารเพื่อก่อให้เกิดการสื่อสารตามวัตถุประสงค์ จึงกล่าวได้ว่า สื่อ คือ ตัวกลางการน�าเสนอข้อมูลข่าวสาร สื่อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รูปแบบดั้งเดิม ได้แก่ หนังสือ แผนที่ และรูปภาพไปจนถึงสื่อที่น�าเสนอข้อมูลข่าวสารโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือที่เรียกว่า สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งข้อมูลข่าวสารที่น�าเสนอจะอยู่ในรูปของข้อมูลคอมพิวเตอร์ และใช้อุปกรณ์ในการอ่าน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต ะ คอมพิวเตอร์แบบพกพา โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น๒) ประเภทของส ่ออ เล กทรอน กส์สื่ออิเล็กทรอนิกส์สามารถจ�าแนกตามวิธีการเข้าถึงได้ ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทออฟไลน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทออนไลน์3

▼ สื่ออิเล กทรอนิกสประเ ทออนไลน ชวยให ูใชคอมพิวเตอรสามารถสืบคนขอมูล านบริการตาง ของเครือขายขอมูลไดอยางรวดเร ว๒ ๑ ส ่ออิ ล กทรอนิกส ประ ทออ ลน คือ ข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ในอุปกรณ์บันทึกข้อมูล เช่น ซีดีรอม - าร์ดดิสก์ แผ่นดิสก์ หรือดีวีดี เป็นต้น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้ผู้อ่านสามารถเข้าถึงได้โดยตรงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องเล่นต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ ดนตรี สารานุกรม หรือวารสารวิชาการในรูปของซีดีรอม หรือสื่อที่น�าเสนอบทเรียนจากเอกสาร ต�ารา ให้อยู่ในรูปของสื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์ เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ภาษาไทยมัธยมศึกษาป ที่ ๔ บทเรียนคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจ�าวัน เป็นต้น๒ ๒ ส ่ออิ ล กทรอนิกส ประ ทออน ลน คือ สื่อที่ถูกเก็บอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ผู้อ่านจะเข้าถึงสื่อได้โดยผ่านบริการต่างๆ ของเครือข่ายการสื่อสารข้อมูล เช่น หนังสือพิมพ์วารสาร เอกสาร พจนานุกรม เป็นต้น ที่ให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ต หรือข้อความประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานที่ส่งมาในรูปของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ต่างๆ๓) แนวทางในการอ่านส ่ออ เล กทรอน กส์ ๑. พิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่น�าเสนอ อาจพิจารณาได้จากข้อมูลมีการระบุชื่อของผู้ให้ข้อมูล หรือแหล่งที่มาของข้อมูล มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนเผยแพร่ ๒. พิจารณาความถูกต้องของข้อมูลที่น�าเสนอ ข้อมูลที่ดีต้องมีความถูกต้องครบถ้วนมีการอ้างอิงข้อมูลมากกว่าหนึ่งแหล่ง และควรมีการระบุวันที่ไว้ ๓. พิจารณาความทันสมัย ว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงข้อมูลอยู่เสมอๆ โดยเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ ธุรกิจ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ผู้อ่านจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทของสื่อ การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง จะช่วยท�าให้ผู้อ่านสามารถสังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ที่อ่านได้อย่างสมเหตุสมผลและมีวิจารณ าณ3

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนรวบรวมสื่อสิ่งพิมพ์ที่เคยอ่านในชีวิตประจ�าวัน แล้วช่วยกันแยกประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ พร้อมทั้งอธิบายลักษณะของสารที่สื่อน�าเสนอว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร๒. ให้นักเรียนแนะน�าสื่อสิ่งพิมพ์ ๑-๒ ประเภท ให้เหมาะสมกับวัยของสมาชิกในครอบครัว เพื่อส่งเสริมการอ่านและพัฒนาความรู้๓. ให้นักเรียนเลือกอ่านนวนิยาย คนละ ๑ เรื่อง หากเลือกเรื่องซ�้ากันให้รวมกลุ่มกันวิจารณ์นวนิยายตามโครงสร้างที่ได้ศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการแสดงความคิดเห็นร่วมกัน๑. การอ่านหนังสือพิมพ์ให้ความรู้ที่หลากหลายหรือไม่ อย่างไร๒. องค์ประกอบของเรื่องสั้น นวนิยาย มีความส�าคัญต่อการอ่านอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๓. การอ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีความจ�าเป็นหรือไม่ อย่างไร๔. การอ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีแนวทางในการอ่านอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป๕. การอ่านเพื่อตรวจสอบความรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจ มีหลักในการอ่านอย่างไรจงยกตัวอย่างประกอบ40

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ óสาระการ รียนร กนกลา • การอ่านแปลความ• การอ่านตีความ• การอ่านขยายความการอานแปลความ ตีความและขยายความการอานแปลความตีความ และขยายความเปนการอานที่มีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกันโดยการอานแปลความเปนทักษะพื้นฐานของการอานตีความ และการอานเพื่อขยายความถาสามารถแปลความเรื่องที่อานไดแลว ก็ยอมชวยสงเสริมใหตีความเรื่องที่อาน และขยายความไดในที่สุด การศึกษาหลักเกณฑและวิธีการอานแตละประเภท ยอมชวยใหอานสารตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพตัว ี วัด• ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๒ • วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล ท ๑ ๑ ม ๔-๖ • ตอบค�าถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่ก�าหนด ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๖ • อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ • สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ฯลฯ ท ๑ ๑ ม ๔-๖

๑. การอ่านแ ความการอ่านแปลความ คือ การแปลตามอักษรหรือค�าโดยถือความหมายเป็นส�าคัญ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายตามเนื้อความนั้นๆ โดยยังรักษาเนื้อหาและความส�าคัญของเรื่องเดิมไว้ได้อย่างครบถ้วน การแปลความจะไม่ค�านึงถึงรูปแบบเดิมของข้อความเลยความสามารถในการแปลความหมาย เป็นพื้นฐานของความสามารถในการตีความ การขยายความ การน�าไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า ถ้าอ่านหรือฟังแล้วแปลความผิดไปจากเนื้อความเดิม ก็จะท�าให้การตีความ ขยายความ หรืออื่นๆ ผิดไปด้วยข้อความ ถ้อยค�า หรือเรื่องราวที่ได้ยิน ได้อ่าน อันเป็นถ้อยค�าสามัญ ไม่จ�าเป็นต้อง แปลความ เพราะเป็นเรื่องง่ายที่ทุกคนสามารถท�าความเข้าใจได้ทันทีที่อ่าน จึงรู้ความหมายได้แจ่มแจ้งตรงกัน การแปลความหมายมีหลายรูปแบบ ดังนี้๑. แปลค�าศัพท์เฉพาะให้เป็นภาษาธรรมดา เป็นการแปลความหมายจากระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง เช่นบุปผา ดอกไม้โจทก์ ผู้ องตุ น หลอกลวง, วิธีปรุงอาหารอย่างหนึ่ง๒. แปลส�านวน สุภาษิต ค�าพังเพย ร้อยกรอง ค�าภาษาบาลีสันสก ตที่ไทยน�ามาใช้ให้เป็นภาษาสามัญ หรือในทางกลับกัน เช่น ธม โม หเว รก ขติ ธม มจาริ� แปลความได้ว่า ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม พิศพักตร์ผ่องเพียงบุหลัน าย แปลความได้ว่า ใบหน้าผุดผ่องราวกับแสงจันทร์ ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด แปลความได้ว่า มีวิชาความรู้มากแต่ไม่สามารถพาตนเองให้รอดพ้นจากความ หายนะและภัยพิบัติได้๓. แปลเครื่องหมายต่างๆ เช่นแปลว่า เพศชาย แปลว่า เพศหญิง>แปลว่า มากกว่า 42

. การอ่าน ความการอานตีความ หมายถึง การหาความหมายที่ซ่อนอยู่ในตัวบท หรือการแปลความหมายโดยนัย หรือการอธิบายความหมายที่ซับซ้อนให้กระจ่างขึ้น เช่น ดอกหญ้า ความหมายโดยตรง หมายถึง ดอกไม้ที่ขึ้นอยู่ทั่วไปตามพื้นดิน แต่ความหมายโดยนัย หมายถึง สิ่งที่ไม่มีค่า หรือการชี้ให้เห็นความหมายของสิ่งที่เป็นรูปธรรมในระดับที่เป็นนามธรรมหรือระดับแนวคิด เช่น นิทานกระต่ายกับเต่า พ ติกรรมของสัตว์ทั้งสองในเรื่องมีความหมายโดยตรง คือ สามารถเดินทางได้เร็วหรือช้าแตกต่างกัน ส่วนการตีความรูปธรรมดังกล่าวคือ การแปลความหมายในระดับนามธรรม กล่าวคือ การนอนพักของกระต่าย หมายถึง ความชะล่าใจ และการเดินช้าๆ ของเต่า หมายถึง ความเพียรพยายาม โดยทั่วไป ภาษาที่มีสองระดับ คือ ค�าที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ซึ่งมีความหมายซ่อนอยู่อันเป็นไปตามวัฒนธรรมและความเชื่อ ฯลฯ ภาษาที่ปรากฏในตัวบท ผู้เขียนอาจใช้ค�าที่มีความหมายโดยตรง ซึ่งเมื่ออ่านแล้วก็ได้ความเข้าใจระดับหนึ่ง แต่ค�านั้นๆ อาจมีความหมายโดยนัยซ่อนอยู่ด้วย หรือบางครั้งผู้เขียนอาจใช้สัญลักษณ์ หากผู้รับสารสามารถตีความโดยหาความหมายที่ซ่อนอยู่ได้ ก็จะได้ความเข้าใจในระดับทีี่ลึกซึ้งขึ้นการอ่านตีความมีหลักเกณฑ์ในการอ่าน ดังนี้๑. อ่านเรื่องที่จะตีความโดยละเอียดเพื่อให้เข้าใจความหมาย และประเด็นส�าคัญ๒. พิจารณาว่าค�าที่ปรากฏในเรื่องมีความหมายอีกระดับซ่อนอยู่หรือไม่ เช่น ความหมายโดยนัยและสัญลักษณ์๓. พิจารณาว่าค�าที่ปรากฏในเรื่องมีน�้าเสียงที่เจือความรู้สึกใดๆ ซ่อนอยู่หรือไม่ตัวอยา ที่ ๑ การอานตีความสองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตมอีกคนตาแหลมคม เห็นดวงดาวอยู่พราวพราย(ดรุณศึกษา : ภารดา ีแลร์)จากตัวอย่างข้างต้น ผู้เขียนชี้ว่าคนสองคนมองสิ่งเดียวกัน คนหนึ่งเห็น โคลนตม อีกคนเห็น ดวงดาว ผู้เขียนเลือกใช้ค�าที่ต้องตีความ มิฉะนั้นจะไม่เข้าใจความหมายที่ผู้เขียนต้องการสื่อ ผู้อ่านต้องตีความว่า โคลนตม และ ดวงดาว มีความหมายโดยนัยว่าอย่างไร โคลนตม มีความหมายโดยตรงว่า ดินเหลว แต่ความหมายโดยนัยที่อาจตีความได้ หมายถึง สิ่งที่ต้อยต�่า ไม่งดงาม ไร้ค่า ส่วน ดวงดาว มีความหมายโดยตรงว่า สิ่งที่เห็นเป็นดวงเล็กๆ มีแสงในท้องฟา แต่ความหมายโดยนัยอาจตีความหมายได้ว่า หมายถึง สิ่งที่สูงส่ง งดงาม มีคุณค่า 43

ดังนั้น การอ่านตีความบทนี้จึงอาจสรุปได้ว่า คนเรา มอง สิ่งเดียวกันแต่ เห็น ไม่เหมือนกัน บางคนเห็นว่าสิ่งนั้นไม่งดงาม ไม่มีประโยชน์ ส่วนอีกคนเห็นว่างดงามและมีประโยชน์ เช่น เมื่อมองกองขยะ คนหนึ่งเห็นว่าเป็นของไร้ค่า น่ารังเกียจ สกปรก แต่อีกคนเห็นว่ากองขยะเป็นของมีค่า เพราะสามารถแยกขยะ น�าบางส่วนไปใช้ประโยชน์ใหม่ ท�าให้ขยะกลายเป็นของมีค่าได้ ตัวอยา ที่ ๒ การอานตีความโลกนี้มิอยู่ด้วย มณี เดียวนาทรายและสิ่งอื่นมี ส่วนสร้างปวงธาตุต�่ากลางดี ดุลยภาพภาคจักรพาลมิร้าง เพราะน�้าแรงไหนภพนี้มิใช่หล้า หงส์ทอง เดียวเอยกาก็เจ้าของครอง ชีพด้วยเมาสมมุติจองหอง หินชาติน �้ามิตรแล้งโลกม้วย หมดสิ้นสุขศานต์(โลก : อังคาร กัลยาณพงศ์)โคลงสี่สุภาพบทนี้มีการใช้ค�าที่ตรงกันข้ามเพื่อเสนอความหมายจ�านวนสองคู่ คือ มณีกับทราย และหงส์ทองกับกา ความหมายตรงของ มณี คือ หินสี ความหมายตรงของ ทราย คือ เศษหินขนาดเล็ก แต่มนุษย์ให้คุณค่าแก่มณี ความหมายโดยนัยของมณี คือ สิ่งที่มีค่า หายาก เป็นที่ต้องการของมนุษย์ ส่วนทรายเป็นของมีค่าน้อย เพราะมีจ�านวนมาก ส่วนหงส์ทองกัับกาความหมายโดยตรงคือ เป็นสัตว์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ แต่มีความหมายโดยนัยต่างกัน เพราะในสังคมไทยจะให้คุณค่าแก่หงส์มากกว่ากา เนื่องจากหงส์มีสีขาวและงดงาม ส่วนกาเป็นสัตว์ที่มีขนสีด�า ไม่งดงาม ดังนั้น จึงอาจตีความโคลงบทนี้ได้ว่า โลกนี้ประกอบไปด้วยสรรพสิ่งที่มีทั้ง ต�่า กลาง ดี ทั้งหมดมีคุณค่าต่อโลก เพราะท�าให้โลกเกิดความสมดุล มนุษย์จึงควรให้คุณค่าแก่ทุกสิ่งที่ธรรมชาติมอบให้นอกจากนี้ผู้เขียนยังซ่อนน�้าเสียงที่ไม่เห็นด้วยกับคนที่เห็นแต่คุณค่าของสิ่งสมมุติ คือ มณีและหงส์ ว่าเป็นคนที่มัวเมา เห็นแต่เปลือกนอกของวัตถุ โดยพิจารณาจากการใช้ค�าว่า เมาสมมุติจองหอง หินชาติ 44

. การอ่าน า ความการอ่านขยายความ คือ การอ่านเพื่อน�าข้อมูลมาอธิบายเพิ่มเติมให้มีความละเอียดมากขึ้นจากเนื้อความเดิม ทั้งนี้การอ่านขยายความสามารถใช้วิธีการยกตัวอย่างประกอบ หรือการอ้างอิง เปรียบเทียบ เพื่อให้ได้เนื้อความที่กว้างขวางออกไปจนเป็นที่เข้าใจยิ่งขึ้นตัวอยา การอาน ่อ ยายความพระพุทธเจ้าตรัสสอนว่าเปมโต ชายตี โสโกเปมโต ชายตี ภย�เปมโต วิป ปมุต ตส ส นต ถี โสโก กุโต ภย�ความโศกเกิดจากความรัก ความกลัวเกิดจากความรัก ผู้ที่สละความรักได้แล้วก็ไม่โศก ก็ไม่กลัวพุทธภาษิตนี้ให้ข้อคิดว่า ความรักเป็นต้นเหตุให้เกิดความโศกและความกลัว ผู้ที่ละความรักได้แล้วย่อมไม่มีความโศก ไม่มีความกลัวเมื่อบุคคลมีความรักต่อสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ต้องการให้สิ่งนั้น หรือคนนั้นคงอยู่ให้เขารักตลอดไป มนุษย์โดยทั่วไปย่อมจะกลัวว่าสิ่งนั้นๆ จะสูญหาย หรือคนที่ตนรักจะจากไป ทั้งที่โดยก ธรรมชาติแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่าง รวมทั้งมนุษย์และสัตว์ทั้งหลายย่อมต้องเปลี่ยนแปลง สูญสลายหรือแตกดับท�าลายไปตามสภาพของมันเป็นแน่แท้ ถ้าบุคคลรู้ความเป็นจริงในข้อนี้ จะสามารถละความรัก ความผูกพัน และความติดใจที่มีต่อสิ่งนั้นเสีย เพื่อว่าเขาจะไม่ต้องเศร้าโศก ไม่ต้องกลัวอีกต่อไปจะดูจิตใจข้าทาส มิตร และภรรยาว่าดีหรือไม่ ให้ดูจากการกระท�าของเขาตัวอยา การอาน ่อ ยายความดูข้าดูเมื่อใช้ การหนักดูมิตรพงศารัก เมื่อไร้ดูเมียเมื่อไข้จัก จวนชีพอาจจักรู้จิตไว้ ว่าร้าย ดี(โคลงโลกนิติ : สมเด็จ กรมพระยาเดชาดิศร)45

â Å âÅ¡¹ ÊØÀÒÉÔµ ¤×Í ¶ŒÍ¤íÒÊíҹǹ·Õè¡Å‹ÒÇÊ׺µ‹Í¡Ñ¹ÁÒªŒÒ¹Ò¹ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂ໚¹¤µÔÊ͹㨠´Ñ§·Õè»ÃÒ¡ ã¹¾ÃÐäµÃ» ¡ËÃ×Í·ÕèàÃÕ¡NjҾط ÒʹÊØÀÒ Ôµ «Öè§à»š¹¤íÒÊ͹¢Í§ÊÁà´ç¨¾ÃÐÊÑÁÁÒÊÑÁ¾Ø· à¨ŒÒ «Ö觷ç¡Å‹ÒÇäÇŒã¹ÃÙ»¢Í§¢ŒÍ¤ÇÒÁ¢¹Ò´ÊÑé¹ áµ‹ÁÕà¹×éÍËÒáÅÐÊÒÃÐÍѹÅÖ¡«Öé§ ÊÒÁÒö¹íÒä»ãªŒà»š¹¢ŒÍ¤Ô´ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇԵ䴌໚¹Í‹ҧ´ÕÍ‹ҧäáçµÒÁ ã¹ÊÁѵ‹Íæ ÁÒ ä´ŒÁÕ¡ÒùíҾط Òʹ ÊØÀÒ Ôµ «Öè§áµ‹à´ÔÁ໚¹¤Ò¶ÒÀÒ ÒºÒÅÕ ÁÒá»ÅáÅÐàÃÕºàÃÕ§ᵋ§à»š¹ÇÃó¤´Õ´ŒÇ¤íÒ»Ãоѹ »ÃÐàÀ·µ‹Ò§æ ·ÕèÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñ¹Í‹ҧá¾Ã‹ËÅÒ 䴌ᡋ âÅ¡¹ÔµÔ¤íÒâ¤Å§ ËÃ×Íâ¤Å§âÅ¡¹ÔµÔ ¾ÃйԾ¹ ã¹ÊÁà´ç¨ ¡ÃÁ¾ÃÐÂÒà´ªÒ´Ô Ã «Öè§ä´ŒÃѺ¾ÃСÃسÒâ»Ã´à¡ÅŒÒ¨Ò¡¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃйÑè§à¡ÅŒÒ ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ ãËŒ·Ã§áµ‹§¢Öé¹à¾×è͹íÒä»»ÃдѺäÇŒ·Õè ÒÅÒ·Ô Ãͺ¾ÃÐÁËÒ਴Տ ´ŒÒ¹à˹×Í ã¹¤ÃÒÇ·ÕèÁÕ¡Òû ÔÊѧ¢Ã³ÇÑ´¾ÃÐવؾ¹ÇÔÁÅÁѧ¤ÅÒÃÒÁ àÁ×èÍ ¾ â´ÂÁÕà¹×éÍËÒÇ‹Ò´ŒÇÂÀÒ Ôµã¹´ŒÒ¹µ‹Ò§æ ·Ñ駷ҧâÅ¡áÅзҧ ÃÃÁ «Öè§ÊÒÁÒö¹íÒä»»ÃѺ㪌㹪ÕÇÔµãËŒ´íÒà¹Ô¹ä»ã¹·Ò§·Õè¶Ù¡µŒÍ§´Õ§ÒÁสรรพ์สาระการดูจิตใจผู้ใดว่าร้ายหรือไม่ ต้องสังเกตจากการกระท�าของคนผู้นั้น เช่น จะดูว่าข้าทาสมีความอดทนขยันขันแข็งหรือไม่ ให้สังเกตเมื่อใช้งานหนัก เพราะถ้าตั้งใจท�างาน หมายความว่าข้าทาสนั้นไม่เกียจคร้าน จะดูเพื่อนหรือญาติพี่น้องว่าจริงใจหรือไม่ ให้ดูเมื่อเรายากไร้ เพราะเมื่อเราร�่ารวยย่อมมีเพื่อนฝูงและญาติพี่น้องมารุมล้อมมากมาย แต่เมื่อถึงคราวล�าบากญาติมิตรที่จริงใจอย่างแท้จริงเท่านั้นที่จะอยู่เคียงข้างคอยช่วยเหลิือ และจะดูว่าภรรยารักสามีจริงหรือไม่ ให้สังเกตเมื่อสามีป วยไข้ว่าภรรยาจะคอยปรนนิบัติดูแลสามีหรือไม่การอ่านเป็นการรับสารที่ผู้เขียนสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความตามตัวอักษร ผู้อ่านจะต้องรู้ความหมายของค�าศัพท์ ส�านวน โวหารในเรื่อง อ ิบายความหมายได้ถูกต้อง เรียกว่า การอ่านแปลความ ถ้าผู้อ่านพิจารณาเนื อหาสาระ ใจความส�าคั และบริบท หรือศ กษาจากภูมิหลังของผู้เขียน ผู้อ่านจะค้นพบความหมายที่แฝงไว้ในเนื อหานั น เรียกว่า การอ่านตีความ การตีความเรื่องใดเรื่องหน ่ง ผู้อ่านแต่ละคนอาจตีความได้ไม่เหมือนกัน ทั งนี อยู่ที่ความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน การอ่านจะท�าให้ผู้รับสารเข้าใจได้ดียิ่งข น หากผู้อ่านรู้จักการอ ิบาย ขยายความให้ผู้อื่นรับรู้ด้วย การขยายความจ งเป็นทักษะในการส่งสารที่จ�าเป็นต้องฝึกฝน4

ะ·Ñ¡ СÒÃ͋ҹ໚¹·Ñ¡ зÕè ¡ ¹áÅÐ¾Ñ ¹Òä´Œ¨Ò¡¡Òà ¡àÅ‹ÒàÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹ãËŒ¼ÙŒÍ×è¹ §áÅСÒúѹ·Ö¡ÊÒÃзÕèä´ŒÃѺ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹â´ÂàÃÕºàÃÕ§໚¹ÀÒ Ò¢Í§µ¹àͧ ¡ÒÃ¾Ñ ¹Ò·Ñ¡ СÒÃÍ‹Ò¹ÊÒÁÒö ¡ä´Œ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹àÃ×èͧÊÑé¹æ ¡‹Í¹ áŌǨ֧¹íÒàÃ×èͧ·ÕèÂÒÇ¢Öé¹ÁÒÍ‹Ò¹ ¢³ÐÍ‹Ò¹µŒÍ§¨Ñºã¨¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñ ¢Í§àÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹´ŒÇ «Ö觡ÒÃ¾Ñ ¹Ò·Ñ¡ СÒÃÍ‹Ò¹ÁÕá¹Ç·Ò§» ÔºÑµÔ ´Ñ§¹Õé ¡‹Í¹Í‹Ò¹ ¼ÙŒÍ‹Ò¹µŒÍ§¡íÒ˹´¨Ø´»ÃÐʧ¤äÇŒã¹ã¨¡‹Í¹Ç‹Ò¨ÐÍ‹Ò¹à¾×èÍÍÐäà ઋ¹ à¾×èͤÇÒÁÃÙŒ à¾×èͤÇÒÁ¤Ô´ ËÃ×Íà¾×èͤÇÒÁºÑ¹à·Ô§ áÅеÑ駻ÃÐà´ç¹¤íÒ¶ÒÁ·Õ赌ͧ¡ÒÃÃÙŒ¨Ò¡àÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹ ·Ñ駹ÕéàÁ×èÍÍ‹Ò¹¨º¨Ðä´Œ»ÃÐàÁԹNjҡÒÃÍ‹Ò¹¤ÃÑ駹Õéä´Œ¤íҵͺ·Õ赌ͧ¡ÒÃËÃ×ÍäÁ‹ ¢³ÐÍ‹Ò¹ ¼ÙŒÍ‹Ò¹µŒÍ§ÁÕÊÁÒ ÔáÅФÇÒÁʹ㨨´¨‹Íµ‹ÍàÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹â´ÂÊÒÁÒöµÍº¤íÒ¶ÒÁ·ÕèµÑé§änj䴌áÅŒÇà¢Õ¹»ÃÐà´ç¹ÊíÒ¤Ñ ¨Ò¡¡ÒÃ͋ҹ䴌 ËÅѧ͋ҹ ¼ÙŒÍ‹Ò¹µŒÍ§ÊÒÁÒöÊÃػ㨤ÇÒÁÊíÒ¤Ñ ËÃ×ÍÊÃØ»»ÃÐà´ç¹ÊíÒ¤Ñ ¨Ò¡àÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹´ŒÇÂÀÒ Ò¢Í§µ¹àͧ·Õè¡ÃЪѺ 䴌㨤ÇÒÁ â´ÂÍÒ¨ÊÃØ»´ŒÇ¡ÒÃà¢Õ¹ ¡Ò÷íÒá¼¹ÀÒ¾â¤Ã§àÃ×èͧ ¡Òþٴ ËÃ×Í¡ÒÃàÅ‹ÒàÃ×èͧ‹ÍãËŒ¼ÙŒÍ×è¹ § »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃÍ‹Ò¹¢Í§µ¹Ç‹Ò ä´ŒÊÒÃеÒÁ·ÕèµÑ駨ش»ÃÐʧ¤äÇŒËÃ×ÍäÁ‹ áÅÐä´ŒÃѺ»ÃÐ⪹ ËÃ×ͤÇÒÁÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁËÃ×ÍäÁ‹ Í‹ҧäà â´Âà»ÃÕºà·ÕºàÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹¡Ñº»ÃÐʺ¡Òóà´ÔÁ¨Ð·íÒãËŒ·ÃÒºÇ‹Ò ¡ÒÃÍ‹Ò¹ª‹ÇÂ¾Ñ ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁ¤Ô´ËÃ×ÍäÁ‹ µÃǨÊͺNjҨ´ºÑ¹·Ö¡ÊÒÃÐÊíÒ¤Ñ ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁ·Õ赌ͧ¡ÒÃËÃ×ÍäÁ‹ ËÒ¡äÁ‹¤Ãº¶ŒÇ¹¤ÇÃŒ͹¡ÅѺä»Í‹Ò¹ áŌǷíҺѹ·Ö¡ÊÃØ»ÊÒÃÐÊíÒ¤Ñ ãËÁ‹ÍÕ¡¤ÃÑé§ ¹íÒ¤ÇÒÁÃÙŒ·Õèä´ŒÃѺ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹ÁÒ»ÃÐÂØ¡µãªŒã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ áÅйíÒ᧋ÁØÁ·Õè´ÕÁÒ¾Ñ ¹Ò Ñ¡ÂÀÒ¾¢Í§µ¹àͧการพั นาทักษะการอ่านหองสมุดเปนสถานที่หนึ่งที่เงียบสงบ ชวยให ูอาน มีสมาธิในการอานหนังสือ4

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. นักเรียนฝึกแปลความ ตีความ และขยายความจากส�านวนสุภาษิต เช่น- รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา- รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี- เห็นช้างขี้ อย่าขี้ตามช้าง๒. ให้นักเรียนเลือกอธิบายศาสนสุภาษิตที่นักเรียนประทับใจ ๑ ศาสนสุภาษิตหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในชั้นเรียน๓. ให้นักเรียนรวบรวมค�าที่สื่อต่างๆ นิยมตั้งฉายานักกี า นักร้อง นักแสดงมาแปลความหมายของฉายาเหล่านั้นให้ถูกต้องตรงตามความหมาย๑. การอ่านแปลความมีความส�าคัญต่อการอ่านอย่างไร๒. การบอกความหมาย การอธิบาย เป็นการอ่านในขั้นตอนใด เพราะเหตุใด๓. บริบทหรือสิ่งแวดล้อมท�าให้ความหมายของค�าเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๔. การตีความไม่ใช่การถอดค�าประพันธ์ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด๕. การอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร4

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ôสาระการ รียนร กนกลา • การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น• มีมารยาทในการอ่านการอานเพื่อแสดงความคิดเห็นการอานของแตละ ุคคลยอมมี ุดประสงคแตกตางกันออกไป ึ่ง อาน าเปนตองทรา ุดมุงหมายกอนอานทุกครั้ง เพราะการอานชวยใหเกิดการเรียนร  เปนการชวยใหไดรั ขาวสาร สาระตางๆ เพื่อประกอ การตัดสินใ ชวยใหแกไขป หา ท าใหเกิดความเขาใ ที่ลึก ึ้ง และน าความร ไปใชในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกั เรื่องที่อานไดตัว ี วัด• วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านและเสนอความคิดใหม่ อย่างมีเหตุผล ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๕ • ตอบค�าถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่ก�าหนด ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๖ • อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ • มีมารยาทในการอ่าน ท ๑ ๑ ม ๔-๖

๑. การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น หมายถึง การอ่านที่ผู้อ่านพิจารณาเรื่องที่อ่านด้วยเหตุผล หรือหลักวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ วิจารณ์ แล้วแสดงความคิดเห็นของตนที่มีต่อองค์ประกอบส่วนต่างๆ ของเรื่อง เช่น ชื่อเรื่อง แนวคิด เนื้อหาสาระ กลวิธีในการน�าเสนอ ภาษาที่ผู้เขียนเลือกใช้ เป็นต้น โดยอาจแสดงออกด้วยวิธีการเขียน หรือการพูด ๑.๑ องค์ประกอบของการแสดงความคิดเห็น ประกอบด้วยส่วนส�าคัญ ๓ ส่วน๑) ที่มา คือ ส่วนที่เป็นเรื่องราวต่างๆ หรือต้นเรื่องที่ผู้อ่านต้องการจะแสดงความคิดเห็น การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ผู้อ่านอาจเป็นผู้เลือกเรื่องเอง หรือถูกก�าหนดก็ได้๒) ข้อสนับสนุนคือ ข้อเท็จจริง หลักการ รวมทั้งข้อมูลอันเป็นความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งผู้แสดงความคิดเห็นน�ามาประกอบเพื่อให้ความคิดเห็นของตนมีความน่าเชื่อถือ เพราะการแสดงความคิดเห็นด้วยอารมณ์ ความรู้สึกไม่ใช่แนวทางการแสดงความคิดเห็นที่เหมาะสม๓) ข้อสรุปคือ สิ่งที่ต้องการสื่อให้ผู้รับสารยอมรับ หรือน�าไปปฏิบัติ โดยข้อสรุปอาจเป็นข้อเสนอแนะ ข้อสันนิษฐาน หรือการประเมินค่าสารที่ได้รับ๑.๒ แนวทางการอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็นเพื่อให้ผู้อ่านมีข้อมูลที่จะน�าไปใช้แสดงความคิดเห็น และเพื่อให้ความคิดเห็นที่สื่อสารได้รับการยอมรับ จ�าเป็นต้องมีแนวทางใช้ฝึกปฏิบัติ ดังนี้๑. ผู้อ่านต้องจับใจความส�าคัญจากเรื่องที่อ่าน เพื่อให้รับรู้ประเด็นต่างๆ ที่เป็นสาระส�าคัญของเรื่อง ในการจับใจความส�าคัญท�าได้โดยพิจารณาชื่อเรื่อง ชื่อ ชื่อตอน ชื่อหัวข้อต่างๆ และการจับใจความส�าคัญในแต่ละย่อหน้า เพื่อให้ทราบประเด็นหลัก ประเด็นย่อย ๒. ผู้อ่านต้องพิจารณารายละเอียดอื่นๆ นอกเหนือจากเนื้อหา เช่น ข้อมูลทางสถิติ ตัวอย่าง กรณีศึกษา ตาราง เพราะอาจน�ามาใช้ประกอบการแสดงความคิดเห็นได้ ๓. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในเรื่อง โดยมีเกณฑ์ว่า ข้อเท็จจริง หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเรื่องราว เหตุการณ์ สถานการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าใคร ท�าอะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร อาจเป็นการบรรยาย พรรณนา ตัวเลข สถิติ แผนภูมิ รูปภาพ การวิเคราะห์ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในเรื่อง จะช่วยให้ผู้อ่านสรุป หรือแสดงความคิดเห็นได้ว่า ผู้เขียนน�าเสนอเรื่องโดยการบิดเบือนข้อเท็จจริงหรือไม่ ๔. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เขียน ข้อคิดเห็น หมายถึง ความคิดความเห็นที่ผู้เขียนแสดงไว้ แม้จะไม่ใช่ข้อเท็จจริง แต่มีส่วนช่วยสะท้อนว่าผู้ส่งสารมีเจตนาอย่างไรต่อข้อเท็จจริงที่น�าเสนอ โดยข้อความที่ตามหลังค�าเหล่านี้มักจะเป็นข้อคิดเห็น คิดว่า เชื่อว่า เห็นว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย น่าจะ คง อาจจะเป็นเพราะ หรือไม่อย่างไร50

๕. ผู้อ่านต้องตีความสาร ในกรณีที่อ่านสารประเภทเรื่องสั้น นวนิยาย บทร้อยกรองเพราะงานเขียนประเภทนี้ผู้เขียนจะไม่สื่อสารแนวคิดออกมาโดยตรง แต่จะซ่อนอยู่ในองค์ประกอบส่วนต่างๆ ของเรื่อง เช่น แสดงผ่านพ ติกรรมของตัวละคร เป็นต้น ๖. ผู้อ่านต้องพิจารณาความน่าเชื่อถือของเรื่องที่อ่าน โดยพิจารณาเบื้องต้นจากผู้ส่งสาร ว่ามีความรู้ ความช�านาญในเรื่องที่เขียนมากน้อยเพียงใด รวมถึงข้อมูลที่น�ามาใช้อ้างอิง ๗. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์กลวิธีน�าเสนอของผู้เขียน เช่น การวางโครงเรื่อง การเปดเรื่อง การด�าเนินเรื่อง เป็นต้น โดยมีแนวทางวิเคราะห์ว่ากลวิธีน�าเสนอเหมาะสมกับเนื้อเรื่องหรือไม่และผู้เขียนเลือกใช้กลวิธีได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด ๘. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์การใช้ภาษา สังเกตความกลมกลืนระหว่างภาษากับเนื้อเรื่อง การใช้ส�านวนโวหาร ความถูกต้องตามหลักภาษา . ผู้อ่านต้องตัดสินใจ ประเมินค่า หรือแสดงความคิดเห็นได้ว่าเรื่องที่อ่าน ดีหรือไม่ ชอบหรือไม่อย่างไร โดยให้เหตุผลประกอบ ประการส�าคัญควรมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ หรือเรียกว่า ติเพื่อก่อ ซึ่งสิ่งที่จะน�าไปแสดงความคิดเห็น ก็คือ ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของเรื่องที่อ่าน ๑.๓ ข้อควรค�านึงในการแสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นอาจจะแสดงด้วยการพูด หรือการเขียนที่ประกอบด้วยเหตุผล มีข้อมูลหลักฐานที่ผู้อื่นจะเชื่อถือได้ การแสดงความคิดเห็นจะต้องกลั่นกรองมาเป็นอย่างดี ภาษาที่ใช้ต้องสุภาพและไม่ท�าให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย โดยมีข้อควรค�านึงในการแสดงความคิดเห็น ดังนี้๑) ประโยชน์ความคิดเห็นที่ดีต้องมีประโยชน์และมีคุณค่าต่อผู้อ่าน ประโยชน์ในที่นี้ต้องเป็นประโยชน์ต่อบุคคลส่วนใหญ่ไม่ใช่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง๒) ความสมเหตุสมผลความคิดเห็นที่ดีต้องมีความสมเหตุสมผล มีข้อสนับสนุนที่มี ความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป กรณีตัวอย่างที่น�ามาอ้างต้องเป็นตัวแทนของกรณีทั้งหมดได้อย่างแท้จริง๓) ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะโดยปกติแล้วการแสดงความคิดเห็นจะต้องเขียนเพื่อให้บุคคล หรือชุมชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอ่าน บางเรื่องอาจน�าเสนอแก่สาธารณชนได้แต่บางเรื่องก็ไม่ควรแสดงต่อบุคคลทั่วไป ผู้เขียนจึงต้องพิจารณาสารดังกล่าวเพื่อน�าเสนอได้ถูกต้องเหมาะกับกาลเทศะ๔) การใช้ภาษาภาษาที่ใช้ต้องชัดเจนตรงตามความต้องการ เหมาะสม ไม่กระทบกระเทียบ หรือท�าให้ผู้ฟังตีความไปได้หลายแง่มุม51

ตัวอยา การอาน ่อ สด ความคิด นวัยรุ่นกับความรุนแรงนับจากต้นปีที่ผ่านมา จะมีข่าวที่วัยรุ่นก่อความรุนแรงมากมาย เช่น ข่าวที่วัยรุ่นใช้ปืนยิงเพื่อนนักเรียนเสียชีวิต ยกพวกตีกันระหว่างสถาบัน และล่าสุด คือ เมื่องานคอนเสิร์ตทรัพย์สินทางปัญญาได้มีวัยรุ่นประมาณ ๑,๐๐๐ คน ยกพวกตีกันจนท�าให้มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย ปัญหาเหล่านี้ จัดว่าเป็นปัญหาทางสังคม ที่นับวันได้มีแนวโน้มที่แสดงออกถึงการทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ“วัยรุ่น” เป็นวัยที่ผู้คนมักเรียกกันว่า “วัยหัวเลี้ยวหัวต่อ” เพราะวัยนี้พยายามที่จะค้นหาความเข้าใจในตนเอง ยิ่งในโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การติดต่อสื่อสารท�าได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้โลกทัศน์ของวัยรุ่นกว้างขึ้น บางคนก็ค้นพบตนเองในทางที่ถูกต้อง แต่บางคนหันเหไปในทางที่ผิด ท�าให้เป็นบ่อเกิดของปัญหาที่เราเห็นในปัจจุบันถ้าวิเคราะห์ถึงปรากฏการณ์ของความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่นในขณะนี้ คิดว่าคงจะมีสาเหตุมาจากหลายๆ ด้าน ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ของวัยรุ่น สภาพครอบครัว สภาพสังคมต่างๆ ที่เป็นตัวหล่อหลอมพฤติกรรมของวัยรุ่นผ่านสื่อต่างๆ ทั้งภาพยนตร์ วิดีโอ เกม ที่ล้วนมีผลต่อความรุนแรง เข้าไปอยู่ในจิตใต้ส�านึก โดยที่เขาเองก็ไม่รู้ตัวสิ่งส�าคัญที่สุดที่จะบ่งชี้ถึงพฤติกรรมของวัยรุ่น คือ ครอบครัว เพราะครอบครัวเป็นสถาบันที่มีอิทธิพลส�าคัญที่สุดในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของวัยรุ่น ครอบครัวจะเป็นหน่วยพื้นฐานที่คอยเสริมสร้างประสบการณ์ของเด็กเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น ความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัวจะยุ่งยากสลับซับซ้อนมากขึ้น และมักจะเกิดปัญหาขัดแย้งกันเสมอ อาจสังเกตได้ง่ายว่าวัยรุ่นเริ่มมีความรู้สึกอยากเป็นอิสระ ไม่อยากให้ใครมาบังคับ และต้องการเป็นตัวของตัวเอง ดังนั้น ส่วนส�าคัญที่สุด คือ พ่อ แม่ ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้ลูก ควรให้ค�าปรึกษา เข้าใจในชีวิตของเด็กวัยนี้ ไม่ขัดขวาง ห้ามในสิ่งที่เขาต้องการค้นหา แต่ควรให้ค�าปรึกษาที่ดีเพราะเด็กวัยนี้ยิ่งห้ามก็เหมือนยิ่งยุโดยทั่วไปแล้วเด็กวัยรุ่นมักจะเกิดความขัดแย้งกับพ่อแม่เสมอ ท�าให้หันเหชีวิตไปหาเพื่อน เป็นส่วนใหญ่ กลุ่มเพื่อนจึงเป็นสิ่งแวดล้อมที่วัยรุ่นให้ความส�าคัญเหนืออื่นใด จึงเกิดการเกาะติดความเป็นพรรค เป็นพวก สืบเนื่องไปจนถึงความเป็นสถาบัน และยึดถือปฏิบัติกฎเกณฑ์ที่รุ่นพี่ในสถาบันตั้งขึ้นเราจึงเห็นกลุ่มวัยรุ่นต่างสถาบันยกพวกตีกันมาตั้งแต่สมัยรุ่นปู่ รุ่นพ่อ สืบมาจนถึงรุ่นปัจจุบันจากสาเหตุที่ท�าให้วัยรุ่นใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา ท�าให้เราเห็นว่าครอบครัวน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุด ในการปลูกฝังอบรมเด็ก สร้างบุคลิกภาพที่ดีให้แก่เด็กเมื่อเขาโตขึ้นและย่างเข้าสู่วัยรุ่น พ่อ แม่ ต้องเป็นส่วนส�าคัญในการชี้แนวทางการด�าเนินชีวิต การแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้วยวิธีที่ถูกต้อง และต้องเข้าถึงอารมณ์ความรู้สึกของวัยรุ่น ไม่ดุด่า หรือปล่อยจนเกินไป เพราะสาเหตุเหล่านี้จะท�าให้วัยรุ่นกลายเป็นคนที่ก้าวร้าว และตีตัวออกห่างจากครอบครัว ไปมั่วสุมกับเพื่อนๆ และเลือกเดินในแนวทางที่ผิดจนกลายเป็นปัญหาของสังคมอย่างที่ปรากฏในปัจจุบัน(สุชัญญา วงค์เวสช์ : นิตยสารเพื่อนวัยรุ่น)52

การ สด ความคิด น ร ่อ วัยร นกับความร น ร บทความเรื่อง วัยรุ่นกับความรุนแรง ของ สุชัญญา วงค์เวสช์ ในหนังสือนิตยสารเพื่อนวัยรุ่น เขียนขึ้นเพื่อต้องการน�าเสนอปัญหาของวัยรุ่นที่ก่อความรุนแรงอยู่ในขณะนี้ โดยผู้เขียนได้วิเคราะห์ถึงสาเหตุของสภาพปัญหาที่แท้จริงว่าเกิดจากอะไร ซึ่งสามารถน�าเสนอเรื่องราวของปัญหาได้อย่างรอบด้าน และมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ท�าให้ผู้อ่านมองเห็นเรื่องราวได้ตลอดและสอดคล้อง น่าติดตามอ่านจนจบเรื่องสามารถชักจูงหรือโน้มน้าวให้ผู้อ่านเห็นจุดประสงค์ของผู้เขียนที่ต้องการน�าเสนอให้ทราบถึงปัญหาความรุนแรงของวัยรุ่นมาจากจุดใด ท�าให้ผู้อ่านเข้าใจจุดประสงค์ที่ผู้เขียนบทความต้องการสื่อถึงผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตรงประเด็นและสอดคล้องกับเรื่องราวที่น�าเสนอได้เป็นอย่างดีบทความนี้เขียนน�าเสนอล�าดับเรื่องราวได้ดี โดยย่อหน้าแรกได้น�าเสนอปัญหาที่รุนแรงของวัยรุ่น ซึ่งผู้อ่านได้รับทราบจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่น�าเสนอทางวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์อยู่เสมอ ท�าให้เกิดความรู้สึกร่วมกันกับปัญหานั้นเป็นอย่างดีว่านั่นคือ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่นในขณะนี้ และสามารถชักน�าให้ผู้อ่านคล้อยตามไปถึงสาเหตุที่แท้จริงนั้นเริ่มต้นจากครอบครัว ดังข้อความในย่อหน้าที่สี่และย่อหน้าที่ห้าที่สนับสนุนให้เห็นอย่างเด่นชัด ช่วยให้ผู้อ่านมองเห็นประเด็นปัญหาที่หลายคนอาจมองข้ามว่าเป็นเรื่องหยุมหยิมเล็กๆ น้อยๆ แต่เรื่องราวดังกล่าวกลับเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการแสดงออกของวัยรุ่นในลักษณะรุนแรง เนื้อหาที่ผู้เขียนน�าเสนอจึงเป็นสิ่งกระตุ้นเตือนให้รู้จักและเข้าใจวัยรุ่นได้มากขึ้น และมองเห็นว่าปัญหาความรุนแรงของวัยรุ่นเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม หรือไม่ให้ความส�าคัญอีกต่อไป หากแต่ควรเข้าใจและเข้าใกล้เขาให้มากที่สุด การแก้ปัญหาของวัยรุ่นจึงต้องแก้ที่สาเหตุที่ท�าให้วัยรุ่นก้าวร้าวใช้ความรุนแรงโดยมองไปที่ครอบครัวต้องเป็นผู้เริ่มแก้ปัญหาและได้มอบภาระนี้ให้เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ ซึ่งไม่สอดคล้องกับสภาพในปัจจุบันเพราะแม่ไม่ได้มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลท�างานภายในบ้านเพียงอย่างเดียวเหมือนในอดีต การแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นจึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่เป็นสมาชิกในครอบครัวโดยต้องให้ความร่วมมือในการเอาใจใส่ดูแลวัยรุ่นมากขึ้น เพื่อให้ปัญหาความรุนแรงเกิดน้อยลง บทความนี้จึงเป็นบทความที่ให้ทั้งความรู้และข้อคิดจากเรื่องราววัยรุ่นกับความรุนแรงได้อย่างน่าสนใจ รวมทั้งการน�าเสนอเรื่องราวที่เรียบง่ายแต่หนักแน่นด้วยข้อมูลที่น�ามาประกอบกับเรื่องราว จึงท�าให้บทความเรื่องนี้มีจุดที่น่าสนใจ และน�าพาผู้อ่านให้ไปถึงจุดหมายปลายทางตามที่ผู้เขียนต้องการชี้ให้เห็นถึงการแก้ปัญหาวัยรุ่นกับความรุนแรงได้เป็นอย่างดีความคิดเห็นของแต่ละบุคคลย่อมมีความแตกต่างกันตามความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อและประสบการณ์ อย่างไรก็ตาม ผู้อ่านสามารถฝึกฝนได้โดยเริ่มจากการเป็นนักอ่าน ท�าความเข้าใจหลักการอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น และคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล ตลอดจนถ่ายทอดด้วยภาษาที่ถูกต้อง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างมีคุณค่า53

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากข่าว เพื่อฝึกกระบวนการแสดงความคิดเห็นร่วมกัน๒. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสืออ่านนอกเวลา ๑ เรื่อง แล้วร่วมกัน อภิปรายและสรุปความคิดเห็นตามประเด็นที่ได้ก�าหนดไว้๓. ให้นักเรียนหาบทความแสดงความคิดเห็นมาศึกษาหลักการแสดงความคิดเห็น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการอ่าน และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ๑. เหตุใดจึงกล่าวว่า การแสดงความคิดเห็นเป็นเรื่องเฉพาะตัวของผู้อ่าน จงอธิบายพอสังเขป๒. การเขียนเป็นงานสาธารณะที่ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นหรือวิจารณ์ได้ นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด๓. การแสดงความคิดเห็นอย่างไรที่แสดงให้เห็นว่าเจ้าของความคิดเห็นเป็นผู้มีมารยาทในการแสดงความคิดเห็น๔. การอ่านอย่างมีหลักการช่วยในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างไร จงอธิบาย และยกตัวอย่างประกอบ๕. หากต้องแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่ไม่รู้ นักเรียนมีแนวทางปฏิบัติอย่างไร54

การเขียนปจจุบันการสื่อสารดวยเทคโนโลยีมีบทบาทมากขึ้นในการดําเนินชีวิต แตการสื่อสารดวยวิธีการเขียนยังคงมีความสําคัญและมีความจําเปนตอการทํางาน การติดตอสื่อสารทั่วไป หากผูเขียนหรือเรียกอีกนัยหนึ่งวาผูสงสารเขียนไมถูกตอง ใชถอยคําไมเหมาะสม หรือเขียนไมชัดเจน ผิดจุดประสงค อาจทําใหผูอานหรือผูรับสารเขาใจผิด มีอคติตอสารที่ไดรับ และสงผลใหการสื่อสารไมสัมฤทธิผล ดังนั้น การเขียนจึงมีความสําคัญเปนอยางมากในการติดตอสื่อสารทําความเขาใจกันตอนที่ò

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ñการเขียน ันทึกความร ตัว ี วัด• บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อน�าไปพัฒนาตนเองอย่างสม�่าเสมอ ท ๒ ๑ ม ๔-๖ • มีมารยาทในการเขียน ท ๒ ๑ ม ๔-๖ สาระการ รียนร กนกลา • การเขียนบันทึกความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย• มารยาทในการเขียนการเขียน คือ การถายทอดความร  ความคิด ความร สึก ินตนาการ ความตองการของ สงสารออกมาเปนลายลักษณอักษร เพื่อให รั สารสามารถอานเขาใ ตรงตามที่ เขียนตองการได การเขียนให อานเขาใ สารตรงตามที่ เขียนตองการไดนั้น ขึ้นอย กั องคประกอ หลายประการ เชน ประส การณและสิ่งแวดลอมของ เขียนกั อาน ทักษะทางภาษา ระ ความคิด

๑. การเ น น กความร ากการอ่านการเขียนบันทึกความรู้จากการอ่าน หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อน�ามาใช้ในการเขียน ผู้อ่านจ�าเป็นต้องมีทักษะการเขียนสรุปความ ถอดความ และคัดลอกข้อความส�าคัญ การมีระบบการบันทึกที่ดีจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่างๆ จากการอ่านไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ช่วยให้การจัดระเบียบข้อมูลที่ได้ จากการอ่านเป็นไปอย่างมีระบบ ทั้งยังช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจและจดจ�าข้อมูลเหล่านั้นได้โดยง่าย การบันทึกการอ่านจึงเป็นทักษะที่มีความส�าคัญและจ�าเป็นอย่างยิ่งต่อการเรียน ทั้งนี้เพราะการเรียนจะต้องค้นคว้าเอกสารประกอบการเรียนเป็นจ�านวนมาก นอกจากนี้การบันทึกการอ่านยังช่วยให้ผู้เรียนมีสมาธิในการอ่านอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้อ่านต้องเลือกบันทึกเฉพาะประเด็นส�าคัญที่ต้องการน�าไปใช้ ดังนั้น การบันทึกความรู้จากการอ่าน ผู้อ่านต้องมีความเข้าใจเรื่องที่อ่านเป็นอย่างดี และสร้างความคิดของตนเองในขณะที่เขียนบันทึกด้วย๑) การบันท กความรู้ ากการอ่านต้องมีความสามารถในด้านต่างๆ ต่อไปนี้ ๑. จับใจความส�าคัญของเรื่องได้ ๒. ทราบว่าข้อมูลใดเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ตนต้องการศึกษา ๓. มีวิธีการบันทึกที่เป็นระบบ ๔. สามารถเชื่อมโยงหัวข้อส�าคัญต่างๆ เข้าด้วยกัน แล้วน�าข้อมูลเหล่านั้นไปเขียนเป็นผังความคิด หรือ ให้เข้าใจได้ง่าย ๕. เขียนบันทึกด้วยถ้อยค�าของตนเอง ๖. บันทึกแหล่งที่มาของข้อมูลนั้นๆ ได้อย่างชัดเจน๒) ว ีการบันท กความรู้ ากการอ่าน มีดังนี้ ๑. รู้จักเลือกและมีวิธีการบันทึกที่เป็นระบบ โดยค�านึงถึงวัตถุประสงค์ในการอ่านเสมอว่าต้องการอะไรจากการอ่าน ก่อนจะลงมือบันทึกต้องส�ารวจข้อเขียนนั้นอย่างคร่าวๆ ก่อน โดยพิจารณาว่าอะไรคือประเด็นความคิดส�าคัญของเรื่อง เลือกอ่าน และบันทึกเฉพาะสิ่งที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องการศึกษา แยกข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นในเรื่องที่อ่านออกจากกัน และแยกระหว่างข้อคิดเห็นของตนกับสิ่งที่ได้จากการอ่าน พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข้อมูลให้ชัดเจนทุกครั้ง ในการบันทึกควรน�าหัวข้อส�าคัญๆ จากการอ่านมาวางเป็นเค้าโครงของเรื่องโดยที่เค้าโครงนี้มีโครงสร้างเช่นเดียวกับข้อเขียนที่อ่าน แต่ละหัวข้ออาจใช้ตัวเลข หรือตัวอักษรในการเรียงล�าดับและการจัดหมวดหมู่ของหัวข้อย่อยต่างๆ เพื่อให้เข้าใจง่าย นอกจากนี้การบันทึกที่เป็น5

ลักษณะของโครงเรื่องถือเป็นประโยชน์หากต้องการเขียนสรุปความจากประเด็นส�าคัญต่างๆ ที่ได้จากการอ่านด้วยการใช้ภาษาของตนเอง๒. ทราบวัตถุประสงค์และความส�าคัญของข้อเขียน ก่อนลงมือบันทึกต้องทราบวัตถุประสงค์และบทบาทหน้าที่ของข้อเขียนว่า มีความส�าคัญอย่างไร ไม่ว่าจะต้องการบันทึกข้อความในข้อเขียนเพียงบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม ทั้งนี้โดยพิจารณาส่วนต่างๆ ดังนี้● พิจารณาชื่อเรื่อง บทคัดย่อ หรือบทน�า● อ่านข้อความในย่อหน้าแรก● ส�ารวจข้อเขียนอย่างคร่าวๆ และสังเกตวิธีการร้อยเรียงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อเขียน●อ่านส่วนที่เป็นภาพประกอบและคาดเดาว่าผู้เขียนใช้เนื้อหาส่วนนั้นเพื่อวัตถุประสงค์อะไร การส�ารวจดังกล่าวเป็นการเริ่มต้นการอ่านที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพราะจะท�าให้สามารถเลือกอ่านเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสิ่งที่ต้องการอ่าน ซึ่งจะช่วยประหยัดเวลาในการอ่านได้เป็นอย่างดี๓. ทราบลักษณะการน�าข้อมูลต่างๆ มาใช้ในการเขียน ข้อเขียนเป็นจ�านวนมากน�าหลักการส�าคัญของเรื่องมาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน ในขณะที่บางเรื่องมีการเรียงล�าดับเนื้อหาตามความส�าคัญ ในการอ่านเพื่อบันทึกข้อมูลผู้อ่านจ�าเป็นต้องทราบว่า ผู้เขียนเรียบเรียงข้อมูลเป็นเรื่องเดียวกันในลักษณะใด ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นหาความคิดส�าคัญและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ในเรื่องได้ การเรียงล�าดับเนื้อหาในการเขียนมีหลายลักษณะ ดังนี้● จากแนวคิดในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน● เรียงตามล�าดับขั้นตอนหรือเหตุการณ์● เรียงจากความส�าคัญมากไปหาความส�าคัญน้อย● เรียงจากแนวคิดที่ไม่ซับซ้อนไปหาแนวคิดที่ซับซ้อนมากที่สุด● เรียงจากแนวคิดกว้างๆ ทั่วไปไปหาแนวคิดที่เฉพาะเจาะจง● เรียงจากส่วนที่ใหญ่ที่สุดไปหาส่วนที่เล็กที่สุด● เรียงจากตัวปัญหาไปสู่การแก้ปัญหา● เรียงจากเหตุไปหาผล๔. แสดงความคิดเห็นของตนเองขณะบันทึกสาระส�าคัญที่ได้จากการอ่าน ผู้เขียนต้องน�าเสนอความคิดเห็นที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเรื่องที่อ่าน โดยมีการบันทึกให้เห็นอย่างชัดเจนว่าข้อความส่วนใดคือส่วนที่ได้จากการอ่านและข้อความส่วนใดเป็นความคิดเห็นของตนเอง5

ตัวอยา การบันท กความร ากการอานป า รุควนเคร งป่าพรุควนเคร็ง เป็นป่าพรุที่ยังเหลืออยู่ไม่กี่แห่งแล้วในประเทศไทย ในอดีตเคยเป็นพื้นที่ชุ่มน�้าผืนใหญ่ที่มีระบบนิเวศน�้าผิวดินเชื่อมติดต่อกับทะเล มีความอุดมสมบูรณ์และเอื้ออ�านวยประโยชน์ต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ แต่การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาในรอบ ๑ ป มี ป าเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องปีละกว่า ๑๐๐ จุด และสถานการณ์ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ โดยเ พาะในปี ๒ มีไ ไหม้ป่าพรุมาแล้ว กว่า ๑ ๐ จุด ท�าให้พื้นที่ป่าพรุได้รับความเสียหายไม่น้อยกว่า ๑ ,๐๐๐ ไร่ ซึ่งคาดว่าเป็นฝีมือมนุษย์ และในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีป า ูกบุกรุกโดยฝีมือมนุษย์มากขึ้นจนท�าให้ป า รุ ูกท าลายเสียหายอย่างรวดเร็วเดิมนั้นป่าพรุมีความสัมพันธ์ต่อการด�าเนินชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่รอบๆ พื้นที่บริเวณป่าพรุเป็นอย่างมาก ป่าพรุควนเคร็งจึงมีสถานะเป็น “ป่าชุมชน” เพื่อการเลี้ยงชีพ ชาวบ้านได้เข้าไปเก็บของป่า หาต้นกระจูด กก ปรือ ย่านลิเภา เพื่อน�าไปแปรรูปเป็นเสื่อ กระสอบ ท�าเครื่องจักสาน เครื่องประดับ มีการเข้าไปหาพืชผัก และของป่ามาเพื่อการบริโภค เช่น บัว ผักกูด ล�าเท็ง ยอดพืชชนิดต่างๆ มีการจับสัตว์น�้าด้วยเครื่องมือที่ท�าขึ้นเอง เช่น ไซ ลัน สุ่ม เบ็ด เพื่อน�าไปบริโภคกันในครัวเรือน หากจับได้เป็นจ�านวนมากก็มีการแบ่งปันแจกจ่าย หรือขายออกให้แก่เพื่อนบ้าน หรืออาจแปรรูปเพื่อการบริโภคในโอกาสต่อๆ ไป แต่หลังจากที่ป่าพรุถูกท�าลายก็ส่งผลให้รายได้ของคนในพื้นที่ลดลงตามไปด้วยในรอบ ๑๐ ปีที่ผ่านมา ยังมีการเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญอีกนั่นคือ การสร้างที่ขวางทางน าแม้ว่าเป็นการป องกันการรุกล�้าของน�้าเค็มที่จะเข้ามาท�าลายพื้นที่การเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ก็ท�าให้พื้นที่ป่าพรุถูกท�าลายเช่นกันและยังมีป หาระ ับน าล ลงจากการขุดคลองชลประทานต่างๆ ที่เป็นการเร่งให้น�้าในป่าพรุระบายออกไปเร็วขึ้น ส่งผลให้ป่าพรุเสียหายจากการที่ป่าพรุเสียหายจากสาเหตุต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น นอกจากจะส่งผลให้ประชาชนมีราย ้ล ลงแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อสัตว์ป่าด้วย โดยท�าให้นกป าใกล้สู ัน ์ุและแหล่งเ าะ ัน ุ์สัตว์น าล ลง อย่างเช่น ปลาดุกล�าพันที่เคยมีอยู่ในป่าพรุเป็นจ�านวนมาก แต่ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว อีกทั้งการที่ป่าพรุเป็นแก้มลิง เป็นแหล่งบ�าบัดน�้าเสียก่อนปล่อยลงสู่ทะเล ดังนั้นความเสียหายของป่าพรุจึงท�าให้แหล่งเก บกักน าและบ าบั น าเสียล ลงด้วยสิ่งที่เกิดขึ้นมาทั้งหมดนั้น หากไม่มีการควบคุมที่ดีพอในเรื่องการบุกรุกเข้าใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ไม่มีการ ื น ูด้วยการสร้างจิตส�านึกให้แก่ประชาชนทุกระดับสาขา5

แ น ว ท า ง แ ก้ไ ขผ ล ข อ ง ก า ร ล ด จ�านว นแ ห ล่ง อ า ห า รไป่าก า ร บุก รุกสิ่ง ก่อ ส ร้า ง ที่ข ว า ง ท า ง น้ �าขุด ค ล อ ง ช ล ป ร ะ ท า นแ ห ล่ง อ า ชีพเก็บ กัก น้ �าบ �า บัด น้ �า เสียป ร ะ โ ย ช น์ส า เห ตุก า ร ล ด จ �า น ว นป ลูก จิต ส �า นึกป ร ะ ช า ช น ข า ด ร า ย ได้สัต ว์ป่า สูญ พัน ธุ์ไ ม่มีแ ห ล่ง กัก เ ก็บ น้ �าอ อ ก ก ฎ ห ม า ยล ด ก า ร เผ า ป่าป ลูก ป่า ต้น น้ �าป า รุควนเคร งอาชีพให้รู้สึกหวงแหนและร่วมมือกันอนุรักษ์พื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง เช่น ลดการเผาป่าลง ร่วมกันปลูกป่าต้นน�้า เคารพกฎหมายอย่างเคร่งครัดและรัฐเอาจริงเอาจังในเรื่องการถือครองที่ดิน ก็ยากที่จะท�าให้ป่าพรุคืนความอุดมสมบูรณ์กลับคืนมาดังเดิมได้ตัวอยา การบันท กความร ากการอาน แหล่งการอ่าน ห้องสมุดโรงเรียน ชื่อหนังสือที่อ่าน ชื่อเรื่อง ป่าพรุควนเคร็ง ผู้แต่ง ไม่ปรากฏชื่อ ความรู้ที่ได้จากการอ่าน ป่าพรุควนเคร็ง เป็นป่าพรุที่ยังเหลืออยู่ไม่กี่แห่งในประเทศไทย ป่าพรุมีความสัมพันธ์ต่อการด�าเนินชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่รอบๆ เป็นแหล่งอาหารและการหาเลี้ยงชีพ แต่เนื่องจากป่าถูกบุกรุกโดยฝีมือมนุษย์มากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ลดลงและส่งผลกระทบต่อสัตว์ป่า เช่น นกป่าใกล้สูญพันธ์ุ แหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์น�้าลดลง รวมถึงแหล่งเก็บกักน�้าและบ�าบัดน�้าเสียลดลงด้วย หากมีการควบคุมในเรื่องการบุกรุกป่า จะช่วยให้ป่าพรุคืนความอุดมสมบูรณ์ได้ดังเดิม นอกจากนี้ผู้บันทึกยังสามารถสรุปความรู้เป็นแผนผังมโนทัศน์ได้ เช่น 0

. การเ น น กความร ากการ งมนุษย์อาศัยการฟังเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว ตั้งแต่การฟังและเลียนเสียงพูดของพ่อแม่ในวัยเด็ก จนถึงการฟังในกระบวนการสื่อสารที่ซับซ้อนขึ้นเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การฟังช่วยให้การเรียนรู้ของมนุษย์ขยายวงกว้างขวาง ทั้งเพิ่มเติมและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยวิธีการอ่านและอื่นๆ จากการศึกษาปริมาณการฟังของมนุษย์ที่ใช้แต่ละวัน พบว่ามนุษย์ใช้เวลาไปกับการฟังมากกว่าทักษะอื่นๆ๑) ลักษ ะของการ งการฟังสารมีหลายลักษณะ แตกต่างกันไปตามการฝึกฝนของแต่ละบุคคล ประสิทธิภาพในการฟังของแต่ละบุคคลยังแตกต่างกันอีกด้วย ซึ่งพิจารณาได้จากลักษณะของการฟังด้วยความไม่สมัครใจ การฟังด้วยความสมัครใจ และการฟังที่เป็นนิสัย๑ ๑ การ ด วยความ มสมัคร เป็นพ ติกรรมการฟังที่มีประสิทธิภาพในระดับน้อย ผู้ฟังอาจจะถูกบังคับให้ฟังหรือจ�าใจฝ นอารมณ์ฟังเรื่องที่ตนไม่สนใจ ไม่เห็นคุณค่าสาระของสารที่ฟัง อาจเป็นการฟังเพื่อรักษามารยาท เช่น เด็กวัยรุ่นฟังพระเทศน์ เด็กวัยรุ่นจะฟังอย่างไม่สนใจเพราะถูกบังคับหรืออยู่ในภาวะจ�ายอมที่ต้องฟัง ลักษณะการฟังเช่นนี้ ผู้ฟังจะไม่ตั้งใจฟัง ไม่มีสมาธิหรือจิตใจที่จะจดจ่อต่อสารที่ฟังท�าให้รับสารได้ไม่ครบถ้วน เป็นการฟังที่บกพร่อง และผู้ฟังจะเสียเวลาฟังไปโดยเปล่าประโยชน์๑ ๒ การ ด วยความสมัคร เป็นการฟังที่มีประสิทธิภาพในระดับสูงขึ้น ผู้ฟังถูกชักจูงโน้มน้าวให้ฟังด้วยความเต็มใจ มีความสนใจที่จะรับสารและเกิดความต้องการที่จะฟัง จิตใจจดจ่อต่อสารที่ฟัง จึงได้รับประโยชน์จากการฟัง อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพการฟังจะเพิ่มมากขึ้นถ้าผู้ฟังจดบันทึกสารที่ฟัง และน�าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตหรือในการท�างาน๑ การ ป นนิสัย เป็นการฟังที่มีประสิทธิภาพในระดับสูงซึ่งทุกคนควรพัฒนาให้เกิดขึ้นจนเป็นนิสัย โดยเรียนรู้และฝึกฝนอย่างสม�่าเสมอ กล่าวคือฟังโดยไม่ต้องบังคับหรือฝ นใจฟังฟังเป็นกิจวัตร โดยไม่ค�านึงว่าเป็นเรื่องพูดที่ใช้วาทศิลป ดีเยี่ยม หรือเป็นเรื่องที่เคยฟังมาแล้วการมีนิสัยชอบติดตามฟังเรื่องราวข่าวสารต่างๆ อย่างสม�่าเสมอส่งผลให้เป็นคนรอบรู้ ผู้ที่มีนิสัยรักการฟัง แสวงหาโอกาสที่จะฟังเป็นนิจ จะทันโลกทันเหตุการณ์ และได้รับประสบการณ์อย่างกว้างขวาง สามารถน�ามาใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ดี อาจกล่าวได้ว่าการฟังที่เป็นนิสัยพื้นฐานท�าให้บุคคลเป็น พหูสูต คือ เป็นผู้ฟังมากรู้มาก๒) การบันท กความรู้ ากการ งการฟังและการจดบันทึกเป็นของคู่กัน บันทึกคือผลของการสื่อสารระหว่างผู้บรรยายกับผู้ฟัง ค�าบรรยายเป็นเสมือนค�าสนทนาของผู้พูดกับผู้ฟังผู้สอนกับผู้เรียน ผลการสนทนาจะประสบผลส�าเร็จเพียงใด ดูได้จากบันทึกที่จด หากผู้ฟังหรือผู้เขียนเข้าใจเรื่องที่ฟังได้ดีบันทึกย่อมดี การฟังให้เข้าใจได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายประการ เช่น ความสนใจในเรื่องที่บรรยาย รูปแบบของการบรรยาย ความพร้อมของผู้ฟัง 1

นอกจากเรื่องการฟังแล้วผู้เรียนจะต้องรู้วิธีการบันทึกอย่างมีประสิทธิภาพ คือ รู้แนวทางและวิธีการบันทึก๓) แนวทางการบันท กความรู้ ากการ งสมุดบันทึกเป็นสิ่งหนึ่งที่มีคุณค่าในการเรียนรู้ ผู้บันทึกควรมีแนวทางการบันทึกอย่างมีประสิทธิภาพ การบันทึกอาจแยกเป็นการจดบันทึกกับการเขียนบันทึก โดยทั้งสองลักษณะมีวิธีการที่คล้ายคลึงและแตกต่างกัน ๑ การ ดบันท ก คือ การเขียนข้อความที่ได้จากการอ่าน ฟัง ดู อย่างย่อๆ เพื่อให้รู้เรื่องเดิม สามารถกลับไปทบทวน หรือค้นคว้าเพิ่มเติมได้ภายหลัง โดยมีแนวทาง ดังนี้ ๑. พิจารณาแหล่งข้อมูล ผู้บันทึกต้องทราบวิธีการเข้าถึง หรือการค้นคว้าข้อมูลที่ตนเองต้องการ ทั้งด้านความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ ความละเอียด และความทันสมัยของข้อมูล ๒. การจดบันทึกจากการฟังควรจดบันทึกเฉพาะใจความส�าคัญ หรือประเด็นหลักของเรื่อง ไม่ควรจดบันทึกทุกเรื่องทุกค�า เพราะจะท�าให้ไม่สามารถจดบันทึกได้ทัน ดังนั้น ผู้ฟังจึงควรฟังและคิดพิจารณาให้ดีก่อนว่าเนื้อความใดควรจดบันทึก เมื่อฟังจบแล้วก็ควรกลับมาอ่านและเติมบันทึกจากการฟังใหม่ให้ถูกต้องครบถ้วนก่อนที่จะลืม ๓. การจดบันทึกจากการฟัง ผู้ฟังอาจจดเป็นค�าย่อ หรือเครื่องหมายแทนได้เพื่อความรวดเร็ว และควรใช้อย่างสม�่าเสมอจนคุ้นเคย เช่น ก.ม. หมายถึง ก หมาย หมายถึง บาท ค่าเงิน เป็นต้น หากจดบันทึกไม่ทัน ผู้จดบันทึกควรใช้เครื่องหมาย แทนลงในข้อความเพื่อเตือนความจ�า เมื่อฟังจบแล้วอาจสอบถามจากผู้พูด หรือผู้ฟังคนอื่นๆ ๔. การจดบันทึกจากการฟัง ผู้ฟังควรบันทึกรายละเอียดต่างๆ ให้ครบถ้วน เช่น รายละเอียดเกี่ยวกับผู้พูด สถานที่พูด เวลาที่พูดทั้งเวลาเริ่มต้นและเวลาจบ เนื้อหาสาระในการพูด และชื่อผู้จดบันทึก โดยอาจบันทึกลงในบัตรบันทึกข้อมูลที่ท�าจากกระดาษแข็ง หรือกระดาษที่มีความหนาพอสมควร ให้มีขนาด ๓ ๕ นิ้ว ๔ ๖ นิ้ว หรือ ๕ ๗ นิ้ว×××ผู้พูด .เรื่อง………………………………………………………………………………………………สถานที่พูด .พูดเมื่อวันที่ . เดือน . ปี……………………………เวลาเริ่ม……………………………………………น เวลาสิ้นสุด……………………………………………น รวมเวลา ..ผู้จดบันทึก ...................................................................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................หมายเหตุ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ตัวอย่าง รูปแบบการจดบันทึกจากการ ัง(เนื้อหาที่บันทึก) 2

๒ การ ียนบันท ก คือ การเขียนบรรยาย พรรณนาเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้บันทึก เช่น บันทึกประจ�าวัน หรืออนุทิน บันทึกการเดินทางท่องเที่ยว เป็นต้น โดยมีแนวทางที่จะช่วยฝึกฝนให้ผู้เขียนมีความช�านาญ ดังนี้ ๑. ให้ความสนใจ ใส่ใจรายละเอียดกิจวัตรในชีวิตประจ�าวันของตนเอง รวมถึงเหตุการณ์ระหว่างวันที่น่าสนใจ ๒. ใช้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับย่อหน้าในการเรียบเรียง โดยก�าหนดแนวคิดว่าวันนี้จะเขียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร ๓. เรียงล�าดับสิ่งที่เกิดขึ้นตามข้อเท็จจริง ความสมเหตุสมผล เพราะการเรียงล�าดับที่ดีจะช่วยให้ผู้อ่านบันทึกติดตามเรื่องต่อไปจนจบ ด้วยความสนใจใคร่รู้ หากบันทึกมีมากกว่าหนึ่งย่อหน้า ผู้เขียนจะต้องเชื่อมโยงแต่ละย่อหน้าให้สอดคล้องกัน ๔. ภาษาที่ใช้ในการบันทึกควรเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย สื่อความชัดเจน สอดคล้อง กลมกลืนเป็นระดับเดียวกัน จะเห็นว่าการจดบันทึกและการเขียนบันทึกมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ การจดบันทึกเป็นการบันทึกเฉพาะใจความส�าคัญของสิ่งที่ได้อ่าน ได้ฟัง ได้ดู แต่การเขียนบันทึกเป็นการเขียนเพื่อเล่าเรื่อง ดังนั้น ข้อความจึงมีลักษณะของการบรรยาย พรรณนาให้เห็นภาพ จึงปรากฏทั้งสิ่งที่เป็นใจความ และรายละเอียดปลีกย่อยอื่นๆ▼การ งที่ดีตองรูจักสรุปใจความส าคั ใหเปนและจดบันทึกสิ่งที่ไดจากการ งควบคูไปดวยเพื่อสะดวกในการ ึกษาคนควา ายหลัง 3

ตัวอยา การ ียนบันท กความร ากการ อความที่อานกระ าย สีย ทา ส านีวิทย รายการป าสวยน า สเร ่อง ว ก ตสัตว์ป าเม อง ทยในขณะที่เวลาผ่านไปทุกๆ หนึ่งนาที โลกของเราจะสูญเสียพื้นที่ป่าไม้เป็นจ�านวนเท่ากับสนาม ุตบอลจ�านวน สนาม ถ้าค�านวณแล้วปรากฏว่า ในหนึ่งปีเราจะเสียพื้นที่ป่าไม้เท่ากับพื้นที่ของประเทศลาวและเขมรรวมกัน ในขณะที่ป่าไม้ถูกท�าลายไป ถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์จ�านวนมากก็ถูกท�าลายไปด้วย ส่งผลให้สัตว์ป่าหลายชนิดมีจ�านวนลดลงอย่างน่าวิตก บางชนิดก็สูญพันธุ์จากโลกนี้ไปแล้ว ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ การสูญพันธุ์ของสมัน ในอดีตเคยพบอย่างชุกชุมในบริเวณพื้นที่ราบภาคกลางของประเทศไทย แต่ปัจจุบันเราจะพบเห็นเขาที่สวยงามของมันอยู่ตามฝาผนังของนักสะสมของหายาก อีกตัวอย่างหนึ่งคือ ในระยะเวลา ๑๐๐ ปี ที่ผ่านมาเราสูญเสียเสือโคร่งไปแล้ว ๐ เปอร์เซ็นต์ ของประชากรที่เคยมีอยู่ในอดีต ปัจจุบันทั่วทั้งโลกเหลือเสือโคร่งเพียง ,๐๐๐ ตัว นอกจากนี้ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่อยู่ในขั้นวิกฤตเช่นเดียวกับเสือโคร่งประเทศไทยก็ประสบปัญหาป่าไม้ถูกท�าลายอย่างหนักในช่วง ๒ ทศวรรษที่ผ่านมาท�าให้สัตว์ป่าโดยเ พาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดมีสถานภาพอยู่ในขั้นวิกฤต หรือใกล้ที่จะสูญพันธุ์ไปจากประเทศไทย แต่ก็ยังมีบุคคลกลุ่มหนึ่งที่คิดแสวงหาผลประโยชน์จากมูลค่าของสัตว์ป่าที่เหลืออยู่ไม่มาก ซึ่งสามารถท�าก�าไรที่งดงาม เป็นรองเพียงแค่ก�าไรที่ได้จากการค้ายาเสพติด ซึ่งทั้งสองสิ่งนี้ถือว่าเป็นกิจกรรมที่ผิดกฎหมายขั้นร้ายแรงของโลกเลยทีเดียว ประเทศไทยของเราก็เคยได้รับบทเรียนจากการลักลอบซื้อขายสัตว์ป่าของบุคคลที่เห็นแก่ตัวดังกล่าวซึ่งเกือบจะท�าให้ประเทศไทยของเราสูญเสียรายได้จากการค้าขายระหว่างประเทศคิดเป็นจ�านวนเงินแล้วนับเป็นพันล้านบาท พูดง่ายขึ้นก็คือ ห้ามประเทศไทยส่งสินค้าออกไปจ�าหน่ายยังต่างประเทศ แต่ก็นับว่าโชคดีที่ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ( ) ท�าให้ประเทศไทยส่งสินค้าออกไปจ�าหน่ายยังต่างประเทศได้ตามปกติ ถึงแม้จะลงนามในอนุสัญญาไปแล้ว การซื้อขายสัตว์ป่าภายในประเทศก็ยังไม่ลดลงเลย จากข้อมูลติดตามตรวจสอบและสอดส่องบริเวณพรมแดนของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน สัตว์ป่าเป็นสินค้าที่มีความต้องการอยู่ในประเทศจีน โดยเ พาะอวัยวะของสัตว์ป่าที่ชาวเอเชียตะวันออกนิยมรับประทานกันเป็นอย่างมาก และมีความต้องการปริมาณสูงมาก ปัญหาสัตว์ป่าลดจ�านวนลงเนื่องจากถิ่นอาศัยถูกท�าลายและการล่าเพื่อการซื้อขายก็เพียงพอแล้วที่จะท�าให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์ ส่วนราชการที่มี 4

การเขียนบันท กความรู้ เป็นลักษณะของการจับใจความส�าคั จากเรื่องที่ได้อ่านได้ ง หรือได้ดู แล้วน�าสาระมาเรียบเรียงด้วยภาษาที่กระชับ สละสลวย และได้ใจความสามารถที่จะน�าข้อมูลที่บันท กไว้มาทบทวนเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมได้อย่างรวดเร็วในภายหลังนับว่าเป็นการเขียนบันท กความรู้ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั งไว้และเกิดประโยชน์ต่อผู้บันท กเป็นอย่างยิ่งก�าลังคนเพียงน้อยนิดต่างก็พยายามปราบปรามกันอย่างเต็มที่ แต่ก็ไม่สามารถปราบปรามได้หมดเพราะผู้กระท�าผิดมีมากมายเหลือเกินและท�ากันอย่างลับๆ จะมีก็เพียงแต่พลังมวลชนที่จะชวนกันสอดส่องดูแลและช่วยกันแจ้งเบาะแสให้แก่ทางราชการทราบตัวอยา การ ียนบันท กความร ากการ ช ่อเร ่องวิกฤตสัตว์ป่าเมืองไทยรายการ ป่าสวยน�้าใสแหล่งที่มา สถานีวิทยุ เอ เอ็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒ ๒ เวลา ๑ ๐๐ น ความรู้ที่ได้จากการ ังเรื่อง “วิกฤตสัตว์ป่าเมืองไทย” (เป็นข้อๆ) จากบทความทางวิทยุเรื่องนี้ ท�าให้ได้ความรู้ดังต่อไปนี้ ๑ ถ้าป่าไม้ถูกท�าลาย ถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์จ�านวนมากจะถูกท�าลายไปด้วยส่งผลให้สัตว์ป่าหลายชนิดมีจ�านวนลดลง บางชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้ว เช่น การสูญพันธุ์ของสมัน และการสูญเสียเสือโคร่ง ซึ่งปัจจุบันทั่วทั้งโลกเหลือเสือโคร่งเพียง ,๐๐๐ ตัว และยังมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอีกหลายชนิดที่อยู่ในขั้นวิกฤตและใกล้จะสูญพันธุ์ ๒ การลักลอบซื้อขายสัตว์ป่า โดยเ พาะสัตว์ป่าที่ชาวเอเชียนิยมรับประทานและเป็นสินค้าที่มีความต้องการในประเทศจีน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท�าให้สัตว์ป่าในประเทศไทยสูญพันธุ์ ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือที่รู้จักคุ้นเคยดีในตัวย่อว่า ไซเตส ( ) แต่ปัญหาการลักลอบซื้อขายสัตว์ป่ายังเป็นปัญหาที่ยากจะปราบปรามได้หมด เนื่องจากผู้กระท�าผิดมีจ�านวนมากและท�ากันอย่างลับๆ 5

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เกี่ยวกับงานเข่ียนประเภทเรื่องสั้นหรือสารคดีที่สนใจ แล้วน�ามาสรุปความรู้ด้วยการน�าเสนอในรูปแบบ ๒. ให้นักเรียนสอบถามเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชุมชนจากผู้ปกครองหรือผู้รู้ แล้วน�ามาเรียบเรียงข้อมูลในรูปแบบของแผ่นพับเผยแพร่ความรู้ให้แก่สมาชิกในชุมชน เพื่อให้เกิดความภูมิใจในชุมชน๓. ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาของชุมชน แล้วเขียนบันทึกความรู้ที่ได้รับและน�ามาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน๑. การจับใจความของเรื่องมีความส�าคัญต่อการเขียนบันทึกความรู้อย่างไร จงอธิบาย๒. การบันทึกแหล่งที่มาของข้อมูลมีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร๓. หากต้องการแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ควรเขียนบันทึกความรู้อย่างไรจงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๔. การฟังที่มีประสิทธิภาพเป็นการฟังในลักษณะใด จงอธิบายพอสังเขป๕. การจดบันทึกอย่างมีตรรกะ มีประโยชน์ต่อการบันทึกความรู้อย่างไร

ตอนที่ นวยการ รียนร ที่òสาระการ รียนร กนกลา • การเขียนจดหมายกิจธุระ• การเขียนเรียงความ• การเขียนย่อความการเขียนเรียงความ ยอความ ดหมายการเขียนเรียงความยอความ ดหมาย เปนกระ วนการที่ตองใชทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารทางความคิดที่มนุษยใชอย เสมอในชีวิตประ าวัน ทั้งการเขียนเรียงความ ยอความและ ดหมาย มีกระ วนการคิดและร ปแ ที่แตกตางดังนั้น เขียนตองศึกษาท าความเขาใ ใหถองแท ึง ะท าใหงานเขียนมีคุณภาพและสามารถสื่อสารไดตรงตามเ ตนาตัว ี วัด• การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และสาระส�าคัญชัดเจน ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๑ • เขียนเรียงความ ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๒ • เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและ เน ้อหาหลากหลาย ท ๒ ๑ ม ๔-๖

๑.การเ นเร งความเรียงความ คือ การเขียนขยายข้อความโดยการเรียงร้อยถ้อยค�าให้เป็นเรื่องราว โดยแสดงความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก จินตนาการ และความเข้าใจ ด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม ตรงความหมาย กะทัดรัด สละสลวย เป็นระบบที่น่าอ่าน ๑.๑ องค์ประกอบของเร งความองค์ประกอบของเรียงความ แบ่งเป็น ๓ ส่วน ดังนี้๑) ค าน าเป็นส่วนแรกที่เปดประเด็นให้ผู้อ่านทราบว่าจะเขียนเรื่องอะไร เป็นส่วนที่ชักน�าให้ผู้อ่านสนใจ ท�าให้เรื่องน่าอ่านยิ่งขึ้น ค�าน�าจึงต้องเขียนให้กระชับ เร้าใจ ใคร่รู้ วิธีเขียนค�าน�าสามารถท�าได้หลายวิธี เช่น● เริ่มต้นการยกค�าพูด ค�าคม หรือสุภาษิตที่น่าสนใจ สอดคล้องกับเนื้อหา●เริ่มด้วยค�าประพันธ์●เริ่มด้วยค�าถามการเขียนค�าน�านั้น ผู้เขียนพึงระวังอย่าเขียนอ้อมค้อม เขียนไม่ตรงกับเนื้อเรื่อง เขียนยาวเกินไป หรือเขียนออกตัวเป็นท�านองว่าผู้เขียนมีความรู้น้อย หรือไม่พร้อมที่จะเขียน จะท�าให้ค�าน�าไม่น่าสนใจ๒) เน อเร ่องเป็นส่วนส�าคัญและยาวที่สุดของเรียงความ ประกอบด้วยความรู้ ความคิด และข้อมูลที่ผู้เขียนค้นคว้า และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบระเบียบ โดยใช้ย่อหน้าช่วยล�าดับประเด็น ซึ่งควรขึ้นย่อหน้าใหม่เมื่อกล่าวถึงประเด็นใหม่ การเขียนเนื้อเรื่องเป็นการขยายความในประเด็นต่างๆ ตามโครงเรื่องที่วางไว้ล่วงหน้าแล้ว ในการเขียนอาจมีการยกตัวอย่างการอธิบาย การพรรณนา หรือยกโวหารต่างๆ มาประกอบด้วยการเขียนเนื้อเรื่อง ควรยึดแนวทาง ดังนี้๑. มีสารัตถภาพ ได้แก่ ความถูกต้อง แจ่มแจ้งสมบูรณ์ ผู้อ่านสามารถเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี๒. มีเอกภาพ ได้แก่ ใจความส�าคัญแต่ละย่อหน้า จะต้องมีเพียงใจความเดียว ไม่ออกนอกเรื่อง สับสน วกวน๓. มีสัมพันธภาพ ได้แก่ เนื้อหาในแต่ละย่อหน้าจะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ย่อหน้าต่อๆ มา จะต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับย่อหน้าที่แล้ว๓) สรุปเป็นส่วนสุดท้ายของการเขียนเรียงความ ผู้เขียนจะต้องเน้นความรู้ ความคิดหลักหรือประเด็นส�าคัญของเรื่องที่เขียนอีกครั้งให้ได้ใจความและสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง การสรุป

อาจสรุปด้วยค�าถาม ข้อคิด ค�าคม สุภาษิต บทร้อยกรอง อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยใช้ถ้อยค�าที่กระชับ คมคาย เพื่อให้ผู้อ่านประทับใจ น�าข้อคิดไปไตร่ตรองต่อไปได้ ๑.๒ การวาง ครงเรื่องเร งความการวางโครงเรื่อง เป็นการรวบรวมความรู้ ความคิด และจัดล�าดับความคิดให้เป็นระบบ ความรู้ ความคิดบางเรื่องอาจเป็นประสบการณ์เดิม ความรู้เดิมของผู้เขียน หรือเป็นความรู้ใหม่ที่ได้จากการสังเกต สอบถาม แลกเปลี่ยนความรู้ในกลุ่มเพื่อน หรือการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แนวทางการวางโครงเรื่องสามารถท�าได้ ดังนี้๑. ระดมความคิดว่ามีค�า กลุ่มค�า หรือข้อความใดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะเขียนบ้าง แล้วเขียนค�า กลุ่มค�า หรือข้อความนั้นไว้๒. ตั้งค�าถามที่สงสัย ใคร่หาค�าตอบ เขียนค�าถามเป็นข้อๆ แล้วพยายามหาค�าตอบสั้นๆ โดยอาจตอบเอง หรือค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ๓. จัดล�าดับค�าถาม-ค�าตอบนั้นๆ ว่าควรล�าดับก่อนหลังอย่างไร ควรจัดหัวข้อใดในส่วนค�าน�า เนื้อเรื่อง หรือสรุป โดยจัดให้ไม่ซ�้ากัน ไม่วกวนสับสน และตัดส่วนที่ไม่จ�าเป็นออกตัวอยา การวา โคร ร ่อ การ ียน รีย ความ ร ่อ ารประหย ด ๑ รวบรวมความรู้ ความคิด หาค�า ข้อความ สุภาษิต ค�าพังเพยที่เกี่ยวข้องกับการประหยัดดังตัวอย่าง ต่อไปนี้●ค�าที่เกี่ยวข้องกับชื่อเรื่อง เช่น เก็บ ออม ธนาคาร ประหยัด ตระหนี่ โลภ ุ่มเ ือย ุ งเ อ ร�่ารวย ยากจน เป็นต้น●ข้อความ ภาษิต ค�าประพันธ์ที่เสริมความคิด ความเข้าใจ เช่น “ประหยัดวันนี้ เป็นเศรษฐีในวันหน้า” “อย่าอายท�ากิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา” “เกียจคร้านเป็นแมลงวัน ขยันเป็นแมลงผึ้ง” เป็นต้น๒ ตั้งค�าถามเกี่ยวกับความประหยัด ดังตัวอย่างต่อไปนี้●การประหยัด หมายความว่าอย่างไร เหมือนกับค�าว่าตระหนี่หรือไม่●ท�าไมจึงต้องประหยัด●เราจะมีวิธีประหยัดได้อย่างไร●การประหยัดส่วนตัว การประหยัดในครอบครัว การประหยัดในโรงเรียนท�าได้อย่างไร●การประหยัดช่วยตนเองและช่วยชาติได้อย่างไร●ผลดีของการประหยัดเป็นอย่างไร●ตัวอย่างนิทานหรือบุคคลที่รู้จักประหยัดอดออม มีอะไรบ้าง●ค�าประพันธ์ ค�าสั่งสอนที่เกี่ยวกับการประหยัด มีอะไรบ้าง

สรรพ์สาระÅ ¡ Ð Ã Â ÇÒ ´ àÃÕ§¤ÇÒÁ·Õè´Õ¤ÇÃÁդسÅÑ¡ ³Ð ´Ñ§¹Õéñ. ÁÕàÍ¡ÀÒ¾ ¤×Í à¹×éÍËҷءʋǹÁÕ¤ÇÒÁà¡ÕèÂÇà¹×èͧ໚¹àÃ×èͧà´ÕÂǡѹ äÁ‹¡Å‹Òǹ͡àÃ×èͧ ¹Í¡»ÃÐà´ç¹ò. ÁÕÊÑÁ¾Ñ¹¸ÀÒ¾ ¤×Í à¹×éÍËҷءʋǹÁÕ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹ à¡ÕèÂÇà¹×èͧ¡Ñ¹µÒÁÅíҴѺ äÁ‹ÊѺʹó. ÁÕÊÒÃѵ¶ÀÒ¾ ¤×Í à¹×éÍËÒᵋÅÐʋǹÁÕ¤ÇÒÁÊÁºÙó ¶Ù¡µŒÍ§ ¤Ãº¶ŒÇ¹ จัดล�าดับค�าถามที่จะขยายความเป็นค�าตอบในเนื้อเรื่อง ดังนี้(๑) เขียนค�าน�า ด้วยค�าขวัญ สุภาษิต ชี้ให้เห็นความส�าคัญของการประหยัด (๒) ส่วนเนื้อหา มีประเด็นต่างๆ ดังนี้●การประหยัดหมายความว่าอะไร เหมือนกับค�าว่าตระหนี่หรือไม่●ความส�าคัญของการประหยัด●เราจะมีวิธีประหยัดได้อย่างไรบ้าง●ผลดีของการประหยัด●ตัวอย่างบุคคล นิทาน ที่เกี่ยวกับการประหยัด สรุปความส�าคัญ ความจ�าเป็นที่คนเราต้องรู้จักประหยัดอดออม เพื่อช่วยคน ช่วยชาติด้วยค�าประพันธ์ ค�าขวัญ ๑.๓ วิ การเข นเร งความการเขียนเรียงความที่ดีควรมีวิธีการ ดังนี้๑. เขียนเรียงความตามโครงเรื่องที่ก�าหนด โดยใช้ค�า ข้อความ สุภาษิต ที่ได้คิดไว้ในตอนต้นประกอบการเขียน ขยายข้อความจากโครงเรื่อง โดยใช้ส�านวนโวหารที่เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง มีหลักฐาน ข้อมูลประกอบ หรืออ้างอิงจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เพื่อสนับสนุนงานเขียนให้มีคุณค่าน่าสนใจในการแบ่งส่วนค�าน�า เนื้อเรื่อง สรุป ต้องย่อหน้าในแต่ละส่วน โดยไม่ต้องบอกว่าส่วนใด คือ ค�าน�า เนื้อเรื่อง หรือสรุป ผู้อ่านจะเข้าใจได้เอง ส�าหรับเนื้อหาหากมีหลายประเด็นแต่ละประเด็นต้องย่อหน้า ฉะนั้นในการเขียนเรียงความจะต้องมีอย่างน้อย ๓ ย่อหน้า คือ ค�าน�า เนื้อเรื่อง และสรุป โดยเฉพาะส่วนเนื้อเรื่องนั้นไม่จ�ากัดว่าจะต้องมีกี่ย่อหน้า แล้วแต่ว่าจะแตกประเด็นได้กี่ประเด็น๒. อ่านทบทวนข้อความที่เขียนว่าสอดคล้อง เป็นเรื่องเดียวกันตามประเด็นในโครงเรื่องที่ก�าหนดหรือไม่ เกี่ยวเนื่องกันตามล�าดับถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วนหรือไม่๓. ให้เพื่อนๆ หรือผู้รู้อ่าน แล้ววิพากษ์วิจารณ์ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม๔. ผู้เขียนอ่านทบทวน พิจารณาข้อเสนอแนะ ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม แล้วน�ามาเขียนเรียบเรียงใหม่อีกครั้ง เป็นเนื้อหาเรียงความที่ถูกต้องตามรูปแบบและมีคุณค่าน่าอ่าน 0

ตัวอยา รีย ความส าน กรักบ้านเก อ่างทองเป็นเมืองที่ราบลุ่มขนาดเล็กทางภาคกลางตอนล่างของประเทศไทย ซึ่งหล่อเลี้ยงด้วยแม่น�้าส�าคัญ ๒ สาย คือ แม่น�้าเจ้าพระยา และแม่น�้าน้อยที่ท�าให้ดินแดนแห่งนี้อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารหลากหลายชนิดตลอดทั้งปี วิถีชีวิตของชาวอ่างทองส่วนใหญ่ด�าเนินไปอย่างเรียบง่าย ธรรมดา และสมถะ ตามแบบอย่างของสังคมชนบท มีความผูกพันกับการท�าเกษตรกรรมและยึดมั่นในการจรรโลงพระพุทธศาสนา เป็นแหล่งก�าเนิดของวั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ก่อเกิดมาจากวิถีชีวิตของบรรพชนชาวอ่างทองในอดีตที่สืบทอดมาสู่ลูกหลานจนถึงปัจจุบัน แม้จะอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครเพียง ๑๐ กิโลเมตรเท่านั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา อ่างทองถือว่าเป็นเมืองหน้าด่านที่ส�าคัญมาก ซึ่งมีชื่อเดิมว่า “แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ” อันเป็นบ้านเกิดเมืองนอนของนายดอก นายทองแก้ว สองวีรบุรุษผู้หาญกล้า ยอมเสียสละพลีกาย เพื่อรักษาความเป็นเอกราชของชาติ ท่านทั้งสองได้เข้าร่วมกับชาวบ้านบางระจันเข้าต่อสู้กับพม่าอย่างเข้มแข็ง โดยมิได้เกรงกลัวต่อภยันตราย ลูกหลานชาวอ่างทองทุกคนต่างร�าลึกสดุดี และเชิดชูวีรชนไทยใจกล้าไว้ในใจตลอดมา ทั้งยังมีความภาคภูมิใจในสายโลหิตที่อยู่ภายในร่างกายของชาวอ่างทองทุกคน อ่างทองเป็นเมืองแห่งพระพุทธศาสนา มีวัดวาอารามตั้งเรียงอยู่ริมสอง ากฝั งแม่น�้า อันสะท้อนถึงวิถีชีวิตของคนในอดีตที่แม่น�้ามีความส�าคัญต่อการคมนาคม และการตั้งชุมชนของมนุษย์ เช่น ตลาดวิเศษชัยชาญ ชุมชนริมแม่น�้าน้อยที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากกว่าร้อยปี ความวิจิตรงดงามของแต่ละวัดที่มีทั้งด้านประติมากรรมและสถาปัตยกรรมด้วยฝีมือของช่างในอดีตที่ตกทอดสู่ปัจจุบัน อีกทั้งพระพุทธรูปล้วนมีพุทธศิลป อันงดงามที่สอดแทรกในความเก่าแก่และความศักดิ สิทธิ อาทิ พระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่ วัดขุนอินทประมูล พระพุทธไสยาสน์ วัดป่าโมกวรวิหาร พระมหาพุทธพิมพ์ วัดไชโยวรวิหาร นับว่าเป็นปัญญาของคนรุ่นเก่าที่สอดแทรกประวัติความเป็นมา และการเปลี่ยนแปลงของวั นธรรมแฝงฝากฝีมือทั้งด้านสถาปัตยกรรม วัตถุโบราณ วัด และภาพวาดที่ท�าให้ย้อนเวลาสู่อดีตผ่านดวงตา และความรู้สึกได้อย่างดี ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันนี้อ่างทองเป็นเพียงจังหวัดเล็กๆ มีเขตการปกครอง อ�าเภอ และมีประชากรเพียงแค่ ๒๐๐,๐๐๐ กว่าคน แต่ฝีมือและความสามารถของคนอ่างทองนั้นเป็นหนึ่งไม่เป็นรองใคร เริ่มต้นที่อ�าเภอโพธิ ทอง มีศูนย์ศิลปหัตถกรรมงานจักสานบ้านบางเจ้า ่า ซึ่งมีผลงานจักสาน ที่มีเอกลักษณ์เ พาะตัว ถูกประดิดประดอยขึ้นจากความคิด และสองมือบรรจงสร้างสรรค์ด้วย 1

ความตั้งใจจริง เกิดเป็นผลงานที่โดดเด่นสวยงาม มีความละเอียดลออ ทุกๆ ลายที่ถักทอมาสะท้อนให้เห็นถึงฝีมือของชาวบ้านได้ดีทีเดียว ต่อมาที่อ�าเภอป่าโมก มีหมู่บ้านที่ท�ากลองที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ต�าบลเอกราช กลองทุกใบจากที่นี่มีคุณภาพดีเยี่ยม ซึ่งท�ามาจากฝีมือของช่างชั้นครูที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เริ่มจากการขัดเกลาท่อนไม้ให้กลายเป็นกลอง ขึงหนังกลองด้วยความประณีต ด้วยความช�านาญเชิงช่างและการดนตรี ท�าให้กลองทุกใบมีเสียงที่ไพเราะน่า ัง ที่ต�าบลบางเสด็จมีการปั นตุ กตาชาววัง ภูมิปัญญาจากรั้ววัง ที่ปั นดินจากท้องทุ่งนาให้กลายเป็นตุ กตาที่มีชีวิตชีวา ด้วยความช�านาญ ละเอียด และอดทน ท�าให้ตุ กตาทุกตัวที่อยู่ในอิริยาบถของวั นธรรม ประเพณี และการละเล่นพื้นบ้าน เช่น มอญซ่อนผ้า ม้าก้านกล้วย ตีวงล้อ รีรีข้าวสาร ล สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงปัจจุบันสู่อดีต ด้วยเอกลักษณ์เ พาะตัวที่น�า “ทรัพย์ในดิน สินในน�้า” อันอุดมสมบูรณ์ในท้องถิ่นเมืองอ่างทอง มารังสรรค์เป็นผลงานทองหัตถศิลป ชิ้นเอกด้วยความมีฝีมือและความสามารถของคนในอดีต รวมทั้งเป็นสิ่งที่เชื่อมต่อคนเ ่าคนแก่กับคนรุ่นใหม่ เพื่อสืบสานสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาเหล่านี้บนวิถีแห่งความยั่งยืนสิ่งส�าคัญที่สุดอาชีพหลักของชาวอ่างทองที่เกิดมาจากภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เอื้ออ�านวยจึงท�าให้ “การท�านา” ของคนอ่างทองที่มีการปลูกข้าวเต็มท้องทุ่งนาไกลสุดลูกหูลูกตา ยามออกรวงก็จะเต็มไปด้วยต้นข้าวสีทองอร่าม นอกจากนี้ยังมีการปลูกสวนผัก ผลไม้ ตามแนวพระราชด�าริเศรษฐกิจพอเพียง และด้วยความที่อ่างทองเป็นแหล่งเกษตรกรรม ชาวบ้านต่างสามารถหาของรอบตัวมาใช้ทั้งการบริโภคและอุปโภค จึงท�าให้เป็นคนประหยัด มัธยัสถ์ และมีความพอเพียง อีกทั้งจังหวัดอ่างทองยังเป็น “อู่ข้าว อู่น�้า” ที่ส�าคัญของประเทศที่พรั่งพร้อมไปด้วยทุ่งนาเขียวในที่ราบลุ่มแห่งนี้ชาวอ่างทองทุกคนจึงควรมีความรัก ความหวงแหน และภาคภูมิใจในแผ่นดินถิ่นเกิดแห่งนี้ร่วมกันด�ารงและสืบทอดศิลปะทางภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่ได้คิดค้นขึ้นมา เพื่อ ื นวั นธรรม ื นประวัติศาสตร์ และ ื นจิตส�านึกรักท้องถิ่น มิเพิกเ ยปล่อยให้สิ่งต่างๆ เหล่านี้สูญหาย หรือตกไปอยู่ในมือของคนอื่น โดยเ พาะพลังส�านึกรักบ้านเกิดของลูกหลานเยาวชนคนรุ่นใหม่ มีทั้งทางก�าลังแรงกาย และก�าลังความคิดที่จะต้องร่วมมือร่วมใจกันพั นาถิ่นฐานบ้านเกิดแห่งนี้ให้มีความเจริญน่าอยู่ เป็นที่รู้จักด้วยสิ่งที่ตนเองได้ศึกษาเล่าเรียนมา หรือความช�านาญของตนมาท�าประโยชน์เพื่อทดแทนบุญคุณบ้านเกิดอันเป็นที่รักยิ่ง เป็นที่พึ่งพา และที่อาศัยของเราทุกคนแผ่นดินเกิดมีคุณแก่เรา และเราท�าให้แผ่นดินเกิดอันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร แหล่งน�้ากินน�้าใช้ และทรัพยากรต่างๆ มีความเจริญรุ่งเรือง น่าอยู่ ผู้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีวัดเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ท�าให้อ่างทองมีความสงบสุขตลอดมา อีกทั้งของเด่น ของดีที่ปรากฏในค�าขวัญท่องเที่ยว คลังวั นธรรมพื้นบ้านแห่งลุ่มน�้าเจ้าพระยา ท�าให้ชาว 2

อ่างทองทุกคนสามารถบอกชาวไทยและชาวโลกได้ว่า “เป็นคนอ่างทอง” ได้อย่างเต็มภาคภูมิด้วยผลงานและแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม ความเป็นลูกหลานคนกล้า และเมืองที่อุดมสมบูรณ์“ในน�้ามีปลาในนามีข้าว” แห่งนี้ ด้วยความส�านึกรักบ้านเกิดและภาคภูมิใจ จนท�าให้เมือง “สองพระนอน” คงอยู่สืบไปด้วยกระแสแห่งความรัก ความหวงแหนของคนรุ่นเก่า ที่ลูกหลานชาวอ่างทองทุกคนสัมผัสได้(เรียงความชนะเลิศอันดับที่ ๑ โครงการส�านึกรักบ้านเกิด ของบริษัทโทเทิล แอคเซส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) : นายวร ัตร น้ามังคละกุล)จากเรียงความเรื่อง ส�านึกรักบ้านเกิด รางวัลชนะเลิศโครงการส�านึกรักบ้านเกิดเป็นงานเขียนเรียงความที่ดี แสดงให้เห็นองค์ประกอบและโครงสร้างของการเขียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการเขียนเรียงความ ดังนี้๑ มีความสมบ รณ นอ ค ประกอบ ครบ วนทั สวน คือ๑ ๑ ค าน า เป็นส่วนแรกที่ผู้เขียนเรียงความเปดประเด็นให้ผู้อ่านทราบว่าจะเขียนเรื่องราวใดที่เกี่ยวกับส�านึกรักบ้านเกิด ซึ่งคือจังหวัดอ่างทอง โดยกล่าวถึงภาพรวมทั้งหมดของจังหวัดอ่างทอง ในด้านของสภาพภูมิศาสตร์ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรมประเพณีที่ส�าคัญๆ ด้วยภาษาที่เรียบง่าย กะทัดรัด ตรงไปตรงมา และสอดคล้องกับชื่อเรื่อง๑ ๒ น อ ร ่อ ผู้เขียนน�าเสนอเนื้อเรื่องแยกออกเป็นตอนตามที่ได้เขียนเสนอไว้ในค�าน�ามีการน�าเสนอเนื้อเรื่องอย่างเป็นล�าดับขั้นตอน โดยเริ่มจากประวัติความเป็นมาของจังหวัดอ่างทอง ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน ลักษณะเด่นทางด้านศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของชาวอ่างทองในอ�าเภอต่างๆ การประกอบอาชีพของชาวอ่างทอง และปดท้ายเนื้อเรื่องด้วยการปลุกจิตส�านึกของชาวอ่างทองให้ภูมิใจและส�านึกรักในบ้านเกิด จึงท�าให้เนื้อเรื่องมีความสัมพันธ์สอดคล้อง น่าอ่านน่าติดตามได้ตลอดทั้งเรื่อง๑ สร ป ผู้เขียนสามารถสรุปเรื่องได้ครอบคลุมและตรงประเด็น โดยใช้ถ้อยค�าส�าคัญๆ เช่น เป็นคนอ่างทอง ในน�้ามีปลาในนามีข้าว สองพระนอน มาช่วยสรุปเรื่องได้อย่างน่าสนใจ๒ มีลัก ณะ ป น อก า เนื้อหาของค�าน�า เนื้อเรื่อง และสรุปเกี่ยวเนื่องเป็นเรื่องเดียวกัน ท�าให้เนื้อหาทุกตอนที่น�าเสนอมีสัมพันธภาพเกี่ยวเนื่องกันตามล�าดับ ไม่สับสน และมีสารัตถภาพ คือ เนื้อหาในแต่ละส่วนมีความสมบูรณ์สอดคล้องกับชื่อเรื่อง 3

.การเ น ่อความย่อความ เป็นค�าที่ใช้กันโดยทั่วไปในวิชาภาษาไทยในความหมายของการลดให้สั้นเป็นการเรียบเรียงเสนอเฉพาะใจความส�าคัญของเรื่องอย่างย่อๆ เพื่อให้สามารถอ่านเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว มีสาระถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ตามเรื่องเดิมการเขียนย่อความอาจย่อจากข้อเขียนร้อยแก้ว ร้อยกรอง เรื่องที่ย่ออาจเป็นวิชาการสารคดี บันเทิงคดี จดหมาย แจ้งความ ประกาศ ค�าสั่ง แถลงการณ์ หรืออาจย่อความจากการฟังปาฐกถา ค�าปราศรัย โอวาท ค�าบรรยาย อภิปราย ก็ได้๒.๑ ครงสร้างของ ่อความโครงสร้างของย่อความขึ้นอยู่กับประเภทของเรื่องที่น�ามาย่อ โดยทั่วไปจะเริ่มต้นด้วยย่อหน้าแรกบอกแหล่งที่มาของเรื่อง เพื่อความสะดวกในการอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากต้นฉบับ และย่อหน้าต่อไปเป็นสาระของเรื่องที่ย่อความส�าหรับย่อหน้าแรกซึ่งบอกแหล่งที่มา ควรใช้รูปแบบของรายการทางบรรณานุกรมเพราะให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่มาได้สมบูรณ์ หรือในวิชาภาษาไทยมักให้รายละเอียด ดังนี้๑) ย่อความเรียงร้อยแก้ว รรม า เช่น นิยาย นิทาน ต�านาน ประวัติ ฯลฯ ให้บอกชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ที่มา ดังนี้ย่อเรื่อง .ของ .จาก ..ความว่า…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .๒) ย่อความเรียงที่ตั ตอนมาให้บอกชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ที่มา ดังนี้ย่อเรื่อง……………………………………ของ ..คัดมาจากเรื่อง .ความว่า…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ..๓) ย่อประกาศ แ ้งความ แ ลงการ ์ ระเบียบ ค าสั่ง ก าหน การ ล ให้บอกประเภท เรื่องอะไร ของใคร วันเดือนป ที่ออก ดังนี้ย่อแถลงการณ์เรื่อง………………………………………………ของ ..ลงวันที่ .ความว่า .. .. 4

๔) ย่อ หมายโต้ตอบ สาร หนังส อราชการ ให้บอกประเภท เป็นของใคร เลขที่เท่าไร ลงวันที่เท่าไร ถึงใคร เรื่องอะไร ดังนี้ย่อหนังสือราชการของ ..เลขที่ .ลงวันที่ .ถึง………………………………………………………………………………………เรื่อง………………………………………………………………………ความว่า…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… มาย ต ในการย่อจดหมายหลายฉบับติดต่อกันให้ใช้แบบขึ้นต้นจดหมายเฉพาะฉบับแรก ส่วนฉบับต่อๆ ไปให้ย่อต่อจากฉบับแรกโดยใช้ค�าพูดเชื่อมต่อกัน เช่น บอกว่าใครตอบ เมื่อไร ความว่าอย่างไร ) ย่อรายงาน ระราช ารัส โอวาท สุนทร น์ ปา ก า ให้บอกประเภท ของใคร มีแก่ใคร เรื่องอะไร เนื่องในโอกาสใด ที่ไหน เมื่อไร ดังนี้ย่อ ..ของ . แสดง ให้ พระราชทาน แก่ ..เรื่อง ..เนื่องใน…………………………………… ณ .วันที่ . ถ้าย่อจากหนังสือให้ลงชื่อหนังสือ ป ที่พิมพ์ และเลขหน้า ความว่า……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ถ้าเป็นการย่อรายงานที่มีค�าปราศรัยของผู้ตอบรับรายงานด้วย อาจย่อเป็นรูปแบบ ดังนี้ย่อรายงานของ ..ใน………………………………………………………………เรื่อง ..และค�าปราศรัยของ………………………………………………………………………ความว่า………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .. ผู้ตอบ กล่าวตอบว่า……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ) ย่อบทร้อยกรองให้บอกย่อเรื่องอะไร ใช้ค�าประพันธ์ประเภทใด ใครเป็นผู้แต่ง จากหนังสืออะไร หน้าใด ดังนี้ย่อเรื่อง…………………………………………………ประเภทค�าประพันธ์ ..ของ .จากหนังสือ ..หน้า ..ความว่า ..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5

ตัวอยา บทร อยกรอ นมัสการอา ร ยคุ อนึ่งข้าค�านับน้อม ต่อพระครูผู้การุญ โอบเอื้อและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ์ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ ทั้งบุญบาปทุกสิ่งอัน ชี้แจงและแบ่งปัน ขยายอัตถ์ให้ชัดเจนจิตมากด้วยเมตตา และกรุณา บ เอียงเอน เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ ให้ ลาดและแหลมคมขจัดเขลาบรรเทาโม หะจิตมืดที่งุนงม กังขา ณ อารมณ์ ก็สว่างกระจ่างใจคุณส่วนนี้ควรนับ ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร ควรนึกและตรึกใน จิตน้อมนิยมชม(นมัสการอาจาริยคุณ : พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร))ย่อความเรื่อง นมัสการอาจริยาคุณ ประเภทค�าประพันธ์ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร น้อย อาจารยางกูร จากหนังสือเรียนวรรณคดีวิจักษ์ หน้า ๑๕ ความว่า ร้อย รอง น ่าว ง าร ่คร อาจารย อน ิ ย ห้พ้นจา ความ ง่เ า ความไม่ร ้ ความม วเมา น ิ่ง ิด เพื่อจะได้เป็นคนด น งคม คร เป็น คค ่เป ยมไปด้วยความเม า ร า จ ง อน ิ ย ง ดย ารอ ิ าย ะ าร ่งป น หรือ าร ห้วิชาความร ้ ดยไม่หวง ด้วยเห น จ ง ือว่าพระค องคร น นยิ่ง ห ่ น าม ไม่ว่าจะเป็นมน ย วรรค หรือ าดา ควร ่ ิ ย จะ ร ้ค ๒.๒ ความส�าค ของการ ่อความการย่อความมีความส�าคัญและมีประโยชน์ ดังนี้๑. ช่วยประหยัดเวลาของผู้อ่าน เรื่องที่มีความยาวมากต้องใช้เวลาอ่านนาน การย่อความจะท�าให้ติดตามเรื่องได้รวดเร็ว โดยใช้เวลาไม่มากนัก๒. ช่วยให้เข้าใจเรื่องที่มีเนื้อหามาก เนื้อหายาก หรือมีความซับซ้อนได้ดีขึ้น เรื่องที่มีความซับซ้อนและยุ่งยาก อาจท�าให้ผู้อ่านเกิดความสับสนได้ การย่อความจึงช่วยให้ผู้อ่านเรียบเรียงเนื้อเรื่องได้ง่ายขึ้น และช่วยให้ท�าความเข้าใจเรื่องได้ดีขึ้น

๓. ช่วยให้เข้าใจสาระส�าคัญ การย่อความช่วยให้ผู้อ่านจับประเด็นส�าคัญของเรื่องได้สมบูรณ์ ครบถ้วน และถูกต้องได้ง่ายขึ้น๔. ช่วยให้ผู้ที่ไม่ได้อ่านจากต้นฉบับจริงได้รับประโยชน์จากการอ่าน การติดตามสาระความรู้ด้วยการอ่านเรื่องย่อโดยไม่ได้อ่านจากต้นฉบับจริง สามารถท�าให้ผู้อ่านรับรู้เรื่องราวได้อย่างคร่าวๆ แต่สามารถพิจารณาเนื้อหา และน�าประโยชน์ไปใช้ได้๒.๓ ห กการ ่อความการย่อความ ประกอบด้วยทักษะส�าคัญ ๒ ประการ คือ การอ่านและการเขียน๑) การอ่านเ ่อย่อความเป็นการอ่านแบบสรุปความ หรือการอ่านจับใจความส�าคัญของเรื่อง ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้๑. อ่านเรื่องที่จะเขียนย่อความทั้งหมดอย่างละเอียด เพื่อให้ทราบว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใคร ท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร๒. แยกอ่านและท�าความเข้าใจเรื่องแต่ละย่อหน้าอย่างละเอียด๓. จับความคิดหลัก หรือประโยคใจความส�าคัญในแต่ละย่อหน้า ความคิดหลักหมายถึง ความรู้ ความคิด ที่ผู้เขียนเสนอต่อผู้อ่าน ในแต่ละย่อหน้าจะต้องมีความคิดหลักที่ผู้อ่านสรุปได้เพียงอย่างเดียว ซึ่งมักแสดงด้วยประโยคใจความส�าคัญซึ่งอาจอยู่ต้นย่อหน้า กลางย่อหน้า หรือท้ายย่อหน้า ส่วนประกอบอื่นๆ ได้แก่ ประโยคขยายความหรือพลความ ซึ่งท�าหน้าที่ขยายใจความส�าคัญ หรือความคิดหลักในย่อหน้าเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น รายละเอียดข้อเปรียบเทียบ ตัวอย่าง ย่อหน้าบางแบบอาจมีความคิดหลักแต่ไม่มีประโยคใจความส�าคัญ มีแต่ประโยคขยายความเรียงต่อเนื่องกันไป๒) การเขียนเ ่อย่อความเป็นการเรียบเรียงสาระส�าคัญที่บันทึกไว้จากการอ่าน โดยมีหลัก ดังนี้๒ ๑ อความที่ยอ ๑. มีเฉพาะสาระส�าคัญ คือ ความคิดหลัก ส่วนที่เป็นพลความตัดออกทั้งหมด ๒. ในกรณีที่สาระส�าคัญซ�้ากันหลายๆ แห่ง เมื่อน�ามาเรียบเรียงให้กล่าวเพียงครั้งเดียว ๓. ครอบคลุมประเด็นส�าคัญของเรื่องได้ครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องตามเรื่องเดิม ๔. ข้อความที่เป็นค�าพูดอยู่ในเครื่องหมายอัญประกาศ ถ้าไม่ใช่ประเด็นส�าคัญให้ตัดออก ถ้าเป็นประเด็นส�าคัญให้สรุปสั้นๆ

๕. ข้อความที่ย่อเรียงล�าดับอย่างไรก็ได้ให้อ่านเข้าใจง่าย ไม่จ�าเป็นต้องเรียงล�าดับตามเรื่องเดิม๒ ๒ ส านวน า า ๑. ใช้ส�านวนภาษาของผู้ย่อ โดยเป็นการเรียบเรียงเนื้อความใหม่ ไม่ควรใช้ส�านวนภาษาของเรื่องเดิม และต้องไม่ตัดต่อประโยคใจความส�าคัญของต้นฉบับ ๒. เรียบเรียงเป็นเรื่องราวในรูปแบบร้อยแก้ว ถ้าจะกล่าวถึงบุคคลอื่น ให้ใช้ชื่อหรือใช้สรรพนามบุรุษที่ ๓ ห้ามใช้สรรพนามบุรุษที่ ๑ และ ๒ ในการย่อความ ๓. ใช้ส�านวนภาษาที่ดี มีความกะทัดรัด ชัดเจน สละสลวย น่าอ่าน และถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา เช่น การใช้ราชาศัพท์ ๔. ส�านวนภาษาหรือค�ายาก ค�ายาว ในเรื่องเดิมให้เปลี่ยนมาใช้ค�าธรรมดา ๕. ไม่จ�าเป็นต้องใช้อักษรย่อในข้อความที่ย่อ นอกจากชื่อเดิมจะยาวมากและอักษรย่อนั้นเป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย เช่น กทม. รสช. ร.ส.พ. ททท. ๖. ถ้าเรื่องเดิมเป็นร้อยกรองให้ย่อความเป็นร้อยแก้ว ๗. ใช้ส�านวนภาษาที่คงไว้ซึ่งลีลาหรือน�้าเสียงให้เหมือนเดิม เช่น ความรู้สึกสะเทือนใจ๒ ความยาว อ ยอความ ไม่มีก เกณฑ์แน่นอนว่า ย่อความควรมีสัดส่วนเหลือเท่าไรจากเรื่องเดิม หรือเรื่องขนาดใด ควรย่อให้สั้นเท่าใด ขึ้นอยู่กับความต้องการและการน�าไปใช้ประโยชน์ และที่ส�าคัญคือ สาระส�าคัญและพลความในเรื่องเดิมหากเรื่องใดมีสาระส�าคัญมาก พลความน้อย ย่อความก็จะไม่สั้น คือ ประมาณ ๑ ใน๒ ของเรื่องเดิม เพราะถ้าย่อสั้นมากไป จะไม่ได้ใจความครบถ้วนตามเรื่องเดิมการย่อความเป็นทักษะอย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยการฝึกฝน ผู้ที่มีความสามารถในการเขียนเป็นอย่างดีมักเป็นผู้ที่มีทักษะในการอ่านที่ดีด้วย ทั้งนี้เพราะคนที่อ่านได้เข้าใจถูกต้องสามารถจับใจความส�าคัญได้จะเป็นคนที่มีความคิดกระจ่าง และสามารถเขียนสื่อสารความคิดของตนได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ความสามารถในการอ่านจึงควบคู่ไปกับความสามารถในการเขียน การอ่านเพื่อให้มีทักษะในการจับใจความแล้วน�ามาเขียนย่อความได้อย่างชัดเจน จึงต้องอาศัยการฝึกฝนโดยปฏิบัติตามหลักการย่อความข้างต้น ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่านและเขียนย่อความมากขึ้น

.การเ น ดหมา ปัจจุบันโลกมีการพัฒนาทางการสื่อสารโทรคมนาคมได้สะดวกและรวดเร็ว สามารถพูดคุย หรือส่งข้อมูลโต้ตอบกันได้ในทันที แต่การสื่อสารผ่านจดหมายก็ยังคงมีความส�าคัญต่อการสื่อสารในชีวิตประจ�าวัน จดหมายที่ใช้สื่อสารกันอยู่ทุกวันนี้แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้๑) หมายส่วนตัวเป็นจดหมายที่เขียนติดต่อระหว่างบุคคลที่คุ้นเคยกัน ญาติสนิทครู อาจารย์ เพื่อไต่ถามทุกข์สุขส่วนตัว เล่าเรื่องราวที่พบเห็นมา แสดงความเสียใจ แสดงความยินดี ขอบคุณ หรือแจ้งกิจธุระบางอย่างที่มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ๒) หมาย ุรก เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกันระหว่างบริษัท ห้างร้าน และองค์กรต่างๆ เพื่อติดต่อกันในเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจ พาณิชยกรรม และการเงิน๓) หมายก ุระเป็นจดหมายที่บุคคลเขียนติดต่อกับบุคคลอื่น หรือระหว่างบุคคลกับบริษัท ห้างร้าน องค์กร เพื่อแจ้งธุระต่างๆ เช่น นัดหมาย ขอสมัครงาน ขอทราบผลการสอบบรรจุพนักงาน ขอความช่วยเหลือ และขอค�าแนะน�าเพื่อประโยชน์ในด้านการงานต่างๆ๔) หมายราชการหรือที่เรียกว่าหนังสือราชการ เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกันระหว่างส่วนราชการต่างๆ หรือบุคคลเขียนไปถึงส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีไปถึงส่วนราชการด้วยกันเอง หรือมีไปถึงตัวบุคคล การเขียนจดหมายราชการต้องค�านึงถึงแบบของหนังสือราชการตามระเบียบงานสารบรรณด้วย ข้อความในหนังสือดังกล่าวถือเป็นหลักฐานทางราชการ มีสภาพผูกมัดถาวร ดังนั้น จึงควรเขียนให้กระจ่างและชัดเจน

ตัวอยา ด มายรา การจดหมายแต่ละประเภทมีรูปแบบและการใช้ภาษาที่แตกต่างกัน ในระดับชั้นนี้ควรฝึกเขียนจดหมายกิจธุระ ซึ่งเป็นจดหมายที่สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ถนนหน้าพระลาน กรุงเทพ ๑๐๒๐๐๑ ตุลาคม ๒ เรื่อง ขอความอนุเคราะห์บุคลากรเป็นวิทยากรเรียน ผู้อ�านวยการส�านักศิลปากรที่ ๑ ภูเก็ต ด้วยคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรร่วมกับกรมศิลปากร จัดโครงการเสวนาสรรสาระวั นธรรม (ปีที่ ) ทุกวันเสาร์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ๒ กันยายน ๒ โดยในเดือนตุลาคม ๒ นี้ ทางคณะ จัดบรรยายในวันเสาร์ที่ ๐ ตุลาคม ๒ ในหัวข้อ “ย้อนเส้นทางสายไหมทางทะเล : ทุ่งตึกเมืองท่าการค้านานาชาติ” เวลา ๑ ๐๐ ๑ ๐๐ น ณ ห้องประชุมด�ารงราชานุภาพ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ในการนี้คณะโบราณคดี ใคร่ขอความอนุเคราะห์ให้ ร้อยเอกบุณยฤทธิ ายสุวรรณ เป็นวิทยากรในการบรรยายเรื่อง “ย้อนเส้นทางสายไหมทางทะเล : ทุ่งตึกเมืองท่าการค้านานาชาติ” ในวันเสาร์ที่ ๐ ตุลาคม ๒ เวลา ๑ ๐๐ ๑ ๐๐ น ณ ห้องประชุมด�ารงราชานุภาพ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาด้วย จักขอบพระคุณยิ่งขอแสดงความนับถือ(รองศาสตราจารย์ชนัญ วงษ์วิภาค)รองคณบดีฝ่ายกิจกรรมพิเศษปฏิบัติราชการแทนคณบดีคณะโบราณคดีส�านักงานเลขานุการคณะโบราณคดีโทรศัพท์ ๐ ๒๒๒ โทรสาร ๐ ๒๒๒ 0

๓.๑ การเข น ดหมา กิ ระจดหมายกิจธุระเป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกับบุคคล หรือองค์กรต่างๆ เช่น ห้างร้าน บริษัทสมาคม ฯลฯ เพื่อติดต่อกิจธุระต่างๆ แม้แต่นักเรียนก็ต้องเขียนจดหมายกิจธุระอยู่เสมอๆ เช่น เขียนจดหมายขอลาหยุดเรียนเมื่อเจ็บป วย มีกิจธุระจ�าเป็น หรือเชิญวิทยากรมาบรรยาย ขอเข้าชมกิจการของสถานประกอบการต่างๆ เป็นต้นการเขียนจดหมายกิจธุระต้องใช้ภาษากะทัดรัดและตรงประเด็น เพื่อสื่อสารให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกัน โดยมีรูปแบบการเขียนเช่นเดียวกับหนังสือราชการ ดังตัวอย่างตัวอยา บบการ ียน ด มายกิ ระโรงเรียนปลูกปัญญา๑ ๒ ถ ตะนาว พระนคร กรุงเทพ ๑๐๒๐๐๑๐ มีนาคม ๒ ๒เรื่องเรียนสิ่งที่ส่งมาด้วยขอแสดงความนับถือ(นายปัญญวีร์ โรจนหิรัญพงศ์)ผู้อ�านวยการโรงเรียนปลูกปัญญา 1

แบบของ หมายก ุระส่วนที่ ๑ ประกอบด้วย หน่วยงานเจ้าของจดหมาย วัน เดือน ปี จุดมุ่งหมายของการเขียนจดหมายกิจธุระ บับนั้น ซึ่งใช้ค�าว่า เ ื่อ ค�าขึ้นต้นใช้ค�าว่า เ ี น ตามด้วยชื่อต�าแหน่งหรือชื่อบุคคลที่จดหมาย บับนั้นส่งไปถึง ถ้ามีรายละเอียดหรือข้อมูลต่างๆ ส่งไปด้วย ก็ใช้ค�าว่า ่ ที่ า ส่วนที่ ๒ เป็นใจความของจดหมายกิจธุระ บับนั้น ซึ่งอาจมีหลายย่อหน้าก็ได้ส่วนที่ ๓ ประกอบด้วย ค�าลงท้าย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ค�าว่า อ า นับ ือ มีลายเซ็นพร้อมวงเล็บชื่อ สกุลเต็ม และต�าแหน่งของผู้เขียนจดหมายตัวอยา ด มายกิ ระ ด มาย ิญวิทยากรโรงเรียนไทยศึกษา ถนนวิภาวดีรังสิต รังสิต บางเขน กรุงเทพ ๑๐๒๐๐๒ พฤศจิกายน ๒ ๒เรื่อง ขอเชิญวิทยากรเรียน คุณนิติรัฐ เอี่ยมระหง เนื่องด้วยทางโรงเรียนไทยศึกษาจะจัดงานวันสิ่งแวดล้อมไทยขึ้น ในวันศุกร์ที่ ธันวาคม ๒ ๒ โดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียนตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมและรณรงค์ให้นักเรียนร่วมใจรักษาสิ่งแวดล้อม ทางโรงเรียนตระหนักดีว่าท่านเป็นผู้ทรงคุณวุ ิ มีความรอบรู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อม จึงขอเรียนเชิญท่านเป็นวิทยากรบรรยายเรื่อง “รักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อวันพรุ่งนี้”ในวันศุกร์ที่ ธันวาคม ๒ ๒ เวลา ๑ ๐๐ ๑ ๐๐ น ณ หอประชุมโรงเรียนไทยศึกษา จึงเรียนมาเพื่อโปรดอนุเคราะห์เป็นวิทยากร ตามวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วยขอแสดงความนับถือสมศักดิ ภักดี(นายสมศักดิ ภักดี)ผู้อ�านวยการโรงเรียนไทยศึกษา 2

ตัวอยา ด มายกิ ระ ด มายสมัคร าน ถนนอู่ทองใน เขตดุสิต แขวงบางซื่อ กรุงเทพ ๑๐ ๐๐ ๐ สิงหาคม ๒ ๒เรื่อง สมัครงานในต�าแหน่งเลขานุการเรียน ผู้จัดการฝ่ายบุคคลบริษัทศรีสุข จ�ากัดสิ่งที่ส่งมาด้วย ดิ ันได้ทราบข่าวจากประกาศของกรมแรงงาน เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒ ๒ ว่าบริษัท ศรีสุข จ�ากัด ต้องการรับพนักงานในต�าแหน่งเลขานุการ ๒ ต�าแหน่ง ดิ ันขอสมัครรับใช้ท่านในต�าแหน่งดังกล่าว จึงขอเสนอให้ท่านพิจารณาความเหมาะสม รายละเอียดต่อไปนี้ ดิ ันชื่อ นางสาวลดาวัลย์ คงมั่น อายุ ๒ ปี สัญชาติไทย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา๒ ๐ ตลอดระยะเวลา ปี ที่ดิ ันศึกษาอยู่ในสถาบันนี้ ดิ ันฝ กฝนการใช้ภาษาต่างประเทศและทักษะการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมต่างๆ เป็นอย่างดี ดิ ันสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้คล่องแคล่ว และสามารถพิมพ์ดีดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้นาทีละ ๐ ค�า ระหว่างการศึกษาดิ ันเคยฝ กงานด้านเลขานุการที่บริษัทโชคอนันต์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นเวลา เดือน เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดิ ันได้ท�างานที่บริษัท ไทยพั นา จ�ากัด ในต�าแหน่งผู้ช่วยเลขานุการกรรมการผู้จัดการเป็นเวลา ๑ ปี สาเหตุที่ลาออกเพราะดิ ันต้องการประสบการณ์ในการท�างานที่มากขึ้น เพื่อเป็นการรับรองความรู้และความประพฤติในการท�างาน ท่านอาจสอบถามได้ที่ ๑ ผศ ดร อุไรพร แก้วเจริญ อาจารย์ประจ�าคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โทร ๐ ๒๑๒ ๒ นายชนะ สุขสการ หัวหน้าทรัพยากรบุคคล บริษัทโชคอนันต์ จ�ากัด (มหาชน)โทร ๐ ๒ ๒ ๑ นางวรรณมาลี สุภากร เลขานุการกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยพั นา จ�ากัดโทร ๐ ๒ ๑๑ ขอให้ดิ ันได้มีโอกาสได้พบท่าน เพื่อเรียนท่านด้วยตนเองว่า ดิ ันจะรับใช้ท่านได้อย่างไรบ้าง ท่านสามารถติดต่อดิ ันได้ตามที่อยู่ข้างต้น หรือโทร ๐ ๒ ๐๐๐ขอแสดงความนับถือ(นางสาวลดาวัลย์ คงมั่น) 3

ตัวอยา บประวัติยอนางสาวลดาวัลย์ คงมั่น๑ ที่อยู่ปัจจุบัน ถนนอู่ทองใน เขตดุสิตแขวงบางซื่อ กทม ๑๐ ๐๐๒ ประวัติส่วนตัว ๒ ๑ อายุ ปีเกิด ๒ ปี ๒ มีนาคม ๒ ๒ ๒ ๒ ศาสนา พุทธ ๒ น�้าหนัก ส่วนสูง กก ส่วนสูง ๑ ซม ๒ สัญชาติ เชื้อชาติ ไทย ไทย ๒ สถานภาพการสมรส โสด ๒ สุขภาพ แข็งแรง การศึกษา ๑ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรีกรุงเทพ ๒ ปริญญาตรี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ ศ ๒ ๐ ประสบการณ์ ฝ กงานด้านเลขานุการที่บริษัท โชคอนันต์ จ�ากัด (มหาชน) เดือน ระหว่างวันที่ ๑ มิถุนายน ๑ สิงหาคม ๒ ๑ กิจกรรมนอกหลักสูตร เลขานุการสโมสรนักศึกษาคณะอักษรศาสตร์ ประชาสัมพันธ์ชมรมศิลปะการแสดง ประธานชมรมศิลปะการพูด ผลงาน ประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจกรรมชมรมศิลปะการแสดงจนเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป คุณสมบัติพิเศษ พิมพ์ดีดภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้นาทีละ ๐ ค�า มีความเป็นผู้น�า สามารถพูดและเขียนภาษาอังกฤษ จีน และญี่ปุ่นได้เป็นอย่างดี 4

▼๓.๒ ข้อควรค�านึงในการเข น ดหมา ๑. เขียนข้อความในจดหมายให้ชัดเจน จะช่วยให้เกิดประโยชน์ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารตามที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้๒. ใช้รูปแบบของจดหมายให้ถูกต้องซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้รู้จักกาลเทศะ และส่งผลให้การส่งจดหมายฉบับนั้นสัม ทธิผล๓. แสดงมารยาทที่เหมาะสมกับบุคคลที่ติดต่อด้วย ทั้งการเลือกใช้ถ้อยค�าภาษา ความสะอาด กระดาษเขียนจดหมายและความเป็นระเบียบของลายมือ หรือการจัดหน้ากระดาษ๔. การบรรจุซองจะต้องเรียบร้อยจ่าหน้าซองให้ชัดเจน โดยเขียนระบุชื่อผู้รับ ที่อยู่ และรหัสไปรษณีย์ให้ชัดเจน จ งกล่าวได้ว่าในการเขียนงานเขียนแต่ละประเภท เป็นการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิดให้ผู้อื่นทราบโดยใช้ภาษาเป็นสื่อ ผู้ที่มีความรู้ดีจะสามารถจัดระเบียบความคิดดี และรู้จักเลือกใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความคิดนั นได้อย่างเหมาะสม มีศิลปะในการใช้ภาษา จะท�าให้งานเขียนนั นมีคุณค่า น่าอ่าน และน่าสนใจ โดยเ พาะการเขียนเรียงความ ่งเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด จะต้องวางโครงเรื่องให้ดี และเขียนด้วยภาษาที่ถูกต้อง ส่วนการย่อความต้องจับใจความส�าคั ของเรื่องราวต่าง ให้กระชับ แต่ได้ใจความครบถ้วนถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะส�าหรับผู้ที่มีเวลาน้อย แต่ต้องการทราบเรื่องราวทั งหมด ผู้ที่ย่อความเป็นมักจะต้องเป็นนักอ่าน คนที่อ่านได้อย่างรวดเร็วและจับใจความส�าคั ได้ดีจะสามารถย่อความได้ดีด้วย ในขณะเดียวกันการเขียนจดหมาย ผู้ที่สามารถเขียนจดหมายได้ดีต้องรู้หลักการเขียน มีมารยาทในการเขียน ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้ผู้อื่นรับรู้เรื่องราวที่ต้องการสื่อสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ▼ การสงจดหมายใหสัม ทธิ ล ูจัดสงตองเขียนหรือพิมพที่อยูของ ูรับใหถูกตองชัดเจน 5

ะดวงตราไปรษณียากร´Ç§µÃÒä»Ã ³ÕÂÒ¡Ã ËÃ×ÍáʵÁ» ໚¹ËÅÑ¡ Ò¹¡ÒêíÒÃФ‹ÒºÃÔ¡ÒÃä»Ã ³Õ Áѡ໚¹¡ÃÐ´Ò ÃÙ»ÊÕèàËÅÕèÂÁà¾×è͵Դº¹«Í§¨´ËÁÒ ᵋáʵÁ» ·ÕèÁÕÃٻËҧËÃ×Í·íÒ¨Ò¡ÇÑÊ´ØÍ×蹡çÁÕÍÂÙ‹ºŒÒ§áʵÁ» ÁÑ¡¾ÔÁ¾Í͡໚¹á¼‹¹ »ÃСͺ´ŒÇÂáʵÁ» ËÅÒ´ǧ »¡µÔÍÂÙ‹ÃÐËÇ‹Ò§ ¶Ö§ ´Ç§ ÁÕ¡ÒûÃØÃÙÃͺ´Ç§áʵÁ» ¹áʵÁ» ´ŒÒ¹ËÅѧáʵÁ» ÁÕ¡ÒÇà¤Å×ͺÍÂÙ‹ ¡ÃÐ´Ò ·Õè㪌¾ÔÁ¾ÁÑ¡á·Ã¡ÊÔ觾Ôà äÇŒà¾×èÍ» ͧ¡Ñ¹¡ÒûÅÍÁá»Å§ ઋ¹ ÅÒ¹éíÒËÃ×Í´ŒÒÂÊÕáʵÁ» ªØ´áá¢Í§ä·Â ¤×Í ªØ´âÊ Í͡㪌໚¹¤ÃÑé§àÁ×èÍÇѹ·Õè ÊÔ§ËÒ¤Á ¾ »ÃСͺ´ŒÇÂáʵÁ» ÃÒ¤Ò˹Öè§âÊ ¤ÃÖè§ÍÑ Ë¹Öè§ÍÑ Ë¹Öè§àÊÕéÂÇ ÊͧÍÑ Ë¹Ö觫ա ÊÕèÍÑ áÅÐ˹Öè§ÊÅÖ§ ÊԺˡÍÑ ¹Í¡¨Ò¡¹Õéã¹ÊÁѹÑé¹ÂѧÁÕáʵÁ» ÍÕ¡´Ç§ÃÒ¤Ò˹Öè§à ͧ á»´ÍÑ áµ‹à¹×èͧ¨Ò¡Ê‹§ÁÒ¶Ö§ä·ÂÅ‹ÒªŒÒ¨Ö§äÁ‹ÁÕ¡ÒÃ㪌§Ò¹¨ÃÔ§ áʵÁ» ªØ´¹ÕéÍ͡ẺáÅоÔÁ¾·Õè¡ÃاÅ͹´Í¹ ÊËÃÒªÍҳҨѡà 㹪‹Ç§¹Ñé¹ä·ÂÂѧäÁ‹ä´Œà¢ŒÒËÇÁ໚¹ÊÁÒªÔ¡ÊËÀÒ¾ÊÒ¡Åä»Ã ³Õ ¨Ö§äÁ‹ÁÕª×èÍ»ÃÐà· »ÃÒ¡ ʋǹáʵÁ» ·ÕèÊÑ觾ÔÁ¾ªØ´µ‹Íæ ÁÒ໚¹ä»µÒÁ¡ ¢Í§ÊËÀÒ¾ÊÒ¡Åä»Ã ³Õ ¡Å‹ÒǤ×Í ÁÕª×èÍ»ÃÐà· áÅÐÃÒ¤Òã¹ÀÒ ÒÍѧ¡ áÅÐÁÕ¤íÒÇ‹Ò «Öè§ËÁÒ¶֧໚¹¡ÒêíÒÃФ‹Òä»Ã ³Õ

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน แล้วเขียนสรุปความรู้เพื่อเขียนเรียงความเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คนละ ๑ เรื่อง๒. จัดกิจกรรมประกวดเรียงความเชิงสร้างสรรค์ในหัวข้อเรื่องที่ก�าลังเป็นที่สนใจของสังคม เช่น - ถุงผ้าช่วยลดโลกร้อน - พลังงานทดแทน - ละครเกาหลีกับสังคมไทย - ความสุขกับชีวิตที่พอเพียง๓. ให้นักเรียนเลือกฟัง ดู หรืออ่านเรื่องที่นักเรียนสนใจจากสื่อต่างๆ แล้วเล่าเรื่องให้เพื่อนๆ ในชั้นเรียนฟัง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความส�าคัญของจดหมายในชีวิตประจ�าวัน๕. ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นมาและวิวัฒนาการของจดหมายจากอดีตถึงปัจจุบัน แล้วจัดท�าเป็นรายงานส่งครู๑. การวางโครงเรื่องก่อนการเขียนเรียงความมีความส�าคัญอย่างไร๒. การเลือกหัวข้อเรื่องในการเขียนเรียงความ มีความจ�าเป็นหรือไม่ อย่างไร๓. การย่อความจากสื่อต่างๆ มีประโยชน์ต่อการสื่อสารอย่างไร๔. การย่อความจากบทร้อยกรองมีวิธีการอย่างไร จงอธิบาย๕. ในยุคที่การสื่อสารมีความเจริญก้าวหน้าเช่นปัจจุบัน การเขียนจดหมายกิจธุระมีความส�าคัญอย่างไรต่อชีวิตประจ�าวัน

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ óสาระการ รียนร กนกลา • การเขียนสื่อสารด้วยการเขียนอธิบายการเขียนอธิ ายการเขียนอธิ ายเปนการเขียนที่มุงให อานเขาใ เรื่องราวอยางใดอยางหนึ่งไดโดยถ กตองชัดเ น การเขียนอธิ ายเปนการเขียนเชิงป ิ ัติที่ เขียน ะตองมีความร  ความเขาใ เกี่ยวกั เรื่องที่เขียน ุดมุงหมาย ประเภท และวิธีการเขียนอธิ าย ึง ะชวยใหการเขียนอธิ ายสัม ทธิ ลตรงตาม ุดประสงคที่ก าหนดไวตัว ี วัด• เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระส�าคัญชัดเจน ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๑

๑. ดม ่งหมา องการเ นอ ิ า การเขียนอธิบายมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างถูกต้องชัดเจน เช่น อธิบายวิธีการท�าขนมครก อธิบายวิธีใช้เครื่องซักผ้า อธิบายหลักการใช้ภาษาไทย อธิบายวิธีนั่งกรรมฐาน อธิบายศัพท์เทคนิค อธิบายสุภาษิตและค�าพังเพย เป็นต้นในด้านความรู้และความคิด การอธิบายมีความจ�าเป็นมาก ครูที่สอนนักเรียนอยู่ทุกวันก็ต้องมีการอธิบายเนื้อหาของวิชาให้นักเรียนเข้าใจ การเขียนต�าราทุกสาขาวิชาก็คือการเขียนอธิบายเนื้อหาวิชาของสาขานั้นๆ ค�าแนะน�าต่างๆ เช่น ค�าแนะน�าการปองกันโรคติดต่อ ค�าแนะน�าการปลูกพืชเศรษฐกิจ ค�าแนะน�าการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา เป็นต้นการเขียนอธิบายจึงมีความส�าคัญมากต่อการสื่อสาร เนื่องจากการชี้แจงเรื่องต่างๆหากไม่สามารถถ่ายทอดไปยังบุคคลอื่นๆ ได้อย่างถูกต้องชัดเจน การสื่อสารย่อมไม่ประสบความส�าเร็จได้ในปัจจุบันมีการเขียนอธิบายเกิดขึ้นมากมาย เช่น หนังสือคู่มือต่างๆ ที่เขียนอธิบายการใช้หนังสือหรือต�ารา เป ื อง นคร ่าว ง ารเ ยนอ ิ ายว่า หมาย ง าร อ เ ่าเรื่องราวจา ความร ้ ่ได้จา าร งเ พิจาร า หรือความร ้ ่ได้มาจา าร า ื ค้นหรือความคิดอ่านอย่างหน ่งอย่าง ดอ นเ ิด น จ ดยม ะ าค คือ ความ จ่ม จ้งช ดเจน ความน่าอ่าน ะ ารเ ยนอ ิ ายจะ ่อารม อง ้เ ยน งไปด้วยไม่ได้ ้องเ ยนอย่างม อ เ า เพราะความม ่งหมาย อง ารเ ยนน คือ าร ห้ความร ้การเขียนอธิบายจึงเป็นการเขียนเชิงปฏิบัติที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อขยายความ ตีความ หรือแสดงเนื้อหาความรู้ให้กระจ่าง รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง และการให้เหตุผลต่างๆ▼ การเขียนอธิบายขาวที่ปราก ในหนังสือพิมพ ูอานตองใชวิจารณ าณในการอานและวิเคราะหขอเท จจริง

. ร เ องการเ นอ ิ า การเขียนอธิบายอาจจ�าแนกประเภทได้ ๔ ประเภท ดังนี้๑) การเขียนอ บายประเภทค า ากั ความ ได้แก่ การเขียนอธิบายความหมายของค�าข้อความ ส�านวน สุภาษิต ค�าพังเพย หัวข้อทางวิชาการต่างๆ ตลอดจนหัวข้อประชุม หัวข้ออภิปราย ญัตติในการโต้วาที เป็นต้น การให้ค�าจ�ากัดความแต่ละเรื่องจะต้องกระชับ ชัดเจน และเข้าใจง่าย เช่นกาน า(แบบ) น หญิงที่รักกานต์(แบบ) ว เป็นที่รัก, โดยมากใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ค�าว่าจันทรกานต์ เป็นที่รักของพระจันทร์ ได้แก่ แก้วผลึกที่ถูกแสงจันทร์แล้วมีเหงื่อ, คู่กับ สูรยกานต์ เป็นที่รักของพระอาทิตย์ ได้แก่ แก้วที่รวมแสงอาทิตย์ให้เกิดไ ได้ (ส )กานท์(โบ) น บทกลอน เช่น สารสยามภาคพร้อง กลกานท์ นี้ฤ (ยวนพ่าย) กานน ๑ ( นน) (แบบ) น ป่า, ดง, เช่น อันว่าท้องเขาวงกฏกานน (ม ค�าหลวง วนปเวสน์) (ป ส )กานน ๒ ( นน) น ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ( ) ในวงศ์ มีทางปักษ์ใต้ เนื้อไม้แข็งแรงทนทาน, ทางปักษ์ใต้มักเรียกสั้นๆ ว่า นน ทางภาคกลางเรียก สมอกานน กาน ลู( พลู) น ดอกตูมรวมทั้งก้านดอกของต้นกานพลู ซึ่งเป็นพรรณไม้ขนาดย่อมชนิดหนึ่ง ( ) ในวงศ์ มีรสเผ็ดร้อน นับเข้าในเครื่องเทศ (ทมิ กิรามบู) ๒) การเขียนอ บายประเภทเช งอรร เป็นค�าอธิบายหรือข้ออ้างอิงที่เขียนหรือพิมพ์ไว้ที่ส่วนล่างของหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง อาจจะเป็นการขยายความ ให้ความหมาย บอกที่มาของเรื่อง หรือค�าที่ปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่อง แต่ส่วนที่เป็นเชิงอรรถจะไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่อง หรือไม่สมควรที่จะมาปะปนอยู่ในเนื้อเรื่อง เพราะจะท�าให้เสียรสหรือเสียความไป การเขียนเชิงอรรถเป็นการเขียนอธิบายอย่างหนึ่งซึ่งต้องกระชับ ชัดเจน และเข้าใจง่าย ประสิทธิ กาพย์กลอน เขียนเชิงอรรถอธิบายขยายความ โดยใช้เครื่องหมายดอกจัน และเชิงอรรถอ้างอิงแหล่งที่ค้นคว้าโดยใส่ตัวเลขก�ากับ ดังนี้ 0

ตัวอยา การอ า อิ ิ อรร นิทานเรื่องอิหร่านราชธรรม เป็นวรรณคดีที่มีมาตั้งแต่อยุธยา เป็นเรื่องที่ให้แง่คิดแก่คนในสังคมไม่ว่าจะเป็นชนชั้นปกครอง หรือผู้ที่อยู่ใต้ปกครองว่าทุกคนล้วนมีบทบาทที่ส�าคัญ มีส่วนช่วยในการพั นาสังคม หากมีความส�านึกในบทบาทหน้าที่ของตน และปฏิบัติตนให้ดีที่สุด ย่อมน�ามาซึ่งความสงบสุขในสังคม อีกทั้งได้สอดแทรกคติธรรมที่ดีด้วยนิทานเรื่องนี้เดิมทีเรียกว่า “นิทานสิบสองเหลี่ยม” ต่อมาเมื่อราชบัณฑิตสภาได้จัด*พิมพ์หนังสือนิทานชุดนี้จึงมีการเรียกชื่อใหม่ว่า “นิทานอิหร่านราชธรรม” โดยสมเด็จ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ ได้ปรารภว่า “เรื่องสิบสองเหลี่ยม เห็นว่าไม่ชวนอ่านเหมือนเป็น นามป ดค่าของหนังสือ นิทานเหล่านี้สิเป็นของพวกแขกอิหร่านและว่าด้วยราชธรรม จึงให้ชื่อเสียใหม่ว่า นิทานอิหร่านราชธรรม”๑นิทานอิหร่านราชธรรมมีที่มาตามที่สมเด็จ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า คงเป็นเรื่องที่ชาวเปอร์เซียน�าเข้ามาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเมื่อครั้งพระเจ้าแผ่นดินเปอร์เซียโปรดให้แต่งราชทูตเข้ามาเกลี้ยกล่อมให้พระองค์เข้ารีตศาสนาอิสลาม โดย บับแรกเป็นของขุนกัลยาบดี ขุนนางแขกเปอร์เซียที่เข้ามารับราชการในอยุธยา ท่านได้รวบรวมและเรียบเรียงนิทานดังกล่าวถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อ พ ศ ๒๒ ๒*กุสุมา รักษมณี กล่าวว่า นิทานเรื่องนี้ได้กล่าวถึงพระมณฑปที่ประดิษฐานพระศพพระเจ้าเนาวสว่านว่าเป็นมณฑปสิบสองเหลี่ยม จึงเป็นเหตุให้คนไทยในสมัยก่อนเรียกนิทานชุดนี้ว่า นิทานสิบสองเหลี่ยม๑น ทานอ หร่านราช รรม (พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒ ๐ ), หน้า ง ๒กุสุมา รักษมณี, ล ล ตอ หร่านราช รรม วรร ค ีในอั มและนวมรัชกาล ศ ลปวั น รรม , (มิถุนายน ๒ ๒ ) : หน้า จากตัวอย่างเชิงอรรถข้างต้น จะเห็นได้ว่า เชิงอรรถ เป็นการอธิบายเพิ่มเติมเชิงอรรถที่ ๑ และ ๒ เป็นการบอกแหล่งที่มาของการอ้างอิง 1

๓) การเขียนอ บายประเภทความรู้หร อว ชาการ ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นอย่างแท้จริง อาจเป็นความรู้ที่ได้จากหลักฐานและการค้นคว้า หรือการที่ได้ยินได้ฟังมาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ การเขียนจะต้องใช้ความชัดเจน ความง่าย และความถูกต้องของภาษา ซึ่งจะท�าให้ผู้อ่านอ่านแล้วได้ความรู้และความเข้าใจเป็นอย่างดี เช่น พระบรมราชาธิบาย พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๕ ว่าด้วยธรรมเนียมราชตระกูลในกรุงสยาม ซึ่งพระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเมื่อวันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๑ ค�่า ป ขาล สัม ทธิศก จุลศักราช ๑๒๔ ตรงกับวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๒๑ เนื้อความมีดังนี้ธรรมเนียมราชตระกูลในกรุงสยามนี้ แตกต่างจากเมืองลาว กล่าวคือราชตระกูลของสยามมีหลายชั้น ส่วนของลาว เช่น เชียงใหม่ หลวงพระบาง ไม่ได้นับเป็นชั้น ถ้ามีเชื้อสายในราชตระกูลก็เรียกว่าเจ้าทั้งสิ้น ธรรมเนียมราชตระกูลสยามในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ตั้งแต่จุลศักราช ๑๒ ปี จนถึงรัชกาลที่ ธรรมเนียมที่เรียกชื่อเสียงยศศักดิ ก็ได้เปลี่ยนแปลงไปหลายครั้งต�าแหน่งยศเจ้านายในพระราชก�าหนดกฎมณเฑียรบาล ซึ่งตั้งขึ้นในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ในจุลศักราช ๒๐ ปี แบ่งเจ้าออกเป็น ชั้น๑ ชั้นที่ ๑ พระเจ้าลูกเธอเกิดด้วยพระอัครมเหสี เรียกว่า สมเด็จหน่อพุทธเจ้า มียศใหญ่กว่าเจ้านายทั้งปวง ต้องอยู่ในเมืองหลวง๒ ชั้นที่ ๒ เรียกว่า ลูกหลวงเอก เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าแผ่นดิน แต่พระมารดาต้องเป็นพระธิดาของพระเจ้าแผ่นดินเหมือนกัน จึงเรียกว่าเป็นลูกหลวงเอก พระเจ้าลูกเธอชั้นนี้มียศได้กินเมืองเอก คือ เมืองพิษณุโลก เมืองสุโขทัย เมืองนครราชสีมา เป็นต้น เรียกว่า ลูกเธอกินเมืองเอกก็ได้ ชั้นที่ พระราชโอรสของพระเจ้าแผ่นดิน แต่พระมารดาเป็นหลานหลวง คือ หลานของพระเจ้าแผ่นดินตรงๆ เจ้าที่เกิดด้วยหลานหลวงนี้ เรียกว่า ลูกหลวงโท มียศกินเมืองโท เช่น เมืองสวรรคโลก เมืองสุพรรณ เป็นต้น ชั้นที่ พระราชโอรสที่เกิดด้วยพระสนม เรียกว่า พระเยาวราช คือ เจ้าผู้น้อย ไม่ได้กินเมืองเจ้าทั้ง ชั้นนี้ ว่าแต่ด้วยลูกหลวง พระเยาวราชต้องถวายบังคมพระเจ้าลูกเธอทั้งสามชั้นนั้นก็ถวายกันเป็นล�าดับถัดไปตามยศ ถึงจะแก่อ่อนกว่ากันอย่างไรไม่ได้ก�าหนดด้วยอายุ ก�าหนดเอายศเป็นส�าคัญ ผู้มียศน้อยถึงแก่กว่าก็ต้องไหว้ ต้องเดินตามหลัง 2

สรรพ์สาระ ÃÐÃÒª ´ ¹  ´ ÇÒ Ã Â Ò¾ÃÐÃÒª¾Ô¸ÕÊÔºÊͧà´×͹ ໚¹º·¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹ ã¹¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃШØŨÍÁà¡ÅŒÒ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ ÁÕà¹×éÍËÒÇ‹Ò´ŒÇ ¾ÃÐÃÒª¾Ô¸Õµ‹Ò§æ ·Õè¨Ñ´¢Öé¹·Ñé§ã¹ÊÁÑÂâºÃÒ³ áÅÐã¹ÊÁÑ·Õè ¾ÃÐͧ¤¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹  ·Ã§Í ÔºÒ¶֧¾ÃÐÃÒª¾Ô Õµ‹Ò§æ ´ŒÇÂÊíҹǹÀÒ Ò·ÕèäÁ‹à¤Ã‹§¤ÃÑ´Í‹ҧµíÒÃÒ «Öè§ã¹ÊÁÑÂãËÁ‹ÍÒ¨àÃÕ¡䴌NjÒ໚¹Ë¹Ñ§Ê×Í»ÃÐàÀ·ÊÒä´Õ¾ÃÐÃÒª¾Ô ÕÊÔºÊͧà´×͹໚¹º·¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹ ·Õè¶×Í໚¹áººÍ‹ҧ¢Í§¡ÒÃà¢Õ¹¤ÇÒÁàÃÕ§áÅеíÒÃÒ͌ҧÍÔ§·ÕèÊíÒ¤Ñ à¡ÕèÂǡѺ¾ÃÐÃÒª¾Ô բͧä·Â ¨¹ä´ŒÃѺ¡Òá‹ͧ¨Ò¡ÇÃó¤´ÕÊâÁÊÃã¹ÊÁÑÂÃѪ¡ÒÅ·Õè Ç‹Ò໚¹ ÂÍ´¢Í§¤ÇÒÁàÃÕÂ§Í ÔºÒ ¹Í¡¨Ò¡¹Õéã¹» ¨¨ØºÑ¹Âѧ໚¹Ë¹Öè§ã¹Ë¹Ñ§Ê×Í´Õ àÅ‹Á ·Õ褹ä·Â¤ÇÃÍ‹Ò¹ÍÕ¡´ŒÇ ๔) การเขียนอ บายประเภทค าน าถวัลย์ สนธิอนุเคราะห์ ได้เขียนค�าน�าอธิบายประโยชน์ของการจัดพิมพ์หนังสือระเบียบงานสารบรรณอย่างสั้นๆ และกินความครอบคลุมเนื้อหาในหนังสือ ดังนี้ เบี บ าน า บ เป็นหัวใจส�าคัญของการปฏิบัติงานส�านักงาน โดยเ พาะส่วนราชการ และหน่วยของทางราชการ สถานศึกษาต่างๆ ตลอดจนนักศึกษาที่ก�าลังศึกษาเล่าเรียนอยู่ในสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการเลขานุการ บุคคลทั่วไปประสงค์จะสอบบรรจุเข้ารับราชการ เพราะตามหลักสูตรการสอบได้ก�าหนดให้สอบระเบียบงานสารบรรณด้วยขณะนี้ทางราชการได้ประกาศใช้ระเบียบงานสารบรรณใหม่ เรียกว่า เบี บ านักนา ก ั น ี า าน า บ ก�าหนดให้ใช้ตั้งแต่วันที่๑ มิถุนายน ๒ ๒ เป็นต้นไป ส�านักพิมพ์พั นาศึกษาได้พิจารณาแล้วเห็นว่า ส่วนราชการก็ดี สถานศึกษา ตลอดจนนิสิตนักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีความจ�าเป็นที่จะต้องมีระเบียบงานสารบรรณนี้ไว้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน ศึกษาเล่าเรียน และเตรียมสอบเข้ารับราชการ จึงได้จัดพิมพ์ระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ ศ ๒ ๒ ขึ้น ท้ายเล่มมีสรุปสาระส�าคัญของระเบียบ เพื่อให้อ่านและเข้าใจในตัวระเบียบได้ง่ายขึ้นอีกด้วยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือระเบียบงานสารบรรณเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง(ถวัลย์ สนธิอนุเคราะห์) 3

. ห กการเ นอ ิ า การเขียนอธิบายแต่ละประเภท แม้รูปแบบจะต่างกัน แต่ก็มีหลักส�าคัญในการเขียนที่มีความคล้ายคลึงกัน ดังนี้๓.๑ การวาง ครงเรื่องการวางโครงเรื่องนับว่าส�าคัญมาก เพราะเป็นสิ่งปองกันความสับสน และจะเป็นจุดหมายในการขยายความหรืออธิบายเรื่อง เป็นสิ่งที่ท�าให้ข้อความต่อเนื่องกัน เช่น ถ้าเขียนอธิบายเรื่อง พรรค ารเมือง นประเ ไ ย ก็อาจจัดล�าดับหัวข้อเรื่องได้ ดังนี้๑. ความน�า๒. ความหมายของพรรคการเมือง๓. ประวัติพรรคการเมืองในประเทศไทย๔. หลักการของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย๕. ส่วนดี ส่วนเสียของการปกครองที่มีพรรคการเมือง๖. สรุปความคิดเห็นของผู้เขียนที่มีต่อพรรคการเมืองเมื่อตั้งหัวข้อเรื่องแล้ว ผู้เขียนจะสามารถอธิบายขยายความต่อไปได้ตามล�าดับ๓.๒ การเริ่มเรื่องการเริ่มเรื่องในการเขียนอธิบายนั้นท�าได้หลายวิธี เช่น๑) ให้ค า ากั ความเป็นการให้ความหมายของเรื่องที่จะเขียน อาจจะยกความหมายตรงกับชื่อเรื่องนั้นขึ้นมากล่าว เช่น เรื่อง ความร ก็อาจขึ้นต้นว่า“ความรัก คือ ความชอบอย่างผูกพัน พร้อมด้วยความชื่นชมยินดี”๒) น าวาทะคนส าคั หร อค าคม ข นมากล่าวน า เช่น ขึ้นต้นด้วยบทพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๖ ว่า“ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาให้มืดมนไม่ยินและไม่ยล อุปะสัคคะใดๆความรักเหมือนโคถึก ก�าลังคึกผิขังไว้ก็โลดจากคอกไป บ่ยอมอยู่ ณ ที่ขัง”(มัทนะพาธา : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) 4

๓) ใช้หลักความรู้หร อหลักว ชาการมาอ บายหัวเร ่องเช่น เรื่อง ชาว ่าง า า ของ อัศวพาหุ เริ่มเรื่องว่าอันค�าว่า ต่างภาษา นั้นคืออะไร เมื่อแลดูเผินๆ ก็ดูไม่น่าจะเป็นปัญหาที่ยากเย็นอะไร แต่ถึงเช่นนั้นก็ดี ข้อความซึ่งข้าพเจ้าได้ตอบปัญหานี้ในครั้งก่อนนั้น เป็นเหตุให้คนจ�าพวกหนึ่งร้องคัดค้าน และแสดงความเห็นต่างๆ เป็นอันมาก ข้าพเจ้าจึงยกเหตุข้อนี้เป็นข้อแก้ตัวในการที่จะกล่าวในเรื่องนี้อีกในที่นี้ ค�าตอบปัญหาที่กล่าวข้างบนนี้ ควรเราจะหารือพจนานุกรมดูว่าเขาจะแปลว่าอย่างไร พจนานุกรมอังกฤษของ เชมเบอร์ อธิบายค�าต่างภาษาว่า ดังนี้ “ต่างภาษา” (คุณศัพท์) แปลว่าต่างประเทศ ต่างกันด้วยนิสัยและลักษณะ (นาม) คนหรือสิ่งที่เป็นของต่างประเทศ คนที่ไม่มีความชอบธรรมโดยเต็มแห่งพลเมือง เพราะ ะนั้น ถ้าจะว่ากันให้ตรงแท้ส�าหรับคนไทยแล้ว ค�านี้ต้องแปลว่า คนอื่นๆ ทุกคนซึ่งมิใช่ไทย ล้วนเป็นคนต่างภาษาทั้งสิ้น หรืออีกนัยหนึ่ง ถ้าท่านพอใจมากกว่า อาจเรียกว่า“ชาวต่างประเทศ” ก็ได้๔) การเร ่มเร ่องว ีอ ่น การเขียนอธิบายอาจใช้วิธีเริ่มเรื่องแบบอื่นนอกจากที่กล่าวมาแล้วได้ เช่น เริ่มต้นด้วยการตั้งค�าถามหรือข้อปัญหา นิทานหรือนิยาย หรืออาจใช้ข้อขัดแย้งที่มีอยู่เพื่อเริ่มการเขียนอธิบายก็ได้ ๓.๓ กระบวนการอ ิบา การอธิบายมีกระบวนการ ดังนี้๑. เมื่อจะอธิบายเรื่องอะไร ก็เขียนเฉพาะเรื่องนั้น ไม่เอาเรื่องอื่นมาปน๒. ต้องเขียนตามความรู้ความคิดเห็นของตนเอง ไม่ยืมความคิดของคนอื่น อาจจะอ้างความคิดของคนอื่นบ้างก็ได้ เพื่อให้เห็นความคิดเห็นที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างกัน แต่ความคิดเห็นเหล่านั้นไม่เหนือความคิดเห็นของผู้เขียนเอง๓. ก่อนจะอธิบายเรื่องอะไร ต้องแน่ใจว่ารู้เรื่องนั้นอย่างละเอียด และเข้าใจเรื่องอย่างถ่องแท้ เพราะถ้าผู้เขียนไม่เข้าใจเรื่องที่จะเขียน ก็ไม่สามารถเขียนอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจแจ่มแจ้งได้๔. เรียบเรียงถ้อยค�าให้น่าอ่าน น่าสนใจ เข้าใจง่าย และล�าดับความให้ต่อเนื่องกัน 5

๓. การสร ปความคิดเห็นเมื่อได้อธิบายเรื่องราวตามหลักวิชาจนสิ้นกระบวนความแล้ว ก็สรุปความคิดเห็นที่มีต่อเรื่องนั้นเป็นความคิดเห็นของผู้เขียนเอง เช่น เรื่องเกี่ยวกับพรรคการเมืองในประเทศไทยผู้เขียนอธิบายเสร็จสิ้นแล้ว ก็อาจแสดงความคิดเห็นของตนเองถึงแนวโน้มของพรรคการเมืองไทยในอนาคต เป็นต้นจุดส�าคัญของการเขียนอธิบาย คือ ความชัดเจน และความน่าอ่าน จะต้องเขียนเฉพาะเนื้อหาอย่างเป็นกลาง จะใส่ความรู้สึกหรืออารมณ์ลงไปไม่ได้ เพราะความมุ่งหมายของการเขียนอธิบาย คือ การให้ความรู้อย่างแท้จริงสิ่งจ�าเป็นส�าหรับผู้อธิบาย คือ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ตนจะอธิบาย โดยอาศัยการสะสมความรู้ ประสบการณ์ที่ต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลายาวนาน ทั้งนี้จะต้องรวบรวมความรู้ ความคิดของตนให้เป็นระเบียบ แม่นย�า ก่อนที่จะถ่ายทอดให้ผู้อื่นรู้ รู้จักสังเกตวิธีอธิบายของผู้อื่นอยู่เสมอทั้งโดยการอ่านและการฟัง หาโอกาสฝึกฝนให้ถูกวิธีอย่างสม�่าเสมอการเขียนอ ิบาย เป็นการสื่อสารด้วยวิ ีการเขียนที่ใช้มากในชีวิตประจ�าวันของมนุษย์ â´Â੾ÒТŒÍà¢Õ¹㹵íÒÃÒÇÔªÒ¡Òõ‹Ò§æ ¡ÒÃ͸ԺÒ¶×Í໚¹ËÑÇ㨢ͧ§Ò¹ÇÔªÒ¡Òà ᵋ¡ÒÃà¢Õ¹ อ ิบายจะสัม ท ิผลหรือไม่นั นต้องอาศัยการรู้จักใช้ค�าให้ตรงความหมาย ใช้ภาษาที่ง่าย และสามารถเข้าใจได้ชัดเจน ดังนั น ผู้เขียนจ งควรฝึกป ิบัติอย่างสม่�าเสมอเพื่อพั นาทักษะการเขียนอ ิบายให้มีความช�านา และสามารถน�าไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิท ิภาพ

ะÁÒÃÂҷ㹡ÒÃà¢Õ¹ÁÒÃÂҷ㹡ÒÃà¢Õ¹ ¤Çû ÔºÑµÔ ´Ñ§¹Õé ¤ÇÃà¢Õ¹µÑÇ˹ѧÊ×ÍãËŒªÑ´à¨¹ Í‹Ò¹§‹Ò äÁ‹à¢Õ¹µÑÇãË ‹ ËÃ×͵ÑÇàÅ硨¹à¡Ô¹ä» à¢Õ¹ãËŒÁÕ¢¹Ò´àËÁÒÐÊÁ¹‹ÒÍ‹Ò¹ ¤ÇÃà¢Õ¹Í‹ҧ໚¹ÃÐàºÕº àÃÕºÌÍ ÇÃäµÍ¹ãËŒ¶Ù¡µŒÍ§ äÁ‹à¢Õ¹©Õ¡¤íÒ ãªŒ¶ŒÍ¤íÒ·ÕèÊØÀÒ¾ä¾àÃÒÐ äÁ‹Ç¡Ç¹ áÅÐäÁ‹¤ÇÃà¢Õ¹¤íÒËÂÒº ¤ÇÃà¢Õ¹¤íÒ·ÕèäÁ‹¡Ãзº¡ÃзÑè§àÊÕ´ÊÕ¼ÙŒÍ×è¹ äÁ‹ãªŒ¤íÒ·Õè¶Ò¡¶Ò§àËÂÕ´ËÂÒÁãËŒ¼ÙŒÍ×è¹àÊÕÂËÒ 㪌ÀÒ Ò·Õè¹ÔÂÁ㪌¡Ñ¹ äÁ‹¤ÇÃ㪌¤íÒÊáŧ ¤íÒÀÒ Ò»Ò¡ áÅÐäÁ‹à¢Õ¹¶ŒÍ¤íÒ·Õèá»ÅËÃ×ͤíҼǹã¹àªÔ§ÅÒÁ¡¡ÒÃà¢Õ¹¢ŒÍ¤ÇÒÁ º·¤ÇÒÁ ËÃ×Í˹ѧÊ×Íà¾×èÍà¼Âá¾Ã‹ ઋ¹ ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ ÇÒÃÊÒà àÍ¡ÊÒõ‹Ò§æ µŒÍ§ÁÕÁÒÃÂҷ㹡ÒÃà¢Õ¹à¾ÔèÁàµÔÁÍÕ¡ËÅÒ»ÃСÒÃà¾×èͤÇÒÁ¶Ù¡µŒÍ§ ´Ñ§¹Õé àÁ×èͨС¢ŒÍ¤ÇÒÁÁÒ»ÃСͺÊÔ觷Õèà¢Õ¹ µŒÍ§ãËŒà¡ÕÂõÔ਌Ңͧ¢ŒÍ¤ÇÒÁ¹Ñé¹´ŒÇ¡Òú͡·ÕèÁÒ·Ø¡¤ÃÑé§Ç‹ÒÁÒ¨Ò¡àÃ×èͧÍÐäà ¢Í§ã¤Ã äÁ‹ãªŒÀÒ Ò ¶ŒÍ¤íÒ ËÃ×Í¢ŒÍ¤ÇÒÁ·Õè·íÒãËŒ¼ÙŒÍ×è¹àÊ×èÍÁàÊÕ ÍѺÍÒ ¡ÒÃà¢Õ¹͌ҧÍÔ§¶Ö§ºØ¤¤Å µŒÍ§ÃÐÁÑ´ÃÐÇѧ㹡ÒÃà¢Õ¹¤íÒ¹íÒ˹ŒÒª×èÍ ÊС´ª×èÍ áÅйÒÁÊ¡ØÅ ºÍ¡Â µíÒá˹‹§ãËŒ¶Ù¡µŒÍ§ µŒÍ§ÃÐÁÑ´ÃÐÇѧäÁ‹à¢Õ¹ÇÔ¨ÒóÊÔ觷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¤ÇÒÁàª×èÍ ¤ÇÒÁ ÃÑ· Ò à¾ÃÒÐÍÒ¨à¡Ô´¼ÅàÊÕ¢Öé¹ä´Œ µŒÍ§ÃѺ¼Ô´ªÍº¢ŒÍ¤ÇÒÁ·Õè»ÃÒ¡ 㹧ҹà¢Õ¹¢Í§µ¹ à¾ÃÒСÒÃà¢Õ¹·Õè·íÒãËŒ¼ÙŒÍ×è¹àÊÕÂËÒ¨¹¶Ö§àÊ×èÍÁàÊÕª×èÍàÊÕ§ÍÒ¨¶Ù¡ ͧÌͧ áÅÐÍÒ¨ÁÕ¡ÒôíÒà¹Ô¹¤´ÕàÃÕ¡Ìͧ¤‹ÒàÊÕÂËÒÂä´Œ ¤ÇÃ㪌ÀÒ ÒàªÔ§ÊÌҧÊÃä äÁ‹ãªŒÀÒ ÒËÂÒº¤Ò Ãعáç ÂÑèÇÂØ à¾ÃÒÐÍÒ¨·íÒãËŒà¡Ô´à˵ØÃŒÒÂá稹¡‹ÍãËŒà¡Ô´¡ÒÃᵡÌÒÇ ¡Ãзº¡ÃÐà·×͹µ‹Í¤ÇÒÁʧºÊØ¢áÅФÇÒÁÁÑ蹤§¢Í§ªÒµÔä´Œ¡Òà ¡ ¹·Ñ¡ Ð㹡ÒÃà¢Õ¹áÅÐÁÕÁÒÃÂҷ㹡ÒÃà¢Õ¹ ÁÕ¤ÇÒÁ¨íÒ໚¹µ‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ÇÔªÒªÕ¾µ‹Ò§æ à¾ÃÒÐ໚¹·Ñ¡ о×é¹ Ò¹·Õè·Ø¡¤¹¤ÇèÐÃÙŒ à¾×èͤÇÒÁ¶Ù¡µŒÍ§ ÃÇ´àÃçÇ㹡Ò÷íÒ§Ò¹ ¡ÒùíÒàʹͧҹ ¹Ñºà»š¹¢Ñé¹áá¢Í§¡ÒþѲ¹Òä»ÊÙ‹¡ÒÃà¢Õ¹ã¹á¢¹§Í×è¹æ µ‹Íä»

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนเขียนอธิบายวิธีการท�าอาหาร ๑ อย่าง ที่นักเรียนชื่นชอบหรือถนัดตามหลักการเขียนอธิบาย๒. ให้นักเรียนฝึกเขียนการเริ่มเรื่องในการเขียนอธิบายด้วยวิธีต่างๆ โดยก�าหนดเรื่อง เช่น - การจัดสวนถาด- การเย็บกระทงใบตอง- การจัดแจกันดอกไม้- การประดิษฐ์หุ่นยนต์๓. ให้นักเรียนหาบทความเกี่ยวกับการเขียนอธิบายสิ่งต่างๆ มาศึกษาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเขียน พร้อมทั้งหาจุดเด่น จุดบกพร่องของบทความดังกล่าว๑. การเขียนอธิบายที่พบเห็นในชีวิตประจ�าวันมีอะไรบ้าง จงอธิบายและยกตัวอย่าง๒. การเขียนอธิบายเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน ควรวางโครงเรื่องอย่างไร๓. การเขียนเริ่มเรื่องในการอธิบายด้วยนิทาน มีจุดมุ่งหมายในการเขียนอย่างไร๔. การศึกษารายละเอียดของเรื่องก่อนการเขียนอธิบายมีความส�าคัญหรือไม่ อย่างไร๕. การเขียนอธิบายโดยใช้การเปรียบเทียบเหมาะส�าหรับการอธิบายเกี่ยวกับสิ่งใดเพราะเหตุใด จงอธิบายและยกตัวอย่าง

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ôสาระการ รียนร กนกลา • การกรอกแบบรายการต่างๆการกรอกแ รายการการเขียนมีความส าคั และ าเปนตอชีวิตประ าวัน โดยเ พาะการติดตอทางกิ ธุระตางๆ มักมีแ กรอกรายการทั่วไปและแ กรอกรายการที่มีวัตถุประสงคเ พาะใหกรอกขอม ล ดังนั้น การมีความร ความเขาใ ในเรื่องการกรอกขอความในแ กรอกรายการตางๆ ตลอด นมีความตระหนักและใหความส าคั ตอการกรอกแ รายการ ะชวยใหการเขียนนั้นถ กตองและตรงตามวัตถุประสงคตัว ี วัด• เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระส�าคัญชัดเจน ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๑

๑. การกรอกแ รา การแบบรายการ หมายถึง แบบส�าหรับใช้กรอกข้อความที่หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานภาคเอกชนจัดท�าขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในหน่วยงานนั้นๆ๑) ประเภทของแบบกรอกรายการแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ๑ ๑ บบกรอกรายการที่ ป น ลัก าน เช่น ใบสมัครงาน ใบตอบรับสินค้าแบบกรอกรายการยืมระหว่างห้องสมุด แบบตอบรับพัสดุไปรษณีย์ แบบสัญญาซื้อขายแบบสัญญากู้เงิน แบบกรอกรายการต่างๆ ของธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น แบบกรอกรายการดังกล่าวส่วนใหญ่มีรูปแบบคงที่ มีความเป็นมาตรฐาน อาจมีรายละเอียดต่างกันเล็กน้อยแต่ใจความส�าคัญยังคงเหมือนกัน๑ ๒ บบกรอกรายการที่ ป น บบประ มินผล กี่ยวกับ ร ่อ ด ร ่อ น ่ ซึ่งมักจะพบอยู่เสมอๆ ไม่ว่าจะเป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ความพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์ สินค้าหรือบริการต่างๆ แบบกรอกรายการดังกล่าวจะมีรูปแบบ เนื้อหา แตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของการประเมินผลนั้นๆตัวอยา บบกรอกรายการที่ ป น ลัก าน บรับ าก ิน อ นาคารตั ว อ ย า 100

ตัวอย่างแบบฟอร์มใบตอบรับ เป็นบริการไปรษณีย์ด่วนพิเศษ ซึ่งบริการนี้สามารถฝากส่งได้ทั้งจดหมาย พัสดุ และธนาณัติ เป็นต้น แบบฟอร์มข้างต้นนี้มีไว้ส�าหรับผู้ฝากส่งที่ต้องการหลักฐานการตอบรับของผู้รับ โดยผู้ฝากส่งต้องกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนในช่องชื่อและที่อยู่ของผู้ฝากส่งและรายละเอียดของชื่อผู้รับ เมื่อผู้รับได้รับไปรษณีย์ดังกล่าวนี้แล้ว ต้องกรอกค�าตอบรับลงในใบตอบรับนี้ จากนั้นบุรุษไปรษณีย์จะส่งใบตอบรับ ในประเทศกลับมายังผู้ฝากส่งเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน บตอบรับ ปร ณีย ดวน ิ ตั ว อ ย า ตั ว อ ย า 103

ความคิดเห็นเพิ่มเติม................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ประเ นความ ง อใ มากปานกลางน้อย ้านบุคลากร ใส่ใจและกระตือรือร้นที่จะให้บริการ ให้ค�าแนะน�าและตอบค�าถาม ให้บริการทันที สะดวกรวดเร็ว พูดจาสุภาพ ไพเราะ อัธยาศัยดี ้านบร การ ให้บริการชัดเจน ครบถ้วนตามกระบวนการ บริการอย่างเหมาะสม อุปกรณ์ เครื่องมือทันสมัย ใช้งานง่าย มีบอร์ดแจ้งข่าวสารชัดเจน ระยะเวลาในการให้บริการเหมาะสมบรรยากาศ ส ่งอ านวยความสะ วก สิ่งแวดล้อมท�าให้รู้สึกผ่อนคลาย มีที่นั่งเพียงพอ สถานที่สะอาดเรียบร้อย มีแสงสว่างเพียงพอ ห้องน�้าสะอาด ที่จอดรถเพียงพอ บบกรอกรายการที่ ป นการประ มินผลแบบสอบ ามความ ง อใ ในส นค้าและบร การเพศชายหญิงอายุ ............................... ป ีระดับการศึกษาปริญญาตรีปริญญาโทปริญญาเอกอื่นๆอาชีพนักเรียน นักศึกษาบุคลากรบุคคลทั่วไปตั ว อ ย า 104

๒) หลักการกรอกแบบรายการมีหลักในการกรอกแบบรายการต่างๆ ดังนี้ ๑. พิจารณาเอกสารให้ถี่ถ้วน และท�าความเข้าใจว่าจะต้องกรอกรายละเอียดอะไรบ้าง ๒. อ่านและตีความหมายของข้อความในแบบฟอร์มนั้นให้ถูกต้องว่า เจ้าของแบบฟอร์มต้องการทราบเกี่ยวกับอะไร หากไม่แน่ใจต้องถามก่อน อย่าเดาเป็นอันขาด ๓. เขียนข้อความด้วยตนเอง อ่านง่าย และเขียนรายละเอียดเท่าที่จ�าเป็น ๔. รักษาความสะอาด พยายามอย่าให้มีรอยขูด รอยเป อน หรือรอยยับจนไม่น่าดู ๕. เขียนให้ได้ใจความกระชับพอเหมาะกับช่องว่าง อย่าเขียนเบียดหรือล้นไปยังข้อความอื่นๆ ๖. ควรเขียนข้อมูลตามความจริง ๗. ข้อมูลตั้งแต่ต้นจนถึงข้อสุดท้าย ไม่ควรมีตอนใดขัดแย้งกันเองเพราะท�าให้ขาดความน่าเชื่อถือ ๘. การเขียนจ�านวนเงิน ควรตรวจทานดูให้ถูกต้องและควรเขียนตัวอักษรก�ากับ . เขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง ๑ . แบบฟอร์มที่เป็นภาษาต่างประเทศ ผู้กรอกแบบฟอร์มควรกรอกด้วยภาษานั้นๆเว้นแต่จะมีการระบุให้กรอกข้อความเป็นภาษาอื่น ๑๑. เอกสารที่ต้องมีส�าเนา ควรใส่กระดาษคาร์บอนให้ตรงตามจ�านวนที่ต้องการ ๑๒. ตรวจทานข้อความที่กรอกอย่างรอบคอบเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายละเอียดที่ส�าคัญ เช่น การท�าสัญญา การช�าระเงิน เงื่อนไขต่างๆ ตัวเลข ชื่อ-นามสกุล ในเอกสารที่เกี่ยวข้องทางก หมาย เพราะหากกรอกข้อความผิดพลาดอาจเกิดความเสียหายภายหลังẺÃÒ¡Òõ‹Ò§æ ·Õ辺àËç¹ã¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð㪌໚¹ËÅÑ¡°Ò¹ËÃ×Í㪌»ÃÐàÁÔ¹ สิ่งใดสิ่งหน ่งก็ตาม ต้องกรอกด้วยความระมัดระวัง โดยเ พาะการกรอกแบบรายการที่ใช้เป็นหลัก านต่าง ส�าหรับการกรอกแบบรายการที่เป็นแบบประเมินผล ควรให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับสภาพหรือบริการที่ได้รับ เพื่อให้ข้อมูลที่กรอกสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้ และเกิดประโยชน์Í‹ҧ᷌¨ÃÔ§105

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนออกแบบแบบกรอกรายการเพื่อส�ารวจความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่นักเรียนสนใจในโรงเรียน แล้วประเมินผลพร้อมให้ข้อมูลกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�าไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ - วิชาที่เรียนแล้วมีความสุขที่สุด - การบริการในโรงเรียน๒. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแบบกรอกรายการที่ส�ารวจความคิดเห็นของสถาบันต่างๆ ว่ามีประโยชน์อย่างไรบ้าง แล้วสรุปผลน�าส่งครู ๓. ให้นักเรียนฝึกเขียนแบบกรอกรายการที่จ�าเป็นต้องใช้ในชีวิตประจ�าวัน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และน�าไปใช้ให้เกิดประโยชน์๑. การกรอกแบบรายการมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวันหรือไม่ อย่างไร๒. การกรอกแบบรายการไม่ครบถ้วนมีผลเสียอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๓. หากไม่เข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดที่ต้องกรอกในแบบกรอกรายการ ควรกรอกหรือไม่ เพราะเหตุใด๔. แบบกรอกรายการประเภทใดที่จ�าเป็นต้องใช้ความรอบคอบและวิจารณญาณ ในการกรอก จงอธิบาย และยกตัวอย่างประกอบ๕. แบบกรอกรายการที่เป็นภาษาต่างประเทศ มีหลักในการกรอกแตกต่างจาก แบบกรอกรายการภาษาไทยอย่างไร10

าร งและการดู เปนทัก ะการรับสารทั้งวัจน า าและอวัจน า าที่ใชในชีวิตประจําวันมากที่สุด เปนทัก ะ ื้น านของการ ั นา ิลปะ า าดานอื่น ป จจุบันวิทยาการตาง ตลอดจนเทคโนโลยีและสื่อมวลชนเจริญกาวหนาอยางรวดเร ว ทัก ะการ งและการดูจึงยิ่งมีความจําเปนและความสําคัญมากขึ้น ผูรับสารจึงควรมีหลักเก และมารยาทในการเลือก ง เลือกดูสื่อตาง เ ื่อใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคมมากที่สุดตอนที่óการ ง การด และการพ ด

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ๓ñสาระการ รียนร กนกลา • การเลือกเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ• มารยาทในการฟังและการดูหลักการ งและการด สื่อการ งและการด เปนทักษะการรั สารทั้งวั นภาษาและอวั นภาษาที่ใชในชีวิตประ าวันของมนุษยมากที่สุด ในป ุ ันทักษะการ งและการด ยิ่งมีความส าคั มากขึ้น เพราะความเ ริ กาวหนาทางเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน และกิ กรรมตางๆ ที่ชุมชน ัดขึ้น นอก ากนี้การ งการด ยังเปนพื้นฐานของการพั นาทักษะทางภาษาดานอื่นๆ อีกดวย ดังนั้น ึงตองมีหลักเกณฑ และมารยาทในการเลือก ง เลือกด สิ่งตางๆ เพื่อใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคมตัว ี วัด• มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู ท ๑ ม ๔-๖ ๔ • มีมารยาทในการฟังและการดู ท ๑ ม ๔-๖ ๖

การ งการบรรยายวิชาการตองหาขอมูลเพิ่มเติมเพื่อเปนการเตรียมความพรอมและไดรับประโยชนจากการ งมากที่สุด▼๑.ความส าค องการ งแ ด สื่อแม้ว่ายุคสมัยจะเปลี่ยนแปลงก้าวหน้าไปอย่างไร ความเจริญทางเทคโนโลยีจะพัฒนาขึ้นเพียงไหนก็ตาม การฟังและการดูก็ยังคงเป็นสิ่งจ�าเป็นในชีวิตประจ�าวัน เพราะการฟังเป็นพื้นฐานส�าคัญของการเป็นผู้รู้หรือนักปราชญ์ ดังที่สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร กล่าวว่า เว้นวิจารณ์ว่างเว้น สดับ ังเว้นที่ถามอันยัง ไป่รู้เว้นเล่าลิขิตสัง เกตว่าง เว้นนาเว้นดั่งกล่าวว่าผู้ ปราชญ์ได้ฤ มี(โคลงโลกนิติ : สมเด็จ กรมพระยาเดชาดิศร)การสดับฟัง จึงหมายความว่า การฟังอย่างตั้งใจและฟังด้วยความเอาใจใส่ การสดับฟังจึงต้องครอบคลุมทั้งการฟังจากการอ่าน การฟังจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การฟังขณะดูโทรทัศน์ การฟังจึงต่างจากการได้ยิน เพราะการได้ยินเป็นการที่เสียงผ่านทางประสาทหูเท่านั้น . ร เ องการ งแ การด สื่อการฟังและการดู แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้๑) การ ง การ ูโ ย ม่ตั งใ คือ ไม่มีเจตนาโดยตรงที่จะฟังหรือดู เช่น ขณะขับรถสายตาดูปายโฆษณาอย่างผ่านๆ หรือเปดวิทยุในรถเพื่อให้เพลินๆ บางครั้งการรับฟังและการดูเช่นนี้ก็อาจเกิดประโยชน์ได้ เช่น การฟัง การดูสารคดีสั้นๆ หรือการฟัง การดูข่าวต้นชั่วโมง เป็นต้น๒) การ ง การ ูโ ยตั งใ คือ การฟังและการดูที่มีจุดมุ่งหมายชัดเจนในการฟังและการดูในครั้งนั้นๆ เช่น การฟังค�ารายงานในวิชาต่างๆ การดูรายการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นต้น10

. ดม ่งหมา องการ งแ การด สื่อการฟังและการดูมีจุดมุ่งหมายหลัก ดังนี้๑) งและ ูเ ่อให้เก ความรู้ความค เป็นการฟังเพื่อเพิ่มสาระความรู้ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น เช่น การฟังค�าบรรยายในรายวิชาต่างๆ การฟังปาฐกถา การฟังสุนทรพจน์ การฟังเช่นนี้ผู้ฟังผู้ดูต้องใช้ความคิดตามและมีวิจารณญาณในการฟัง๒) งและ ูเ ่อให้เก ความเ ล เ ล นเป็นการฟังและการดูที่ช่วยผ่อนคลายอารมณ์ตึงเครียด เช่น การฟัง การดูละครเพลง การดูละครเวที การฟังโต้วาที การฟังและการดูตลกหรือรายการบันเทิงต่างๆ๓) งและ ูเ ่อต ต่อส ่อสารในชีว ตประ าวันเป็นการฟังการดูที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการสื่อสารโต้ตอบกัน เช่น ในการพูดคุยโทรศัพท์ ก็ต้องอาศัยการฟังเพื่อสื่อสารโต้ตอบกลับไปให้ถูกต้องเหมาะสม เป็นต้น๔) งและ ูเ ่อหาสาระและคต ชีว ตเป็นการฟังที่มุ่งยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น ผู้ฟังและผู้ดูจะเกิดปัญญางอกงามขึ้นและมีแนวทางการด�าเนินชีวิตดีงามที่ผู้ฟังผู้ดูสามารถน�ามาเป็นแนวทางในการปรับปรุงตนเอง อันเป็นการพัฒนาตนเองในทางสร้างสรรค์ เช่น การฟังเทศน์การชมการแสดง เป็นต้น . ร สิ ิ าพการ งแ การด สื่อการฟังและการดูสื่อต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ ควรปฏิบัติ ดังนี้๑. มีความตั้งใจ สนใจเรื่องราวที่ฟังและดู๒. ได้ยินชัดเจน มีประสาทหูดี๓. มีสมาธิในการฟังเพื่อให้จดจ�าเรื่องที่ฟังได้ดี เพราะการฟังนั้นย้อนทวนไม่ได้๔. ใช้ความคิดในขณะที่ฟังและดู๕. ติดตามเรื่องราวที่ฟังที่ดูและสามารถล�าดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง๖. เข้าใจเรื่องราวที่ผู้พูดพูดและแปลความที่ฟังได้ โดยอาศัยประสบการณ์พื้นฐาน๗. ฟังและดูแล้วสามารถน�าสาระประโยชน์จากการฟังและการดูไปใช้ในชีวิตประจ�าวันได้๘. สามารถประเมินเรื่องราวต่างๆ ที่ได้จากการฟังและการดู โดยใช้เหตุผลวิจารณ์แยกแยะสิ่งที่ฟังและดูได้110

.ห กการ งแ การด สื่อการฟัง การดูสื่อต่างๆ เป็นทักษะที่มีความส�าคัญเพราะเป็นการรับสารที่ท�าให้เกิดการเรียนรู้ และมีหลักการฟัง การดูสื่อต่างๆ ดังนี้๑) หลักการ ง ากบุคคลและการ ู ากก กรรมการแส ง๑. เล่าเรื่องจากการฟังและดูได้ถูกต้อง ๒. แสดงความคิดของตนเองที่มีต่อเรื่องที่ฟังและดูได้๒) หลักการ ง การ ูข่าวและเหตุการ ์ทั งเร ่องใกล้ตัวและ กลตัว๑. สามารถฟังแล้วถ่ายทอดเรื่องราวได้ถูกต้อง ๒. สามารถระบุแหล่งที่มาของข่าวได้ ๓. สามารถวินิจฉัยได้ว่าข่าวนั้นๆ ควรเชื่อหรือไม่ มีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร๓) หลักการ ง การ ูค าอ บายต่าง ๑. จับใจความส�าคัญได้ ๒. ตอบค�าถามหรือปฏิบัติตามได้ ๓. รู้จักจดบันทึกได้ครบถ้วนสรรพ์สาระâ à ¹â·Ã·Ñ ¹ ໚¹Ê×èÍÍÕ¡ª¹Ô´Ë¹Ö觫Öè§ä´ŒÃѺ¤ÇÒÁ¹ÔÂÁÍ‹ҧ¡ÇŒÒ§¢Çҧ㹻 ¨¨ØºÑ¹ à¹×èͧ¨Ò¡à»š¹Ãкºâ·Ã¤Á¹Ò¤Á·ÕèÊÒÁÒö¡ÃШÒÂáÅÐÃѺÀÒ¾à¤Å×è͹äËÇáÅÐàÊÕ§䴌ã¹ÃÐÂÐä¡Å¤íÒÇ‹Òâ·Ã·Ñ ¹ã¹ÀÒ Òä·Â ÁÕ·ÕèÁÒ¨Ò¡¤íÒÂ×ÁÀÒ ÒÍѧ¡ Ç‹Ò áÅŒÇàÅ×͡㪌 Ѿ·Êѹʡ µ·ÕèÁÕ㪌ÍÂÙ‹áÅŒÇºÑ ÑµÔ Ñ¾·¢Öé¹ãªŒã¹ÀÒ Òä·Â ¤×Í ¤íÒÇ‹Ò â·Ã ÃÐÂÐä¡Å áÅФíÒÇ‹Ò ·Ñ ¹ ¡ÒÃÁͧàËç¹ áµ‹ÁÑ¡àÃÕ¡¡Ñ¹â´Â‹ÍÇ‹Ò ·ÕÇÕ â·Ã·Ñ ¹à¤Ã×èͧáá ¢ÒÇ ´íÒ ¢Í§âÅ¡ ÊÌҧ¢Öé¹àÁ×è; ໚¹¼Å§Ò¹¡ÒûÃÐ´Ô ¢Í§¨Íˏ¹ ÅÍ¡¡Õé àºÃÕ´ ªÒÇʡ͵Ᏼ»ÃÐà· ä·ÂàÃÔèÁÁÕ¡ÒÃá¾Ã‹ÀÒ¾â·Ã·Ñ ¹àÁ×èÍÇѹ·Õè ÁԶعÒ¹ ¾ â´ÂºÃÔ Ñ·ä·Ââ·Ã·Ñ ¹ ¨íÒ¡Ñ´ ·Ò§Ê¶Ò¹Õâ·Ã·Ñ ¹ä·Â·ÕÇÕ ª‹Í§ ¨Ò¡ÇѧºÒ§¢Ø¹¾ÃËÁ » ¨¨ØºÑ¹¾Ñ ¹Ò໚¹Ê¶Ò¹Õâ·Ã·Ñ ¹ âÁà´ÔϹ乹·ÕÇÕ ÍÍ¡ÍÒ¡Ò ¤Ù‹¢¹Ò¹¡Ñºª‹Í§ ã¹Ãкº´Ô¨Ô·ÑÅ 111

ÀÒ Â¹ ÏÀҾ¹µÃ ໚¹Ê×èÍÍÕ¡»ÃÐàÀ·Ë¹Ö觫Öè§ä´ŒÃѺ¤ÇÒÁ¹ÔÂÁ໚¹Í‹ҧÁÒ¡ã¹» ¨¨ØºÑ¹à¹×èͧ¨Ò¡à»š¹Ê×èÍ·ÕèÊÒÁÒö¶‹Ò·ʹ¨Ô¹µ¹Ò¡ÒÃãˌ໚¹¨Ãԧ䴌´ŒÇÂÀÒ¾áÅÐàÊÕ§ ¨Ö§·íÒãËŒ¼ÙŒÃѺÊ×èÍËÃ×ͼٌªÁÊÒÁÒöࢌÒã¨ã¹ àÃ×èͧÃÒǵ‹Ò§æ 䴌͋ҧ໚¹ÃÙ» ÃÃÁÀҾ¹µÃä·ÂàÃ×èͧáá¤×ÍàÃ×èͧ¹Ò§ÊÒÇÊØÇÃó ¼ÙŒÊÌҧ¤×Í ºÃÔ Ñ·ÀҾ¹µÃÂÙ¹ÔàÇÍÏ«ÑÅ ÀҾ¹µÃàÃ×èͧ¹Õé㪌¼ÙŒáÊ´§·Ñé§ËÁ´à»š¹¤¹ä·Â ʋǹÀҾ¹µÃàÃ×èͧ⪤ÊͧªÑé¹à»š¹ÀҾ¹µÃä·Â·Õèä´ŒÃѺ¡ÒÃÂÍÁÃѺãˌ໚¹ÀҾ¹µÃà¾×èÍ¡ÒäŒÒàÃ×èͧáá·ÕèÊÌҧâ´Â¤¹ä·Âã¹ ¾ สรรพ์สาระã¹» ¨¨ØºÑ¹»ÃÐà· ä·ÂÁÕÀҾ¹µÃ·ÕèÁØ‹§ÊÙ‹µÅÒ´âÅ¡áÅÐÊÒÁÒö¢Öé¹ä»ÍÂÙ‹º¹µÒÃÒ§ºçÍ¡«ÍÍ ã¹»ÃÐà· ÊËÃÑ ÍàÁÃÔ¡Ò áÅÐÂѧÁÕÀҾ¹µÃä·ÂÍÕ¡ËÅÒÂàÃ×èͧ·Õè໚¹·Õèª×蹪ͺáÅÐä´ŒÃѺÃÒ§ÇÑÅã¹à· ¡ÒÅÀҾ¹µÃ¹Ò¹ÒªÒµÔ .การเ ือก งแ เ ือกด สื่อในชีวิตประจ�าวัน มนุษย์ใช้ทักษะในการฟังมากกว่าทักษะอย่างอื่น การฟังและการดูจึงจ�าเป็นต้องพิถีพิถัน เพราะการฟังและการดูบางอย่างไม่คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไป จึงมีหลักเกณฑ์การเลือกฟังและดูสื่อ ดังนี้๑. สื่อวิทยุโทรทัศน์ จะมีรายการประจ�าสถานีในแต่ละวัน ผู้ฟังผู้ดูควรศึกษารายการต่างๆ ก่อนว่าจะออกอากาศในเวลาใด สถานีใด และเลือกจัดสรรเวลาให้ตรงกับสื่อที่จะออกอากาศนั้นๆ๒. เมื่อฟังหรือดูรายการใดแล้วพบค�าพูดที่แปลก สะดุดหู ควรจดบันทึกไว้เพื่อพิจารณาว่าข้อความนั้นถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด ถ้าไม่ถูกต้องควรจะใช้ค�าใด๓. ถ้าเป็นการฟังจากแถบบันทึกเสียงต้องศึกษาวิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ ของเครื่องให้เข้าใจ ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ ต้องรู้จักวิธีใช้โปรแกรมต่างๆ และศึกษาวิธีใช้ที่ถูกต้อง๔. ถ้าเป็นการดูจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ควรรู้จักเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาสาระสร้างสรรค์ เกิดการเพิ่มพูนความรู้๕. รู้จักวิเคราะห์ข้อความที่ฟังและดู ถ้ารายการใดมีโฆษณามาก ควรพิจารณาภาษาภาพ การน�าเสนอว่ามีความเหมาะสม และน่าเชื่อถือเพียงใด๖. เลือกรายการที่เหมาะกับวัย และให้คุณค่าในการน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน112

.มาร า นการ งแ การด สื่อการฟังและการดูสื่อต่างๆ ที่เป็นสาธารณะ ผู้ฟังควรฝึกตนเองในด้านมารยาท เพราะถ้าไม่ฝึกฝนอาจท�ากิริยาอาการที่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อื่นได้ และจะเป็นที่รังเกียจของบุคคลรอบข้าง โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้๑. เข้าฟังและดูให้ตรงเวลา ควรไปถึงก่อนการบรรยายหรือดูสื่อ เพราะผู้บรรยายอาจจะมีข้อแนะน�าบางอย่างหรือกล่าวสรุป๒. ฟังและดูด้วยความตั้งใจ ไม่พูดคุยกันในขณะที่ฟัง๓. รู้จักจดบันทึกสาระส�าคัญ และจับประเด็นข้อสงสัย๔. เมื่อจบการบรรยายและการดูแล้ว อาจถามข้อสงสัยด้วยอาการและข้อความที่สุภาพ๕. ควรปรบมือเพื่อแสดงความพอใจชื่นชมในผู้พูดหรือเรื่องที่ฟัง๖. รักษากิริยามารยาท โดยไม่พูดคุย ไม่ส่งเสียงรบกวนผู้อื่น ไม่ลุกจากที่นั่ง หรือลุกเข้าลุกออกบ่อยๆ๗. เมื่อไม่พอใจ ต้องรู้จักยับยั้งความรู้สึกและอารมณ์ที่รุนแรงได้๘. ใช้ความคิดไตร่ตรองในขณะที่ฟังว่า ข้อความที่ฟังมีการใช้ภาษาที่สละสลวย หรือมีความน่าเชื่อถือเพียงใดÊ×è͵‹Ò§æ 㹪ÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹÁÕà¾×èÍ¡Òÿ˜§áÅСÒôÙÍ‹ҧÁÒ¡ÁÒ Ê×èͺҧª¹Ô´¨Ñ´à»š¹ สื่อที่ก่อประโยชน์ให้แก่ชีวิตและสังคม ขณะที่บางสื่ออาจมอมเมาให้หลงเชื่อจนเกิดการเปลี่ยนทัศนคติ ตลอดจนเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตได้ ทั งนี สื่อบางชนิดอาจเป็นเสมือนดาบสองคมที่มีทั งคุณและโทษ โดยข นอยู่กับผู้ใช้สื่อนั น ดังนั น การรู้เท่าทันในการเลือกรับสื่อด้วยวิ ีการ ง การดูนอกจากจะต้องได้รับการฝึกฝนจนเกิดทักษะตั งแต่เล็กจนโตแล้ว จะต้องใช้สติไตร่ตรอง ใช้สมองคิด รวมถ งใช้ประสบการณ์มาร่วมพิจารณาใคร่ครว ก่อนตัดสินใจเชื่อหรือป ิบัติตามและสิ่งส�าคั ที่สุดของการรับสารด้วยการ งและการดู คือ สามารถน�าประโยชน์จากการ งการดูมาปรับใช้กับการด�าเนินชีวิตประจ�าวันของตนได้113

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนเลือกฟังหรือดูสื่อ ๑ รายการ แล้วน�าเสนอหน้าชั้นเรียนตามหัวข้อที่ก�าหนด - หลักการเลือกฟังหรือดู - คุณค่าที่ได้รับจากการฟังหรือการดู๒. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสื่อต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อผู้ฟังหรือผู้ดูพร้อมเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม๓. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ภาษาของสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ว่ามีลักษณะอย่างไร มีผลดีหรือผลเสียต่อผู้รับสื่ออย่างไร๑. การรับสารด้วยการฟังและการดูมีความส�าคัญอย่างไร๒. การฟังปาฐกถา ผู้ฟังมีจุดมุ่งหมายในการฟังอย่างไร๓. หากนักเรียนต้องการฟังหรือดูสื่อเพื่อให้ได้ข้อคิด คติชีวิต ควรเลือกฟังและดูสื่อ ประเภทใด๔. การฟังหรือการดูข่าวสารต่างๆ มีประโยชน์อย่างไร๕. จงอธิบายและยกตัวอย่างว่า เหตุใดจึงต้องเลือกฟังและดูสื่อให้เหมาะสมกับวัย114

นวยการ รียนร ที่òสาระการ รียนร กนกลา • การสรุปแนวคิดและการแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู• การเลือกเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ• มารยาทในการฟัง การดู และการพูดการสรุปความ ากการ ง การด ในป ุ ันความเ ริ กาวหนาทางเทคโนโลยีท าใหการน าเสนอขอม ลขาวสารตางๆ ปราก ในร ปแ ที่ทันสมัย รั สารสามารถรั สารไดทั้ง ากการ งและการด โดย านสื่ออิเล็กทรอนิกสไดอยางรวดเร็ว ทักษะการ งหรือด เพื่อสรุปความ ึงมีความส าคั อยางยิ่ง เพราะ ะท าให รั สารเขาใ เรื่องราว สรุปความ ากเรื่องที่ งและด ไดถ กตอง ชัดเ นตัว ี วัด• สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ท ๑ ม ๔-๖ ๑ • ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วก�าหนดแนวทางน�าไปประยุกต์ใช้ในการด�าเนินชีวิต ท ๑ ม ๔-๖ • มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู ท ๑ ม ๔-๖ ๔ • มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๑ ม ๔-๖ ๖ ตอนที่ ๓

๑.ห กการ งแ การด เพื่อสร ความการสรุปความจากการฟัง การดู คือ การย่อความชนิดหนึ่งซึ่งผู้ฟังหรือดูจะต้องท�าความเข้าใจเนื้อเรื่องและจุดมุ่งหมายของเรื่อง จึงจะสามารถสรุปประเด็นหรือแนวคิดส�าคัญของเรื่องที่ฟังและดูได้ด้วยส�านวนภาษาของตนเองการฟังและดูเพื่อจับประเด็นและสรุปความ เป็นทักษะเบื้องต้นที่ทุกคนจะต้องฝึกฝน เพราะจะต้องติดตามฟังและดูเรื่องราวต่างๆ โดยตลอด ดังนั้น ต้องมีสมาธิในการฟังและดู สามารถแยกแยะได้ว่าข้อความใดเป็นใจความส�าคัญ ข้อความใดเป็นพลความ ถ้าเข้าใจเรื่องราวได้โดยตลอดย่อมจดจ�าเรื่องราวที่ฟังและดูสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ด้วยในการฟังแต่ละครั้ง ต้องจับประเด็นของเรื่องที่ฟังได้ คือ รู้ว่าผู้พูดต้องการสื่อสารอะไรเป็นประเด็นส�าคัญ และรู้ว่าอะไรคือประเด็นรองซึ่งขยายประเด็นส�าคัญ การฟังเช่นนี้เป็นการฟังเพื่อจับใจความส�าคัญ ใจความรอง และรายละเอียดของเรื่อง วิธีการฟังเพื่อจับใจความ มีดังนี้๑. ฟังเรื่องราวให้เข้าใจ พยายามจับใจความส�าคัญของเรื่องเป็นตอนๆ ว่าเรื่องอะไรใครท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร๒. ฟังเรื่องราวที่เป็นใจความส�าคัญแล้วหารายละเอียดของเรื่องที่เป็นลักษณะปลีกย่อยของใจความส�าคัญ หรือที่เป็นส่วนขยายใจความส�าคัญ๓. สรุปความโดยรวบรวมเนื้อหาสาระส�าคัญอย่างครบถ้วน วิธีการสรุปความจากการฟังจะต้องค้นหาให้พบว่าสารใดเป็นความคิดส�าคัญในเรื่องนั้นๆ แล้วสรุปไว้เฉพาะใจความส�าคัญโดยเขียนชื่อเรื่อง ผู้พูด โอกาสที่ฟัง วัน เวลา และสถานที่ที่ได้ฟังหรือดูไว้เป็นเครื่องเตือนความทรงจ�าต่อไป สื่อสิ่งพิมพหรือสื่ออื่น ที่ออกแบบอยางสวยงามสามารถดึงดูดความสนใจไดเปนอยางดี▼11

.แนว างการสร ความ ากการ ง การด การสรุปความจากการฟัง การดู ควรพิจารณาในด้านเนื้อหาและการใช้ภาษา ทั้งนี้เนื้อความของสารที่สรุปต้องรักษาเนื้อความเดิมและยังคงใจความส�าคัญไว้ครบถ้วน แนวทางในการสรุปความจากการฟัง การดู มีดังนี้๑. ฟังหรือดูแล้วเก็บใจความส�าคัญของเรื่องให้รู้ว่าใคร ท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไรและบันทึกเรื่องย่อไว้๒. ฟังหรือดูเนื้อความที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจความหมายอย่างชัดแจ้งทุกๆ ตอน๓. ใช้ภาษาที่กระชับ กะทัดรัด และครอบคลุมเนื้อความ ตรงตามวัตถุประสงค์ และมีความหมายชัดเจน๔. ตั้งค�าถามจากเรื่องที่ฟังหรือดู เพื่อทดสอบความเข้าใจในการฟังของตนเอง ตั้งค�าถามถามตนเองอยู่ตลอดเวลาในขณะที่ฟัง เพื่อเป็นการทดสอบความเข้าใจพื้นฐาน ได้แก่ ใคร ท�าอะไรที่ไหน เมื่อไร อย่างไร แล้วน�าค�าถามที่ได้มาสังเคราะห์ ก็จะได้เนื้อความใหม่ที่สรุปได้จากความเข้าใจของตนเองตัวอยา การสร ปความ ากการ การด เร ่อง การดูแลรักษาชมพู่ที่มา รายการโทรทัศน์ เกษตรสัญจรความรู้ที่ ้รับ ากการ ง การ ูการดูแลรักษาชมพู่ในเรื่องการห่อผล แม้จะต้องท�าด้วยความยากล�าบาก ลงทุนสูงและต้องใช้เวลานาน แต่ผลที่ได้ก็นับว่าคุ้มค่า ความส�าคัญของการห่อผลส�าหรับชมพู่ดังกล่าวหากจะเปรียบเทียบกันระหว่างผลที่ห่อและไม่ได้ห่อแล้ว แม้จะเป็นชมพู่ในต้นเดียวกันก็ตามยังได้ลักษณะผลที่แตกต่างกันมาก เหมือนมาจากคนละต้น ทั้งในด้านรูปร่าง ลักษณะของผล และรสชาติ โดยเ พาะความหวานจะแตกต่างกันมากด้วย คือ ผลชมพู่ที่ได้จากการห่อจะได้ผลที่มีลักษณะสีผิวนวล สวยงาม ไม่มีรอยด่าง หรือรอยถูกท�าลายจากโรคและแมลง มีเนื้อหนากรอบ น�้าหนักผลดี มีรสชาติหอมหวาน ส่วนในผลที่ไม่ได้ห่อจะมีผิวกร้านแข็ง เนื้อบาง ไม่กรอบและรสหวานน้อยกว่าสร ปความ ร ่อ นี งานหนักที่สุดและส�าคัญมากในการดูแลรักษาชมพู่ คือ การห่อผลชมพู่ จากต้นเดียวกันการห่อผลและไม่ห่อผลจะให้ลักษณะผลที่แตกต่างกันมากในด้านรูปร่าง ลักษณะของผล รสชาติ และความหวาน11

.มาร า นการ งแ การด ๑. มองสบตาผู้พูด ไม่มองออกนอกห้องหรือมองไปที่อื่น อันเป็นการแสดงว่าไม่สนใจเรื่องที่พูดและไม่เอาหนังสือไปอ่านขณะที่ฟังหรือดู๒. รักษาความสงบ ไม่ส่งเสียงรบกวนผู้อื่น ไม่รับประทานของขบเคี้ยว เพราะเป็นการท�าลายสมาธิของผู้อื่น ควรปดโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อไม่ให้รบกวนสมาธิของผู้อื่น และไม่ควรพาเด็กเล็กๆ เข้าโรงภาพยนตร์หรือในที่ที่ต้องการความสงบ๓. แสดงกิริยาอาการที่เหมาะสม ไม่นั่งเกี้ยวพาราสีกันในที่สาธารณะที่ต้องการความสงบในการฟังและการดู เพราะนอกจากจะรบกวนสายตาผู้อื่นแล้วยังเป็นการแสดงกิริยาที่ขัดต่อขนบธรรมเนียมของไทยอีกด้วย๔. ในการดูภาพไม่ควรขีดเขียน หรือฉีกภาพซึ่งแสดงถึงความไม่มีวัฒนธรรมที่ดีงามการรับสารโดยใช้ทักษะการ ง การดู เพื่อให้เกิดผลในทางสร้างสรรค์ ผู้รับสารµŒÍ§ÍÒÈÑ»˜¨¨Ñµ‹Ò§æ à¾×èÍãËŒ¡ÒÃÃѺÊÒÃÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ àÁ×èÍÃѺÊÒÃÁÒáŌǵŒÍ§ãªŒÊµÔ»˜ÞÞÒพิจารณาสาร แยกแยะข้อเท็จจริง และสรุปใจความส�าคั ของสารโดยอาศัยการไตร่ตรอง วิเคราะห์ วินิจ ัย และประเมินค่า ่งต้องหมั่นฝึกฝนเป็นประจ�า จ งจะช่วยให้ผู้รับสารสามารถน�าสารที่ได้รับไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการด�าเนินชีวิตได้อย่างมีประสิท ิภาพและประสิท ิผล11

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนร่วมกันดูสารคดีที่น่าสนใจ ๑ เรื่อง น�ามาวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน แล้วสรุปสาระส�าคัญ ประโยชน์ที่ได้รับจากการดูสารคดี๒. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับส�านวนที่ก�าหนดให้ แล้วร่วมกันสรุปความรู้ และหลักการน�าส�านวนไปใช้ในชีวิตประจ�าวันให้เหมาะสม เช่น - ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด - สีซอให้ควายฟัง - ไม่ดูตาม้า ตาเรือ๓. ให้นักเรียนเลือกฟังรายการวิทยุที่มีประโยชน์ ๑ รายการ เป็นเวลา ๑ สัปดาห์แล้วจดบันทึกสาระส�าคัญเพื่อน�าส่งครู๑. การฟัง และการดูเพื่อสรุปความเป็นทักษะที่จ�าเป็นต้องใช้ในชีวิตประจ�าวันหรือไม่ อย่างไร๒. การชมภาพยนตร์เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการน�าไปใช้ ควรปฏิบัติอย่างไร๓. หากตอบค�าถามเกี่ยวกับเรื่องที่ดู หรือฟังไม่ได้ แสดงว่าผู้ดู หรือผู้ฟัง มีข้อบกพร่องอย่างไร และควรแก้ไขอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป11

ตอนที่ ๓ นวยการ รียนร ที่óสาระการ รียนร กนกลา • การพูดต่อที่ประชุมชน• มารยาทในการฟัง การดู และการพูดการพ ดตอที่ประชุมชนการพ ดตอที่ประชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ ยอมกอใหเกิด ลดีทั้งแก พ ดและสวนรวม ที่ประส ความส าเร็ ในหนาที่การงาน สวนหนึ่งอาศัยการพ ดเปนสื่อชักน าความส าเร็ ของตน การ ก นการพ ด ควรศึกษาหาความร เพิ่มเติมอย เสมอ พรอมทั้งเขาใ หลักการ และหลักเกณฑของการพ ดเปนอยางดี ึง ะสง ลใหการพ ดสัม ทธิ ลเปนที่ประทั ใ  งตัว ี วัด• พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม ท ๑ ม ๔-๖ ๕ • มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๑ ม ๔-๖ ๖

๑. ความหมา องการพ ด ่อ ่ ร ม นการพูด หมายถึง การถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความรู้สึก และความต้องการของผู้พูดออกมา โดยอาศัยถ้อยค�า น�้าเสียง และกิริยาท่าทางที่เหมาะสมกับสภาพวัฒนธรรม ท�าให้ผู้ฟังสามารถรับรู้เข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้พูดได้อย่างกระจ่างชัด และสามารถแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบให้ผู้พูดทราบจนเป็นที่เข้าใจตรงกันได้การพูดที่ดีจึงหมายถึง การพูดที่มีวัตถุประสงค์ที่แน่ชัดและได้รับการตอบสนองจากผู้ฟังให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งใจ รวมทั้งผู้พูดควรมีความจริงใจและมีความรับผิดชอบต่อการพูดของตนการพูดต่อที่ประชุม คือ การพูดในที่สาธารณะ มีผู้ฟังเป็นจ�านวนมาก ผู้พูดต้องสนใจปฏิกิริยาตอบสนองของผู้ฟัง ทั้งที่เป็นวัจนภาษาและอวัจนภาษา การพูดต่อหน้าประชุมชนเป็นการเปดโอกาสให้ผู้พูดได้แสดงความสามารถเฉพาะตัว เป็นทั้งศาสตร์และศิลป ซึ่งไม่จ�าเป็นต้องอาศัยพรสวรรค์เสมอไป สามารถฝึกฝนได้ นอกจากนี้การฝึกพูดต่อที่ประชุมชน ยังเป็นวิธีที่ดีอีกวิธีหนึ่งในการปรับปรุงบุคลิกภาพทั้งภายในและภายนอก เพื่อพัฒนาให้เป็นนักพูดที่ดี . ดม ่งหมา องการพ ด ่อ ่ ร ม นในการพูดแต่ละครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการพูดระหว่างบุคคล การพูดในกลุ่ม และการพูดต่อที่ประชุมชน ย่อมจะต้องมีจุดมุ่งหมาย โดยทั่วไปแล้วจุดมุ่งหมายของการพูด มีดังนี้๑) เ ่อบอกเร ่องราวที่ควรรู้แก่ผู้ งตามปกติมนุษย์มีความสนใจที่จะรู้เรื่องราวในชีวิตประจ�าวันที่ก�าลังเกิดขึ้นกับเพื่อนบ้าน กับชาติ หรือกับโลก หรือต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพ หรือความส�าเร็จของบุคคลทั้งที่เสียชีวิตไปแล้วและยังมีชีวิตอยู่ เพื่อน�าสาระความรู้มาพัฒนาตนเองหรือเพื่อประเทืองปัญญาและจิตใจ๒) เ ่อสร้างความบันเท งใ ให้แก่ผู้ งตามธรรมดาทุกคนย่อมพอใจที่จะได้ฟังเรื่องราวที่ท�าให้ตนเกิดความรู้สึกสนุกสนาน ร่าเริง หรือขบขัน ซึ่งอาจเป็นเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ส่วนตัว ข้อบกพร่อง หรือนิสัยของตนเองที่ท�าให้ผู้อื่นเห็นขัน หรือข้อเสนอที่โง่อย่างน่าขัน ตลอดจนการพูดที่เกี่ยวกับการผจญภัย ความรัก ความส�าเร็จในชีวิต และเรื่องของภูตผีป ศาจ เรื่องเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ฟังรู้สึกตื่นเต้น เร้าใจ สนุกสนาน และช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดในชีวิตประจ�าวันได้เป็นอย่างดี121

๓) เ ่อ ูงใ ผู้ งบางครั้งมนุษย์มีความจ�าเป็นที่จะต้องพูดเรียกร้อง ชักชวน โน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้รู้สึกคล้อยตาม แล้วกระท�าตามความประสงค์ของผู้พูดด้วยการท�าให้เชื่อ การเร้าความรู้สึก และการสร้างความประทับใจ ๑ การท า ่อ เป็นการพูดที่มุ่งให้ผู้ฟังเปลี่ยนแนวคิด หรือย�้าให้มีความเชื่อมั่นในแนวคิดนั้นๆ มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ผู้พูดจะต้องมีเหตุผล มีข้อโต้แย้งที่มีน�้าหนัก มีข้อพิสูจน์ที่ประกอบด้วยข้อเท็จจริง หรือมีข้อวิจารณ์ของผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งมีลีลาการพูดที่น่าเชื่อถือ ๒ การ ร าความร ส ก เป็นการพูดที่มุ่งกระตุ้น หรือเร้าความรู้สึกผู้ฟังให้ปฏิบัติตามแนวคิดของผู้พูด ไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม หรือพ ติกรรมส่วนบุคคล เช่น การออกเสียงเลือกตั้ง การบริจาคเงินเพื่อการกุศล และการออกก�าลังกายประจ�าวันผู้ฟังจะปฏิบัติตามผู้พูดต่อเมื่อตนเกิดความเชื่อมั่นว่า การปฏิบัติตามนั้นเป็นเรื่องที่สมควรหรือ เป็นประโยชน์ ดังนั้น ผู้พูดต้องพูดอย่างมีเหตุผล มีความจริงใจ และมีความปรารถนาดีไปพร้อมๆ กันด้วย การสร า ความประทับ เป็นการพูดที่มุ่งย�้าความรู้สึกและอารมณ์ของผู้ฟังให้รู้สึกซาบซึ้งและตระหนักถึงคุณค่าของความดี ความประณีตงดงาม ศีลธรรมจรรยา และค่านิยมของสังคม โดยผู้พูดต้องพยายามใช้ตัวอย่างที่ผู้ฟังเคยรู้เห็นและเข้าใจอยู่แล้ว เพื่อเน้นให้เข้าใจยิ่งขึ้น . ก การพ ด ่อ ่ ร ม นลักษณะการพูดต่อที่ประชุมชน แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท ดังนี้๑) การ ู เ ี่ยวหร อ ู คนเ ียวหมายถึง ผู้พูดต้องพูดตามล�าพังต่อหน้าที่ประชุมหรือต่อหน้าชั้นเรียน เรื่องที่พูดอาจเป็นการพูดเล่าเรื่อง พูดแสดงความคิดเห็น พูดวิจารณ์ พูดชี้แจงหรือพูดสรุปความอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนการเตรียมพร้อมด้านเนื้อหาสาระ คือ ผู้พูดจะต้องเตรียมเนื้อเรื่องให้เหมาะกับผู้ฟัง เหมาะกับเวลา โอกาสที่พูด รวมทั้งเหมาะกับบุคลิกและอุปนิสัยของผู้พูดด้วย ทั้งนี้ควรเป็นเรื่องที่มีจุดมุ่งหมายเพียงประการเดียว เพื่อช่วยผู้ฟังให้จับประเด็นของเรื่องได้ถูกต้องเข้าใจเนื้อเรื่องได้ดี ข้อส�าคัญจะต้องเป็นเรื่องที่ผู้พูดสนใจ มีความรู้และประสบการณ์หลักการพูดเดี่ยวหรือพูดคนเดียว มีหลักส�าคัญ ดังนี้๑. ต้องรู้จักการใช้สายตาท่าทางประกอบการพูด การสบสายตาเป็นการแสดงออกถึงอารมณ์ตามเนื้อเรื่องที่พูด ส่วนการแสดงท่าทางเป็นสิ่งที่ช่วยดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง และช่วยสร้างจินตนาการให้ผู้ฟังมากยิ่งขึ้น ถึงแม้จะพูดกับคนจ�านวนมาก ผู้พูดก็ต้องมองไปยังผู้ฟังให้รู้สึกว่าก�าลังพูดกับทุกคน การเคลื่อนไหวหรือการใช้ท่าทางที่เหมาะสมเป็นการแก้ความซ�้าซาก แต่มีข้อควรระวังคือ อย่าเคลื่อนไหวมากเกินไปหรือยืนอยู่กับที่นานๆ122

๒. ต้องรู้จักใช้ถ้อยค�าภาษา คือ ควรรู้ถ้อยค�ามาก รู้จักใช้ถ้อยค�าที่หลากหลายและใช้ถ้อยค�าให้เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ และบุคคล ตลอดจนรู้จักใช้ค�าพูดที่สั้น กะทัดรัด เข้าใจง่ายมีน�้าหนัก มีเสียงรุกเร้าให้เกิดอารมณ์ รู้จักใช้ค�าราชาศัพท์ให้ถูกต้อง สามารถยกตัวอย่างค�าคม หรือสุภาษิตประกอบการพูด เพื่อช่วยเสริมเนื้อหาให้น่าสนใจและจ�าได้ง่าย๓. ต้องรู้จักใช้น�้าเสียง ควรพูดด้วยน�้าเสียงที่สอดคล้องกับอารมณ์ของเรื่องที่จะพูดน�้าเสียงที่น่าฟังที่สุด คือ เสียงสนทนาซึ่งดังพอที่ผู้อยู่ไกลสุดจะได้ยิน พูดด้วยอัตราช้าเร็วที่พอเหมาะ มีการทอดจังหวะเล็กน้อย เน้นถ้อยค�าหนักเบา สูงต�่า หยุด หรือเร็วกระชั้นชิด ตามเนื้อความที่พูด ออกเสียงถ้อยค�าชัดเจนถูกต้องตามหลักภาษาและแสดงความเป็นกันเอง อีกทั้งควรรู้จักเว้นจังหวะหยุดเล็กน้อยก่อนและหลังการแสดงความคิดเห็นที่ส�าคัญ๔. ต้องรู้จักใช้อารมณ์ขัน ช่วยสร้างบรรยากาศให้มีความสนุกสนาน เสริมผู้พูดให้มีเสน่ห์น่าสนใจยิ่งขึ้น ทั้งยังช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของผู้ฟัง ถึงแม้ว่าเรื่องที่พูดจะเป็นเรื่องธุรกิจการงาน หรือเรื่องที่ก่อให้เกิดอารมณ์เครียดมากเพียงใดก็ตาม อารมณ์ขันสามารถท�าเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่ายได้ และดึงความสนใจของผู้ฟังได้นาน๕. ต้องรู้จักใช้ตัวอย่าง สถิติ หรือข้อมูลต่างๆ หากผู้พูดรู้จักน�าตัวอย่าง สถิติ หรือข้อมูลต่างๆ มาเปรียบเทียบอ้างอิงได้ จะท�าให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจ เห็นภาพชัดเจนขึ้น และท�าให้เกิดความรู้สึกเชื่อถือผู้พูดยิ่งขึ้น๒) การ ู หมู่หร อ ู หลายคนหมายถึง ผู้พูดต้องมีตั้งแต่สองคนขึ้นไป เรื่องที่พูดเป็นเรื่องที่ควรรู้ทั่วๆ ไป ไม่เจาะจงเรื่องหนึ่งเรื่องใดโดยเฉพาะ อาจเป็นปัญหาของครอบครัว หรือของโรงเรียนที่จ�าเป็นต้องอาศัยกลุ่มบุคคลมาช่วยกันแสดงความคิดเห็น เพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นให้ลุล่วงไปได้ การแสดงความคิดเห็นในลักษณะเช่นนี้ คือ การอภิปราย .ห กการพ ด ่อ ่ ร ม นการพูดต่อที่ประชุมชนที่ดีควรค�านึงถึงหลักการพูดหรือแนวทางการพูด เพื่อให้การพูดบรรลุจุดมุ่งหมายและเหมาะสมกับสภาพของวัฒนธรรมในการพูด โดยมีหลักการที่ส�าคัญ ดังนี้๑) ต้องรู้เร ่องที่ ู หมายถึง ทุกคนควรพูดในเรื่องที่ตนรู้ดีที่สุด มีประสบการณ์มากที่สุด หรือผู้พูดจะต้องเชื่อว่า ตนรู้เรื่องที่จะพูดมากกว่าผู้ฟัง จึงจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้น และมีความพร้อมที่จะพูด ซึ่งจะมีผลท�าให้พูดได้ดีเป็นที่ประทับใจของผู้ฟัง หากจ�าเป็นจะต้องพูดเรื่องที่ตนรู้ไม่ลึกซึ้งเพียงพอ ก็ต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จนมีความมั่นใจว่าตนรู้ดีพอแล้วจึงพูด๒) ต้องรู้ ักที่ประชุมหมายถึง การรู้จักลักษณะกว้างๆ บางประการของผู้ฟัง ได้แก่ เพศวัย ขนาดหรือจ�านวน ระดับการศึกษา อาชีพ ความเชื่อ และศาสนาของผู้ฟัง ทั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมตัวของผู้พูดที่จะสามารถเลือกใช้ภาษา เนื้อหา หรือเรื่องราวต่างๆ ที่เหมาะสมกับ123

ความสนใจของผู้ฟังแต่ละเพศ แต่ละวัย แต่ละกลุ่ม หรือแต่ละอาชีพ จึงจะยังผลให้การพูดได้รับความส�าเร็จด้วยดี ๓) ต้องรู้ ักล า ับเร ่องให้เป นระเบียบหมายถึง การรู้จักทักทายที่ประชุมให้ถูกต้องเริ่มต้นให้ตื่นเต้น ด�าเนินเรื่องให้กลมกลืน และสรุปจบให้จับใจ หลักเกณฑ์การล�าดับเรื่องให้เป็นระเบียบ เป็นการช่วยเหลือผู้ฟังให้สามารถติดตามเรื่องราวที่ผู้พูดพูดได้ง่ายขึ้น การทักทายที่ประชุมควรใช้สรรพนามแทนตัวกลุ่มบุคคลไม่เกิน ๓ กลุ่ม เช่น ท่านประธาน ท่านวิทยากร และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน หลังจากทักทายที่ประชุมเสร็จแล้วให้เริ่มเรื่องที่น่าสนใจ เช่น ขึ้นต้นด้วยค�าถาม เล่าเรื่องที่เพิ่งเกิดขึ้นชวนให้ติดตาม หรือยกย่องผู้ฟังอย่างคมคาย ต่อจากนั้นกล่าวด�าเนินเรื่องให้กลมกลืนกับการขึ้นต้น ล�าดับเหตุการณ์ก่อนหลังให้เด่นชัดและเป็นเหตุเป็นผลกัน ควรยกตัวอย่างหรือสถิติข้อมูลต่างๆ มาอ้างอิงให้ผู้ฟังเห็นภาพ เพื่อส่งเสริมเรื่องที่พูดให้น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ๔) ต้องรู้ ักว ี ู หมายถึง การรู้จักเลือกวิธีพูดที่เหมาะสมกับสถานการณ์แต่ละครั้งเช่น การพูดในบรรยากาศที่โศกเศร้า ควรมีวิธีการพูดที่นุ่มนวล มีน�้าเสียง และท่าทางประกอบที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่พูด เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและประสบการณ์ของผู้พูดไปยังผู้ฟังให้เกิดผลดีและน่าสนใจ ) ต้องรู้ ักสร้างการ ู ให้น่าสนใ หมายถึง ผู้พูดจะต้องรู้จักวิธีที่จะท�าให้การพูดน่าสนใจ มีชีวิตชีวา เช่น ใช้สายตาเพื่อแสดงให้ผู้ฟังเห็นว่าผู้พูดให้ความสนใจ หรือให้ความส�าคัญกับผู้ฟังมากน้อยเพียงใด ใช้เสียงที่ดัง-เบาปลุกเร้าความสนใจของผู้ฟัง ใช้สื่อประกอบการพูด ซึ่งผู้พูดควรฝึกใช้ให้เกิดความคล่องแคล่ว และที่ส�าคัญไม่ควรให้สื่อโดดเด่นกว่าผู้พูด กล่าวคือ ผู้พูดจะใช้สื่อก็ต่อเมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่าจะช่วยสร้างความเข้าใจในเนื้อหาให้แก่ผู้ฟังได้ดีกว่าค�าพูดเพียงประการเดียว นอกจากนี้การแต่งกายของผู้พูดยังช่วยสร้างความน่าสนใจ และความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้นได้เป็นการสร้างความประทับใจเมื่อแรกพบ▼ การพูดที่ดีจะตองรูจักสังเกตและประเมิน ู ง เพื่อปรับเปลี่ยนการพูดใหเหมาะสม กอนการพูด124

.การเ ร ม วพ ด ่อ ่ ร ม นการพูดต่อที่ประชุมชนเนื่องจากมีผู้ฟังเป็นจ�านวนมาก ผู้ฟังย่อมตั้งความหวังว่าจะได้รับความรู้และสาระประโยชน์จากการฟัง ผู้พูดจึงต้องเตรียมตัวเป็นอย่างดี มีความเชื่อมั่นในตนเองกล้าแสดงออกจึงจะช่วยให้ผู้พูดประสบความส�าเร็จได้ การเตรียมตัวพูดต่อที่ประชุมมีวิธีการ ดังนี้๑. ก�าหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจนว่าจะพูดอะไร เพื่ออะไร มีขอบข่ายกว้างขวางมากน้อยเพียงใด๒. วิเคราะห์ผู้ฟัง พิจารณาจ�านวนผู้ฟัง เพศ วัย การศึกษา สถานภาพทางสังคม อาชีพความสนใจ ความมุ่งหวัง และทัศนคติที่กลุ่มผู้ฟังมีต่อเรื่องที่พูดและตัวผู้พูด เพื่อน�าข้อมูลมา เตรียมพูด และเตรียมวิธีการใช้ภาษาให้เหมาะกับผู้ฟัง๓. ก�าหนดขอบเขตของเรื่อง โดยค�านึงถึงเนื้อเรื่องและเวลาที่จะพูด ก�าหนดประเด็นส�าคัญให้ชัดเจน๔. รวบรวมเนื้อหา จัดเนื้อหาที่ผู้ฟังได้รับประโยชน์มากที่สุด มีการรวบรวมเนื้อหาจากการศึกษาค้นคว้าจากการอ่าน การสัมภาษณ์ ไต่ถามผู้รู้ ใช้ความรู้ความสามารถของตนเอง แล้วจดบันทึก๕. เรียบเรียงเนื้อเรื่อง ผู้พูดจัดท�าเค้าโครงเรื่องให้ชัดเจนเป็นไปตามล�าดับ จะกล่าวเปดเรื่องอย่างไร เตรียมการใช้ภาษาให้เหมาะสม กะทัดรัด เข้าใจง่าย ตรงประเด็น และพอเหมาะกับเวลา▼ หองสมุดเปนแหลงขอมูลความรูที่ดีและสะดวกเหมาะส าหรับการเตรียม ึกษาขอมูลตาง กอนการพูด125

๖. การซ้อมพูด เป็นการเตรียมพร้อมเพื่อความมั่นใจ โดยผู้พูดต้องออกเสียงพูดอย่างถูกต้องตามอักขรวิธี มีลีลาจังหวะ ท่าทาง สีหน้า สายตา น�้าเสียง และมีผู้ฟังช่วยติชมการพูด๗. ผู้พูดจ�าเป็นต้องรู้จักสะสมความรู้จากแหล่งต่างๆ เพื่อน�าไปใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการพูดให้บรรลุผลตามที่ตนต้องการ การสะสมความรู้นั้น หาได้จากแหล่งต่างๆ ดังต่อไปนี้๑ ประสบการณ์ของผู้พูดและของบุคคลที่รู้จัก ความรู้และประสบการณ์ที่ผู้พูดได้พยายามสะสมไว้ ย่อมจะสามารถน�าไปใช้ประกอบเรื่องที่ตนจะพูดได้อย่างชัดเจน เนื่องจากเข้าใจดีแล้ว ทั้งยังจะช่วยกระตุ้นให้กล้าพูด เพราะมีความมั่นใจในเรื่องที่พูด๒ แหล่งชุมนุมชนของผู้พูด จะเป็นแหล่งข้อมูลของสภาพความเป็นอยู่ การด�าเนินชีวิต ตลอดจนสภาพวัฒนธรรมต่างๆ ของผู้พูดที่ผู้พูดสามารถน�าขึ้นมาพูดได้อย่างคล่องแคล่ว๓ ผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่น ปราชญ์ในชุมชน แพทย์ หรือสาธารณสุขจังหวัดจัดเป็นผู้เชี่ยวชาญทั้งสิ้น เพราะบุคคลเหล่านี้จะรู้จักและเข้าใจปัญหาในท้องถิ่นที่ตนอาศัยเป็นอย่างดี .วิ การพ ด ่อ ่ ร ม นการพูดต่อที่ประชุมชนเป็นวิธีการน�าเสนอสารต่อผู้ฟัง ส่วนจะใช้วิธีใดในการพูดขึ้นอยู่กับ จุดมุ่งหมายในการพูด เนื้อหา สาระ โอกาส และสถานการณ์ โดยทั่วไปวิธีการพูดมี ๔ แบบ ดังนี้๑) การ ู ับ ลันเป็นวิธีพูดปกติในชีวิตประจ�าวัน เช่น การพูดคุยในชั้นเรียนหรือที่บ้าน การคุยกันทางโทรศัพท์ การพูดนัดหมายกัน เป็นต้น อันเป็นวิธีการที่ต่างฝ ายต่างผลัดกันพูดและผลัดกันฟังโดยไม่มีการเตรียมตัวมาก่อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการสะสมความรู้และความคิดไว้เป็นส�าคัญ เมื่อถึงโอกาสที่มีผู้ขอร้องให้พูด ก็จะสามารถพูดได้ทันทีทันควัน๒) การอ่านต้นแบบเป็นวิธีการพูดที่ผู้พูดมีเรื่องส�าคัญที่จะต้องแถลงต่อชุมนุมชน หรือผู้ฝึกพูดใหม่ที่ยังไม่มีความเชื่อมั่นในตนเองจะนิยมพูดด้วยวิธีนี้ ซึ่งมีผลเสียคือ สายตาจะไม่สื่อสารกับผู้ฟัง และถ้าผู้พูดไม่ได้ฝึกซ้อมอ่านก่อนออกไปพูดจริง ย่อมเกิดปัญหาในการอ่าน๓) การท่องมา ู เป็นวิธีการพูดที่ไม่เป็นธรรมชาติ ขาดอารมณ์ และขาดการเน้นในส่วน ที่ส�าคัญ บางครั้งอาจท�าให้ผู้พูดลืมพูดบางค�า หรือบางวลีที่ส�าคัญที่ตนตั้งใจจะพูดก็ได้ ยกเว้นผู้พูดที่มีประสบการณ์ในการพูดเช่นนี้เป็นเวลานานหลายป และต้องหมั่นฝึกฝนท่องบทอยู่เสมอ จึงจะช่วยให้พูดได้อย่างมั่นใจ สามารถสื่อสายตากับผู้ฟังได้อย่างทั่วถึง เป็นการถ่ายทอดความรู้ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก และทัศนคติอย่างได้ผล 12

๔) การ ู ที่เตรียมล่วงหน้าเป็นวิธีการพูดต่อที่ประชุมชนที่มีประสิทธิผลที่สุด โดยผู้พูดเตรียมหัวข้อเรื่องการพูดไว้เรียบร้อยแล้ว ต่อมาเตรียมเนื้อเรื่องอย่างสังเขป แล้วลองฝึกซ้อมพูดตามเนื้อเรื่องที่ตนได้เตรียมไว้ อาจดูต้นฉบับที่เตรียมไว้บ้างก็ได้ หรือถ้าไม่ดูเลยก็ยิ่งเป็นการดีเมื่อพูดจบควรให้เพื่อนๆ ช่วยกันวิจารณ์ ถ้าปฏิบัติได้ตามขั้นตอนดังกล่าวจะช่วยให้มั่นใจในตนเอง เป็นตัวของตัวเอง สามารถสบสายตากับผู้ฟังได้ตลอดเวลา เพิ่มพูนความสามารถที่จะถ่ายทอดความคิดได้อย่างจริงใจ รวมทั้งสามารถพัฒนาการใช้ท่าทาง การเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนอิริยาบถให้เป็นธรรมชาติ ซึ่งช่วยให้ผู้พูดได้แสดงออกอย่างอิสระ เป็นต้นว่า การยกค�าพูดของผู้อื่นมากล่าวอ้างอย่างค�าต่อค�า หรือว่าปากเปล่าก็ได้ หรือถ้าจ�าเป็นต้องพูดซ�้าเรื่องเดียวกันก็อาจหาค�าพูดที่ไม่ซ�้ากันก็ได้วิธีการพูดต่อที่ประชุมหรือการพูดให้คนหมู่มากฟังที่ดีที่สุด คือ การพูดที่เตรียมพร้อม ล่วงหน้า แต่ในบางโอกาส อาจจ�าเป็นต้องอ่านต้นฉบับประกอบด้วย ในกรณีที่ต้องกล่าวอ้างค�าพูดของผู้อื่น หรือกล่าวอ้างสถิติต่างๆ หรือบางทีก็จ�าเป็นที่จะต้องท่องบทน�าหรือบทสรุปมาพูดเพื่อ ช่วยให้การพูดเป็นธรรมชาติและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น การพูดต่อที่ประชุมชนเป็นการสื่อสารที่ต้องมีความเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคลที่รับสารส่งสาร ภาษาพูดเป็นภาษาเอกลักษณ์ของคนไทย มีองค์ประกอบที่เป็นแบบแผน เป็นระเบียบป ิบัติสืบต่อกันมา เป็นมรดกวั น รรมทางภาษาที่ต้องดูแล หวงแหนและใช้ให้เกิดคุณค่า มีมารยาท มีจรรยาบรรณในการพูด เพื่อใช้ในการสื่อสารให้เกิดประสิท ิผลแก่ตนเองและสังคม12

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่นักเรียนสนใจ แล้วน�ามาเรียบเรียงเป็นข้อมูลเพื่อฝึกการพูดต่อที่ประชุมชน คนละ ๑ เรื่อง แล้วให้เพื่อนในชั้นเรียนและครูร่วมกันประเมินและเสนอแนะข้อแก้ไขในการพูด เพื่อปรับปรุงการพูดให้ดีขึ้น๒. เชิญนักพูด หรือวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องการพูด มาให้ค�าแนะน�าแก่นักเรียนในการฝึกพูดต่อที่ประชุมชน๓. ให้นักเรียนรวบรวมข้อคิด ค�าคมต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพูด มาจัดท�าเป็นรูปเล่มให้สวยงาม เพื่อเก็บไว้ศึกษาในมุม ยอดนักอ่านอัจฉริยะ ในห้องเรียน๑. การใช้ศิลปะในการพูดมีลักษณะอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๒. การพูดเพื่อให้ความบันเทิงแก่ผู้ฟัง ควรมีการเตรียมข้อมูลและใช้กลวิธีใดในการพูด จึงจะท�าให้ผู้ฟังประทับใจ๓. เหตุใดในการพูดแต่ละครั้งจะต้องค�านึงถึงเพศ วัย และประสบการณ์ของผู้ฟัง๔. การใช้ตัวอย่าง สถิติ หรือข้อมูลมาประกอบในการพูด มีหลักในการใช้อย่างไร๕. หากนักเรียนจะต้องพูดต่อที่ประชุมชน นักเรียนควรเตรียมตัวอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป12

ตอนที่ôหลักภาษาและการใชภาษาา าเปนสื่อสําคัญในการสื่อสารและเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของมนุ ย ถือเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งที่จะชวยใหชีวิตประสบความสําเร จ หากผูใช า ามีความรูความเขาใจในหลักเก  วิธีการ และได ก นอยางถูกตองยอมชวยใหผูนั้นมีทัก ะในการใช า าเปนอยางดี ึ่ง ั นาการทาง า าที่ดีจะสงผลใหบุคคลนั้นเปนผูมีเหตุผล มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีมนุ ยสัม ันธที่ดีทําใหการสื่อสารเกิดประสิทธิ า

นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ñธรรมชาติและพลังของภาษาตัว ี วัด• อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา ท ๔ ๑ ม ๔-๖ ๑ สาระการ รียนร กนกลา • ธรรมชาติของภาษา • พลังของภาษาภาษาเปนเครื่องมือที่ใชในการสื่อสารของมนุษยเพื่อถายทอดความร  ความเชื่อ ตลอด นวั นธรรม าก ุคคลหนึ่งไปยังอีก ุคคลหนึ่ง การมีความร ความเขาใ เกี่ยวกั ธรรมชาติของภาษา ความหมายของภาษาหนวยเสียงในภาษา การเปลี่ยนแปลงของภาษาและลักษณะทั่วไปของภาษา ตลอด นพลังของภาษา ะชวยใหใชภาษาเพื่อสื่อสารไดชัดเ น ถ กตองตามวัตถุประสงค และมีประสิทธิ ลมากยิ่งขึ้น

๑. รรม า ิ อง า าภาษาเป็นเครื่องมือที่มนุษย์ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เพื่อแลกเปลี่ยนความคิด ความเห็นท ษ ี อารมณ์ ความรู้สึก หรือเพื่อท�าให้เกิดความเข้าใจ ความพึงพอใจ ความเคียดแค้น เป็นต้น กิจกรรมที่ใช้ภาษามีมากมาย เช่น การให้ข้อมูล การชี้แจง การแสดงความคิดเห็น การโฆษณา การอภิปราย การเล่าเรื่อง การโต้แย้ง ตลอดจนการสนทนาในชีวิตประจ�าวัน อาจกล่าวได้ว่ากิจกรรมเกือบทั้งหมดในชีวิตของมนุษย์ล้วนแต่อาศัยภาษาทั้งสิ้นเครื่องหมายที่มนุษย์ใช้สื่อความหมายกัน เช่น สัญญาณไฟ สัญญาณควัน รหัส ท่าทางดนตรี เสียง การแต่งกาย ฯลฯ เครื่องหมายเหล่านี้ไม่ใช่ค�าพูดแต่สามารถใช้สื่อสารได้ จะเห็นได้ว่าแม้แผ่นปายโฆษณาจะใช้ค�าเพียงไม่กี่ค�า แต่ให้อารมณ์หรือความรู้สึกพึงพอใจได้มาก และท�าให้ทราบจุดประสงค์ของการโฆษณานั้นด้วยภาพเป็นส่วนใหญ่ การอธิบายภูมิประเทศก็อาจแสดงด้วยแผนที่ ซึ่งจะท�าให้เข้าใจได้ดีกว่าการใช้ค�าพูดเพียงอย่างเดียว ภาษาพวกนี้เรียกว่าอวั น า า คือ ภาษาที่ไม่ใช่ค�าพูด ในปัจจุบันภาษาชนิดนี้มีความส�าคัญมากขึ้น และมีหลักเกณฑ์ในการใช้มากขึ้นกว่าแต่ก่อน ๑.๑ ความหมา ของ า าค�าว่า า า อาจแบ่งความหมายออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ า า นความหมาย ว้าง หมายถึง ภาษาที่ใช้ค�าพูด วัจนภาษา และภาษาที่ไม่ได้ใช้ การสื่อสารในชีวิตประจ าวันจะตองใชทักษะทาง าษา ประกอบกันทั้งวัจน าษาและอวัจน าษา▼ค�าพูดหรือภาษาท่าทาง อวัจนภาษา ทั้งนี้ภาษาในความหมายนี้ อาจนับรวมภาษาของสัตว์ด้วยแต่เรื่องภาษาของสัตว์นี้ยังมีข้อมูลไม่มากนัก จึงไม่ค่อยมีใครน�ามากล่าวรวมกับภาษาของมนุษย์ า า นความหมาย ค หมายถึงภาษาที่ใช้ค�าพูด จะเป็นค�าพูดหรือลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็นเครื่องหมายใช้แทนค�าพูดก็ได้ ดังนั้น ความหมายของภาษาที่เขียนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจ�าวัน ก็คือความหมายประการหลังซึ่งหมายถึง ถ้อยค�าที่มนุษย์ใช้สื่อความกันได้ นักภาษาจึงเรียกความหมายของภาษาในแง่นี้ว่า ความหมาย ค เพราะจ�ากัดอยู่เพียงค�าพูดของมนุษย์เท่านั้น 131

อย่างไรก็ตามเมื่อมนุษย์พัฒนาขึ้นก็มีวิธีถ่ายทอดเสียงพูดเป็นสิ่งอื่น ในการสื่อสารสิ่งที่ใช้แทนเสียงก็คือ ตัวอัก ร เช่นเดียวกับที่ถ่ายเสียงภาษาไทยเป็นตัวอักษรไทย ๑.๒ ประเ ทของ า าท ่ใ ้ในการสื่อสารมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคมสามารถสื่อสารกันได้หลายทาง ตั้งแต่การพูดให้ฟัง การเขียนให้อ่าน การสื่อสารผ่านสื่อเทคโนโลยี ฯลฯ เป็นการส่งสารด้วยภาษาถ้อยค�า ถ่ายทอดจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ทั้งนี้สารจะมีประสิทธิภาพเพียงใด ขึ้นอยู่กับทักษะการใช้ภาษาของผู้รับสารและผู้ส่งสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสารต้องมีความสามารถในการใช้ถ้อยค�า สามารถแสดงน�้าเสียง ท่าทาง หน้าตา ได้อย่างเหมาะสม ส่วนผู้รับสารต้องมีความสามารถในการตีความให้กระจ่าง ทั้งจากถ้อยค�า น�้าเสียง บุคลิก แววตา และท่าทางของผู้ส่งสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสารนี้แบ่งได้ ๒ ประเภท ดังนี้๑) ลักษ ะและรูปแบบของอวั นภาษาอวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยค�า มีลักษณะและรูปแบบที่ส�าคัญ ดังนี้๑ ๑ การ สด ออกทา บ น า สามารถบอกเจตนาได้ เช่นน าเสียงอารม ์ของผู้ส่งสาร เสียงดังพอได้ยิน สูงต�่าพอประมาณ ยืดเสียงเล็กน้อย แสดงความสุภาพ เสียงดังมาก กระโชกโ ก าก สั้นห้วน แสดงความไม่สุภาพ ข่มขู่ เสียงค่อยเกินไป พูดอ่อยๆ แสดงความไม่แน่ใจ ลังเลใจ๑ ๒ น า สีย เป็นสิ่งส�าคัญในการสื่อสารเพราะสามารถบอกอารมณ์ ความรู้สึกของผู้ส่งสาร สังเกตได้จากน�้าเสียง ดังตัวอย่างต่อไปนี้การแส งออกทางใบหน้า ยิ้มแย้มแจ่มใส ตกใจ โกรธ แส งเ ตนา เต็มใจ พอใจ ตกใจ ไม่เต็มใจ ไม่พอใจ132

๑ ทาทา คือ กิริยาท่าทางขณะส่งสาร ได้แก่ ท่านั่ง ท่ายืน และการทรงตัวมีผลต่อการส่งสาร เช่นท่าทางสุภาพ ได้แก่ ท่านั่งหรือยืนอย่างสุภาพ แสดงความนอบน้อม ท่าทางไม่สุภาพ ได้แก่ ท่ายืนท�าตัวตามสบาย เอามือล้วงกระเป า หรือท่านั่ง ไขว่ห้างต่อหน้าผู้อาวุโสกว่า ล ๑ ๔ การ ต กาย ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะ และสภาพแวดล้อมการแต่งกายที่สุภาพทั้งเสื้อผ้า รองเท้า ฯลฯ จะช่วยให้ผู้ฟังเกิดความประทับใจและความเชื่อถือในตัวผู้พูด แต่ถ้าแต่งกายไม่สุภาพและไม่เหมาะสมกับสถานที่ อาจจะท�าให้เกิดความเสื่อมศรัทธา๑ ๕ การ คล ่อน ว ในขณะพูดต้องเคลื่อนไหวบ้างพอเหมาะกับเนื้อหาที่พูด แต่อย่าเคลื่อนไหวมากเกินไปเพราะอาจดูเหมือนการแสดงละคร๑ ๖ การ ม อ ละ น ขณะพูดควรใช้มือหรือแขนให้สอดคล้องกับเรื่องที่พูด เช่นก�ามือ เป็นการแสดงความส�าคัญ ผายมือ เป็นการบอกทิศทาง ยกมือทั้งสองข้างพร้อมกัน เป็นการบอกขนาด๑ การ นัยน ตา หรือแววตาสามารถสื่ออารมณ์ของผู้พูดได้ เช่น แปลกใจ สงสัย มั่นใจ ลังเลใจ สมใจ สะใจ ฯลฯ๑ การ า าสัญลัก ณ ตา ที่ก�าหนดขึ้นโดยสังคมกลุ่มต่างๆ หรือภาษาสากล ล้วนใช้สื่อความหมายแทนสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เป็นที่เข้าใจตรงกัน เช่น ตัวหนังสือ สัญญาณมือ สัญญาณไฟ ธง ปายจราจร สัญญาณนกหวีด สัญญาณเสียงต่างๆ และภาษามือของผู้พิการ อวัจนภาษาเหล่านี้ สามารถน�าไปใช้ประกอบกับการใช้วัจนภาษาเพื่อให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ขณะที่พูดอาจใช้มือท�าท่าทางประกอบ ใช้สีหน้า หรือสัญลักษณ์ต่างๆ ประกอบด้วยได้๒) ลักษ ะและรูปแบบของวั นภาษาภาษาไทยมีถ้อยค�าที่แสดงความลดหลั่นชั้นเชิงของภาษาอยู่มาก ทั้งถ้อยค�า ส�านวน โวหาร การเลือกสรรถ้อยค�าจึงเป็นเรื่องส�าคัญที่สุดในการสื่อสาร เพราะถ้าใช้ถ้อยค�าภาษาผิดอาจส่งผลให้การสื่อสารไม่ตรงเปาหมายที่ต้องการ หรือท�าให้เกิดความเข้าใจผิดได้ การใช้วัจนภาษาให้เหมาะกับกาลเทศะและบุคคลจึงเป็นเรื่องที่ควรศึกษาในที่นี้จะขอยกข้อสังเกตของการใช้วัจนภาษาเพื่อศึกษา พิจารณา และเลือกใช้ค�าได้ถูกต้องเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนี้133

๒ ๑ ค าที่มีความ มาย ม อนกัน มีที่ ตา กันการใช้ค�าเหล่านี้ต้องค�านึงถึงโอกาส สถานที่ และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล เช่น๒ ๒ ค าที่ ป น า า ด เมื่อน�าค�าที่เป็นภาษาพูดมาเขียนเป็นภาษาเขียน จะเขียนไม่ตรงกับเสียงพูด เช่นภาษาพูด : เค้าเอาของชั้นไปแล้วไม่คืนได้ไง ภาษาเขียน : เขาเอาของ ันไปแล้วไม่คืนได้อย่างไร๒ ค าที่ ป น า าปาก ค�าที่เป็นภาษาปาก ไม่นิยมน�ามาเป็นภาษาเขียน เช่นภาษาปาก : เยอะแยะ ใบขับขี่ มหาลัย ภาษาเขียน : มากมาย ใบอนุญาตขับขี่ มหาวิทยาลัย๒ ๔ การ ส านวน เป็นลักษณะเด่นของการสื่อสาร เพื่อใช้เปรียบเทียบให้ผู้ฟังเข้าใจได้ทันที ส�านวนเหล่านี้จะมีความหมายไม่ตรงกับค�าที่เขียน เช่นใจยักษ์ หมายถึง มีจิตใจดุร้าย โหดเหี้ยม คอแข็ง หมายถึง ทนต่อรสอันเข้มข้น รุนแรงของสุราได้๒ ๕ การ ั ท าะ น วดว ดียวกัน ละการ ค าผวน การใช้ศัพท์เฉพาะในแวดวงเดียวกัน อาจท�าให้คนนอกกลุ่มฟังไม่เข้าใจ เช่น พยาบาลคุยกันว่า วันนี้ต้องขึ้นวอร์ดหรือเปล่า คนที่ไม่เกี่ยวข้องจะไม่รู้ว่า วอร์ด คือ การเข้าเวรปฏิบัติหน้าที่ หรือการพูดค�าผวน เช่นหมาตาย หมายถึง หมายตา แจ้วหลบ หมายถึง จบแล้วการพูดค�าผวนต้องระมัดระวังไม่ให้หยาบโลน มีบางค�าที่ผวนแล้วมีความหมายทางหยาบโลน จึงต้องพยายามหลีกเลี่ยง๒ ๖ การ า า ิ่น ภาษาถิ่นเป็นภาษาที่ใช้กันเฉพาะหมู่ และนิยมใช้เป็นภาษาพูด แต่มีบางค�าเป็นที่รู้จักกันดีอยู่แล้ว เช่นแซบ ในภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง อร่อย ล�า ในภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง อร่อย หรอย ในภาษาถิ่นใต้ หมายถึง อร่อยระ ับบุคคลค าศั ท์การใช้ภาษาบุคคลทั่วไปพระภิกษุพระบรมวงศานุวงศ์กิน รับประทาน ันเสวย134

๒ การ ค าคะนอ ละส ล าะสมัยเป็นการใช้ค�าสื่อสารกันเพียงชั่วคราว เช่น ซ่าส์ มั่ว ป ง จ าบ ฯลฯ จึงเหมาะที่จะใช้ในการพูดเฉพาะกลุ่มที่สามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจ ไม่เหมาะที่จะน�าไปใช้ในการสนทนาทั่วไปหรือการเขียน ๑.๓ รรม า ิของ า าภาษาทุกภาษาต่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตน แต่อย่างไรย่อมมีลักษณะทั่วไปร่วมกัน ดังนี้๑) ภาษาใช้เสียงส ่อความหมายคนแต่ละชาติ แต่ละกลุ่ม แต่ละพวก ต่างก�าหนดเสียงที่ใช้พูดสื่อความหมายเฉพาะในกลุ่มตนว่าจะให้เสียงใดมีความหมายอย่างใด เมื่อใด ด้วยเหตุนี้ เสียงในแต่ละภาษาจึงต่างกัน เช่น ในภาษาไทยไม่มีเสียงสะกด ล ส อย่างในภาษาอังก ษ หรือภาษาอังก ษไม่มีเสียงสะกด ป ต เพราะเสียงสะกดนี้ในภาษาอังก ษต้องมีการพ่นลมเป็นต้น จะมีก็แต่ค�าที่เกิดจากการเลียนเสียงธรรมชาติเท่านั้นที่อาจจะมีเสียงใกล้เคียงกันมาก กล่าวคือ อาจคล้ายคลึงกันทั้งเสียงพยัญชนะและสระ เช่น ตุ กแก ภาษาไทยกลาง ต กโต ภาษาไทยเหนือ เก กโก ภาษาอังก ษ หรือคล้ายคลึงกันเพียงเสียงใดเสียงหนึ่ง เช่น แมว ภาษาไทย งาว ภาษาจีน การที่ต้องก�าหนดเสียงและความหมายใช้ในภาษาเป็นจ�านวนมาก ท�าให้เสียงที่ใช้ในภาษามีความสัมพันธ์กับความหมายโดยธรรมชาติได้ยาก อาจมีบ้างบางเสียงที่ก�าหนดให้คล้ายคลึงกัน มีความหมายใกล้เคียงกัน หรือมีความหมายไปในทางเดียวกัน แต่ก็ไม่น่าจะถือว่าเสียงสัมพันธ์กับความหมายโดยธรรมชาติ ดังเช่น เซ เฉ เป เหล่ เก เย้ แปลว่า ไม่ตรง ค�าเหล่านี้คงเป็นค�าที่ก�าหนดขึ้นในระยะแรก แต่ภายหลังค�าอื่นที่ผสมสระเดียวกันนี้ ก็มิได้แปลความหมายเช่นนั้น นอกจากนี้คนที่ไม่รู้จักค�าเหล่านั้นมาก่อน เมื่อได้ยินค�าเหล่านั้นก็ไม่อาจบอกความหมายได้ทันที ดังนั้น ถ้าพูดว่า เสียงสัมพันธ์กับความหมายโดยธรรมชาติ ก็ควรจะหมายถึง เ ยง อ ความหมายได้ ม้จะมิได้น ดหมาย นไว้ ่อน แม้คนที่ไม่รู้ภาษานั้นๆ ได้ยินเสียงค�าเหล่านั้น ก็พอจะรู้ความหมายได้เช่นกันค�าหรือเสียงที่จะถือว่ามีความสัมพันธ์กับความหมาย มักจะเป็นค�าจ�าพวกที่เกิดจากการเลียนเสียง จะเป็นการเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ครืนๆ เลียนเสียงฟาร้อง หวิวๆ เลียนเสียงลม ฯลฯ เลียนเสียงสัตว์ร้อง เช่น เหมียว เสียงร้องของแมว โ ่ง เสียงเห่าของสุนัข แปร น เสียงร้องของช้าง ฯลฯ เลียนเสียงเด็กอ่อนหรือเด็กที่ก�าลังหัดพูด เช่น อุแว้ หม�่า อึ ฯลฯ หรือค�าที่เป็นเสียงอุทาน เช่น โอ ย อูย เ ้อ เป็นต้น135

๒) หน่วยในภาษาประกอบกันเป นหน่วยที่ให ่ข นหน่วยในภาษา หมายถึง ส่วนประกอบของภาษา หน่วยที่เล็กที่สุดของภาษา คือ นวย สีย หากน�าหน่วยเสียงมาประกอบกันจะได้หน่วยที่ใหญ่ขึ้น คือ ยา ค เมื่อก�าหนดความหมายให้พยางค์แล้ว พยางค์เหล่านั้นก็จะเป็น ค า ส�าหรับใช้ในภาษา เพราะค�ากับพยางค์แตกต่างกันที่ค�าจ�าเป็นต้องมีความหมาย ส่วนพยางค์ไม่จ�าเป็นต้องมีความหมายก็ได้ และเมื่อน�าค�ามาประกอบกันเข้าตามระบบการใช้ถ้อยค�าของแต่ละภาษา ก็จะได้หน่วยภาษาที่ใหญ่ขึ้นเป็นกล มค า หรือ ถ้าน�าค�ามาเรียงล�าดับกันและได้วลีความหมายครบถ้วนก็กลายเป็น ประโยค ซึ่งจะสั้นหรือยาวขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ส่งสารเป็นส�าคัญภาษาไทยมีทั้งเสียงพยัญชนะและเสียงสระเช่นเดียวกับภาษาอื่นอีกหลายภาษา และที่พิเศษ คือ ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ ท�าให้สามารถสร้างค�าขึ้นได้มากมาย แต่บางค�าอาจมีฐานะเป็นเพียงพยางค์เพราะไม่มีความหมาย เช่น ใช้พยัญชนะ ก ประสมกับเสียงสระ ออ ก็ผันวรรณยุกต์ได้ถึง ๕ เสียง คือ กอ ก่อ ก้อ ก อ ก อ ถ้าน�าเสียงพยัญชนะ ๓ หน่วยเสียง เช่น ง ย ว กับสระ ๑ เสียง เช่น อา และเสียงวรรณยุกต์สามัญ จะสามารถสร้างพยางค์ได้ถึง ๑๒ เสียง ดังนี้งา งาง งาย งาวยา ยาง ยาย ยาววา วาง วาย วาวในภาษาไทยกลางได้ก�าหนดความหมายของค�าเหล่านี้ให้ใช้เพียง ค�า คือ งา ยาวา ยาง ยาย ยาว วาง วาย วาว แต่มิได้ก�าหนดความหมายให้ งาง งาย งาว อย่างไรก็ตามภาษาไทยเหนือได้ก�าหนดความหมายให้ค�า งาย หมายถึง เช้า และ งาว เป็นชื่ออ�าเภอหนึ่งส่วน งาง ยังไม่มีการใช้เป็นค�าในภาษาไทยทุกภาค งาง จึงเป็นเพียงพยางค์ที่ไม่มีความหมายเมื่อน�าค�าเหล่านั้นประกอบกัน อาจจะได้ค�าใหม่ กลุ่มค�า หรือประโยคซึ่งต่างจากภาษาอื่น เช่น วางวาย วางยา วายาว ยางยาว งายาย ยายาย วายาย ยายวางยา วายายยาวเป็นต้นนอกจากนี้ ภาษาไทยยังมีวิธีน�าประโยคมาเรียบเรียงให้ได้ประโยคยาวออกไป โดยจะอยู่ในรูปประโยคความรวมหรือประโยคความซ้อน เช่นเร ่องประโยคกลุ่มค า วลี)ค า ยางค์เสียง13

ันไปเที่ยว ันไปเที่ยวกับแม่ ันไปเที่ยวหัวหินกับแม่ ันไปเที่ยวหัวหินกับแม่และน้องๆ ันไปเที่ยวหัวหินกับแม่และน้องๆ เมื่อป ดเทอมคราวที่แล้ว ันไปเที่ยวหัวหินกับแม่และน้องๆ เมื่อป ดเทอมคราวที่แล้ว ส่วนพ่ออยู่เฝ าบ้าน เพราะต้องเลี้ยงสุนัขอีก ตัวการแต่งประโยคให้ยาวขึ้นสามารถท�าได้โดยการเติมค�าที่เป็น สวน ยาย ไว้หลังค�าที่ต้องการขยาย ต่างจากภาษาอื่นโดยเฉพาะภาษาอังก ษซึ่งจะน�าส่วนขยายมาไว้ข้างหน้าค�าที่ต้องการขยาย ส่วนภาษาไทยมีการเติมส่วนขยาย ดังนี้ เช่น ขยายค�าว่า เ ่ยว ด้วยค�าว่า ม่ ห วหิน และ เมื่อป ดเ อมคราว ่ ้ว นอกจากนี้ยังขยายประโยคให้ยาวขึ้นด้วยการเติมประโยค ่วนพ่ออย ่เ า ้าน และ เพราะ ้องเ ยง น อ ว ท�าให้ประโยคสุดท้ายเป็นประโยคความรวมผู้สื่อสารอาจน�าประโยคต่างๆ มาเรียงกันให้ได้ความหมายหลักอย่างใดอย่างหนึ่ง หน่วยที่เกิดจากการรวมกันของประโยคในลักษณะดังกล่าว คือ ยอ น า หรือ ม รร สัญญา โดยมักน�าประโยคที่ยาวไม่มากมาเรียงกันเป็นย่อหน้า มากกว่าจะแต่งประโยคให้ยาวมากๆ เพราะประโยคยิ่งซับซ้อนก็ยิ่งเข้าใจยาก ท�าให้วิเคราะห์ความหมายยากไปด้วย๓) ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ภาษาที่ไม่มีการน�ามาใช้ในชีวิตประจ�าวันแล้ว เรียกว่า า าตาย ภาษาที่ตายแล้วจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอีก เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสก ต ภาษาละติน การศึกษาภาษาเหล่านี้ก็เพื่อหาความรู้ในส่วนที่เกี่ยวข้อง หรือเพื่อรู้เรื่องราวที่เขียนด้วยภาษานั้นๆ เท่านั้น เช่น ศึกษาภาษาบาลีเพื่อน�าไปอ่านบทสวดมนต์ หรือศึกษาภาษาสันสก ตเพื่อให้รู้ความหมายของค�าศัพท์ เป็นต้น มิใช่ศึกษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจ�าวัน ส่วนภาษาที่ยังใช้อยู่ย่อมมีการเปลี่ยนแปลง บางค�าอาจเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยจนไม่ทันสังเกต บางค�าอาจเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง ๑ การ ปลี่ยน ปล อัน กิด าก รรม าติ อ การออก สีย เป็นลักษณะทางเสียงที่เกิดเหมือนๆ กันทุกภาษา เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ�าวัน ได้แก่การกลืนเสียง อย่างนั้น ยังงั้นการกลายเสียง สะพาน ตะพานการตัดเสียง อุโบสถ โบสถ์การกร่อนเสียง ลูกอ่อน ละอ่อนการสับเสียง ก ต ในภาษาถิ่นอีสาน เช่น ตะกรุด กะตุด13

ทั้งนี้ความหมายอาจคงเดิม หรือความหมายอาจต่างไปจากเดิมก็ได้ นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่เกิดจากการเลียนภาษาของเด็ก เช่น การที่เด็กออกเสียงไม่ตรงกับผู้ใหญ่ หรือเข้าใจความหมายของค�าไม่ตรงกับผู้ใหญ่ จัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางภาษาในลักษณะที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติด้วย ๒ การ ปลี่ยน ปล ที่ กิด ากอิท ิ ล ายนอกมีลักษณะ ดังนี้๑. การยืมค�า หรือลักษณะการใช้ถ้อยค�า แล้วมิได้ดัดแปลงให้เป็นลักษณะของตนโดยสิ้นเชิง จึงมีอิทธิพลท�าให้ภาษาของตนเปลี่ยนแปลงไป อาจมีเสียงเพิ่มขึ้นหรือเสียงแปลกขึ้น เช่น ภาษาไทยไม่มีเสียง ล สะกด มีแต่ น สะกด เมื่อรับค�าว่า ฟุตบอล มาใช้ก็มีผู้ออกเสียง ล สะกดในค�านี้ ซึ่งการยืมค�าจากภาษาหนึ่งเข้าไปใช้ในอีกภาษาหนึ่งท�าได้ ๓ ลักษณะ ดังต่อไปนี้ การทับศั ท์ เป็นวิธีการยืมค�าจากภาษาหนึ่งเข้าไปใช้ในอีกภาษาหนึ่งโดยตรง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูป เช่น เทนนิส ตัง ่าย กีวี เต้าเจี้ยว เทอม ซีอิ ว เมล ทักษิณ เครดิต วิญญาณการแปลศั ท์ค าย ม เป็นการยืมความหมายของอีกภาษาหนึ่งมาใช้โดยแปลความหมายของศัพท์ชนิดค�าต่อค�า เช่นแปลเป็น แกะด�าแปลเป็น วันสุดสัปดาห์แปลเป็น จุดยืนการย มความหมาย เป็นวิธีการยืมความหมายซึ่งเดิมไม่มีใช้ในภาษาเข้ามาใช้ และสร้างค�าขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กับความหมายที่ยืมมา เช่น กิจกรรม ยืมความหมายมาจากค�าว่า วั นธรรม ยืมความหมายมาจากค�าว่า รายงาน ยืมความหมายมาจากค�าว่า ทดสอบ ยืมความหมายมาจากค�าว่า สัมมนา ยืมความหมายมาจากค�าว่า ๒. การใช้ค�าและส�านวนต่างไปจากเดิม เช่น การน�าค�าภาษาต่างประเทศมาใช้ ดังต่อไปนี้13

การ ปลี่ยน ปล อ สิ่ วดล อม เช่น การเลิกสิ่งเก่ารับสิ่งใหม่ การรับความคิดหรือกระบวนการใหม่ๆ การสร้างสิ่งใหม่ๆ เช่น ข้าวของเครื่องใช้ ก็ท�าให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้น ในภาษา เพราะต้องสรรค�ามาใช้เรียกสิ่งใหม่ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ บุฟเฟ ต์ จนค�าเดิมอาจสูญไป หรืออาจจะใช้สื่อความไม่ได้กับผู้ใช้ภาษาที่ต่างรุ่นกันมากๆ เช่น ถ้าพูดว่าแต่งตัวเป ดสะก าด คนรุ่นใหม่อาจไม่คุ้น เพราะปัจจุบันไม่ได้ใช้ค�านี้แล้ว แต่จะพูดว่าแต่งตัวดูหรู ดูไ โซ ทั้งที่ความหมายเดียวกัน แต่ด้วยยุคสมัยที่เปลี่ยนไปท�าให้มีค�าใหม่ๆ มาใช้เรียกแทนการเปลี่ยนแปลงอีกประการหนึ่งที่ต้องมีอยู่ทุกภาษา คือ การสร้างค�าใหม่จากค�าเดิม ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงจากศัพท์เดิม หรือน�าศัพท์อื่นมาประสมกับศัพท์เดิม เช่น ภาษาไทย มีการประสมค�า ซ�้าค�า ซ้อนค�า เพื่อสร้างค�าใหม่ การน�าค�าเดิมที่มีอยู่มาสร้างค�าใหม่นี้ ท�าให้ภาษาไทยมีค�าหลากหลายมากขึ้น และค�าเหล่านี้จะช่วยให้สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นมีชื่อเรียกที่เป็นที่รู้จักและยอมรับร่วมกันในสังคม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งแสดงให้เห็นว่าภาษานั้นๆ เป็นภาษาที่ยังไม่ตาย ยังคงมีการปรับเปลี่ยนตามบริบททางสังคมภาษาค าความหมายภาษาเขมรเมิลดูสไบผ้าแถบ ผ้าห่มผู้หญิงทูลบอกภาษาเปอร์เซียตรามีรอยดุนนูน, เกดองุ่นแห้งจาระบีน�้ามันหล่อลื่นคาราวานหมู่คนเดินทางกุหลาบสีแดง ดอกไม้บัดกรีการเชื่อมโลหะภาษาอาหรับกะลาสีพวกลูกเรือกะไหล่เครื่องเงินขันทีผู้ชายที่ถูกตอนภาษาโปรตุเกสเลหลังขายลดราคาภาษาญี่ปุ่นก�ามะลอการลงรักแบบญี่ปุ่น13

ธรรมชาติประการหนึ่งของภาษา คือ การเปลี่ยนแปลงโดยมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านเสียง ด้านความหมาย ตลอดจนการสร้างค�า ส�านวนจากศัพท์ค�าเดิมท�าให้ค�าศัพท์นั้นๆ เปลี่ยนแปลงความหมายและหน้าที่ไป ดังนั้น ผู้ใช้ภาษาจึงควรศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษาเพื่อให้ใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ๔) ภาษาต่าง มีลักษ ะที่ต่างและคล้ายกัน แม้ว่าภาษาจะมีลักษณะที่ต่างกันอยู่บ้าง แต่ภาษาก็มีลักษณะที่คล้ายคลึงกันหลายประการ ดังนี้๔ ๑ า า ตละ า า สีย ส ่อความ มาย โดยเสียงที่ใช้สื่อความหมายในทุกภาษาอย่างน้อยต้องประกอบด้วยหน่วยเสียงพยัญชนะต้นและหน่วยเสียงสระ ซึ่งบางภาษาอาจมีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ประกอบด้วย๔ ๒ า า ตละ า าสามาร สร า ั ท ม าก ั ท ดิม โดยอาจจะเปลี่ยนแปลงศัพท์เดิมหรือน�าศัพท์อื่นมาประสมกับศัพท์เดิม เช่น ภาษาไทยมีการสร้างค�าด้วยวิธี●การประสมค�า เช่น รถไฟ น�้าปลา เตารีด ชาวบ้าน●การซ้อนค�า เช่น ดูแล ขุ่นมัว ซื้อขาย สูงต�่า●การซ�้าค�า เช่น หลับๆ ตื่นๆ ส่วนภาษาอังก ษมีการเติม หรือค�าอุปสรรคเติมหน้าค�า ท�าให้ค�าค�านั้นมีความหมายผิดไปจากเดิม เช่น - ไม่ ใช้เติมหน้าค�าคุณศัพท์ หรือค�ากริยาวิเศษณ์ ท�าให้มีความหมายตรงกันข้าม เช่น แปลว่า เหมาะสม เมื่อเติม - เป็น แปลว่า ไม่เหมาะสม ส่วน หรือค�าปัจจัยเติมท้ายค�า เช่น - เมื่อเติมหลังค�าว่า ใจดี ใจกว้าง เป็น แปลว่า ความใจดี ในรูปประโยคว่า . เป็นต้น ๔ า า ตละ า ามีส านวน ละมีการ ค า นความ มาย มเช่น ในภาษาไทยมีการใช้ค�าว่า สีหน้า ซึ่งไม่ได้หมายถึง สีของหน้า แต่หมายถึง การแสดงออกทางใบหน้า หรือภาษาอังก ษมีค�าว่า ซึ่งไม่ได้หมายความว่า อากาศร้อน ลมร้อน แต่หมายถึง การคุยโม้ การแสดงกิริยาอาการโอ้อวด เป็นต้น๔ ๔ า า ตละ า ามีค า นิดตา คล ายกัน เช่น ค�านาม ค�าขยายนามค�ากริยา ค�าขยายกริยา เป็นต้น๔ ๕ า า ตละ า ามีวิ ี ยายประโยค ยาวออก ป ด ร ่อย โดยการเติมส่วนขยาย๔ ๖ า า ตละ า ามีวิ ี สด ความคิดคล ายกัน ด เช่น ทุกภาษาต่างมีประโยคที่ใช้ถาม ปฏิเสธ หรือใช้สั่ง๔ า า ตละ า าต อ มีการ ปลี่ยน ปล ตามกาล วลา140

) ภาษาย่อมมีส่วนประกอบที่เป นระบบ มีระเบียบแบบแผน ภาษาต้องมีระบบที่มีระเบียบแบบแผน จึงสามารถใช้สื่อสารกันให้เข้าใจได้ ส่วนประกอบที่ส�าคัญ คือ สัญลักษณ์ ค�าประโยค และความหมาย ทุกส่วนประกอบเหล่านี้ จะรวมกันอย่างเป็นระบบตามระเบียบแบบแผน ท�าให้เกิดเป็นภาษาที่สมบูรณ์ ถ้าขาดส่วนประกอบใดก็จะไม่เป็นภาษา เช่น ต้องน�าสัญลักษณ์มาประกอบกันเป็นค�า จึงจะเกิดความหมาย การน�าค�ามาประกอบเป็นประโยคก็ต้องเรียบเรียงตามระเบียบแบบแผนของภาษา . พ ง อง า าภาษาเป็นเครื่องมือส�าคัญในการด�ารงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพื่อการด�ารงชีวิต และพัฒนาภาษาของตนเองได้ ภาษาช่วยให้มนุษย์รู้จักคิดโดยแสดงออกผ่านทางการพูด การเขียน และการกระท�า ซึ่งเป็นผลจากการคิด ถ้าไม่มีภาษามนุษย์จะคิดไม่ได้ ถ้ามนุษย์มีภาษาน้อย มีค�าศัพท์น้อยความคิดของมนุษย์ย่อมแคบไม่กว้างไกล ผู้ที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีด้วย ส่งผลให้การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆดีขึ้นตามไปด้วย เช่น ผู้ที่รู้ภาษาไทยดี มีทักษะในการอ่านดี เมื่ออ่านแล้วสามารถจับใจความและสรุปความได้ ย่อมส่งผลให้อ่านสาระวิชาความรู้ในแขนงต่างๆ ได้อย่างเข้าใจ ดังนั้นผู้ที่จะเรียนวิชาใดๆ ให้ได้ดี ควรจะมีทักษะทางภาษาไทยอย่างดีเสียก่อน เพื่อเป็นพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ต่อไป▼ การอานหนังสือที่ชอบชวยใหเกิดความ อนคลายและเพลิดเพลินไปกับสาระตาง ที่ไดรับ141

นอกจากนี้มนุษย์ยังใช้ความคิดและถ่ายทอดความคิดเป็นภาษา ซึ่งส่งผลไปสู่การกระท�าผลของการกระท�าส่งผลไปสู่ความคิด ความคิดที่ดีย่อมช่วยกันธ�ารงสังคมให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข มีไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือกันด้วยการใช้ภาษาติดต่อสื่อสาร ช่วยให้บุคคลปฏิบัติตนตามก เกณฑ์ของสังคม เช่น การเจรจาเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ หรือการติดต่อค้าขาย ล้วนมีภาษาเป็นสื่อกลาง ภาษาช่วยให้มนุษย์เกิดการพัฒนา โดยใช้ภาษาในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายโต้แย้งเพื่อน�าไปสู่ผลสรุป มนุษย์ใช้ภาษาในการเรียนรู้ จดบันทึกความรู้ แสวงหาความรู้และช่วยจรรโลงใจด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษาจึงมีพลังในตนเอง เพราะภาษาประกอบด้วยเสียงและความหมาย การใช้ภาษา ถ้อยค�า จึงท�าให้เกิดความรู้สึกต่อผู้รับสาร เช่น เกิดความชื่นชอบ ความรัก ความรู้สึกอคติ เหล่านี้ล้วนเกิดจากพลังของภาษาภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารทั งภาษาพูดและภาษาเขียนทั่วโลกนี ต่างมีพื น านเดียวกัน คือ เพื่อใช้ติดต่อสื่อสาร ท�าให้ผู้อื่นมีความรู้ความเข้าใจ ดังนั น ทุกภาษาจ งมีลักษณะที่คล้ายคล งกันเช่น มีการใช้เสียงและอักษรเพื่อสื่อความหมาย หรือประกอบจากหน่วยเล็ก เป็นหน่วยให ่ ล สิ่งเหล่านี ล้วนเป็น รรมชาติของภาษา ผู้ที่เข้าใจ รรมชาติของภาษาย่อมสามารถใช้ภาษาได้ดีข น ทั งภาษาดั งเดิมของตนเองและภาษาต่างประเทศ อย่างไรก็ตามสิ่งที่ผู้ใช้ภาษาควรค�าน งถ งคือ พลังของภาษา เพราะภาษาสามารถสร้างสรรค์และท�าลายได้ ดังนั น การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมย่อมช่วย �ารงสังคมได้142

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนเล่นเกมปริศนาค�าทายจากภาษาท่าทาง แล้วร่วมกันหาค�าตอบที่ถูกต้อง๒. ให้นักเรียนเขียนเล่าเรื่องจากเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ครูก�าหนด แล้วน�าเสนอหน้าชั้นเรียน๓. ให้นักเรียนยกตัวอย่างเสียงในภาษาที่เกิดจากการเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น - เสียงสัตว์ - เสียงฝน - เสียงอุทาน ๔. ให้นักเรียนยกตัวอย่างค�าที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งแวดล้อม ร่วมกัน อภิปรายและสรุปความรู้ที่ได้รับ๕. ให้นักเรียนยกตัวอย่างการใช้ภาษาที่ท�าให้เกิดความสามัคคีในสังคม แล้วน�ามาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับพลังของภาษาที่มีต่อการด�าเนินชีวิตในสังคม๑. ภาษาในความหมายของนักเรียนคืออะไร จงอธิบายและยกตัวอย่าง๒. อวัจนภาษามีความส�าคัญต่อการสื่อสารหรือไม่ อย่างไร๓. การเปลี่ยนแปลงของภาษามีอิทธิพลมาจากด้านใดบ้าง จงอธิบาย๔. ภาษาเปอร์เซียที่น�ามาใช้ในภาษาไทยมีค�าใดบ้าง จงยกตัวอย่างประกอบ๕. พลังของภาษาส่งผลอย่างไรต่อการสื่อสารในชีวิตประจ�าวัน143

ตอนที่ นวยการ รียนร ที่òสาระการ รียนร กนกลา • ลักษณะของภาษา• เสียงในภาษา• ส่วนประกอบของภาษา• องค์ประกอบของพยางค์และค�า• การใช้ค�าและกลุ่มค�าสร้างประโยคลักษณะของภาษาไทยภาษาเปนเครื่องมือที่มนุษยใชในการติดตอสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความคิดความเห็น ท ษ ี การถายทอดอารมณความร สึก มนุษยอา ใชภาษาเพื่อท าใหเกิดความเขาใ ความพึงพอใ และการโตแยง สง ลใหกิ กรรมที่ใชภาษามีมากมาย เชน การใหขอม ล การชี้แ ง การแสดงความเห็น การโ ษณา การอภิปราย ตลอด นการสนทนาในชีวิตประ าวัน ึงกลาวไดวากิ กรรมในชีวิตของมนุษยลวนแตอาศัยภาษาทั้งสิ้นตัว ี วัด• อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา ท ๔ ๑ ม ๔-๖ ๑ • ใช้ค�าและกลุ่มค�าสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ท ๔ ๑ ม ๔-๖ ๒

๑. ก ส าค อง า า ภาษาไทยเป็นภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษาค�าโดด มีลักษณะเฉพาะของตนเองซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น ดังนี้๑) ค าภาษา ทยแท้ส่วนให ่มี ยางค์เ ียวและมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง มักเป็นค�าที่ใช้เรียกสิ่งต่างๆ ตลอดจนกิริยาอาการของมนุษย์ เช่นค าที่ใช้เรียกช ่อตัวอย่างค า เครือญาติ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย สิ่งของเครื่องใช้ กิริยาอาการ พ่อ แม่ ปู่ ย่า พี่ น้อง ลุง ป า น้า อา หัว หน้า คอ ตา คิ้ว หู ปาก คาง ลิ้น เสื้อ ผ้า ถ้วย ชาม ช้อน โอ่ง ไห จอบ เสียม ไป มา นอน วิ่ง นั่ง ยืน พูด กินค าที่ใช้เรียกช ่อท าหน้าที่ความหมาย ันใบนี้ซื้อที่ไหนนายขนมต้ม อาสาต่อยมวยจนชนะ กริยา ันน้องพูดจาน่า ันเป็นประธานของประโยค ภาชนะส�าหรับตักหรือใส่น�้าเป็นส่วนขยายกริยาเสนอตัวเข้ารับท�าด้วยความเต็มใจน่าหัวเราะ ชวนหัวเราะ๒) ภาษา ทยเป นภาษาที่ ม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปศั ท์ ค�าแต่ละค�ามีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง ใช้ได้อย่างอิสระ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์ไปตามเพศ พจน์ กาล เพราะภาษาไทยจะใช้ค�าอื่นมาประกอบ หรืออาจทราบได้จากบริบท เปรียบเทียบกับภาษาบาลี ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์เพื่อบอกเพศ เช่น กุมาร หมายถึง เด็กชาย กุมารี หมายถึง เด็กหญิง หรือ เทวะ หมายถึง เทวดาชาย เทวี หมายถึง เทวดาหญิง๓) ภาษา ทยสะก ตรงมาตรามาตราตัวสะกดในภาษาไทยมี ๘ มาตรา ซึ่งค�าไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เช่น แม่กก ใช้ ก เป็นตัวสะกด ค�าที่สะกดด้วย ก มักเป็นค�าไทยแท้ เช่น มัก ชัก นัก เป็นต้น อย่างไรก็ตามมีค�าในภาษาไทยบางค�าที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา เช่น ตัวสะกดแม่กด นอกจากใช้ ด สะกดแล้วยังใช้อักษรอื่นสะกด เช่น ดุจ รส บท เป็นต้น เนื่องจากได้รับอิทธิพลค�าภาษาต่างประเทศที่ไทยรับเข้ามาใช้๔) ภาษา ทยมีการเรียงค าในประโยคระบบไวยากรณ์ภาษาไทยถือว่าการเรียงค�าในประโยคมีความส�าคัญ หากเรียงค�าในต�าแหน่งต่างๆ สลับที่กันจะท�าให้ความหมายเปลี่ยนไป เพราะค�าไทยบางค�ามีหลายความหมายและท�าหน้าที่ได้หลายหน้าที่ ดังเช่น ค�าว่า ขัน 145

) ภาษา ทย ะวางค าขยาย ว้หลังค าที่ ูกขยายเนื่องจากภาษาไทยเป็นภาษาเรียงค�า หากมีค�าขยายจะวางอยู่หลังค�าและอยู่ติดกับค�าที่ถูกขยาย เช่น น้องร้องเพลง สีย วาน ราะแมวนอนใต้โต ะท า าน อ อ ) ภาษา ทยมีค าลักษ นามค�าลักษณนามเป็นค�าที่บอกลักษณะของนามข้างหน้า มักใช้ตามหลังค�าวิเศษณ์บอกจ�านวน เช่น กระเทียม ๔ กลีบ ตะกร้า ๒ ฯลฯ และใช้ตามหลังค�านาม บทั่วไปเพื่อเน้นน�้าหนัก และเพื่อบอกให้ทราบลักษณะของค�านามนั้น เช่น นิยาย ร ่อ นี้สนุกมาก น�้าตก  นั้นสวยงาม ธนู นี้ของใคร ฯลฯคัน ) ภาษา ทยมีการสร้างค าข นใหม่โดยวิธีการประสมค�า การซ้อนค�า การซ�้าค�า การสมาสและการสนธิ ดังตัวอย่างต่อไปนี้การประสมค าการ ้อนค าการ าค าการสมาสการสน แม่บ้าน ขายหน้า ยางลบ แข็งแกร่ง บ้านเรือน เกรงกลัว เล็กๆ น้อยๆ สวยๆ อุทกภัย คณิตศาสตร์ มนุษยชาติ พุทธันดร สมาคม ราชูปโภค ) ภาษา ทยมีเสียงวรร ยุกต์ค�าในภาษาไทยมีการใช้วรรณยุกต์ ซึ่งการใช้วรรณยุกต์ที่แตกต่างกันนี้ส่งผลให้ความหมายของค�าเปลี่ยนไป ท�าให้มีค�าในภาษาเพิ่มมากขึ้น เช่นคา หมายถึง ค้างอยู่ ติดอยู่ค่า หมายถึง ราคา คุณประโยชน์ค้า หมายถึง หาของมาขาย ซื้อขายแลกเปลี่ยน ) ภาษา ทยมีระ ับ ประเทศไทยมีวัฒนธรรมทางภาษา มีการใช้ค�าพูดให้เหมาะสมแก่บุคคลตามกาลเทศะ ระดับฐานะของบุคคล จึงท�าให้ภาษามีหลายระดับ เช่น ค�าราชาศัพท์ส�าหรับพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก พระสงฆ์ ค�าสุภาพ หรือแม้แต่ภาษากวี เป็นต้น๑ ) ภาษา ทยมีวรรคตอนในการเขียนและ ังหวะในการ ู เพื่อก�าหนดความหมายที่ต้องการ หากแบ่งวรรคตอนผิด หรือพูดเว้นจังหวะผิด จะท�าให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไป14

. เส ง น า าเสียงที่คนทุกชาติทุกภาษาก�าหนดขึ้นใช้สื่อความเข้าใจ ย่อมมีจ�านวนจ�ากัด แต่มิได้หมายความว่า ผู้ใช้ภาษาจะออกเสียงที่ไม่มีในภาษาของตนไม่ได้ เพียงแต่ต้องใช้การฝึกฝนมากบ้าง น้อยบ้าง ตามความถนัดและความสามารถของแต่ละคน การที่เสียงในภาษามีจ�ากัด เครื่องหมายที่ใช้แทนเสียงซึ่งส่วนใหญ่ก็คือ ตัวอักษร จึงมีจ�ากัดไปด้วย เสียงในภาษาไทยเมื่อเทียบกับภาษาอื่นเช่น ภาษาอังก ษ ภาษาฝรั่งเศส จะเห็นว่าภาษาไทยมีเสียงมากกว่า ท�าให้การถ่ายเสียงเป็นภาษาไทยเป็นไปได้ค่อนข้างดี และแม้ในภาษาอังก ษจะปรากฏเสียงที่ไม่มีในภาษาไทย เช่น ก็ตาม สีย น า า ทยมี สีย คือ เสียงสระ เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยุกต์ ดังนี้๑) เสียงสระและรูปสระเสียงสระ หรือเรียกว่า เสียงแท้ เพราะเป็นเสียงที่ผ่านล�าคอออกมาโดยตรงไม่ถูกปดหรือถูกกัก ณ ที่ใดที่หนึ่งเลย หากเสียงที่เปล่งออกมาถูกปดหรือถูกกักจนเสียงเปลี่ยนไปหรือแปรไป ก็จะเป็นเสียงแปร หรือเสียงพยัญชนะ ในการเปล่งเสียงแต่ละครั้งจะมีเสียงสูงๆ ต�่าๆ ต่างกัน ซึ่งไม่ว่าในภาษาใดก็ย่อมมีเสียงสูงๆ ต�่าๆ ในการพูดทั้งสิ้น แต่ที่พิเศษส�าหรับภาษาไทย คือ การก�าหนดให้เสียงสูง-ต�่ามีความหมาย กล่าวคือ เมื่อเปลี่ยนระดับเสียงของค�า ส่งผลให้ความหมายของค�านั้นเปลี่ยนแปลงไปด้วย เรียกเสียงระดับต่างๆ ที่ก�าหนดขึ้นนี้ว่า เสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยมีเสียงสระเดี่ยวหรือสระแท้ คู่ หรือ ๑๘ หน่วยเสียง สระประสมหรือสระเลื่อน ๓ หน่วยเสียง ดังนี้อัวสระ ดี่ยว ค  ๑ นวย สีย สระประสมป บันก า นด ีย นวย สีย ด ก อีย อ อ ละอัวอิ อีลิ นสวน น าลิ นสวนกลา ลิ นสวน ลั อี++ ===+อ อ ออ อ อ อาอาอาอ อ อ อะ อ อะ อ ออะ ออ อะ อา อ อ อียโอะ โอ อาะ ออ 14

โดยปกติจะเขียนรูปสระอย่างง่ายๆ ดังนี้สระ ท -ะ -า - ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู เ-ะ เ- แ-ะ แ- โ-ะ โ- เ-าะ -อ เ-อะ เ-อสระประสม เ-ีย เ-ือ -ัว เมื่อเติมรูปพยัญชนะ ลงตรงช่องว่าง - จะอ่านออกเสียงได้ เช่น นะ นา โน เป็นต้น การรู้จักรูปสระช่วยให้เข้าใจการสะกดค�า เช่นค�าว่า เตา ถ้ารู้ว่า สระเอา ประกอบด้วยรูปสระ ๒ รูป คือ เ- ไม้หน้า กับ -า ลากข้าง เวลาสะกดค�า จะบอกอย่างถูกต้องว่าต-สระเอา ออกเสียงว่า เตา ไม่ใช่ สระเอ-ต-สระอา แล้วออกเสียงว่า เตา๒) เสียง ยั ชนะและรูป ยั ชนะพยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป หรือ ๔๔ ตัว แต่ใช้เสียงซ�้ากันหลายตัว จึงเหลือเสียงเมื่อเป็นพยัญชนะต้นเพียง ๒๑ เสียง และเป็นพยัญชนะท้ายเพียง๘ เสียง ยั ชนะต้นเ ี่ยวหน่วยเสียงพยัญชนะ๒๑ หน่วยเสียงในภาษาไทยสามารถปรากฏเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ได้ทุกหน่วยเสียงรูป , ป ป , ต ต ฏ , จ จ , ก ก/ , อ อ , พ พ ผ ภ , ท ท ถ ฐ ฑ ธ , ช ช , ค ค ข ( ) , บ บ , ด ด ฎ (ฑ ในบางค�า) , ม ม , น น ณ/ , ง ง , ล ล , ร ร , ฝ , ซ ซ ศ ษ ส , ห , ว ว , ย ย ญ ยั ชนะควบกล าในภาษาไทยมีหน่วยเสียงพยัญชนะที่สามารถออกเสียงควบกล�้า คือ ออกเสียงพยัญชนะ ๒ ตัว ติดกันโดยไม่มีเสียงสระคั่นกลาง และปรากฏเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ได้ ๑๑ คู่ ปัจจุบัน มีค�ายืมจากภาษาอังกฤษท�าให้มีพยัญชนะควบกล�้าเพิ่มขึ้นหลายคู่ เสียงรูป/pr/ปร/pl/ปล/tr/ตร/kl/กล/kr/กร/kw/กว/phl/พล, ผล/phr/พร/khl/คล, ขล/khr/คร, ขร/khw/คว, ขว/br/บร/bl/บล/dr/ดร/thr/ทร/fr/ ร ล/str/ซตร14

อควรสั กตร ป ละ สีย อ อัก ร ทย๑. รูปพยัญชนะมีมากกว่าเสียงพยัญชนะ๒. รูปพยัญชนะแตกต่างกันแต่มีเสียงเดียวกัน เมื่อใช้เขียนค�าแล้วจะพิสูจน์ได้ชัดว่าเป็นเสียงเดียวกันจริงๆ เช่น ค่า ข้า ฆ่า รูปพยัญชนะต่างกันหมดแต่เสียงเดียวกัน หรือช�่า ฉ�่า ต่างกันแต่เสียงวรรณยุกต์ คือ ช�่า เป็นเสียงวรรณยุกต์โท ฉ�่า เป็นเสียงวรรณยุกต์เอก๓. รูปพยัญชนะบางรูปเลิกใช้แล้ว เช่น ๔. การที่ภาษาไทยมีรูปพยัญชนะหลายรูป เนื่องจากการยืมค�าในภาษาอื่นมาใช้ เช่น ภาษาบาลี สันสก ต เขมร แต่ออกเสียงตามอย่างภาษาเดิมไม่ได้ จึงออกเสียงตามเสียงที่มีในภาษาไทย เช่น ออกเสียง ศ ษ ส ให้ต่างกันเหมือนเสียงในภาษาสันสก ตไม่ได้๕. รูปพยัญชนะบางรูปไม่ออกเสียง เช่น●พยัญชนะที่มีไม้ทัณฑฆาตก�ากับ เช่น การณ์ รัตน์ วิรุ ห์● พยัญชนะ ร หรือ ห ที่น�าหน้าพยัญชนะสะกดในค�าบางค�าซึ่งมาจากภาษาบาลี-สันสก ต เช่น สามารถ พราหมณ์● พยัญชนะซึ่งตามหลังพยัญชนะสะกดในค�าซึ่งมาจากภาษาบาลี-สันสก ต เช่นวัตร พุทธ● ร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอักษรควบไม่แท้ เช่น สร้าง จริง● ห หรือ อ ซึ่งน�าอักษรต�่าเดี่ยว เช่น หลาก อยากนอกจากรูปและเสียงพยัญชนะจะไม่ตรงกันเมื่อใช้ในค�าต่างๆ แล้ว รูปและเสียงสระเมื่อใช้ในค�าต่างๆ ก็อาจไม่ตรงกันด้วยเสียงรูปตัวอย่างค า ก ต ป ง น ม ย ว ก ข ค ( ) ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ต ถ ท ธ ศ ษ ส บ ป พ ภ ง น ญ ณ ร ล ม ย ว มาก สุข ภาค เม จัด ดุจ ธุช กฎ ปรากฏ รัตน์ สามารถ อาวุธ พินาศ อาวาส บวบ บาป ภาพ ปรารภ วง จน ผจญ ค�ารณ การณ์ อุบล วิรุ ห์ จม ยาย ยาว ยัญ นะท าย ตัวสะกด 14

ตัวอยา ก สระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป โดยปกติรูปสระที่ต่างกันจะมาจากค�าภาษาอื่น เช่นก�า ไทย กรรม สันสก ต ใน ไทย นัย บาลี พัน ไทย พรรณ สันสก ต ตัวอยา ค�าบางค�ามีรูปสระแต่ไม่ออกเสียงสระ ค�าเหล่านี้เป็นค�าที่มาจากภาษาอื่น เช่นโลกนิติ อ่านว่า โลก-กะ-นิดประวัติ อ่านว่า ประ-หวัดธาตุ อ่านว่า ทาดเหตุ อ่านว่า เหดตัวอยา ค ค�าบางค�าออกเสียง อะ แต่ไม่มีรูปสระ -ะ หรือประวิสรรชนีย์ เช่น สกล นคร จรูญ กรณีย์ วจี เป็นต้น๓) เสียงวรร ยุกต์และรูปวรร ยุกต์ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ กล่าวคือ มีการเปลี่ยนระดับเสียงของค�าในภาษาซึ่งท�าให้ความหมายของค�าเปลี่ยนไป แม้ว่าภาษาทุกภาษามีเสียงสูงๆ ต�่าๆ ในการพูด แต่ถ้าเสียงสูงต�่านั้นไม่ท�าให้ความหมายเปลี่ยนไป ภาษาเหล่านั้นก็มีเพียงระดับเสียงต่างๆ ในการพูด ไม่นับว่ามีวรรณยุกต์ และในบรรดาภาษาที่มีวรรณยุกต์ ภาษาไทยมีลักษณะพิเศษ คือ มีทั้งเสียงและรูปวรรณยุกต์ ๑ สีย วรรณย กต เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยมี ๕ เสียง ๑. ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ ๕ เสียง หมายถึง ภาษาไทยกลางหรือภาษาถิ่นภาคกลาง ซึ่งเป็นภาษามาตรฐาน เป็นภาษาที่ใช้ในราชการ หากเป็นภาษาถิ่นอื่นอาจแตกต่างไปบ้างเช่น ภาษาถิ่นเหนือมีเสียงวรรณยุกต์ ๖ เสียง ๒. การที่ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ ท�าให้สามารถสร้างเสียงต่างๆ ได้มากมาย กลายเป็นค�าที่มีความหมายและเป็นพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เนื่องจากการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ท�าให้ความหมายเปลี่ยนไป เช่น สามารถผันวรรณยุกต์ กอ ก่อ ก้อ ก อ ก อ ได้ครบ ๕ เสียง แต่ใช้เพียง ๒ เสียง คือ กอ และ ก่อ ส่วนอีก ๓ เสียง คือ ก้อ ก อ ก อ เป็นเพียงพยางค์ที่ไม่ได้ใช้ในค�าไทย นอกจากนี้เสียงบางเสียงอาจใช้เขียนค�าที่มาจากภาษาอื่น เช่น เกี ยะ หรือใช้เขียนค�าเลียนเสียง เช่น เผียะ เปรี ยะ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม พยางค์ทุกพยางค์ที่คนไทยออกเสียงมีเสียงวรรณยุกต์ก�ากับอยู่ด้วยเสมอ แต่บางพยางค์เท่านั้นที่สามารถใช้เป็นค�า คือ มีความหมายในตนเอง150

เสียง ชน ค าสามั เอก่โทตรี ัตวาค าเป นค าตายกา-ก่ากะก้าก้ะก าก ะก าก ะ๓. วรรณยุกต์มี ๕ เสียง จะสมบูรณ์จริงเฉพาะการพูด หรือการออกเสียงหมายความว่า สามารถออกเสียงวรรณยุกต์ได้ ๕ เสียงจริงทั้งค�าเป็นและค�าตาย แต่ในการเขียนจะเขียนได้ไม่สมบูรณ์ เช่น ค�าตาย ออกเสียงสามัญได้ แต่เขียนเสียงสามัญไม่ได้ การเขียนจึงเป็น ดังนี้ ๒ ร ปวรรณย กต การใช้รูปวรรณยุกต์ในภาษาไทย สังเกตได้ ดังนี้ ๑. ภาษาไทยมีรูปวรรณยุกต์ ๔ รูปคือ ่ ้ รูปกับเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยอาจไม่ตรงกัน คือ ถ้าพยัญชนะต้นเป็นอักษรต�่า เสียงและรูปวรรณยุกต์จะไม่ตรงกัน หรือจะจ�าง่ายๆ เป็นสูตรว่า ต�่าไม่ตรงรูป คือ ถ้าพยัญชนะต้นเป็นอักษรต�่า รูปวรรณยุกต์เอก จะเป็นเสียงโท เช่น ค่าล�่า ค่ะ หากเป็นรูปวรรณยุกต์โทจะเป็นเสียงตรี เช่น ค้า แล้ว ด้วยเหตุนี้อักษรต�่าจึงไม่ใช้ไม้ตรีเลย ๒. ค�าที่มีพยัญชนะต้นสองตัว ได้แก่ อักษรควบ หรืออักษรน�า เช่น กล - คว - ตร - สล - อร - อย - ฯลฯ ถ้ามีวรรณยุกต์ ต้องเขียนไว้บนพยัญชนะตัวหลัง แต่การผันวรรณยุกต์ถือพยัญชนะตัวหน้าเป็นหลัก . ส่วน ร กอ อง า าส่วนประกอบของภาษา ได้แก่ เสียง ค�า และประโยค ในภาษาไทยมีเสียงพยัญชนะ ๒๑ เสียง เสียงสระ ๒๑ เสียง และเสียงวรรณยุกต์ ๕ เสียง เมื่อน�าเสียงเหล่านี้มาประกอบกันทั้งหมดจะได้ค�าเพิ่มมากขึ้นและเมื่อประกอบเป็นค�าแล้ว สามารถน�ามาเรียงเป็นกลุ่มค�าและประโยคได้เป็นจ�านวนมาก นอกจากนั้น ยังสามารถน�าประโยคที่มีอยู่มารวมกัน หรือซ้อนกันท�าให้ได้ประโยคยาวออกไปเรื่อยๆ โดยไม่จ�ากัดจ�านวน๑) องค์ประกอบของ ยางค์ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ แม้จะแยกเป็นประเภทได้อย่างชัดเจน แต่เสียงเหล่านี้จะอยู่รวมกันเสมอโดยประกอบกันขึ้นเป็นพยางค์ เสียงพยัญชนะที่อยู่หน้าเสียงสระในพยางค์เรียกว่า เสียงพยัญชนะต้น ส่วนเสียงพยัญชนะที่อยู่หลังเสียงสระในพยางค์เรียกว่า เสียงพยัญชนะท้าย หรือเสียงพยัญชนะสะกด ซึ่งเสียงนี้บางพยางค์ไม่มี แต่ทุกพยางค์จะต้องมีเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์เสมอ เสียงพยัญชนะต้นอาจมีเสียงเดียว เช่น ตา มีเสียง ต เป็นเสียงพยัญชนะต้น หรืออาจมีสองเสียงควบกัน เช่น ครู กว่าเสียงพยัญชนะเสียงที่สองนั้นจะเป็นเสียง ร ล ว เท่านั้น เรียกเสียงที่ควบกันนี้ว่า เสียงควบกล�้า151

พยางค์ จึงหมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ พยางค์มีองค์ประกอบ ๓ ส่วนดังนี้ ๑. พยัญชนะต้น อาจเป็นพยัญชนะต้นเดี่ยวหรือพยัญชนะต้นควบ ๒. สระ อาจเป็นสระเดี่ยวเสียงสั้นหรือสระเดี่ยวเสียงยาว หรือสระเลื่อน ๓. วรรณยุกต์การน�าองค์ประกอบทั้ง ๓ ส่วน คือ พยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ มาประสมกัน เรียกว่า วิธีประสมอักษร พยางค์หนึ่งจะมีการประสมอักษรตั้งแต่ ๓ ส่วนขึ้นไป วิธีประสมอักษรมี ๓ วิธี ดังนี้๑ ๑ การประสมอัก ร สวน วิธีนี้เรียกว่า มาตรา กะ กา หรือ แม่ ก กา มีสระพยัญชนะ และวรรณยุกต์ ประสมด้วยสระจ�านวน ๒๑ เสียง ยกเว้น เช่น กะ กา กิ กี กึ กื กุ กู เกะ เก แกะ แก โกะ โก เกาะ กอ เกอะ เกอ เกีย เกือ กัว ส่วนพยางค์ที่มีสระ อ�า ใอ ไอ เอา ก�าหนดตามรูปสระจะเป็นการประสมอักษร ๓ส่วน จัดอยู่ใน ก กา เช่น ด�า ใจ ไป เรา เป็นต้น ถ้าตามส�าเนียงอักษรประสมกันแล้ว ต้องอยู่ในวิธีประสม ๔ ส่วน เพราะเป็นเสียงมีตัวสะกด เช่น สระ อ�า จะมีเสียง ม เป็นตัวสะกด๑ ๒ การประสมอัก ร ๔ สวนวิธีนี้มี ๒ อย่างคือ ๑. ประสม ๔ ส่วนปกติ คือ การประสมอักษร ๓ ส่วน แล้วเพิ่มเติมตัวสะกดเป็นส่วนที่ ๔ เรียกต่างกันเป็น มาตรา ๘ มาตรา คือ แม่กก แม่กง แม่กด แม่กน แม่กบ แม่กม แม่เกย แม่เกอว เป็นค�าตาย ๓ แม่ คือ แม่กก แม่กด แม่กบ นอกนั้นเป็นค�าเป็น พยางค์ประสม ๔ ส่วนปกติ แม่กก ประสมด้วยสระต่างๆ เช่น กัก กาก กิก กีก กึก กืก กุก กูก เก็ก เกก แก็ก แกก กก โกก ก็อก กอก เกิก เกียก เกือก กวก พยางค์ที่ประสมสระอ�า อยู่ในแม่กม พยางค์ที่ประสมสระใอ ไอ อยู่ในแม่เกย พยางค์ประสมสระเอา อยู่ในแม่เกอว ๒. การประสมอักษร ๔ ส่วนพิเศษ คือ วิธีประสม ๓ ส่วน ซึ่งมีตัวการันต์เพิ่มเข้าเป็นส่วนที่ ๔ ได้แก่ แม่ ก กา มีตัวการันต์ เช่น การ์ตูน สัปดาห์ อาคเนย์ เป็นต้น๑ การประสมอัก ร ๕ สวน ได้แก่ วิธีประสม ๔ ส่วนปกติ ซึ่งมีตัวการันต์เติมเข้าเป็นส่วนที่ ๕ ได้แก่ มาตราทั้ง ๘ แม่ ที่มีตัวการันต์ เช่น อัปลักษณ์ เหตุการณ์ แสตมป เป็นต้น152

๒) องค์ประกอบของค าค�า คือ เสียงที่เปล่งออกมาและมีความหมายอย่างหนึ่งจะเป็นกี่พยางค์ก็ได้ พยางค์ที่มีความหมายอาจประกอบด้วยพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ ค�าที่ประกอบด้วยพยางค์เดียวเรียกว่า ค�าพยางค์เดียว เช่น เย็น มา เดิน เพลิน สวน พ่อ ชาย หญิงส่วนค�าที่ประกอบด้วยพยางค์หลายพยางค์ เรียกว่า ค�าหลายพยางค์ เช่น ตุ กตา อาหาร พยัคฆ์เป็นต้น ค�าจึงประกอบด้วยเสียงและความหมายซึ่งมีจ�านวนพยางค์เท่าไรก็ได้ภาษาไทยประกอบด้วยเสียงและความหมาย ในการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องและมีประสิท ิผลจ�าเป็นต้องค�าน งถ งการใช้เสียงในภาษาให้ถูกต้อง เพื่อสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน โดยอาศัยการเรียนรู้และน�าไปใช้ผ่านทักษะการ ง การพูด การเขียนในชีวิตประจ�าวัน153

ะต่างถิ่น ต่างภาษาÀÒ Òã¹áµ‹ÅзŒÍ§¶Ô蹢ͧä·ÂÁÕÊíÒà¹Õ§¡ÒþٴáÅФíÒ Ñ¾··Õèᵡµ‹Ò§¡Ñ¹µÒÁ·ŒÍ§¶Ôè¹ ä´Œá¡‹ ÀÒÉÒ¶Ô蹡ÅÒ§ ÀÒÉÒ¶Ôè¹à˹×Í ÀÒÉÒ¶Ôè¹ãµŒ áÅÐÀÒÉÒ¶Ôè¹ÍÕÊÒ¹ ໚¹µŒ¹ â´ÂÁÕÊÒà˵بҡ¡ÒâҴ¡ÒõԴµ‹Í¡Ñ¹à»š¹àÇÅÒ¹Ò¹ÃÐËÇ‹Ò§¼ÙŒ·Õè¾Ù´ÀÒ Òà´ÕÂǡѹ¨Ö§·íÒãËŒÀÒ Ò¼Ô´à¾ÕéÂ¹ä» ËÃ×Íà¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¢Í§ÀÒ Ò â´Â੾ÒСÒÃà»ÅÕè¹á»Å§àÊÕ§ «Öè§à»š¹ä»Í‹ҧÊÁèíÒàÊÁÍ áÅÐÁÕÃÐàºÕº ·Ñ駹Õéà¾ÃÒÐÀÒ Ò໚¹ÊÔ觷ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ä´Œ ´Ñ§µÑÇÍ‹ҧËÁÒÂà赯 ÀÒ Ò¶Ôè¹à˹×Í ã¹ºÒ§¶Ôè¹ÍÍ¡àÊÕ§¤íÒ¹íÒ˹ŒÒª×èͼÅäÁŒà»š¹ ËÁÐ ÁÐ ËÃ×Í ºÐ ÀÒ Ò¶Ôè¹ÍÕÊÒ¹ 㪌¤íÒÇ‹Ò ËÁÒ¡ ËÃ×Í ºÑ¡ àÃÕ¡¼ÅäÁŒ´ŒÇ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¢Í§ÀÒ Ò¶Ôè¹·Õèà¡Ô´¢Öé¹ ¨Ö§à»š¹»ÃÐ⪹Í‹ҧÂÔè§ËÒ¡ä´Œ Ö¡ ÒÀÒ Ò¶Ô蹢ͧᵋÅзŒÍ§¶Ôè¹ à¾ÃÒзíÒãËŒÊÒÁÒöࢌÒ㨤ÇÒÁ¤Ô´ ÇÑ ¹ ÃÃÁ áÅСÒôíÒçªÕÇÔµ¢Í§¤¹ã¹·ŒÍ§¶Ôè¹ä´Œ ¹Í¡¨Ò¡¹Õé¶×Í໚¹àʹ‹ËÍ‹ҧ˹Öè§ ËÒ¡ÊÒÁÒö¾Ù´ÀÒ Ò¶Ôè¹ä´ŒàÁ×èÍä»àÂ×͹·ŒÍ§¶Ôè¹¹Ñé¹æ ภาคกลางภาคเหนือภาคอีสานภาคใต้ ÃÑ觺‹Ò¡ŒÇ º‹ÒÁÑè¹ º‹Òá¡ ÇËÁÒ¡ÊÕ´Ò‹ÒËÁÙ ªÁ¾Ù‹¹ŒÍÂ˹‹Òº‹Ò˹ŒÍá˹ŒËÁÒ¡à¢Õº˹‹Í¹‹Ò¡ÃзŒÍ¹º‹ÒµŒÍ§ËÁÒ¡µŒÍ§ÅÙ¡·ŒÍ¹ÁоÌÒǺ‹Ò» ÒÇËÁÒ¡¾‹ÒǾÌÒÇÁÐÁ‹Ç§ÁÐÁ‹Ç§ËÁÒ¡Á‹Ç§ÅÙ¡Á‹Ç§ÁÐÅСͺ‹Ò¡ŒÇÂ൴ËÁÒ¡ËØ‹§ÅÍ¡ÍÊѺ»Ðôº‹Ò¢Ð¹Ñ ´ËÁÒ¡¹Ñ´ÊѺô ÂҹѴ ÁÐÅÔ¢¹Ø¹º‹Ò˹عËÁÒ¡ÁÕè˹ع¾Ø·ÃÒº‹ÒµÑ¹ËÁÒ¡·Ñ¹¾Ø·ÃÒªÁ¾Ù‹º‹ÒªÁ¾ÙËÁÒ¡ªÁ¾Ù¹éíÒ´Í¡äÁŒÅÐÁØ´º‹ÒÁØ´ËÁÒ¡Å‹ÒÁØ´ÁØ´ËÃÑè§ ÊÇÒ154

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน เพื่อฝึกเขียน เกี่ยวกับเสียงในภาษาไทย แล้วส่งตัวแทนออกมาน�าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน๒. ให้นักเรียนจับคู่กันฝึกผันเสียงวรรณยุกต์ ๕ เสียงให้ถูกต้อง แล้วสรุปหลักการผันเสียงวรรณยุกต์ให้ถูกต้องเพื่อจดบันทึกความรู้๓. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนหลักภาษาว่ามีประโยชน์ต่อการเรียนอย่างไร เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้กัน๑. ภาษาไทยมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากภาษาอื่นอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่าง๒. สระเลื่อนมีผลต่อการผันเสียงอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป๓. รูปและเสียงของอักษรไทย มีความแตกต่างกันอย่างไร๔. เสียงวรรณยุกต์ในภาษาถิ่นของไทยมีความแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย และยกตัวอย่างประกอบ๕. พยางค์และค�ามีความสัมพันธ์หรือแตกต่างกันอย่างไร155

นวยการ รียนร ที่óสาระการ รียนร กนกลา • ค�าราชาศัพท์ค าราชาศัพทราชาศัพทเปนระเ ีย ของภาษาที่ตองใชใหถ กตองเหมาะสมกั ระดั ของ ุคคลประเทศไทยปกครองในระ อ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ึงมีการใชถอยค าอยางประณีตเปนพิเศษส าหรั พระประมุขและพระราชวงศ ทั้งนี้ยังมีชั้นของ ุคคลที่ตองใชถอยค าใหเหมาะสม คือ พระสง  และสุภาพชน ใช ึงควรร  ักสังเกต ด า และใชใหถ กตอง เพื่ออนุรักษมรดกทางวั นธรรมนี้ไวตัว ี วัด• ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และ บุคคล รวมทั้งค�าราชาศัพท์อย่างเหมาะสม ท ๔ ๑ ม ๔-๖ ตอนที่

๑. ความหมา องค ารา า พ ค�าราชาศัพท์ คือ ค�าสุภาพที่ใช้ให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคลต่างๆ ค�าราชาศัพท์เป็นการก�าหนดค�าและภาษาที่สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอันดีงามของไทย แม้ค�าราชาศัพท์จะมีโอกาสใช้ในชีวิตน้อย แต่เป็นสิ่งที่แสดงถึงความละเอียดอ่อนและเป็นลักษณะพิเศษของภาษาไทย โดยเฉพาะการใช้กับบุคคลกลุ่มต่างๆ ดังต่อไปนี้๑. พระมหากษัตริย์๒. พระบรมวงศานุวงศ์๓. พระภิกษุสงฆ์ สามเณร๔. ขุนนาง ข้าราชการ๕. สุภาพชนวิธีการใช้ราชาศัพท์นั้นต้องค�านึงถึงผู้ฟังเป็นส�าคัญ กล่าวคือ จะต้องใช้ค�าให้เหมาะสมกับฐานะของผู้ฟังไม่ว่าผู้พูดจะเป็นใครก็ตาม เว้นแต่พระภิกษุสงฆ์เท่านั้น ที่ต้องใช้ค�าสุภาพส�าหรับตนเองด้วยในบทนี้จะน�าเสนอการใช้ค�าราชาศัพท์ส�าหรับพระมหากษัตริย์ พระภิกษุสงฆ์ และสุภาพชน ดังต่อไปนี้ . ค ารา า พ ส าหร พร มหาก ริ ค�าราชาศัพท์ ส�าหรับพระมหากษัตริย์เป็นค�าที่ข้าราชบริพารใช้เมื่อกราบบังคมทูลหรือใช้เมื่อกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์ ค�าราชาศัพท์ส�าหรับพระมหากษัตริย์ ที่ควรศึกษาในระดับนี้ มีดังนี้ ๒.๑ ค�านามรา า พท์เมื่อจะใช้ค�านามเป็นค�าราชาศัพท์ต้องเติมค�าว่า ระ และ ระรา หน้าค�านั้นๆเช่น พระชนมายุ พระราชด�าริ พระราชทรัพย์ พระราชวัง ฯลฯ นอกจากนี้ มีค�าบางค�าใช้กับพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวเท่านั้น คือ ระบรม และ ระบรมรา โดยใช้น�าหน้าค�าดังกล่าว เช่น พระบรมราชชนก พระบรมราชชนนี พระบรมราชโองการ พระบรมเดชานุภาพ อ�านาจอันยิ่งใหญ่ พระบรมราชจักรีวงศ์ เป็นต้น15

ค�าอื่นๆ นอกจากนี้ที่น�าด้วย ระรา มี ดังนี้ พระราชหฤทัย (ใจ) พระราชศรัทธา (ความศรัทธา) พระราชกุศล (บุญกุศล) พระราชด�ารัส (ค�ากล่าว) พระราชด�าริ (ความคิด) พระราชสาสน์ (จดหมาย) พระราชประสงค์ (ความประสงค์) พระราชนิพนธ์ (งานประพันธ์) พระราชหัตถเลขา (จดหมาย) พระราชกรณียกิจ (กิจอันพึงท�า) พระราชลัญจกร (ตรา) พระราชปรารภ (ค�ากล่าวถึง)๑) ค านามหมว ร่างกาย น าด วย ระ พระพักตร์ (ดวงหน้า) พระปราง (แก้ม) พระนาสิก (จมูก) พระหัตถ์ (มือ) พระเศียร (ศีรษะ) พระเนตร (ตา) พระกรรณ (หู) พระโอษฐ์ (ปาก) พระศอ (คอ) พระกร (ปลายแขน) พระทนต์ ( ัน) พระนขา (เล็บ) พระพาหา (ต้นแขน) พระชง ์ (แข้ง) พระบาท (เท้า) พระอุระ (อก) พระโสณี (ตะโพก) พระอุทร (ท้อง)๒) นามหมว เคร ่องภาชนะใช้สอย และส ่งต่าง น า ้วย ระ ค า พระสุพรรณศรี (กระโถนเล็ก) พระสุพรรณราช (กระโถนใหญ่) พระเต้า (คนโท) พานพระศรี (พานหมาก) พระเต้าทักษิโณทก (เต้ากรวดน�้า) ถาดพระสุธารส (ถาดเครื่องน�้าร้อน น�้าเย็น)๓) ค านามทั่ว ปที่เต มค า ทรง ต้น หลวง ท้ายค านาม รรม า เครื่องทรง ผ้าทรง ช้างทรง ม้าทรง รถทรง ล ช้างต้น ม้าต้น เรือต้น เรือนต้น กฐินต้น ล ลูกหลวง หลานหลวง เรือหลวง เรือนหลวง สวนหลวง วังหลวง ล ๔) ค านามหมว เคร ่องใช้ เคร ่องประ ับ น า ้วย ลอง ลองพระบาท (รองเท้า) ลองพระองค์ (เสื้อ) ลองพระหัตถ์ส้อม (ส้อม) ลองพระหัตถ์ช้อน (ช้อน)15

น า ้วย ระ พระแท่น (เตียง) พระแท่นบรรทม (เตียงนอน) พระที่ (ที่นอน เจ้านาย) พระเขนย (หมอนหนุน) พระยี่ภู่ (ที่นอน) พระวิสูตร (ม่าน) พระภูษา (ผ้านุ่ง) พระสนับเพลา (กางเกง) พระกลด (ร่ม) พระบัญชร พระแกล (หน้าต่าง) พระที่นั่ง (เรือนหลวง) พระทวาร (ประตู) พระมาลา (หมวก) พระสุคนธ์ (เครื่องหอม, น�้าหอม) พระจุฑามณี (ป น) พระกุณฑล (ตุ้มหู) พระอุณหิส (กรอบหน้า) พระธ�ามรงค์ (แหวน) พระ าย (กระจก) พระสาง (หวี) พระราชอาสน์ (ที่ส�าหรับนั่ง) พระพัชนี (พัด) ) ค านามขัตต ยตระกูล น า ้วย ระ พระอัยกา (ปู่ ตา) พระอัยยิกา พระอัยกี (ย่า ยาย) พระชนก พระบิดร พระบิดา (พ่อ) พระชนนี พระมารดร พระมารดา (แม่) พระเชษฐา (พี่ชาย) พระภคินี (พี่สาว) พระอนุชา (น้องชาย) พระขนิษฐา (น้องสาว) พระโอรส (ลูกชาย) พระธิดา (ลูกหญิง) พระนัดดา (หลาน ลูกของลูก) พระภาคิไนย (หลาน ลูกพี่สาว, น้องสาว) พระปนัดดา (เหลน ลูกของหลาน) พระภาติยะ (หลาน ลูกพี่ชาย, น้องชาย) พระภัสดา พระสวามี (สามี) พระมเหสี พระชายา (ภรรยา) พระป ตุลา (ลุง ซึ่งเป็นพี่ของพ่อ) พระป ตุจ า (ป า ซึ่งเป็นพี่ของพ่อ) พระมาตุลา (ลุง ซึ่งเป็นพี่ของแม่) พระมาตุจ า (ป า ซึ่งเป็นพี่ของแม่) พระสัสสุระ (พ่อตา) พระสัสสุ (แม่ยาย)พระเชษฐภคินี (พี่สาว)15

๒.๒ ค�าสรรพนามรา า พท์การใช้ค�าสรรพนามเพื่อกราบบังคมทูลพระกรุณา กราบบังคมทูล กราบทูล ทูล ด้วยวาจาจะต้องใช้ให้ถูกต้องตามล�าดับชั้น ดังประมวลไว้ในตารางล า ับชั นค าสรร นามบุรุษที่ ๑บุรุษที่ ๒พระมหากษัตริย์ข้าพระพุทธเจ้าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระบรมราชินีนาถข้าพระพุทธเจ้าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระบรมราชินี*ข้าพระพุทธเจ้าใต้ฝ่าละอองพระบาทสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารข้าพระพุทธเจ้าใต้ฝ่าละอองพระบาทสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ข้าพระพุทธเจ้าราชสุดา สยามบรมราชกุมารีใต้ฝ่าละอองพระบาทพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้า าข้าพระพุทธเจ้าใต้ฝ่าพระบาทพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าข้าพระพุทธเจ้าใต้ฝ่าพระบาทพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า (พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าและพระเจ้าวรวงศ์เธอ)เกล้ากระหม่อม (ช)เกล้ากระหม่อม ัน (ญ)ฝ่าพระบาทพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า (พระวรวงศ์เธอ)กระหม่อม (ช)หม่อม ัน (ญ)ฝ่าพระบาทพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ากระหม่อม (ช)หม่อม ัน (ญ)ฝ่าพระบาทสมเด็จพระสัง ราชเกล้ากระหม่อม (ช)เกล้ากระหม่อม ัน (ญ)ฝ่าพระบาทหมายเหตุ พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า ได้แก่ ๑. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ ๒. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ*การใช้ค�าสรรพนามราชาศัพท์ อ้างอิงตามหนังสือราชาศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แต่ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ให้สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ใช้ค�าราชาศัพท์และค�ากราบบังคมทูลพระกรุณาเสมอด้วยค�าราชาศัพท์และค�ากราบบังคมทูลพระกรุณาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทุกประการ อันได้แก่ สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้ว่า ข้าพระพุทธเจ้า สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้ว่า ใต้ฝ าละอองธุลีพระบาท 1 0

ผู้ งค าข นต้นค าลงท้ายพระมหากษัตริย์ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อมด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะสมเด็จพระบรมราชินีนาถขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อมด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะสมเด็จพระบรมราชินี*ขอพระราชทานกราบบังคมทูล ทราบฝ่าละอองพระบาทด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารขอพระราชทานกราบบังคมทูล ทราบฝ่าละอองพระบาทด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ทรงทราบฝ่าละอองพระบาทสยามบรมราชกุมารีขอพระราชทานกราบบังคมทูล ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้า าขอพระราชทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาทควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าขอประทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาทควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า (พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรมและพระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม)กราบทูลทราบฝ่าพระบาทควรมิควรแล้วแต่จะโปรดพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า (พระวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม)ทูลทราบฝ่าพระบาทควรมิควรแล้วแต่จะโปรดพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าทูลฝ่าพระบาทแล้วแต่จะโปรดสมเด็จพระสัง ราชกราบทูลทราบฝ่าพระบาทควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ๒.๓ ค�ากริ ารา า พท์ค�ากริยาที่ต้องเปลี่ยนใช้ตามราชาศัพท์ หรือใช้ค�าสุภาพต่อไปนี้ อาจสังเกตได้ในการพูดการอ่านข่าวทางวิทยุ โทรทัศน์ หรืออาจอ่านได้จากหนังสือพิมพ์ เอกสารของทางราชการอยู่เสมอ ควรสังเกตวิธีใช้จากตัวอย่างต่อไปนี้การใช้ค�าขึ้นต้นและลงท้ายเพื่อกราบบังคมทูลพระกรุณา กราบบังคมทูล กราบทูล ทูลด้วยวาจา*การใช้ค�าขึ้นต้นและค�าลงท้ายเพื่อกราบบังคมทูลพระกรุณา กราบบังคมทูล กราบทูล ทูลด้วยวาจา อ้างอิงตามหนังสือราชาศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แต่ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ให้สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ใช้ค�าราชาศัพท์และค�ากราบบังคมทูลพระกรุณาเสมอด้วยค�าราชาศัพท์และค�ากราบบังคมทูลพระกรุณาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทุกประการ อันได้แก่ ค�าขึ้นต้น ใช้ว่า ขอพระราชทานกราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบฝ าละอองธุลีพระบาท ค�าลงท้าย ใช้ว่า ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม 1 1

๑) ใช้ค า ทรง น าหน้าค านาม หร อ ค ากร ยา รรม าทรง น าหน้าค านามทรง น าหน้าค ากร ยาทรงกี า (เล่นกี า)ทรงงานศิลปะ (ท�างานศิลปะ)ทรงงานอดิเรก (ท�างานอดิเรก)ทรงช้าง (ขี่ช้าง)ทรงดนตรี (เล่นดนตรี)ทรงธรรม ( ังเทศน์)ทรงบาตร (ตักบาตร)ทรงม้า (ขี่ม้า)ทรงศีล (รับศีล) ล ทรงเจิม (เจิม)ทรงท�านุบ�ารุง (ท�านุบ�ารุง)ทรงปฏิบัติ (ปฏิบัติ)ทรง าย (ถ่ายรูป)ทรงพิจารณา (พิจารณา)ทรงรัก (รัก)ทรงเลือก (เลือก)ทรงสนับสนุน (สนับสนุน)ทรงสร้าง (สร้าง) ล ๒) ใช้ค า ทรง ระ น าหน้าค านาม หร อ ค ากร ยาราชาศั ท์ ทรงพระกรุณา (กรุณา) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า (กรุณา) ทรงพระเมตตา (เมตตา) ทรงพระกันแสง (ร้องไห้) ทรงพระสุคนธ์ (ทาเครื่องหอม) ทรงพระกาสะ (ไอ) ทรงพระสุบิน (ฝัน) ทรงพระประชวร (เจ็บป่วย) ทรงพระอุตสาหะ (อุตสาหะ) ทรงพระพิโรธ กริ้ว (โกรธ) ทรงพระวิริยะ (เพียร) ทรงพระสรวล (หัวเราะ) ทรงพระส�าราญ (สบายกาย สบายใจ) ทรงพระวาตะ (ผายลม)๓) ค ากร ยาที่เป นราชาศั ท์อยู่แล้ว ม่ใช้ทรง น าหน้า ตรัส (พูด) ประสูติ (เกิด) ใช้กับพระบรมวงศานุวงศ์ บรรทม (นอน) พระราชทาน (ให้) โปรด (ชอบ) เสด็จนิวัต (กลับมา) เสด็จประพาส (ไปเที่ยว) สรงน�้า (อาบน�้า) เสวย (กิน) สรงพระพักตร์ (ล้างหน้า) ทอดพระเนตร (ดู) ตกพระทัย (ตกใจ)1 2

ค�ากริยาราชาศัพท์บางค�าที่ผู้อื่น เช่น เจ้านาย ข้าราชการ ประชาชน ใช้กับพระมหา-กษัตริย์ และบุคคลชั้นต่างๆ ยังมีอยู่ดังที่ประมวลไว้ในตาราง ต่อไปนี้ค ากร ยาผู้ ู ใช้ส าหรับให้ทูลเกล้า ถวาย (ของเล็ก)น้อมเกล้า ถวาย (ของใหญ่)พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีขออนุญาต ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต พระมหากษัตริย์ขอพระราชทานพระราชานุญาตสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีขอพระราชทานพระอนุญาตพระราชวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้า าขอประทานพระอนุญาตเจ้านายชั้นพระองค์เจ้า สมเด็จพระสัง ราช ขออนุญาตผู้ควรเคารพทั่วไปบอกกราบบังคมทูลพระกรุณาพระมหากษัตริย์กราบบังคมทูลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จ*พระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีีกราบทูลพระราชวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้า าและพระองค์เจ้าทูลหม่อมเจ้าค�าพูดพระราชด�ารัส, พระราชกระแสพระมหากษัตริย์สมเด็จพระบรมราชินีนาถสมเด็จพระบรมราชินีสมเด็จพระบรมราชชนกสมเด็จพระบรมราชชนนีสมเด็จพระยุพราชสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีพระด�ารัสพระราชวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้า าและพระองค์เจ้าสมเด็จพระมหาสมณเจ้าสมเด็จพระสัง ราชเจ้าสมเด็จพระสัง ราชรับสั่งพระราชวงศ์ตั้งแต่สมเด็จเจ้า าถึงหม่อมเจ้าสมเด็จพระมหาสมณเจ้าสมเด็จพระสัง ราชเจ้าสมเด็จพระสัง ราช*การใช้ค�ากริยาราชาศัพท์ อ้างอิงตามหนังสือราชาศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แต่ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ให้สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ใช้ค�าราชาศัพท์และค�ากราบบังคมทูลพระกรุณาเสมอด้วยค�าราชาศัพท์และค�ากราบบังคมทูลพระกรุณาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทุกประการ1 3

. ค ารา า พ ส าหร พร ิก สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นประมุขของสงฆ์ จึงก�าหนดให้ใช้ราชาศัพท์กับสมเด็จพระสังฆราช เทียบเท่าพระราชวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า ส่วนพระภิกษุที่เป็นพระ-ราชวงศ์นั้นคงใช้ราชาศัพท์ตามล�าดับชั้นแห่งพระราชวงศ์ ๓.๑ ค�านามค�านามที่ใช้ส�าหรับพระภิกษุนั้น ส่วนมากใช้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป เว้นแต่ค�าบางค�าที่ก�าหนดไว้เฉพาะพระภิกษุสงฆ์ เช่น กาสาวพัสตร์ ผ้าย้อมฝาด คือ ผ้าเหลืองพระ กลด ร่มขนาดใหญ่ มีด้ามยาว ส�าหรับพระธุดงค์โดยเ พาะ จีวร ผ้าส�าหรับห่มของภิกษุสามเณร คู่กับสบง สบง ผ้านุ่งส�าหรับภิกษุสามเณร สัง าฏิ ผ้าคลุมกันหนาวส�าหรับพระใช้ทาบบนจีวร ใช้พันพาดบ่าซ้าย ตาลปัตร พัดใบตาล มีด้ามยาว ส�าหรับพระใช้ในพิธีกรรม ไทยธรรม ของถวายพระ ธรรมาสน์ ที่ส�าหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม บาตร ภาชนะชนิดหนึ่งส�าหรับภิกษุสามเณรใช้รับอาหารบิณฑบาต บริขาร เครื่องใช้สอยของภิกษุ มี อย่าง รวมเรียกว่า “อัฏฐบริขาร”ได้แก่ สบง จีวร สัง าฏิ บาตร มีดโกน เข็ม ประคดเอวกระบอกกรองน�้า เบญจางคประดิษฐ์ การกราบโดยให้อวัยวะทั้ง คือ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้าผากจดลงกับพื้น ปัจจัย เงินที่ทายกทายิกาถวายพระเพื่อเป็นค่าปัจจัยสี่ คือ เครื่องนุ่งห่มที่อยู่อาศัย อาหาร ยารักษาโรค ลิขิต จดหมายของพระสง ์๑) ค านามหมว ส านที่และส ่งอ ่น กุฏิ เรือนหรือตึกส�าหรับพระภิกษุสามเณรอยู่อาศัย วิหาร วัด ส่วนใหญ่เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป เจดีย์ สิ่งซึ่งก่อเป็นรูปคล้ายลอม าง มียอดแหลม บรรจุสิ่งที่นับถือ เช่นพระธาตุ1 4

พุทธาวาส ส่วนหนึ่งของวัด ประกอบด้วย โบสถ์ วิหาร เจดีย์ ซึ่งใช้เป็นที่ประกอบสัง กรรม โดยมีก�าแพงกั้นไว้จากส่วนที่เป็นสัง าวาส สัง าวาส บริเวณที่อยู่อาศัยของพระสง ์ ประกอบด้วย กุฏิ หอ ัน ศาลาการเปรียญ เป็นต้น หอไตร หอส�าหรับเก็บพระไตรป ฎก อุโบสถ สถานที่ส�าหรับพระสง ์ประชุมกันท�าสัง กรรม เรียกสั้นๆ ว่าโบสถ์๒) ค านามหมว ระภ กษุและบุคคลที่เกี่ยวข้อง สมภาร เจ้าอาวาส อุปัช าย์ พระเถระผู้เป็นประธานในการบวช กรรมวาจาจารย์ อาจารย์ผู้ให้ส�าเร็จกรรมวาจา คือ คู่สวดในการบวช นาค ชายหนุ่มที่ไปอยู่วัดเพื่อเตรียมตัวบวช ทายก ทายิกา ชายและหญิงผู้ถวายจตุปัจจัยแก่ภิกษุสามเณร มหา สมณศักดิ ที่ใช้น�าหน้าชื่อภิกษุที่สอบไล่ได้ตั้งแต่เปรียญธรรม ประโยคขึ้นไป มัคนายก ผู้น�าทาง คือ ผู้จัดการทางกุศล ผู้ชี้แจงทางบุญ ใบฎีกา ต�าแหน่งพระฐานานุกรมอันดับสุดท้าย สมุห์ ต�าแหน่งพระฐานานุกรม เหนือพระใบฎีกา โยม ค�าที่พระภิกษุใช้เรียก ราวาส โยมอุปัฏฐาก ผู้แสดงตนเป็นผู้อุปการะพระสง ์ อุบาสก อุบาสิกา ชาวบ้านชายหญิงที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง ๓.๒ ค�าสรรพนามค�าสรรพนามที่พระภิกษุใช้กับบุคคลระดับต่างๆ มีดังต่อไปนี้บุรุษที่สรร นามที่ใช้ใช้กับ๑ อาตมาอาตมาภาพ เกล้ากระผม ผม กระผม บุคคลธรรมดาทั่วไป หรือผู้มีต�าแหน่งสูง พระราชวงศ์ตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป พระภิกษุที่เป็นอุปัช าจารย์ หรือพระภิกษุ ที่ด�ารงสมณศักดิ สูงกว่า พระภิกษุด้วยกัน1 5

ค�าขานรับของพระภิกษุ มีดังต่อไปนี้ค�าขานรับ ใช้กับบุรุษที่สรร นามที่ใช้ใช้กับ๒ มหาบพิตรบพิตร คุณ คุณ เธอ พระเจ้าแผ่นดิน พระราชวงศ์ พระภิกษุด้วยกันที่ฐานะเสมอกัน บุคคลทั่วไปบุรุษที่สรร นามใช้กับ๑ กระผม ผม (ชาย)ดิ ัน (หญิง) พระภิกษุทั่วไป พระภิกษุทั่วไป๒ พระคุณเจ้าพระคุณท่าน พระสง ์ทรงสมณศักดิ พระภิกษุสง ์ทั่วไปค าขานรับใช้กับขอถวายพระพรครับ ขอรับ เจริญพรพระเจ้าแผ่นดิน พระราชวงศ์พระภิกษุด้วยกัน ราวาสทั่วไปค าความหมาย ครองผ้า รับบิณฑบาต นิมนต์ อาราธนา ันภัตตาหารเพล นุ่งห่ม เช่น ครองจีวร รับอาหารที่ชาวบ้านถวายเวลาตักบาตร เชิญ เป็นการเชิญพระมารับบิณฑบาต ร้องขอพระภิกษุให้ยินดีพอใจท�าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น อาราธนาศีล คือ ร้องขอให้พระภิกษุให้ศีล รับประทานอาหารมื้อกลางวันค�าสรรพนามที่บุคคลทั่วไปใช้กับพระภิกษุ มีดังต่อไปนี้ ๓.๓ ค�ากริ ามีค�ากริยาหลายค�าที่ก�าหนดไว้ใช้ส�าหรับพระภิกษุ เช่น1

. ค า พ ส าหร คค ่ว ค�าศัพท์ส�าหรับบุคคลทั่วไป เรียกอีกอย่างว่า ค�าสุภาพ เป็นค�าที่ใช้ในการสื่อสารด้วยความสุภาพ มีลักษณะหลีกเลี่ยง เปลี่ยนแปลงจากค�าที่ถือว่าไม่สุภาพ หรือไม่เป็นทางการ ดังนี้๑) หลีกเลี่ยงค า ู เหยีย หยามค�าพูดเหยียดหยามผู้อื่นให้ได้รับความอับอาย เช่นค�าหยาบ ค�าด่า ค�าเสียดสี ค�าเหน็บแนมต�าหนิให้ผู้ฟังเจ็บใจ เป็นค�าที่ไม่สมควรพูดเพราะไม่ใช่ค�าสุภาพ๒) หลีกเลี่ยงค าหยาบ ค า ่า ค ากระ ้าง เป็นค�าที่ไม่สมควรพูด เช่น การเรียกผู้อื่นว่าอ้าย อี การใช้สรรพนาม มึง กู การด่าว่าเปรียบเปรยให้ผู้อื่นต�่าเสมือนสัตว์ เช่น ควาย หมาเหี้ย ฯลฯ ถ้าจะกล่าวถึงของเสียที่ขับถ่ายออกจากร่างกาย ก็ควรใช้ค�าอื่นแทน เช่น ปัสสาวะ แทนเยี่ยว อุจจาระ แทนขี้ ผายลม แทนตด ถ้าของเสียนั้นเป็นของสัตว์ ตามต�าราวจีวิภาคของพระยาอุปกิตศิลปสารแนะน�าให้ใช้ค�าว่า มูล แทน ขี้ เช่น มูลนก มูลหนู มูลค้างคาวมูลช้าง ฯลฯ ส่วนค�ากระด้างนั้นเป็นค�าพูดที่ห้วน ไม่มีหางเสียง และมีความหมายไปในเชิงกดผู้อื่นให้ต�่าลง เช่น ไล่ให้ออกไป ก็พูดว่า ไสหัวไป หรือแสดงความดูหมิ่นซ�้าเติม เช่น สมน�้าหน้าค าความหมาย ประเคน เจริญพระพุทธมนต์ จ�าวัด จ�าพรรษา นมัสการ บรรพชา อุปสมบท ลาสิกขา อาพาธ อาบัติ มรณภาพ ถวายของพระโดยวิธียกส่งให้ตามพิธีการที่ก�าหนดไว้ สวดพระพุทธมนต์ นอนหลับ อยู่ประจ�าวัด เดือน ในช่วงเข้าพรรษา การแสดงความอ่อนน้อมโดยการกราบไหว้ บวชเป็นสามเณร บวชเป็นพระภิกษุ สึก ลาออกจากความเป็นภิกษุมาเป็นคนธรรมดา เจ็บป่วย โทษจากการล่วงละเมิดห้ามส�าหรับพระภิกษุ ตาย1

การใช าษาพูดที่สุ าพในการสื่อสารเปนการสรางความประทับใจใหกับคูสนทนา▼๓) หลีกเลี่ยงค าผวนค�าผวน หรือค�าที่มีความหมายสองแง่ ค�าที่ห้ามผวนตามต�าราวจีวิภาคของพระยาอุปกิตศิลปสาร เช่น ที่ห้าที่หก แปดตัว ฯลฯ แต่ถ้าค�าผวนแล้วความหมายไม่หยาบ จะถือว่าเป็นศิลปะการใช้ภาษา เช่น นักร้อง น้องรัก พักรบ พบรัก ฯลฯ ค�าที่มีความหมายสองแง่นั้น แง่หนึ่งมีความหมายธรรมดาตรงตัว แต่อีกแง่หนึ่งอาจมีความหมายไปทางเพศ จึงถือเป็นค�าไม่สุภาพไม่สมควรพูดการใช้ค�าราชาศัพท์ทั งกับพระมหากษัตริย์ พระภิกษุสง ์ และการใช้ค�าสุภาพกับบุคคลสามั ชนทั่วไป เป็นการแสดงวั น รรมทางภาษาอันดีงามของภาษาไทย ทั งยังสะท้อนถ งความเคารพยกย่องในสถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ที่ใช้ค�าราชาศัพท์ได้ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ นอกจากจะได้รับค�ายกย่องว่าเป็นผู้รู้จักการใช้ภาษาได้ดีแล้ว ยังแสดงให้เห็นว่าบุคคลผู้นั นมีมารยาทและวั น รรมอันดีงามในการใช้ภาษา๔) หลีกเลี่ยงค าสแลง ค�าสแลงหรือค�าคะนอง เป็นค�าที่มีใช้กันเฉพาะกลุ่ม เช่น วัยรุ่นนิยมพูดเป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง แล้วผ่านไปก็มีค�าใหม่ขึ้นมาอีก เช่น ค�าว่า แอ บแบ ว แซวซ่าส์ ป ง แจ ว สุดสุด ฯลฯ ค�าเหล่านี้ส่วนมากผู้ที่พูดมักจะมุ่งความสนุกมากกว่าอย่างอื่น เมื่อใดที่จ�าเป็นต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องตามมาตรฐานของค�าสุภาพ ผู้ใช้ภาษาก็ย่อมมีดุลพินิจว่าควรใช้ค�าอย่างไรจึงจะเหมาะสม ) หลีกเลี่ยงภาษาปากแม้ว่าภาษาปากจะไม่ใช่ค�าหยาบหรือค�าสแลง แต่อาจไม่เหมาะส�าหรับการใช้เป็นภาษาทางการ จึงต้องเปลี่ยนให้สุภาพขึ้นตามความเหมาะสม ดังค�าต่อไปนี้ค านามค ากร ยาเกือก ค�าสุภาพ รองเท้าตีน ” เท้าเมีย ” ภรรยา ผัว ” สามีหัว ” ศีรษะกิน ค�าสุภาพ รับประทานโกหก ” พูดปด กล่าวเท็จรู้ ” ทราบเอาไป ” น�าไปอยาก ” ต้องการ ประสงค์1

ะเถาสี่บาทà¶ÒÊÕèºÒ· ໚¹¤íÒÊØÀÒ¾·Õè㪌àÃÕ¡¾×ªª¹Ô´Ë¹Ö觫Öè§ÁÕª×è;ŒÍ§àÊÕ§¡Ñº¤íÒ·Õ褹ä·ÂÊÁÑÂâºÃÒ³àËç¹Ç‹ÒËÂÒºâŹ ¤×Í µŒ¹µíÒÅÖ§ à¹×èͧ¨Ò¡à»š¹ª×èÍ·ÕèÍÍ¡àÊÕ§àËÁ×͹¡Ñº¤íÒÇ‹Ò ÅÖ§¤ «Ö觤¹ä·ÂËÁÒ¶֧ÍÇÑÂÇÐà¾ÈªÒ ¨Ö§ä´ŒÁÕ¡ÒäԴᡌ䢪×èÍàÃÕ¡µŒ¹µíÒÅÖ§ãËÁ‹Ç‹Òà¶ÒÊÕèºÒ· ÍѹÁÕ·ÕèÁÒ¨Ò¡ÁÒµÃÒà§Ô¹¢Í§ä·Âã¹Í´Õµ¤×Í Ë¹Ö觵íÒÅÖ§ÁÕÊÕèºÒ· ¨Ö§Í¹ØâÅÁ㪌àÃÕ¡ª×è͵Œ¹äÁŒª¹Ô´¹ÕéµÒÁä»´ŒÇÂÍ‹ҧäáçµÒÁ µíÒÅÖ§ÂѧÁÕª×èÍàÃÕ¡ÍÕ¡ËÅÒÂÍ‹ҧ«Öè§áµ¡µ‹Ò§¡Ñ¹ÍÍ¡ä»ã¹áµ‹ÅзŒÍ§¶Ôè¹ àª‹¹ ¼Ñ¡á¤º (ÀÒ¤à˹×Í) ¼Ñ¡µíÒ¹Ô¹ (ÀÒ¤ÍÕÊÒ¹) á¤à´ÒÐ (¡ÃÐàËÃÕè§-áÁ‹Î‹Í§Ê͹) ໚¹µŒ¹µíÒÅ֧໚¹äÁŒà¶ÒÅŒÁÅØ¡ÍÒÂØËÅÒ»‚ à¶ÒÁÕÅѡɳСÅÁ ÊÕà¢ÕÂÇ µÒÁ¢ŒÍÁÕ˹ǴàÍÒäÇŒÂÖ´à¡ÒÐ ãºÁÕÊÕà¢ÕÂÇ ÃٻËҧ¤ÅŒÒÂËŒÒàËÅÕèÂÁ àÃÕºäÁ‹ÁÕ¢¹ ¢ÍºãºàÇŒÒ ÁÕ´Í¡ÍÍ¡µÒÁºÃÔàdz«Í¡ãº ¡ÅÕº´Í¡ÁÕÊÕ¢ÒÇ »ÅÒ´͡á¡Í͡໚¹ËŒÒá©¡ ¼ÅÁÕÃٻËҧ¡ÅÁÃÕ ¼Å´ÔºÊÕà¢ÕÂÇ àÁ×èÍÊØ¡¨Ñ´ÁÕÊÕá´§สรรพคุณทางยา• Å´ÍÒ¡Ò÷ŒÍ§Í×´·ŒÍ§à¿‡Í : ¤ÇÃÃѺ»Ãзҹʴ à¾ÃÒÐà͹ä«Áã¹µíÒÅÖ§¨Ð‹ÍÂÊÅÒÂàÁ×èÍâ´¹¤ÇÒÁÌ͹• Å´ÍÒ¡Òäѹ ÍÒ¡ÒÃÍÑ¡àʺà¹×èͧ¨Ò¡áÁŧ¡Ñ´µ‹Í áÅоתÁÕ¾ÔÉ : ¹íÒ㺵íÒÅ֧ʴÁÒµíÒãËŒÅÐàÍÕ´¼ÊÁ¡Ñº¹íéÒ ¤Ñé¹àÍÒᵋ¹íéÒ ·ÒºÃÔàdz·Õè໚¹¨¹¡Ç‹Ò¨ÐËÒ (㪌䴌´ÕÊíÒËÃѺÁ´¤Ñ¹ä¿ ËÃ×Í㺵íÒáÂ)• á¼ÅÍÑ¡àʺ : 㪌ãºËÃ×ÍÃÒ¡Ê´ µíҾ͡ºÃÔàdz·Õè໚¹1

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนค้นหาค�าสุภาพของหมวดค�าที่ก�าหนดให้ถูกต้อง เพื่อให้มีความรู้ที่กว้างขวางขึ้น และจดบันทึกความรู้ลงในสมุด เช่น หมวดผัก ผักบุ้ง ผักกระเฉด ผักกาดหอม หมวดปลา ปลาสลิด ปลาชะโด ปลาช่อน๒. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ค�าสแลง หรือค�าคะนองในปัจจุบัน และบอกข้อควรระวังในการใช้ค�าเหล่านี้๓. ให้นักเรียนจัดนิทรรศการเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการใช้ภาษาไทยในโรงเรียน๑. การศึกษาเรื่องการใช้ค�าราชาศัพท์มีประโยชน์อย่างไร จงอธิบาย๒. การใช้ค�าราชาศัพท์กับพระสงฆ์ มีหลักในการใช้อย่างไร๓. ระดับภาษามีความส�าคัญต่อการใช้อย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๔. ค�าสแลงเป็นค�าที่เปลี่ยนแปลงไปตามสมัยนิยม นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร๕. การใช้ค�าสุภาพสามารถใช้ในการสื่อสารโดยทั่วไปได้หรือไม่ อย่างไร1 0

ตอนที่ นวยการ รียนร ที่ôสาระการ รียนร กนกลา • แต่งบทร้อยกรองประเภท กาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ การแตงค าประพันธประเภทกาพยและโคลง ทรอยกรองเปนค าประพันธที่ถ กรอยเรียงขึ้นโดยมีลักษณะ ังคั ในการแตง เรียกวา ันทลักษณ มีการก าหนด านวนค า ค าเอก ค าโท สัม ัสตามลักษณะของ ทรอยกรองประเภทตางๆ ไดแก โคลง ันท กาพย กลอน ราย การร  ักลักษณะ ประเภทและ ันทลักษณ ะชวยใหแตง ทรอยกรองไดถ กตองและไพเราะตัว ี วัด• แต่งบทร้อยกรอง ท ๔ ๑ ม ๔-๖ ๔

๑. ก งค ร การ อง ร อ กรอง๑) ยางค์คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ จะมีความหมายหรือไม่มีก็ได้ การนับพยางค์ขึ้นอยู่กับลักษณะบังคับของร้อยกรองแต่ละชนิด เช่น ในการแต่งร้อยกรองประเภทฉันท์ถือว่าพยางค์ คือ ค�า แต่ในการแต่งร้อยกรองประเภทอื่น อาจนับรวม ๒ พยางค์เป็น ๑ ค�าได้ เช่น วจี ตลาด สนอง เป็นต้น๒) ค ะคือ ข้อก�าหนดของร้อยกรองแต่ละชนิดว่าจะต้องมีจ�านวนค�า จ�านวนวรรค จ�านวนบาท จ�านวนบทเท่าใด เช่น กลอนแปด ก�าหนดว่า ๑ บทมี ๒ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค ๑ วรรค มี ๘ ค�า เป็นต้น๓) สัมผัสคือ ลักษณะบังคับให้ใช้ค�าคล้องจองกัน มี ๒ ชนิด ดังนี้ ๑ สัมผัสบั คับ หรือสัมผัสนอก คือ ต�าแหน่งบังคับการส่งสัมผัสกันระหว่างวรรค ระหว่างบทของร้อยกรองทุกประเภท โดยก�าหนดใช้ค�าที่ประสมด้วยสระ และมาตราสะกดเดียวกันในการรับส่งสัมผัส ดังบทประพันธ์บัดเดี ยวดังหงั่งเหง่งวังเวงแว่วสะดุ้งแล้วเหลียวแลชะแง้หา เห็นโยคีขี่รุ้งพุ่งออก มาประคอง ขึ้นไปจนบนบรร า ต แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสนสุดลึกล�้าเหลือก�าหน ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน�้าใจคน(พระอภัยมณี : สุนทรภู่)อันความคิดวิทยาเหมือนอา วุ ประเสริฐ ซ่อนใส่เสียในสุ ก สงวนคมสมนึกใคร ึก ักจึงค่อย เชือด ันให้บรรชักลัย จับให้มั่นคั้นหมายให้วายวอด ช่วยให้รอดรักให้ชิดพิสมัย ตัดให้ขาดปรารถนาหาสิ่งใด เพียรจงได้ดังประสงค์ที่ตรงดี(เพลงยาวถวายโอวาท : สุนทรภู่)1 2

๒ สัมผัส นคือสัมผัสภายในวรรค ซึ่งจะมีหรือไม่มีก็ได้ ไม่ได้ก�าหนดให้เป็นสัมผัสบังคับ แต่หากมีจะช่วยท�าให้บทร้อยกรองมีความไพเราะมากยิิ่งขึ้น สัมผัสที่เกิดภายในวรรค อาจเป็นสัมผัสสระ คือ ค�าที่ประสมด้วยสระ และมาตราตัวสะกดเดียวกัน หรืออาจเป็นสัมผัสอักษร คือ ค�าที่ใช้พยัญชนะต้นตัวเดียวกันหรือเสียงเดียวกัน โดยไม่ค�านึงถึงสระและตัวสะกด เช่น ต- -ตก ต�่า แตก ต้าน ต้อน ตื่น เต้น ดังบทประพันธ์เจ้าของตาล หวานรักขึ้นปีนต้น ระวังตนตีนม อ มั มั่นระ เหมือนคบคนค าหวานร าคา ครันถ้า ลั ง ลัน อกเจ็บ เหมือนตกตาล(นิราศพระบาท : สุนทรภู่) สัมผัสสระ ตาล หวาน, หวาน คาญ, ค�า ร�า, อก ตก- สัมผัสอักษร ตน ตีน, มือ มัด มั่น, คบ คน ค�า คาญ - - พลั้ง พลัน, ตก ตาล๔) ค าครุ ค าลหุ คือ ค�าที่มีเสียงหนักและเสียงเบา บังคับใช้ในบทร้อยกรองประเภทฉันท์๔ ๑ ค าคร มี ๓ ลักษณะ ดังนี้๑. ค�าที่ประสมด้วยสระเสียงยาวในแม่ ก กา เช่น มาลี ศรีโสภา๒. ค�าที่มีตัวสะกด เช่น น้อง รัก นักเรียน พากเพียร เขียน อ่าน๓. ค�าที่ประสมด้วยสระอ�า ใอ ไอ เอา เช่น น�้า ใจ ไม่ เมา๔ ๒ ค าล มี ๒ ลักษณะ ดังนี้๑. ค�าที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นในแม่ ก กา เช่น มะลิ เอะอะ๒. ค�าที่ประสมด้วยสระอ�า อาจเป็นได้ทั้งค�าครุและลหุ ในกรณีค�าที่ประสมด้วยสระอ�า เป็นพยางค์หน้าของค�า ๒ พยางค์ ใช้เป็นค�าลหุได้ เช่น ต�าบล ท�านอง ส�าแดง ) ค าเอก ค าโท คือ ค�าที่บังคับใช้รูปวรรณยุกต์เอกและโท ในต�าแหน่งที่ก�าหนดไว้ในบทร้อยกรองประเภทโคลงและร่าย๑. ค�าเอก คือ ค�าหรือพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์เอก เช่น ไม่ ใช่ ที่ ป า นุ่ม๒. ค�าโท คือ ค�าหรือพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น ฟา ให้ น�้า บ้าน๓. ค�าเอกโทษ คือ ค�าโทที่เขียนโดยใช้รูปวรรณยุกต์เอก เช่น“ท่าโขลงโขลงช้างค่าม ตามโขลง” (ข้าม ค่าม)1 3

๔. ค�าโทโทษ คือ ค�าเอกที่เขียนโดยใช้รูปวรรณยุกต์โท เช่น“ใครติสิใครเส้อ ห่อนรู้สีสา” (เซ่อ เส้อ) ) ค าเป น ค าตาย เป็นลักษณะบังคับที่ใช้ในการแต่งโคลง ร่าย และกลบท โดยเฉพาะโคลงสี่สุภาพใช้ค�าตายแทนค�าเอกได้๖ ๑ ค า ป น มี ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ค�าหรือพยางค์ที่ประสมสระเสียงยาวใน แม่ ก กา เช่น มา ดี สี ฟา ๒. ค�าที่มีมาตราตัวสะกด แม่กง กน กม เกย เกอว เช่น กางเกง ลนลาน จุ มจิ มวุ้ยว้าย แวววาว๓. ค�าที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น อ�า ไอ ใอ เอา เช่น ด�าข�า ไปไหน ใจใหญ่๖ ๒ ค าตาย มี ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ค�าหรือพยางค์ที่ประสมสระเสียงสั้นใน แม่ ก กา เช่น เอะอะ เลอะเทอะ ๒. ค�าที่มีมาตราตัวสะกด แม่กก กด กบ เช่น ยึกยัก อึดอัด ซุบซิบ พบรัก ) เสียงวรร ยุกต์คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวาที่ก�าหนดใช้ในบทกลอน ซึ่งถือว่าเสียงวรรณยุกต์เป็นสิ่งจ�าเป็นในการเขียนกลอนให้ไพเราะต้องรู้ว่าค�าท้ายวรรคใดนิยมใช้หรือไม่นิยมใช้เสียงวรรณยุกต์ใด ) ค าน าคือ ค�าขึ้นต้นส�าหรับร้อยกรองบางประเภท เช่น กลอนบทละคร กลอนสักวา กลอนดอกสร้อย กลอนเสภา โดยทุกประเภทมีลักษณะบังคับเช่นเดียวกับกลอนสุภาพ ดังแผนผัง*กลอนบทละคร มีลักษณะบังคับเช่นเดียวกับกลอนสุภาพ วรรคหนึ่งมี ๖- ค�า แต่นิยมใช้เพียง ๖-๗ ค�า จึงจะเข้าจังหวะร้องและร�า โดยจะขึ้นต้นบทว่า เมื่อนั้น บัดนั้น เป็นต้นตัวอย่างเช่นบั นั นนายทัพรับสั่งใส่เกศา ต่างคนต่างขับโยธา ทั้งกองหนุนกองหน้าประดัง เร่งพลพาชีตีกระหนาบ ตัวนายชักดาบออกไล่หลังทนายปืนยิงปืนตึงตัง เสียงดังครื้นครั่นสนั่นดง(อิเหนา : พระราชนิพนธ์ใน ร ๒)กลอนสักวา มีลักษณะบังคับคล้ายกลอนสุภาพ ต่างกันที่ต้องขึ้นต้นว่า สักวา และจบลงด้วยค�าว่า เอย คณะของกลอนสักวาบทหนึ่งมี ๔ ค�ากลอน หรือ ๘ วรรค วรรคแรกหรือวรรคสดับจะใช้ค�าขึ้นต้นแตกต่างกันออกไปตามประเภทของร้อยกรอง แต่วรรคอื่นๆ ก�าหนดสัมผัสบังคับเหมือนกัน1 4

ตัวอย่างเช่นสักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขม ผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอารมณ์ ใคร ังลมเมินหน้าระอาเอย(สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน : พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ)กลอนดอกสร อย บทหนึ่งมี ๘ วรรค วรรคละ ๗-๘ ค�า วรรคแรกมี ๔ ค�า โดยค�าที่ ๑ และค�าที่ ๓ เป็นค�าเดียวกัน ส่วนค�าที่ ๒ จะต้องเป็นค�าว่า เอ ย และต้องจบลงด้วยค�าว่า เอย เสมอตัวอย่างเช่นวัง วังเวง เอ ยหง่างเหง่งย�่าค�่าระ ังขาน ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหนทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย(กลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้า : พระยาอุปกิตศิลปสาร)กลอน ส า มีลักษณะบังคับเช่นเดียวกับกลอนสุภาพ ใช้ค�าขึ้นต้นว่า ครานั้น จะกล่าวถึง เป็นต้นตัวอย่างเช่นครานั นขุนแผนแสนสนิท คอยท่าช้าผิดหามาไม่ เยื้องย่างตามนางเข้าห้องใน สลดใจสงสารวันทองนัก แลเห็นนวลน้องเจ้าร้องไห้ ลมจับหลับไปยังมึนหนักเสกน�้าประพรมชโลมพักตร์ ด้วยพระเวทวิเศษศักดิ ประสิทธี(เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน : พระราชนิพนธ์ใน ร ๒) ) ค าสร้อยคือ ค�าที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท เพื่อความไพเราะในการเอื้อนเสียง หรือเพิ่มข้อความให้สมบูรณ์ ใช้เป็นค�าถาม ใช้เพื่อให้ครบความ ส่วนมากจะใช้เฉพาะโคลงกับร่าย เช่น เอย แล แ นา เทอญตัวอย่างเช่นตีนงูงูไซร้หาก เห็นกัน นมไก่ไก่ส�าคัญ ไก่รู้ หมู่โจรต่อโจรหัน เห็นเล่ห์ กันนาเชิงปราชญ์ ลาดกล่าวผู้ ปราชญ์รู้เชิงกัน(ประชุมโคลงโลกนิติ : สมเด็จ กรมพระยาเดชาดิศร)1 5

. การแ ่งค า ร พ น ร เ กาพ กาพย์เป็นค�าประพันธ์ที่แต่งง่าย มีลักษณะคล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับ ครุ ลหุ กาพย์ที่นิยมใช้มี ๓ ชนิด คือ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ๒.๑ กาพ ์ าน ๑๑ลักษณะฉันทลักษณ์ของกาพย์ยานี ๑๑ ๑) ค ะ๑. กาพย์ยานี ๑๑ หนึ่งบทมี ๔ วรรค หรือ ๒ บาท บาทแรก เรียกว่า บาทเอก และบาทที่ ๒ เรียกว่า บาทโท๒. บาทหนึ่งมี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ ค�า วรรคหลังมี ๖ ค�า ๒) เสียงค�าสุดท้ายของบท ห้ามใช้ค�าตาย และค�าที่มีรูปวรรณยุกต์๓) สัมผัสก�าหนดสัมผัสในบท ๒ แห่ง และสัมผัสระหว่างบท ๑ แห่ง คือ๑. ค�าท้ายของวรรคหน้าสัมผัสกับค�าที่ ๑ ๒ หรือ ๓ ของวรรคหลังในบาทเอก๒. ค�าท้ายของบาทเอก สัมผัสกับค�าท้ายของวรรคหน้าในบาทโท๓. ค�าท้ายของบทแรก สัมผัสกับค�าท้ายของบาทเอกในบทต่อไป ผนผั ละตัวอยา กา ย ยานี ๑๑พระเสด็จโดยแดนชล ทรงเรือต้นงามเ ิด ายกิ่งแก้วแพร้วพรรณราย พายอ่อนหยับจับงามงอนนาวาแน่นเป็นขนัด ล้วนรูปสัตว์แสนยากรเรือริ้วทิวธงสลอน สาครลั่นครั่นครื้น อง(กาพย์เห่เรือ : เจ้า าธรรมธิเบศร์)ค า นะน าบา ประการ นการ ต กา ย ยานี ๑๑๑. ค�าที่รับสัมผัสไม่นิยมใช้ค�าที่มีเสียงเดียวกับค�าที่ส่งสัมผัส ถึงแม้จะเขียนต่างกัน เช่น สาน-สาส์น-ศาล-สาร เป็นต้น 1

๒. ในการแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ไม่มีข้อบังคับเสียงวรรณยุกต์ หรือรูปวรรณยุกต์ แต่ส่วนใหญ่จะนิยมใช้เสียงวรรณยุกต์สามัญและจัตวา ในค�าสุดท้ายของบาทโท เสียงตรี เสียงเอก ก็มีบ้างแต่ไม่ค่อยนิยม๓. ค�าสุดท้ายของบท ไม่นิยมใช้ค�าตายหรือค�าที่มีรูปวรรณยุกต์๔. กาพย์ยานี ๑๑ เหมาะกับเนื้อหาที่เป็นพรรณนาโวหาร เช่น พรรณนาความรู้สึก ความรัก และความงาม๕. สัมผัสใน คือ สัมผัสภายในวรรคเป็นสัมผัสไม่บังคับจะมีหรือไม่มีก็ได้ ไม่ถือเป็นข้อบังคับ และไม่เคร่งครัดมากนัก แต่ถ้ามีจะท�าให้ท�านองไพเราะสละสลวยยิ่งขึ้น๒.๒ กาพ ์ บ ง ๑ ลักษณะฉันทลักษณ์ของกาพย์ฉบัง ๑๖๑) ค ะกาพย์ฉบัง ๑๖ หนึ่งบท มี ๓ วรรค วรรคแรก ๖ ค�า วรรคที่สอง ๔ ค�า และวรรคท้าย ๖ ค�า๒) เสียง นิยมใช้เสียงสามัญและเสียงจัตวาเป็นค�าส่งสัมผัสและค�าท้ายวรรค๓) สัมผัสสัมผัสมีระหว่างวรรค ๑ แห่ง และสัมผัสระหว่างบท ๑ แห่งสัมผัสระหว่างวรรค ค�าท้ายวรรคแรกสัมผัสกับค�าท้ายวรรคที่สองสัมผัสระหว่างบท ค�าท้ายวรรคของบทแรก สัมผัสกับค�าท้ายวรรคแรกของบทต่อไป ผนผั ละตัวอยา กา ย บั ๑๖ชายใดไม่เที่ยวเทียวไป ทุกแคว้นแดนไพรมิอาจประสบพบสุข ชายใดอยู่เหย้าเนาทุกข์ ไม่ด้นซนซุกก็ชื่อว่าชั่วมัวเมา (นิทานเวตาล : น ม ส )1

ค า นะน าบา ประการ นการ ต กา ย บั ๑๖๑. กาพย์ฉบังมีลีลาคึกคัก โลดโผน และสง่างามกว่ากาพย์ยานี โบราณนิยมใช้แต่งบทพากย์โขน บทสวดมนต์ การต่อสู้ ถ้าเป็นนิยาย นิทาน ก็ใช้เป็นบทพรรณนาโวหารที่ต้องการให้ลีลา ดังกล่าว ปัจจุบันนิยมใช้เขียนบทสดุดี และบทปลุกใจ๒. ความไพเราะของกาพย์ฉบังขึ้นอยู่กับเสียงสัมผัสใน มักจะเพิ่มในวรรคเป็นคู่ๆ ทุกวรรค ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร๓. ค�าสุดท้ายของบทนิยมใช้เสียงวรรณยุกต์สามัญและจัตวา ส่วนวรรณยุกต์อื่นไม่นิยมใช้และพบไม่บ่อยนัก๔. กาพย์ฉบัง ๑๖ ไม่บังคับสัมผัสระหว่างวรรคที่ ๒ กับวรรคที่ ๓ จะมีหรือไม่มีก็ได้๒.๓ กาพ ์ส รางคนางค์ ๒ ลักษณะฉันทลักษณ์ของกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘๑) ค ะกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ บทหนึ่งมี ๗ วรรค วรรคละ ๔ ค�า รวม ๒๘ ค�า จึงเรียกว่ากาพย์สุรางคนางค์ ๒๘๒) สัมผัส๑. ค�าท้ายวรรคหน้าสัมผัสกับค�าท้ายวรรคที่ ๒๒. ค�าท้ายวรรคที่ ๓ สัมผัสกับค�าท้ายวรรคที่ ๕ และวรรคที่ ๖๓. สัมผัสระหว่างบท ค�าท้ายวรรคที่ ๗ ของบทแรก สัมผัสกับค�าท้ายวรรคที่ ๓ ของบทต่อไป ผนผั ละตัวอยา กา ย ส รา คนา ค ๒ วันนั้นจันทร มีดารากร เป็นบริวารเห็นสิ้นดิน า ในป่าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอรชร เย็น �่าน�้า า ชื่นชะผกา วายุพาขจรสารพันจันทน์อิน รื่นกลิ่นเกสร แตนต่อคลอร่อน ว้าว่อนเวียนระวัน (กาพย์พระไชยสุริยา : สุนทรภู่)1

กาพย์สุรางคนางค์ไม่เคร่งครัดสัมผัสใน อาจเป็นสัมผัสสระ สัมผัสอักษร หรือไม่มีสัมผัสในก็ได้ แต่เน้นความหมายค�าเป็นหลัก แบ่งจังหวะค�าในวรรคเป็นสองคู่ เช่นไม้งาม น�้าใส ร่มรื่น ชื่นใจ สวนสวย งามตา มาลี สีสัน ดุจฝัน เห็นมา ชุ่มชื่น อุรา พาเพลิน เชิญชมค า นะน าบา ประการ นการ ต กา ย ส รา คนา ค ๒ ๑. ค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๓ หากลงด้วยเสียงจัตวาจะเพิ่มความไพเราะยิ่งขึ้น เช่นบ้านหนองสารแตร ดินแดนเก่าแก่ ประวัติขานไข เป็นที่ราบสูง หนองน�้ากว้างใหญ่ ปลาชุมเหลือใจ ชาวบ้านชื่นชม๒. ความไพเราะของกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ บางวรรคอาจจะเล่นค�า ซ�้าค�า ซ�้าความด้วยเสียงสระหรือด้วยเสียงพยัญชนะ ก็จะเพิ่มความไพเราะขึ้น เช่นเรียกขานสืบมา บ้านคอยคอยท่า หรือว่าคอยใครอย่าลืมบ้านคอย ร่องรอยฝากไว้ รอคอยน�้าใจ อยู่ที่บ้านคอย๓. สัมผัสใน เป็นสัมผัสไม่บังคับ จะมีหรือไม่ก็ได้ ส่วนใหญ่นิยมแต่งให้มีเป็นคู่ๆตัวอยา การ ต ค าประ ัน ประ ทกา ย ต ต ต ตสา าร ะ) จิตคือสื่อสัญญาณ เสริมประสานการกระท�าจิตจดก�าหนดจ�า จารประจงตรงชั่วดี จิตตนหากวนวก ก็ดังนกหลงพงพีจิตจักหนักทวี ต้องปล่อยวางว่างอาวรณ์ จิตเดินทางสองแพร่ง วางต�าแหน่งให้แน่นอนจิตรู้อโคจร จงพิจารณ์ผ่านวิจัย จิตใดด�าเนินดี เกิดสุขศรีสว่างใสจิตนั้นด�าเนินไป ประกอบสุจริตธรรม จิตสาธารณะ ผูกพันธะอุปถัมภ์จิตเอื้อเกื้อกูลน�า เนื่องวิถีความดีครอง จิตชนคนของชาติ สุขสะอาดปัญญาส่องจิตรักภักดีต้อง ตอบแทนบุญ “คุณแผ่นดิน”(บทร้อยกรองชนะเลิศการประกวดโครงการประกวดร้อยกรองออนไลน์ สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ประจ�าปี ๒ ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลงานของเด็กหญิงคุณา สัง งาม)1

บทว เคราะห์ค�าประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ในหัวข้อ จิต จิต จิต (จิตสาธารณะ) ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดโครงการประกวดร้อยกรองออนไลน์ มีข้อพิจารณาที่ควรศึกษา วิเคราะห์ เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้ในการแต่งค�าประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ได้ดังนี้๑ สัมผัส กาพย์ยานี ๑๑ ทั้งหกบท แต่งได้ถูกต้องตาม ันทลักษณ์ของค�าประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ทั้งจ�านวนค�าและสัมผัสบังคับ ดังนี้●สัมผัสระหว่างวรรค สัมผัสบังคับ บทที่หนึ่ง ญาณ สาน ท�า จ�า - - บทที่สอง วก นก พี วี - - บทที่สาม แพร่ง แหน่ง นอน จร - - บทที่สี่ ดี ศรี ใส ไป - - บทที่ห้า ณะ ธะ ถัมภ์ น�า - - บทที่หก ชาติ อาด ส่อง ต้อง - - ●สัมผัสระหว่างบท สัมผัสบังคับ บทที่หนึ่ง - สอง ดี พี - บทที่สอง - สาม วรณ์ นอน - บทที่สาม - สี่ จัย ใส - บทที่สี่ - ห้า ธรรม ถัมภ์ - บทที่ห้า - หก ครอง ส่อง - นอกจากนี้ยังปรากฏสัมผัสในที่ช่วยเพิ่มความไพเราะให้แก่ร้อยกรอง เช่น สาน การ ก�า จ�า เป็นต้น๒ บังคับเสียง ค�าประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ไม่มีการบังคับเสียง๓ รูปแบบ ค�าประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ทั้งหกบท แต่งได้ถูกต้องตามรูปแบบของกาพย์ยานี ๑๑ ทั้งในด้านจ�านวนค�าและสัมผัสบังคับ๔ ค าเป นค าตาย ไม่มีข้อบังคับค�าเป็นค�าตาย การใช้โวหาร ผู้แต่งใช้ส�านวนการเขียนแบบพรรณนาโวหารกล่าวถึงความส�าคัญของจิต ที่จะก�าหนดให้ไปทางดีหรือชั่ว ถ้าไปทางไม่ดีจะท�าให้เดือดร้อน แต่ถ้าไปทางความประพฤติชอบ มีน�้าใจต่อผู้อื่นก็จะเกิดความสุขสดใส แล้วถ้าจิตใจของคนในชาติต่างมีความจงรักภักดี ก็ต้องแสดงออกด้วยการตอบแทนคุณแผ่นดิน ท�าให้บ้านเมืองร่มเย็นเป็นสุข แส งความรู้ส ก ผู้แต่งใช้โวหารภาพพจน์อุปมาเปรียบจิตที่คิดกลับไปกลับมาเหมือนนกที่หลงป่า พลัดจากป่า และในบทที่ ผู้แต่งได้กล่าวถึงจิตมีทางเดินอยู่สองทางว่าจะเลือกเดินทางใดระหว่างดีกับชั่ว และในบทที่ กล่าวถึงหากเจ้าของจิตเดินไปในทางดี ผลที่ได้รับจะมีแต่ความสุขความเจริญทั้งต่อตนเองและประเทศชาติ1 0

. การแ ่งค า ร พ น ร เ ค งโคลงเป็นบทร้อยกรองเก่าแก่ของไทย มีปรากฏในลิลิตโองการแช่งน�้า ซึ่งเป็นวรรณคดีเล่มแรกในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ พระเจ้าอู่ทอง แห่งกรุงศรีอยุธยา โคลงแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ โคลงสุภาพ โคลงดั้น โคลงกระทู้ และกลโคลง ประเภทของโคลงที่ควรศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีดังนี้ ๒.๑ ค งส ่ส าพบทร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ เป็นค�าประพันธ์ที่มีลักษณะบังคับคณะ สัมผัส และค�าเอก ค�าโท ดังนี้๑) ค ะโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งมี ๔ บาท บาทหนึ่งมี ๒ วรรค วรรคหน้า ๕ ค�า วรรคหลัง ๒ ค�า ยกเว้นบาทที่ ๔ วรรคหลังมี ๔ ค�า และบาทที่หนึ่ง บาทที่สามอาจมีค�าสร้อยหรือไม่มีก็ได้๒) สัมผัสสัมผัสนอกหรือสัมผัสบังคับ คือ ค�าท้ายในบาทแรกส่งสัมผัสไปยังค�าที่ ๕ของบาทที่สองและสาม ค�าท้ายของบาทที่สองส่งสัมผัสไปยังค�าที่ ๕ ของบาทที่สี่ สัมผัสในของร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพนิยมใช้สัมผัสอักษรมากกว่าสัมผัสสระ๓) ค าเอก ค าโท มีค�าเอก ๗ แห่ง ค�าโท ๔ แห่ง ตามแผนผัง ดังนี้ ผนผั ละตัวอยา โคล สี่ส า ่้ ( )่่้่ ( ่)่้่้เสียง เสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอยเสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้าสองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤ พี่สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ(ลิลิตพระลอ : ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง)1 1

๓.๒ ค งสามส าพ๑) ค ะโคลงสามสุภาพบทหนึ่งมี ๒ บาท แบ่งเป็น ๔ วรรค วรรคที่ ๑ ๒ ๓ มีวรรคละ ๕ ค�า วรรคสุดท้ายมี ๔ ค�า อาจมีค�าสร้อยได้ ๒ ค�า๒) ค าเอก ค าโท มีค�าเอก ๓ แห่ง คือ ค�าที่ ๔ วรรค ๒ ค�าที่ ๒ วรรค ๓ และค�าที่ ๑วรรคที่ ๔ มีค�าโท ๓ แห่ง คือ ค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๒ และ ๓ และค�าที่ ๒ วรรคที่ ๔๓) สัมผัสค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังค�าที่ ๑ หรือที่ ๒ หรือที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ ค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ส่งสัมผัสไปยังค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๓สัมผัสระหว่างบท ค�าสุดท้ายของบทแรกส่งสัมผัสยังค�าที่ ๑ ๒ หรือ ๓ ของบทต่อไป ผนผั ละตัวอยา โคล สามส า ่้่้่้ ( )่้่้่้ ( )ล่วงลุด่านเจดีย์ สามองค์มีแห่งหั้นแดนต่อแดนกันนั้น เพื่อรู้ราวทางขับพลวางเข้าแหล่ง แห่งอยุธเยศหล้าแลธุลี ุ ง า มืดคลุ้มมัวมล ยิ่งนา (ลิลิตตะเลงพ่าย : สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส)๓.๓ ค งสองส าพ๑) ค ะโคลงสองสุภาพบทหนึ่งมี ๒ บาท แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคที่ ๑ และ ๒ มีวรรคละ ๕ ค�า วรรคสุดท้ายมี ๔ ค�า อาจมีค�าสร้อยได้ ๒ ค�า๒) ค าเอก ค าโท มีค�าเอก ๓ แห่ง คือ ค�าที่ ๔ วรรค ๑ ค�าที่ ๒ วรรค ๒ และค�าที่ ๑วรรคที่ ๓ ค�าโท ๓ แห่ง คือ ค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๑ และ ๒ และค�าที่ ๒ วรรคที่ ๓๓) สัมผัสค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังค�าสุดท้ายวรรคที่ ๒ สัมผัสระหว่างบท ค�าสุดท้ายของบทแรกส่งสัมผัสไปยังค�าที่ ๑ ๒ หรือ ๓ ของบทต่อไป1 2

ผนผั ละตัวอยา โคล สอ ส า ่้่้่้ ( )กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้วคลาดเคล้าคลาสมรจ�าใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่าละห้อยห่อนช้าคืนสม แม่แล(ลิลิตตะเลงพ่าย : สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส)ตัวอยา การ ต ค าประ ัน ประ ทโคล วั ักร ติดวงวัฏจักรล้อหมุนวนอเนกอัปมงคลสะดุดได้เกิดดับ จวบ อยู่จนจบจักร วาลแ เวียนว่ายกับกรรมไว้หลุดพ้นไ นหนอ สุริยะยออยู่ยั้งเพียงกาลตราบเมื่อจวบถึงวารสุดเชื้อเงาคราส ทนทาน คู่ตาม สูญเ ยดับรวม ก�าเนิดก่อเกื้อต่อต้านทวนสมัย มนุษย์ใดจิตบ่มพร้อมบ�าเพ็ญจนกิเลสจบประเด็น ขัดข้องปัญญาเปิดแลเห็น อริ สัจยวัฏจักรอนันตจักรพ้องพ่ายแล้วลับสลาย (ผลงานประกวดร้อยกรองออนไลน์ ประจ�าปี ๒ ๒ เดือนสิงหาคม (๑ สิงหาคม ๑ กันยายน ๒ ๒) รวบรวมโดยสมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย)1 3

บทว เคราะห์จากตัวอย่างเรื่อง วัฏจักร เป็นการแต่งค�าประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ มีข้อพิจารณาที่นักเรียนควรศึกษา วิเคราะห์เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้ในการแต่งค�าประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพได้ ดังนี้๑ สัมผัส โคลงสี่สุภาพทั้งสามบทแต่งได้ถูกต้องตาม ันทลักษณ์ของค�าประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ ทั้งจ�านวนค�าและสัมผัส มีการใช้สัมผัสอักษรในทุกๆ บท๒ บังคับเสียง โคลงสี่สุภาพทั้งสามบทให้เสียงได้ถูกต้องทุกต�าแหน่ง ต�าแหน่งบังคับค�าเอกและโทถูกต้องทุกต�าแหน่ง และใช้ค�าที่มีเสียงสามัญได้ถูกต้องตามต�าแหน่งบังคับของเสียง๓ รูปแบบ โคลงสี่สุภาพทั้งสามบท แต่งได้ถูกต้องตามรูปแบบของโคลงสี่สุภาพ ทั้งในด้านจ�านวนค�า สัมผัส ค�าเอก ค�าโท และค�าสร้อย๔ ค าเป นค าตาย มีการใช้ค�าตายแทนค�าเอก ตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ เช่น จักร อเนก หลุด สุด กิเลส ขัด เปิด เป็นต้น รร นาโวหาร ผู้แต่งใช้ส�านวนในการเขียนแบบพรรณนาโวหารในการกล่าวถึง วัฏจักร โดยพรรณนาถึงการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏจักรและการหลุดพ้นจากวัฏจักรของมนุษย์ แส งความรู้ส ก ผู้แต่งให้ค�าที่แสดงความรู้สึกเกี่ยวกับวัฏจักร ในโคลงบทแรกโดยกล่าวถึงการเวียนว่ายตายเกิดตามกรรมของมนุษย์เป็นวัฏจักรที่จะหาทางให้หลุดพ้นได้ด้วยวิธีใด เช่น เวียนว่ายกับกรรมไว้ หลุดพ้นไ นหนอ ส่วนในโคลงสี่สุภาพบทที่สองกล่าวพรรณนาถึงความเป็นวัฏจักรของพระอาทิตย์ที่มีขึ้นและตกและถูกดับด้วยสุริยคราส เช่นสุริยะยออยู่ยั้ง เพียงกาล ตราบเมื่อจวบถึงวาร สุดเชื้อ เงาคราสคู่ทนทาน ตามดับ สูญเ ยและจบความพรรณนาในโคลงสี่สุภาพบทที่สามกล่าวพรรณนาถึงการหลุดพ้นจากวัฏจักรของมนุษย์นั้นต้องรู้จักการบ่มเพาะจิตใจให้หลุดพ้นจากกิเลสก่อให้เกิดสติเห็นแจ้งในอริยสัจก็จะช่วยให้หลุดพ้นจากวัฏจักรได้การแต่งบทร้อยกรองมีแบบในการเลือกใช้ค�า คณะ สัมผัส แตกต่างกันไปตามลักษณะ ันทลักษณ์ และมี รรมเนียมนิยมในการแต่งบทร้อยกรองให้เหมาะสมกับงานเขียน ่งบทร้อยกรองไทยมีความไพเราะในเรื่องรสค�าและรสความ จ งท�าให้มีคุณค่าในเชิงวรรณศิลป และสังคม การแต่งบทร้อยกรองนอกจากจะท�าให้มีความแตก านในเรื่องการใช้ค�าแล้ว บทร้อยกรองที่แต่งจะเป็นเครื่องสะท้อนความคิด และวั น รรมของสังคมในยุคนั น ได้เป็นอย่างดี1 4

ะกาพย์เห่เรือ¡Ò¾ÂàË‹àÃ×Í à»š¹¤íÒ»Ãоѹ »ÃÐàÀ·Ë¹Öè§ áµ‹§äÇŒÊíÒËÃѺ¢Ñºàˋ㹡ÃкǹàÃ×Í â´ÂÁÕ·íҹͧàË‹·ÕèÊÍ´¤ÅŒÍ§¡Ñº¨Ñ§ËÇСÒþÒ¢ͧ ¾ÒÂÇ‹ÒªŒÒËÃ×ÍàÃçÇ àª‹¹ ã¹¢³ÐàÃÔèÁÍÍ¡àÃ×ͨÐ㪌·íҹͧªŒÒÅÐÇÐàË‹ àÁ×èÍàÃ×ͨǹ¶Ö§·Õè»ÃзѺ¨Ð㪌·íҹͧÊÇÐàË‹ áÅÐËÒ¡µŒÍ§¡ÒÃãËŒ¾ÒÂ˹ѡ¨Ñ§ËÇÐàÃçǨÐ㪌·íҹͧÁÙÅàË‹ â´ÂÁÕ¾¹Ñ¡§Ò¹¢Ñºàˋ˹Ö觤¹à»š¹µŒ¹àÊÕ§áÅÐÁÕ ¾Ò¤ÍÂÌͧÃѺ ¾ÃŒÍÁ¡Ñº¡ÒÃãËŒ¨Ñ§ËÇШҡ¾¹Ñ¡§Ò¹»ÃШíÒàÃ×ÍᵋÅÐÅíҡҾàË‹àÃ×͹Ñé¹ ãªŒ¤íÒ»Ãоѹ  »ÃÐàÀ·´ŒÇ¡ѹ ¤×Í ¢Öé¹µŒ¹´ŒÇÂâ¤Å§ÊÕèÊØÀÒ¾ º· áÅŒÇᵋ§µ‹Í´ŒÇ¡ҾÂÒ¹ÕàÃ×èÍÂ仨¹¨ºµÍ¹ àÁ×èͨТÖ鹵͹ãËÁ‹¨Ðᵋ§â¤Å§ÊÕèÊØÀÒ¾¢Öé¹ÁÒÍա˹Ö觺· áÅŒÇᵋ§µ‹Í´ŒÇ¡ҾÂÒ¹Õ ¨¹¨ºµÍ¹àª‹¹¹ÕéÊÅѺ¡Ñ¹ä»¡Ò¾ÂàË‹àÃ×Í·Õèà¡‹Òá¡‹·ÕèÊØ´ ¤×Í ¡Ò¾ÂàË‹àÃ×;ÃйԾ¹ ¢Í§à¨ŒÒ Ò ÃÃÁ Ôàº Ã à¨ŒÒ Ò¡ØŒ§ ã¹ÃѪ¡ÒÅÊÁà´ç¨¾ÃÐ਌ÒÍÂÙ‹ËÑǺÃÁâ¡ ÊÁÑÂÍÂØ Âҵ͹»ÅÒ «Ö觷çᵋ§äÇŒ µÍ¹ ¤×͵͹áá¡Å‹ÒǪÁàÃ×Í ªÁ»ÅÒ ªÁäÁŒáÅЪÁ¹¡ ¡ÑºµÍ¹·ÕèÊͧ໚¹º·àË‹¡Ò¡ÕáÅÐàË‹ÊѧÇÒÊÊѹ¹Ô Ò¹¡Ñ¹Ç‹Ò¡Ò¾ÂàË‹àÃ×Í à´ÔÁ¤§¨Ðᵋ§à¾×è͢ѺàË‹¡Ñ¹àÁ×èÍà´Ô¹·Ò§ä¡Åã¹áÁ‹¹éíÒᵋã¹ÀÒÂËÅѧ¤§ÁÕᵋ਌ҹÒÂËÃ×;ÃÐÃҪǧ ªÑé¹ÊÙ§ áÅÐÊØ´·ŒÒÂÁÕ㪌ᵋ㹡ÃкǹàÃ×ͧ͢¾ÃÐ਌ÒἋ¹´Ô¹à·‹Ò¹Ñ鹡ҾàË‹àÃ×ÍäÁ‹¹ÔÂÁᵋ§¡Ñ¹ÁÒ¡¹Ñ¡ à¹×èͧ¨Ò¡à»š¹¤íÒ»Ãоѹ ÊíÒËÃÑºãªŒã¹¾Ô Õ¡Òà ¤×Í ã¹¡ÃкǹàÃ×ÍËÅǧËÃ×Í¡Ãкǹ¾ÂØËÂÒµÃÒ·Ò§ªÅÁÒä ¡ÒÃᵋ§¡Ò¾ÂàË‹àÃ×֧ͨÁѡᵋ§¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌àË‹àÃ×Íà·‹Ò¹Ñé¹1 5

¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนร่วมกันฝึกแต่งกาพย์ ๑ ชนิด ด้วยปากเปล่าในชั้นเรียนตามหัวข้อที่ก�าหนดร่วมกัน เช่น- ชื่อเพื่อนของฉัน- โรงเรียนแสนรื่นรมย์- เรียนวิชานี้มีแต่ความสุข๒. ให้นักเรียนแต่งโคลงสี่สุภาพเพื่อเล่าประวัติความเป็นมาของโรงเรียนหรือชุมชนของตนเอง๓. จัดกิจกรรมประกวดการแต่งค�าประพันธ์ในวันส�าคัญต่างๆ เพื่อส่งเสริมทักษะและพัฒนาการในการใช้ภาษาเชิงสร้างสรรค์- วันเข้าพรรษา- วันภาษาไทยแห่งชาติ- วันครู๑. ลักษณะบังคับของบทร้อยกรองมีความส�าคัญต่อการแต่งบทร้อยกรองอย่างไร๒. ค�าครุ ค�าลหุ ที่บังคับใช้ในบทร้อยกรองประเภทฉันท์มีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย๓. ค�าน�า หรือค�าขึ้นต้นใช้ในบทร้อยกรองประเภทใด จงอธิบายและยกตัวอย่าง๔. บทพากย์โขน บทสวดมนต์ ในสมัยโบราณนิยมแต่งด้วยค�าประพันธ์ประเภทใดเพราะเหตุใด๕. การแต่งค�าประพันธ์มีคุณค่าทางภาษาในด้านใด จงอธิบาย1

กาญจนา นาคสกุล และคณะ. ๒๕๔๕. บรรทัด าน า า ทย ลม ๑ - ๒. กรุงเทพมหานคร สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ก�าชัย ทองหล่อ. ๒๕๔๓. ลัก า า ทย. กรุงเทพมหานคร รวมสาส์น.กุสุมา รักษมณ และคณะ. ๒๕๓๑. สั กัป า า ๒. กรุงเทพมหานคร อักษรเจริญทัศน์. กุหลาบ มัลลิกะมาส. ๒๕๓๓. การ ียน ๑. กรุงเทพมหานคร อักษรเจริญทัศน์. คุรุสภา. ๒๕๑๘. ค าบรรยาย า า ทย ั นส อ มน ม า า ทย อ ค ร ส า. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.ฐะปะน ย์ นาครทรรพ และคณะ. ๒๕๕ . นั ส อ รียน า า ทย ม ๔ ลม ๑ ลัก า า ละการ า า .พิมพ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร อักษรเจริญทัศน์.นิ มนวล หาญทนงค์. ๒๕๔๑. ท ๐๔ การ ต ค าประ ัน . กรุงเทพมหานคร อักษรเจริญทัศน์. ประภาศรี สีหอ�าไพ. ๒๕๓๘. วั น รรม า า. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์แห่งจุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เปลื้อง ณ นคร. ๒๕๔๒. า าวรรณนาวิวั น ละวิบัติ อ า า ทย . กรุงเทพมหานคร ข้าวฟ าง. พงษ์ศักดิ สุสัมพันธ์ไพบูลย์. ๒๕๔๒. ทคโนโลยีโทรคมนาคม. กรุงเทพมหานคร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.เยาวลักษณ์ ชาติสุขศิริเดช. ๒๕๔๘. ค ารา า ั ท นาร . กรุงเทพมหานคร อักษรเจริญทัศน์. . ๒๕๔๘. รีย อยร อยกรอ . กรุงเทพมหานคร อักษรเจริญทัศน์. ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๕ . นาน กรม ั ท วรรณคดี ทย าค ันทลัก ณ . กรุงเทพมหานครราชบัณฑิตยสถาน. . ๒๕๕๖. นาน กรม บับรา บัณ ิตยส าน ๒๕๕๔. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ากัด มหาชน . วิชราพร พุ่มบานเย็น. ๒๕๔๕. ทคโนโลยีสารสน ท ละคอม ิว ตอร . กรุงเทพมหานคร ซอฟท์เพรส. วิชาการ กรม กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๕ . า า ่อ ั นาการ รียนร ั นมั ยม ก าป ที่ ๔. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. . อานอยา ร ด รส. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา มปป.สุจริต เพียรชอบ. ๒๕๓ . ิลปะการ า า. กรุงเทพมหานคร สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.1

สุจิตรา จงจิตร. ๒๕๔๗. มน ย กับวรรณกรรม. กรุงเทพมหานคร โอเดียนสโตร์. สุภาพร มากแจ้ง. ๒๕๓๕. กวีนิ น ทย ๑. กรุงเทพมหานคร โอเดียนสโตร์.สุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัย. ๒๕๔๓. อกสารการสอน ดการ า า ทย บับปรับปร นวยที่ ๑ - .นนทบุรี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. . ๒๕๔๓. อกสารการสอน ดวิ าการอาน า า ทย. นนทบุรี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ ส�านักงาน. ๒๕๕๕. รา า ั ท ลิม ระ กียรติ ระบาทสม ด ระ าอย  ัว นโอกาส ระรา ิ ีม าม คล ลิม ระ นม รร า รอบ ๕ ันวาคม ๒๕๕๔.กรุงเทพมหานคร ด่านสุทธาการพิมพ์.อัจจิมา เกิดผล. ๒๕๔๖. ดอาน ียน น ีวิตประ าวัน. กรุงเทพมหานคร ศูนย์ต�าราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.1

.   .475.-ISBN : 978 - 616 - 203 - 877 - 89 786162 038778142   ­ €‚ ­ 10200„./†‡ˆ 0 2622 2999 ( „3.46712.92373.1851.7054 0 0