รายว ชาเพ มเต มการงานอาช พ ม.ต น งานช างไฟฟ า

บทที 13 อาชีพช่างไฟฟ้ า

สาระสําคัญ การเลือกอาชีพช่างไฟฟ้ านัน หมายถึงการประกอบอาชีพทีน่าสนใจและมีรายได้ดีอีกอาชีพหนึง ช่างไฟฟ้ ามีหลายประเภท และหน้าทีของช่างไฟฟ้ าก็แตกต่างกันมาก ช่างไฟฟ้ าทีทํางานในสถานที ก่อสร้างขนาดใหญ่ก็ใช้เครื องมือและทักษะต่าง ๆ ทีแตกต่างไปจากช่างไฟฟ้ าทีทํางานในโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อย่างไรก็ดีถ้าจะกล่าวโดยทัว ๆ ไปแล้ว ช่างไฟฟ้ าทุกประเภทจะต้องมีความรู้ พืนฐานทางด้านไฟฟ้ า มีความสามารถอ่านแบบพิมพ์เขียนวงจรไฟฟ้ าและสามารถซ่อมแซมแก้ไข อุปกรณ์เครืองใช้ไฟฟ้ าได้ แหล่งงานของช่างไฟฟ้ า ส่วนใหญ่ในปัจจุบันนีทํางานให้กับผู้รับเหมางาน ด้านไฟฟ้ า หรือไม่ก็ทําในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ นอกจากนันมีช่างไฟฟ้ าอีกจํานวนไม่น้อยที ทํางานอย่างอิสระเป็ นผู้รับเหมาเอง และมีช่างไฟฟ้ าจํานวนหนึงทีทํางานให้กับองค์กรของรัฐบาลหรือ ทางธุรกิจ ซึงเป็ นงานทีให้บริการแก่หน่วยงานของตน แม้ว่าแหล่งงานของช่างไฟฟ้ าจะมีอยู่ทัวประเทศ แต่แหล่งงานส่วนใหญ่นันจะมีอยู่ในเขตอุตสาหกรรม หรือเขตพืนทีทีกําลังพัฒนา

ผลการเรียนร้ทีคาดหวัง ู สามารถอธิบาย ออกแบบ วางแผน ทดลอง ทดสอบ ปฏิบัติการเรืองไฟฟ้ าได้อย่างถูกต้องและ ปลอดภัย คิด วิเคราะห์ เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของการต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม แบบขนาน แบบ ผสม ประยุกต์และเลือกใช้ความรู้ และทักษะอาชีพช่างไฟฟ้ า ให้เหมาะสมกับด้านบริหารจัดการและการ บริการ

ขอบข่ายเนือหา 1. ประเภทของไฟฟ้ า 2. วัสดุอุปกรณ์เครืองมือช่างไฟฟ้ า 3. วัสดุอุปกรณ์ทีใช้ในวงจรไฟฟ้ า . การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย 5. กฎของโอห์ม 6. การเดินสายไฟฟ้ าอย่างง่าย 7. การใช้เครืองใช้ไฟฟ้ าอย่างง่าย 8. ความปลอดภัยและอุบัติเหตุจากอาชีพช่างไฟฟ้ า 9. การบริหารจัดการและการบริการ 10. โครงงานวิทยาศาสตร์สู่อาชีพ 11. คําศัพท์ทางไฟฟ้ า

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๔ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๕ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๖ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๗ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๘ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๙

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๕

๖หน่วยการเรียนรู้ที่

ช่างไฟฟ้าในบา้ น

ตัวชว้ี ดั ๑. อธบิ ายวิธกี ารทางานเพือ่ การดารงชีวติ (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑) ๒. สร้างผลงานอยา่ งมคี วามคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะการทางานร่วมกนั (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๒) ๓. มีทกั ษะการจดั การในการทางาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๓) ๔. มีทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๔) ๕. มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพือ่ การดารงชวี ติ (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕) ๖. มคี ุณธรรมและลักษณะนสิ ยั ในการทางาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖) ๗. ใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างค้มุ คา่ และยงั่ ยืนเพ่อื การอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อม (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๗)

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕

แผนผงั สาระการเรียนรู้ ชา่ งไฟฟา้ ในบ้าน

ความรเู้ ก่ียวกบั ไฟฟา้ งานไฟฟ้าในบา้ น

ระบบกระแสไฟฟา้ ทใ่ี ชต้ ามอาคารบ้านเรอื น การซอ่ มแซมปล๊ักไฟที่สายไฟฟ้าขาด วงจรไฟฟา้ การต่อสายดนิ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมือที่ใช้ในงานไฟฟ้า การเดนิ สายไฟฟา้ ภายในอาคารบ้านเรือน การตอ่ สายไฟฟ้า ความปลอดภัยในการใชไ้ ฟฟ้า

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕

๑. ความรู้เกีย่ วกบั ไฟฟ้า

ไฟฟ้าเป็นพลังงานท่มี นุษยเ์ ราใช้กันทกุ วันในรปู แบบของแสงสวา่ ง และทาใหเ้ ครอ่ื งใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ทางานได้ การศกึ ษาเกี่ยวกับไฟฟ้าจะช่วยให้ มีความรู้ในการใชไ้ ฟฟา้ อย่างปลอดภยั ค้มุ ค่า และมีทกั ษะในการปฏิบตั ิ งานไฟฟ้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

พลังงานไฟฟ้าในรปู แบบของแสงสว่าง พลงั งานไฟฟา้ ท่ีทาให้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทางานได้

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕

๑. ความรเู้ ก่ยี วกบั ไฟฟ้า (ตอ่ )

๑.๑ ระบบกระแสไฟฟา้ ที่ใช้ตามอาคารบา้ นเรอื น

ตามปกตไิ ฟฟา้ ทีผ่ ลติ จากเขอื่ น ไฟฟ้าทใ่ี ช้น้ามนั เตาและถา่ นลกิ ไนตเ์ ปน็ เชอ้ื เพลงิ นั้น จะผลติ ไฟฟา้ ขึ้นมาดว้ ย แรงดันไฟฟา้ ระดบั หนงึ่ เชน่ ๑๓,๐๐๐ โวลต์ หลงั จากนน้ั กจ็ ะแปลงให้แรงดนั ไฟฟ้าสูงขึ้นเป็น ๒๓๐,๐๐๐ โวลต์ ทั้งนเี้ พอื่ ลด แรงดนั ตกในสายไฟฟา้ และประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยปลายทาง แทนที่จะส่งไปให้ผบู้ รโิ ภค (อาคารบ้านเรอื น) ๒๒๐ โวลตเ์ ลย แลว้ สง่ ไปพักไวท้ ีส่ ถานยี อ่ ยหรือสเตชัน เพื่อลดแรงดันใหเ้ หลือตา่ ลงเปน็ ๑๒,๐๐๐ โวลต์ กอ่ นท่ีจะสง่ ไปตามตาบล หม่บู า้ น เม่ือถึงจุดใชง้ านหมอ้ แปลงทอี่ ยตู่ ามเสาไฟฟ้า กจ็ ะลดแรงดันทสี่ งู นัน้ ให้เหลอื ๒๒๐ โวลต์ เพือ่ ใชใ้ นอาคารบ้านเรือนต่อไป

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕

๑. ความร้เู กย่ี วกบั ไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๒ วงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าแบ่งเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี ๑) วงจรเปิด เป็นวงจรที่กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ครบวงจร

ทาให้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าไม่สามารถทางานได้ ซึ่งอาจเกิดจากสายไฟฟ้าหลุด สายไฟฟา้ ขาด สายไฟฟ้าหลวม สวิตช์ไฟฟ้าไม่ตอ่ วงจรปดิ สวติ ช์ไฟฟ้า รวมไปถงึ เครื่องใช้ไฟฟา้ ชารุด

๒) วงจรปดิ เป็นวงจรทมี่ ีกระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร ทาให้เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ท่ีต่ออยูใ่ นวงจรน้ัน ๆ ทางานไดต้ ามปกติ

ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๕

๑. ความรเู้ ก่ยี วกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๒ วงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟา้ คอื ทางเดนิ ของกระแสไฟฟ้า ซึ่งไหลมาจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ผ่านสายไฟฟา้ สะพานไฟ สวิตชไ์ ฟฟ้า และเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า แล้วไหลยอ้ นกลบั ไปยงั แหล่งกาเนดิ เดมิ จนครบ ๑ เทย่ี ว เรียกว่า ๑ วงจร หรือ ๑ รอบ (cycle) ซง่ึ การเคลอื่ นทขี่ องอเิ ลก็ ตรอนทอ่ี ยู่ภายในวงจรจะเริ่มจากแหล่งจ่ายไฟฟา้ ไปยังเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรู้เกยี่ วกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๒ วงจรไฟฟ้า

การตอ่ วงจรไฟฟ้าทาได้ ๓ วิธี ดงั นี้ (๑) วงจรอนุกรม เป็นการนาเอาเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ หลาย ๆ ชนิด

มาตอ่ เรียงกนั เหมอื นลกู โซ่ โดยนาเอาปลายของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ตวั ท่ี ๑ ไปตอ่ กบั ตน้ ของเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ตวั ที่ ๒ และตอ่ เรียงกันไปเรื่อย ๆ จนหมด จากนนั้ ตอ่ เข้ากับแหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๑. ความรู้เกยี่ วกบั ไฟฟ้า (ตอ่ )

๑.๒ วงจรไฟฟา้ (๒) วงจรขนาน เปน็ การนาเอาตน้ สายของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า

ทุก ๆ ตวั มาตอ่ รวมกนั และตอ่ เข้ากับแหล่งกาเนดิ ไฟฟ้าท่จี ดุ หนึ่ง จากนัน้ นาปลายของทุก ๆ ดา้ นมาต่อรวมกัน และนาไปตอ่ กบั แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้าอกี จดุ หนึง่ เมือ่ เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ แตล่ ะตวั ตอ่ กันเรยี บร้อย แล้วจะกลายเป็นวงจรย่อยทกี่ ระแสไฟฟา้ สามารถไหลไดห้ ลายทิศทาง ถา้ ในวงจรมเี คร่ืองใช้ไฟฟา้ ตวั ใดตัวหนง่ึ ขาดหรอื เปิดวงจร เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า ทเี่ หลือก็ยังสามารถทางานได้ โดยทว่ั ไปการต่อวงจรขนานจะใชใ้ นการ ต่อวงจรไฟฟา้ ในบา้ น

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๕

๑. ความรเู้ กี่ยวกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๒ วงจรไฟฟา้ (๓) วงจรผสม เป็นการนาเอาวธิ ีการต่อวงจรอนกุ รม

และวธิ ีการตอ่ วงจรขนานมารวมให้เป็นวงจรเดยี วกัน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

๑. ความรเู้ กยี่ วกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๓ วสั ดุ อุปกรณ์ และเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในงานไฟฟา้

วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นงานไฟฟ้า มดี ังน้ี ๑) สายไฟฟ้า สว่ นใหญท่ าดว้ ยทองแดงอะลมู ิเนียมเปน็ ตัวนาใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นไป ตามสายจากแห่งหนึง่ ไปอกี แหง่ หนึ่งได้ตามตอ้ งการ สายไฟฟา้ แบ่งไดเ้ ป็น ๒ ชนดิ ใหญ่ ๆ ดงั น้ี

(๑) สายเปลือย เปน็ สายทไ่ี มม่ ฉี นวนหุ้ม มขี นาดใหญ่ นยิ มใชก้ ับงานไฟฟ้าแรงสงู เชน่ สายไฟฟา้ ตามถนน

(๒) สายหมุ้ ฉนวน เป็นสายทม่ี ีฉนวนหมุ้ ซึง่ ฉนวนที่ใชห้ มุ้ น้นั มักทาดว้ ยยาง ไหม และพลาสติก (พีวีซ)ี สายไฟฟ้าทห่ี ุ้มฉนวนพลาสติก (พวี ีซ)ี นิยมใช้ในอาคารบ้านเรือน

ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๕

๑. ความรูเ้ ก่ียวกบั ไฟฟ้า (ตอ่ )

๑.๓ วัสดุ อุปกรณ์ และเครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในงานไฟฟ้า

๒) เขม็ ขดั รัดสายไฟฟา้ ทาดว้ ยอะลมู เิ นียม ตรงกลางมีรู ๑-๒ รู สาหรับใชต้ ะปู ตอกยดึ สายไฟฟ้ากับผนงั ใหแ้ น่น เข็มขดั รดั สายไฟฟ้ามหี ลายขนาดต้งั แต่เบอร์ ๐ ถงึ เบอร์ ๖ โดยเบอร์ ๐ จะเล็กทสี่ ุด

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรเู้ กี่ยวกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๓ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมอื ทใี่ ช้ในงานไฟฟ้า ๓) อปุ กรณต์ ดั ไฟฟ้า ทาหน้าทตี่ ดั การไหลของกระแสไฟฟ้าเมอื่ มีการลัดวงจร

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรู้เก่ียวกับไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๓ วสั ดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมอื ท่ีใช้ในงานไฟฟา้ ๔) สวิตชไ์ ฟฟา้ ทาหนา้ ทเี่ ปิด-ปดิ วงจรไฟฟา้

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๑. ความรเู้ ก่ียวกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๓ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นงานไฟฟ้า

๕) ปลั๊กไฟ มี ๒ ชนิด ไดแ้ ก่ ปล๊ักตัวผหู้ รอื เตา้ เสียบ และปล๊ักตัวเมียหรือเต้ารับ โดยปลั๊กตัวผู้ใช้เสียบเข้ากับ ป ลั๊ ก ตั ว เ มี ย เ พ่ื อ ใ ห้ ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า เ ค ล่ื อ น ท่ี ผ่ า น เ ข้ า สู่ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าได้ครบวงจร ส่วนปล๊ักตัวเมียสาหรับรับ ปล๊ักตัวผู้ เพื่อให้กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านเข้าสู่ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าได้ครบวงจร

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความร้เู กย่ี วกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๓ วัสดุ อปุ กรณ์ และเคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในงานไฟฟ้า

๖) เทปพันสายไฟฟา้ สาหรับพนั สายไฟฟ้าเม่ือตอ่ สายไฟฟา้ เรยี บร้อยแล้ว เพื่อป้องกันไฟฟา้ รวั่

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕

๑. ความรเู้ กย่ี วกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๓ วัสดุ อุปกรณ์ และเคร่อื งมือทีใ่ ช้ในงานไฟฟ้า

๗) คีม ใชต้ ดั ดดั งอ โค้ง และปอกสายไฟฟา้ คีมจะต้องมีดา้ มเปน็ ฉนวนหุ้ม เพื่อความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน คมี ท่ใี ช้ในงานไฟฟา้ มีดงั นี้

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรู้เก่ียวกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๓ วัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือทใ่ี ชใ้ นงานไฟฟา้ ๘) ไขควง ใชข้ ันตะปูเกลยี วหรอื สกรวู ใหแ้ น่น หรือถอนตะปูเกลียวให้หลดุ ออกจากที่ยึดไขควงส่วนมากทาดว้ ยเหลก็ ปลายแขนดา้ มเปน็ ไม้หรือพลาสตกิ ไขควงมีหลายชนิด หลายขนาดใหเ้ ลอื กใชต้ ามลกั ษณะงาน ดังน้ี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรู้เก่ียวกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๓ วัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมอื ทใี่ ช้ในงานไฟฟา้

๙) มดี ใชต้ ดั ปอก ขดู หรือทาความสะอาดสายไฟฟ้า

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรู้เกย่ี วกบั ไฟฟา้ (ตอ่ )

๑.๓ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือที่ใชใ้ นงานไฟฟา้

๑๐) ค้อน ใชใ้ นงานไฟฟา้ มี ๒ ชนิด ไดแ้ ก่ ค้อนเดนิ สายไฟฟา้ ใช้ตอกตะปูในทีแ่ คบได้ และคอ้ นหงอนใช้ตอกและถอนตะปไู ด้

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕

๑. ความรู้เกย่ี วกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๓ วัสดุ อุปกรณ์ และเคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นงานไฟฟ้า

๑๑) สว่าน ใชเ้ จาะรเู พื่อยึดอุปกรณ์ไฟฟา้ สว่านจะใช้ร่วมกบั ดอกสว่านซึ่งทาด้วยโลหะ โดยดอกสว่านมีสีดาจะใชก้ ับวัสดปุ ระเภทไม้ และดอกสว่านสเี งินจะใช้กบั วัสดปุ ระเภทปูน

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๑. ความรู้เกยี่ วกบั ไฟฟ้า (ตอ่ )

๑.๓ วัสดุ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นงานไฟฟ้า ๑๒) หัวแร้งไฟฟ้าและตะกวั่ บดั กรี ใช้เชอ่ื มประสานอปุ กรณท์ เ่ี ปน็ โลหะ

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕

๑. ความร้เู ก่ียวกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๓ วสั ดุ อุปกรณ์ และเครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในงานไฟฟ้า ๑๓) เครอ่ื งมอื วัดไฟฟา้ ไดแ้ ก่ มัลติมเิ ตอร์ ใชว้ ัดกระแสไฟฟา้ ความตา้ นทานไฟฟา้ และแรงดันไฟฟา้ มีหน่วยวดั เป็นแอมแปร์ โอหม์ และโวลต์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕

๑. ความรู้เกย่ี วกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟ้า

การต่อสายไฟฟ้า มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อสายไฟฟ้าให้ยาวข้ึน เดินสายไฟฟ้าใหม่ ติดต้ังเครื่องใช้ไฟฟ้าเพิ่มเติม และนากระแสไฟฟ้าไปใช้ช่ัวคราว การต่อสายไฟฟ้าท่ีมี คณุ ภาพจะต้องแน่น แขง็ แรง ตรงรอยต่อสมั ผัสกนั มากท่สี ุด

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๕

๑. ความรเู้ กี่ยวกบั ไฟฟ้า (ตอ่ )

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟา้ การตอ่ สายไฟฟา้ มีหลายแบบ ดงั น้ี ๑) การตอ่ สายไฟฟ้าพันเกลียวชนดิ สายเดี่ยว ใชต้ อ่ สายไฟฟ้าใหย้ าวข้นึ นิยมใช้ต่อกับสายไฟฟ้าที่มีจุดยึดชว่ งห่าง

วัสดุ อุปกรณ์

สายไฟฟ้าแบบเส้นเดียว คมี ปอกสายไฟฟ้า คมี ตัด ไมบ้ รรทัดเหลก็ คีมปากจิ้งจก เทปพันสายไฟฟ้า

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรเู้ กีย่ วกบั ไฟฟ้า (ตอ่ )

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟา้

ขัน้ ตอนการทา

๑. ใชค้ มี ตดั ตดั สายไฟฟ้าออกเปน็ ๒ ทอ่ น ๒. ใช้คีมปอกสายไฟฟ้าปอกฉนวนทห่ี ุม้ สายไฟฟา้ แต่ละด้าน ใหเ้ ส้นลวดโผลอ่ อกมายาวประมาณ ๕ เซนติเมตร ๓. พาดทบั เส้นฉากเสน้ ลวดทับบิดกนั หา่ งประมาณ ๑ เซนติเมตร ๔. หมนุ ทับกลบั ปลายเส้นลวดทั้งสองพนั ทบั กันให้ซอ้ นเป็นระเบียบ โดยให้เรยี งเส้นประมาณ ๕-๖ รอบ แลว้ ใช้คีมปากจ้ิงจกบีบเส้นลวดทพ่ี ันใหแ้ น่น ๕. ใชเ้ ทปพนั สายไฟฟา้ พันทบั เสน้ ลวด เพ่ือปอ้ งกันไฟฟา้ ร่ัว

ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๕

๑. ความรู้เกยี่ วกบั ไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๔ การต่อสายไฟฟ้า

๒) การตอ่ สายไฟฟา้ พันเกลยี วชนิดสายคู่ ใชต้ อ่ สายไฟฟา้ ขนาดเล็กภายในอาคาร

วัสดุ อุปกรณ์ คีมปอกสายไฟฟ้า คมี ตัด เทปพนั สายไฟฟา้ ไมบ้ รรทดั เหล็ก สายไฟฟ้าแบบเสน้ คู่ คีมปากจง้ิ จก

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๑. ความรเู้ ก่ยี วกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟา้

ข้ันตอนการทา

๑. ใช้คีมตัดตดั สายไฟฟา้ ออกเป็น ๒ ทอ่ น ๒. ใช้คมี ปอกสายไฟฟา้ ปอกฉนวนหมุ้ สายไฟฟา้ ออกยาวเส้นละ ๗ เซนตเิ มตร ดังภาพท่ี ๒-๓ ๓. ใชค้ ีมปอกสายไฟฟา้ ปอกฉนวนหุ้มปลายสายไฟฟา้ ทเี่ ปน็ ลวดทองแดงยาวประมาณข้างละ ๖ เซนติเมตร ดังภาพท่ี ๒-๓

ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๕

๑. ความรเู้ ก่ยี วกบั ไฟฟา้ (ตอ่ )

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟ้า

ขนั้ ตอนการทา (ตอ่ )

๔. ต่อเส้นลวดทองแดงยาวกบั สัน้ เขา้ ด้วยกนั โดยใชว้ ธิ ีพนั เกลียวทีละคู่ ปมทต่ี ่อจะเยื้องกนั เลก็ นอ้ ย แลว้ ใช้คมี ปากจ้งิ จกบบี เส้นลวดทพ่ี ันใหแ้ นน่ ๕. ใชเ้ ทปพันสายไฟฟ้าพันห้มุ เสน้ ลวด และฉนวนของสายไฟฟ้าใหม้ ิดชิด ๖. ใชเ้ ทปพนั สายไฟฟ้าพันหุ้มสายไฟฟา้ ใหแ้ นบสนทิ และหมุ้ ข้นึ ไปบน ฉนวนภายนอก ดา้ นละ ๒ เซนตเิ มตร

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. ความรเู้ กี่ยวกับไฟฟ้า (ตอ่ )

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟ้า

๓) การต่อสายไฟฟ้าแยก ใช้ต่อได้ท้ังสายไฟฟ้าพันเกลียวชนิดสายเด่ียว และสายคู่เพอื่ เดินสายไฟฟ้าใหม่ ตดิ ตัง้ เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ เพ่มิ เติม หรือนากระแสไฟฟ้าชั่วคราว ทาได้ ๒ รูปแบบ ได้แก่ การต่อสายไฟฟ้า แยกทใ่ี ชง้ านโดยไม่มีแรงดงึ ในสายไฟฟ้า และมีแรงดึงในสายไฟฟา้

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๕

๑. ความรู้เกีย่ วกับไฟฟ้า (ต่อ)

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟ้า

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๕

๑. ความรเู้ กี่ยวกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๔ การตอ่ สายไฟฟ้า ๔) การตอ่ สายไฟฟา้ แบบหางเปยี ใช้กบั การเดินสายไฟฟา้ ในทอ่ สาหรบั การเดนิ สายไฟฟา้ ในท่อใหใ้ ช้ไวร์นัต (wire nut) สวมปลายสายไฟฟา้ เมื่อตอ่ สายไฟฟ้าแลว้

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๑. ความรเู้ กี่ยวกับไฟฟา้ (ตอ่ )

๑.๕ ความปลอดภยั ในการใชไ้ ฟฟา้

ไฟฟ้ามีประโยชนต์ ่อมนษุ ยม์ ากมาย แตใ่ นขณะเดยี วกันไฟฟา้ ก็มอี นั ตรายต่อชวี ติ และทรพั ย์สนิ หากใช้ด้วยความประมาท

ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงานไฟฟา้ ๑) ตรวจสภาพอปุ กรณ์ เครื่องมอื ทีจ่ ะใชใ้ นงานไฟฟา้ กอ่ น หากชารดุ ตอ้ งซอ่ มแซมกอ่ นใช้งาน ๒) ก่อนปฏิบตั งิ านเก่ยี วกบั ไฟฟา้ จะต้องยกสะพานไฟออกกอ่ นเสมอ ๓) ขณะปฏิบัตงิ าน ไมค่ วรหยอกล้อกนั ๔) ขณะปฏิบตั งิ าน มือและเทา้ ต้องแหง้ หรอื สวมรองเท้า ๕) ไมค่ วรนาฟวิ ส์ทีข่ นาดใหญก่ ว่าขนาดเดมิ ทใี่ ช้ หรือวัสดอุ ื่น ๆ เชน่ ลวดทองแดง แทนฟวิ ส์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๑. ความรเู้ ก่ียวกบั ไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๕ ความปลอดภัยในการใชไ้ ฟฟา้

๖) หา้ มเดินสายไฟฟ้าตดิ รั้วสงั กะสีหรอื เหล็กโดยไม่ใช้วิธรี ้อยในท่อ เพราะกระแสไฟฟา้ อาจร่วั เป็นอนั ตรายได้ ๗) หา้ มใชเ้ ครอ่ื งมอื ไฟฟา้ ที่ไมม่ ฉี นวนหุ้ม ๘) หา้ มเดินสายไฟฟ้าชั่วคราวแบบไมเ่ รียบร้อย เพราะอาจเกดิ อันตรายได้ ๙) รอยต่อสายไฟฟ้า ต้องใช้เทปพันสายไฟฟา้ พันรอยต่อให้เรียบร้อย ๑๐) เมื่อเสร็จงาน กอ่ นจ่ายกระแสไฟฟา้ ควรตรวจสอบวงจรไฟฟา้ ใหล้ ะเอียดและถูกตอ้ งก่อน และดูให้แน่ใจว่า ไม่มีใครปฏิบัตงิ านไฟฟา้ อยูใ่ นขณะน้ัน

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๕

๑. ความรูเ้ ก่ียวกับไฟฟา้ (ต่อ)

๑.๕ ความปลอดภยั ในการใช้ไฟฟ้า หากพบผูไ้ ดร้ บั อนั ตรายจากไฟฟา้ สามารถชว่ ยเหลอื โดยเลือกวิธีใดวิธีหน่ึง ต่อไปน้ี

๑. ตัดกระแสไฟฟา้ โดยปดิ สวิตช์ไฟฟา้ หรือสบั สะพานไฟลง หรอื ดึงเต้าเสียบออก

๒. หากตดั กระแสไฟฟ้าไม่ได้ ให้ใชไ้ มแ้ ห้งหรือวัสดทุ ี่เปน็ ฉนวนไฟฟ้าเข่ยี สง่ิ ที่มกี ระแสไฟฟ้าออกไป ใหพ้ น้ ตวั ผู้ถูกไฟฟ้าดูด

๓. ใชผ้ า้ หรอื เชือกแห้งคล้องแขน ขา หรือลาตวั ของผู้ถกู ไฟฟ้าดูดลากออกไปใหพ้ น้ ส่งิ ทีม่ ีกระแสไฟฟ้า หากผ้ถู กู ไฟฟ้าดูดสลบหรอื หมดสติ จงึ ทาการปฐมพยาบาลให้ฟนื้ ตอ่ ไป

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟา้ ในบา้ น

งานไฟฟา้ ในบ้านส่วนใหญจ่ ะเกี่ยวกับการซอ่ มแซมสายไฟฟ้า ซอ่ มแซมเครื่องใช้ไฟฟา้ และเดินสายไฟฟา้ หากนกั เรียนมคี วามรู้และมปี ระสบการณ์จากการฝึกฝนจนชานาญ กส็ ามารถทาไดด้ ้วยตนเอง ซง่ึ จะสร้างความภูมใิ จ ให้แกต่ นเอง และประหยดั ค่าใช้จา่ ยในการวา่ จ้างชา่ งไฟฟ้าอกี ดว้ ย

๒.๑ การซ่อมแซมปลั๊กไฟทีส่ ายไฟฟ้าขาด การซอ่ มแซมปลั๊กไฟทีส่ ายไฟฟา้ ขาด ตอ้ งใชว้ ัสดุ อุปกรณ์และขน้ั ตอนการซ่อมแซม ดังนี้

วัสดุ อปุ กรณ์ ปลั๊กไฟใหม่ คีมปอกสายไฟฟ้า ไขควงปลายแบน หรอื ไขควงปลายแฉก สายไฟฟา้ ใหม่

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟา้ ในบา้ น (ตอ่ )

๒.๑ การซอ่ มแซมปลั๊กไฟที่สายไฟฟ้าขาด

ขัน้ ตอนการซอ่ มแซม ๑. สารวจลกั ษณะการชารุดของปลั๊กไฟ หรือสายไฟฟ้า ๒. เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณส์ าหรับซ่อมแซม โดยเลอื กใช้ปลั๊กไฟท่มี ีสกรูว จะทาใหส้ ายไฟฟ้ายดึ กับขาปลกั๊ ไฟแน่น ๓. เปล่ยี นปลกั๊ ไฟ หรอื สายไฟฟา้ ตามขนั้ ตอน ดังน้ี

๑) ตดั สายไฟฟ้าที่ขาดหรือหักออก

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ตอ่ )

๒.๑ การซ่อมแซมปลั๊กไฟที่สายไฟฟา้ ขาด ข้ันตอนการซอ่ มแซม

๒) ใช้คีมปอกสายไฟฟา้ ปอกฉนวนทห่ี ุ้มสายไฟฟา้ ออกยาวประมาณ ๒ น้ิว

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ต่อ)

๒.๑ การซอ่ มแซมปล๊กั ไฟท่ีสายไฟฟ้าขาด ขนั้ ตอนการซ่อมแซม

๓) บดิ ปลายสายไฟฟา้ เปน็ ตะขอก่อนต่อเข้าปลก๊ั ตัวผตู้ ัวใหม่

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ตอ่ )

๒.๑ การซ่อมแซมปล๊กั ไฟท่ีสายไฟฟ้าขาด ข้ันตอนการซอ่ มแซม

๔) สอดปลายสายไฟฟ้าเขา้ ไปในปลั๊กตัวผูต้ ัวใหม่ แลว้ ใช้ไขควงขนั ตะปคู วงให้แนน่ เพือ่ ลอ็ กไม่ใหส้ ายไฟฟ้าหลดุ จากน้นั ประกอบปลั๊กตวั ผู้ ปิดสายไฟฟา้ ให้เรียบรอ้ ย

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟา้ ในบา้ น (ต่อ)

๒.๒ การตอ่ สายดิน

ตัวนาไฟฟ้าหรือสายไฟฟ้าที่ต่อจากส่วนที่เป็นตัวนาไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เพ่ือให้เป็นเส้นทางท่ีสามารถ นากระแสไฟฟ้า กรณีท่ีมีไฟฟ้าร่ัวให้ไหลลงดินโดยผู้ใช้ไฟฟ้าไม่เกิดอันตราย ขณะเดียวกัน ก็เป็นเส้นทางให้ กระแสไฟฟ้ารั่วไหลย้อนกลับไปยังหม้อแปลงไฟฟ้าเพื่อให้เครื่องตัดไฟฟ้าอัตโนมัติทางาน และตัดไฟฟ้าออกทันที โดยทัว่ ไปสายไฟฟ้าดงั กลา่ วเรยี กวา่ สายดิน

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ตอ่ )

๒.๒ การตอ่ สายดนิ

การตอ่ สายดนิ มี ๒ รปู แบบ ดังน้ี ๑) การต่อสายดนิ ทรี่ ะบบสง่ จ่ายไฟฟา้ เป็นวิธกี ารตอ่ สายนิวตรอนโดยใช้หลกั สายดินเปน็ ตวั นาไฟฟ้า

ผา่ นลงดิน หลักสายดนิ ท่ีใช้จะเป็นแท่งตัวนาท่ีฝังลงไปในดนิ โดยหลกั สายดินจะเปน็ แทง่ เหล็กชบุ สงั กะสี ยาว ๘ ฟตุ และมีเส้นผ่านศนู ย์กลาง ๓/๔ น้วิ หรอื แท่งทองแดงยาว ๘ ฟุต และมเี ส้นผา่ นศูนยก์ ลาง ๑/๒ นว้ิ ตอกลงไปในดินลกึ จากผวิ หน้าดนิ อย่างนอ้ ย ๑ ฟุต การต่อลงดินนี้สามารถทาได้ทงั้ ไฟฟา้ ระบบ ๑ เฟส และไฟฟา้ ระบบ ๓ เฟส

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ต่อ)

๒.๒ การต่อสายดิน

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ต่อ)

๒.๒ การต่อสายดิน

๒) การตอ่ สายดนิ ทตี่ ัวอุปกรณ์ ทาได้หลายวิธี ดังน้ี (๑) การต่อลงดนิ แบบนี้จะเป็นการตอ่ ลงดินท่ีโครงของ

เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ โดยตรง ซึ่งการต่อลงดนิ วธิ ีน้โี ดยส่วนใหญ่ จะใช้กับอุปกรณไ์ ฟฟ้าทผ่ี ผู้ ลติ ได้ติดตัง้ จุดสาหรบั การตอ่ ลงดิน ไว้ให้แลว้ เช่น ต้เู ย็น เตาไมโครเวฟ เครอื่ งซกั ผ้า

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ต่อ)

๒.๒ การต่อสายดนิ

(๒) การตอ่ ลงดินทโ่ี ครงอุปกรณไ์ ฟฟ้า ร่วมกบั สายนวิ ตรอน การตอ่ ลงดินวิธนี ้คี ล้ายกบั วิธีแรก เพยี งแต่การต่อวงจรของสายดิน จะต่อร่วมเข้ากบั สายนวิ ตรอน หรอื สายกลางของระบบไฟหลัก ทใี่ ชเ้ ปน็ แหล่งจา่ ยไฟฟา้ ใหก้ ับอุปกรณไ์ ฟฟา้ เม่ือมกี ระแสไฟฟา้ ร่วั ที่ อปุ กรณ์ไฟฟา้ ก็จะไหลลงดนิ โดยผา่ นสายนิวตรอน

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๒. งานไฟฟ้าในบา้ น (ตอ่ )

๒.๒ การต่อสายดนิ

(๓) การตอ่ ลงดนิ ทีโ่ ครงอปุ กรณไ์ ฟฟา้ โดยผ่านท่อโลหะ และสายนวิ ตรอน การตอ่ ลงดนิ วธิ นี จ้ี ะคลา้ ยกบั วิธีที่สอง เพยี งแต่การ ตอ่ วงจรของสายดนิ จะตอ่ วงจรรว่ มกบั สายนิวตรอน หรือ สายกลาง โดยผา่ นทอ่ เดินสายที่เป็นโลหะ เมือ่ มีกระแสไฟฟ้ารั่วทอี่ ุปกรณ์ไฟฟา้ นัน้ ก็จะทาให้กระแสไฟฟา้ ท่รี ว่ั ไหลลงดนิ โดยผ่านท่อโลหะไปสู่ สายนิวตรอน

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟา้ ในบา้ น (ตอ่ )

๒.๒ การตอ่ สายดนิ การต่อสายดินใหไ้ ด้คณุ ภาพมขี ้อควรคานึง ดังน้ี ๑) หา้ มตอ่ สายดนิ ผา่ นฟิวสห์ รอื อุปกรณ์ป้องกนั แบบตดั วงจรอตั โนมัติ นอกจากการตอ่ ผ่านตัวตัดวงจรอตั โนมัติ เมื่อตวั ตัดวงจรอัตโนมัติทางาน ตอ้ งตดั สายไฟฟา้ ทุกเสน้ ของวงจรพร้อมสายดินออกดว้ ย ๒) หา้ มตอ่ สายดินผ่านสวติ ช์ตัดตอน ยกเวน้ ในกรณที ตี่ ิดต้งั ในที่มองเหน็ ไดช้ ดั เจน ๓) ห้ามต่อสายดินของเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าเขา้ กับสายนวิ ตรอน หากตอ่ ไว้เม่อื สายนวิ ตรอนขาด จะทาใหต้ วั ถงั โลหะของ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ามีศกั ย์ไฟฟา้ เท่ากับแรงดันของสายไฟฟ้าเสน้ ที่มไี ฟ ๔) จุดต่อสายดินทุกตาแหน่งต้องต่ออย่างมน่ั คงแข็งแรง โดยใชอ้ ุปกรณ์และวิธกี ารตอ่ สายทถ่ี กู ต้องเหมาะสม ๕) ทางเดินไฟฟ้าลงดินตอ้ งสามารถทนกระแสไฟฟา้ ลดั วงจรท่ีเกิดข้ึนได้ และต้องมคี วามตา้ นทานต่าพอทจ่ี ะทาให้ อปุ กรณ์ป้องกนั ระบบไฟฟา้ ทางาน

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟา้ ในบา้ น (ตอ่ )

๒.๒ การต่อสายดิน การตอ่ สายดินใหไ้ ด้คุณภาพมีขอ้ ควรคานึง ดังน้ี ๖) สายดินของเครื่องใช้ไฟฟา้ ตอ้ งมีขนาดที่พอเหมาะไม่เลก็ ไปกวา่ มาตรฐานที่กาหนด ๗) หลักต่อสายดนิ ต้องฝงั ลกึ ในดินไมน่ ้อยกว่า ๒.๔๐ เมตร ถ้าจาเปน็ ต้องมหี ลกั ตอ่ สายดินหลายหลกั แตล่ ะหลกั ตอ้ ง ห่างกนั ไม่นอ้ ยกวา่ ๑.๘๐ เมตร และต่อร่วมกัน ๘) จุดตอ่ สายดินกับหลักตอ่ สายดนิ ตอ่ ได้กบั หลักต่อสายดินหลักใดหลกั หนงึ่ ตามความสะดวก แต่ต้องอยู่ภายในบริเวณท่ี จะตอ่ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ และต้องอยทู่ างดา้ นกระแสเขา้ ของสวติ ช์ตดั ตอนหรืออุปกรณ์ปอ้ งกนั กระแสไฟฟ้าเกนิ ๙) สายดินท่จี ะตอ่ กบั หลักต่อสายดนิ ตอ้ งใสไ่ วใ้ นท่อหรือมฉี นวนหมุ้ และต้องเปน็ เส้นเดยี วกนั โดยตลอด ๑๐) ไมค่ วรตอ่ โครงโลหะของเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ลงดินโดยตรง ถ้าดาเนินการไปแลว้ ใหแ้ กไ้ ขโดยการต่อสายดินที่ สวิตช์ประธานอย่างถกู ตอ้ งและเดินสายดินจากสวิตช์ประธานมาตอ่ รวมกบั สายดินทใ่ี ชอ้ ย่เู ดิม

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟา้ ในบา้ น (ตอ่ )

๒.๓ การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคารบ้านเรอื น

การเดนิ สายไฟฟา้ ภายในอาคารบ้านเรอื น เป็นการติดต้งั สายไฟฟ้าไปตามผนังห้อง เพอ่ื เชื่อมต่อมายงั ปล๊ักไฟ สวิตช์ไฟฟ้า และเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า เช่น พัดลม เคร่ืองปรบั อากาศ

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕

๒. งานไฟฟา้ ในบา้ น (ตอ่ )

๒.๓ การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคารบ้านเรือน

การเดนิ สายไฟฟา้ ภายในอาคารบา้ นเรือนจะตอ้ งมคี วามรู้เก่ยี วกับเร่ืองตอ่ ไปน้ี ๑) การใชส้ ัญลกั ษณใ์ นงานเดนิ สายไฟฟา้ สัญลักษณ์ของไฟฟา้ มคี วามจาเป็นอย่างยง่ิ สาหรับช่างไฟฟา้ เพราะในแบบวงจรไฟฟ้าและการเขียนวงจรไฟฟา้

นั้นจะใชส้ ัญลกั ษณแ์ ทนวสั ดุ และอปุ กรณต์ ่าง ๆ โดยสญั ลักษณแ์ ละความหมายของไฟฟ้าที่สาคัญ มดี งั นี้