ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย

คือ มูลค่าเงินลงทุนทั้งหมดของกองทุนรวม รวมถึงผลประโยชน์ต่างๆ ที่กองทุนรวมได้รับจากการลงทุน หักออกด้วยค่าใช้จ่ายและหนี้สินของกองทุนรวมนั้น โดยปกติแล้วจะทำการคำนวณมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนตามราคาตลาดในแต่ละวัน (Mark to Market) เพื่อให้สะท้อนถึงมูลค่าที่เป็นจริงตามสภาวะตลาดที่ได้เปลี่ยนแปลงไป

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) จะเป็นผู้คำนวณราคา NAV และเปิดเผยให้นักลงทุนและประชาชนทั่วไปทราบทุกสิ้นวันทำการ โดยจะประกาศเป็น “มูลค่าต่อหน่วยลงทุน” ให้เรารับทราบกัน ซึ่งมูลค่าต่อหน่วยลงทุนนี้อาจสูงขึ้นหรือต่ำลงก็ได้ แล้วแต่ภาวะการลงทุนในแต่ละวัน

ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย

แล้ว NAV มีประโยชน์อย่างไร?

นอกจาก NAV จะแสดงถึง “มูลค่าที่แท้จริงของกองทุนรวม” แล้ว ยังแสดงถึง “ราคาซื้อ” หรือ “ราคาขายคืน” กองทุนรวมอีกด้วย โดยหากเราต้องการจะ “ซื้อ” ให้ดูราคาที่ช่อง “ราคาขาย” ในทางกลับกัน หากเราต้องการจะขาย ให้ดูที่ช่อง “ราคารับซื้อคืน” ซึ่งส่วนใหญ่ราคาขายจะสูงกว่าราคารับซื้อคืนประมาณ 0.0001 บาท และหากมีค่าธรรมเนียมการซื้อ ก็จะบวกเข้าไปในราคาขายด้วย

แถม NAV ยังเป็นตัวเลขที่สะท้อนผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ดีที่สุด เพราะการเปลี่ยนแปลงของ NAV จะทำให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบว่า... แต่ละกองทุนนั้นบริหารกองทุนแล้ว ทำให้ผู้ถือหน่วยได้กำไรหรือขาดทุนมากน้อยเพียงใด

หากมูลค่าต่อหน่วยลงทุนสูงขึ้นมากกว่าราคาที่ลงทุนเริ่มแรก นักลงทุนจะอยู่ในฐานะ “กำไร” แต่หากมูลค่าต่อหน่วยลงทุนลดลงน้อยกว่าราคาที่ได้ลงทุนเมื่อเริ่มแรก นักลงทุนก็จะอยู่ในฐานะ “ขาดทุน”

ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย

ส่วนความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ NAV ก็ยังมีให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะเรื่องราคาต่อหน่วย NAV ที่บางกอง 100 บาท บางกองแค่ 10 บาท นักลงทุนหลายคนจึงมองว่าเป็นเรื่องของ “ความถูกและแพงของ NAV” โดยคิดว่ากองทุนรวมที่มี NAV สูง คือ กองทุนรวมที่มีราคาแพงซื้อแล้วได้หน่วยลงทุนน้อย ไม่น่าลงทุน ขณะที่กองทุนรวมที่มี NAV ตํ่า แปลว่าราคาถูก ซื้อแล้วได้หน่วยลงทุนเยอะ น่าลงทุนมากกว่า


“NAV ต่ำ ไม่ได้แปลว่าถูก NAV สูง ไม่ได้แปลว่าแพง”

แต่ในความเป็นจริง ราคาของ NAV ไม่เกี่ยวกับผลประกอบการของกองทุน

ดังนั้น เราจึงควรพิจารณาปัจจัยที่สำคัญในการลงทุน เช่น นโยบายการลงทุน ผลตอบแทนในอดีต ความเสี่ยง เงื่อนไขการลงทุน ไปจนถึงผู้จัดการกองทุนที่บริหารอยู่ในขณะนั้นมากกว่าพิจารณาจาก “ความถูกหรือแพงของ NAV”

7. ท่านมีมาตรการหรือวิธีการที่น่าเชื่อถือเพียงใดที่จะทำให้มั่นใจว่า ท่านได้รายงานต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสินค้านำเข้าตามกฎหมาย ทั้งหมดต่อศุลกากร (เช่น ค่าวัสดุเสริม ค่านายหน้าทั้งหมด ค่าใช้จ่ายทางอ้อมหรือส่วนลด ค่าสิทธิ ฯลฯ)

NAV ย่อมาจาก Net Asset Value หรืออธิบายง่ายๆก็คือ ทรัพย์สินสุทธิ ทั้งหมดที่กองทุนนั้นมี ทรัพย์สินสุทธิทั้งหมดที่กองทุนนั้นมี ผ่านการนำมูลค่าทรัพย์สินทั้งหมดที่กองทุนนั้น ๆ มีอยู่ลบกับหนี้สินทั้งหมด หรือเขียนให้อ่านง่าย ๆ ว่า ทรัพย์สิน (Assets) – หนี้สิน (Liabilities)

โดยปกติแล้ว NAV จะใช้กันอย่างแพร่หลายในวงการกองทุนรวมหรือ ETF และมีสูตรคำนวณดังนี้

(มูลค่าทรัพย์สินตามราคาตลาด + ผลตอบแทนสะสม และเงินสด) – ค่าใช้จ่าย และ หนี้สินของกองทุนรวม = มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (NAV)”

แล้ว NAV ต่อหน่วย คืออะไร?

สิ่งที่เราควรสนใจก็คือ “NAV ต่อหน่วย” เพราะเอาไว้คิดคำนวณตอนเราจะซื้อขายกองทุน

มีสูตรคำนวณดังนี้

มูลค่าหน่วยลงทุน (NAV ต่อหน่วย) = มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (NAV) / จำนวนหน่วยลงทุน

ยกตัวอย่าง

“สมมุติมีเงิน 1,000 บาท แล้วราคาหน่วยลงทุนขายหน่วยละ 10 บาท

หมายความว่าเราจะซื้อหน่วยลงทุนนั้นได้ 100 หน่วย”

สร้างแผนและเปิดบัญชีกองทุนรวมกับ FINNOMENA สะดวก รวดเร็ว เปิดออนไลน์ ไม่ต้องส่งเอกสารให้ยุ่งยาก พร้อมเลือกซื้อกองทุนกว่า 1,000 กอง จาก 19 บลจ. สร้างแผนและเปิดบัญชี คลิก: https://finno.me/open-plan

“NAV เปรียบเสมือนมูลค่าทางบัญชี (Book Value)” หากจะให้เข้าใจง่าย ๆ อีกแบบผ่านศัพท์ของนักขุดงบการเงินเวลาประเมินธุรกิจ NAV ก็เปรียบเสมือน มูลค่าทางบัญชี (Book Value) โดย NAV นั้นมีมูลค่าเทียบเท่าหรือใกล้เคียงมาก ๆ กับ Book Value เลยทีเดียว

จะรู้ราคา NAV เมื่อไหร่?

ราคาหน่วยลงทุนของกองทุนรวมต่างกับหุ้นตรงที่ เวลาเอ็งเราซื้อกองทุน เราจะไม่รู้ราคาตอนซื้อ และตอนขาย เพราะราคา NAV เค้าจะประกาศตอนสิ้นวัน ไม่เหมือนหุ้นที่แสดงราคาแบบ RealTime”

*กรณี “กองทุนปิด” จะประกาศทุกวันทําการสุดท้ายของสัปดาห์

ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย
ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย

สรุปหัวใจหลักของ NAV

  • สินทรัพย์สุทธิ หรือ NAV ก็คือ สินทรัพย์ทั้งหมดหักล้างกับหนี้สินจนได้เป็นมูลค่าของกองทุนหรือบริษัท ณ ตอนนั้น
  • NAV นั้นโดยทั่วไปแล้วจะถูกนำมาใช้แสดงในฐานะมูลค่าต่อหุ้นของกองทุนรวม ETF หรือ กองทุนแบบปิด (กองทุนที่จำกัดเงินที่รับเข้ามาบริหารจัดการ ทำให้มีความคล่องตัวมากขึ้น)
  • NAV จะถูกคำนวณรายวันหลังการซื้อขายในวันนั้นปิดทำการ โดยอิงจากราคาปิดของสินทรัพย์ต่าง ๆ ในพอร์ต
  • หุ้นของกองทุนหรือหน่วยงานนั้น ๆ บางทีอาจซื้อขายในตลาด ในระดับราคาที่แตกต่างกันกับ NAV

โดย : เพจศาลเจ้าพ่อลงทุน

ที่มาบทความ : https://holyinvestor.com/

https://www.investopedia.com/terms/n/nav.asp

เรียนหัวข้อต่อไป “ดูยังไงว่า NAV ถูกหรือแพง?”


ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย

ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย

ผู้เขียน

ม ลค าหน วยลงท น ราคาซ อ ราคาขาย

ศาลเจ้าพ่อลงทุน เป็นสถานที่ที่มักจะมีนักลงทุนทั้งหน้าใหม่อยากเริ่มศึกษาการลงทุน และทั้งหน้าเก่าที่ยังไม่ประสบความสำเร็จสักที แวะเวียนมาปรึกษาขอคำแนะนำจากเจ้าพ่ออยู่บ่อยๆ ซึ่งเจ้าพ่อก็ใจดีอยากจะเห็นนักลงทุนไทยลงทุนได้อย่างถูกวิธี จึงปรากฎกายออกมาสอนบ้าง บ่นบ้าง และให้ความรู้อยู่เรื่อยๆ