ม ธยมปลายสายศ ลป ญ ป น อ.ล จ.ลำพ น

โดยจัดหาแพะพันธ์ุดี เพ่ือเล้ียงขยายพันธ์ุ โดยเฉพาะในโครงการฟาร์มตัวอย่าง ตาม พระราชดำริ ซ่ึงทรงโปรดฯ ให้จัดต้ังขึ้น ตามพืน้ ท่ีจงั หวดั ต่างๆ

๓.๓ การส่งเสริมวิชาชพี ดา้ นช่างและงานฝมี อื

(๑) ในคราวเสด็จฯ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเพ่ือทรงเย่ียมทหาร

บาดเจ็บจากราชการสงครามในสาธารณรัฐเวียดนาม พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชปรารภว่า กองทัพบกควรมีหน่วยงานฟื้นฟู สมรรถภาพ และฝึกอาชีพให้แก่ทหารพิการ เพื่อให้มีอาชีพเล้ียงตนและ ครอบครวั ได้ “ศนู ยฝ์ กึ อาชพี พระราชทาน” จงึ ไดก้ อ่ กำเนดิ ขน้ึ ณ โรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้าเม่ือปี ๒๕๑๓ ซ่ึงต่อมาได้แยกออกมาสร้างเป็นสถานฝึก อาชีพท่ีถนนวิภาวดรี ังสิต โดยพระองค์ได้พระราชทานพระราชทรัพยเ์ ป็นค่า

พระม่ิงขวัญของชาวไทย

ผ้ทู รงเปน็ พลงั พฒั นาประเทศ

ก่อสร้างตึก และเครื่องมือเคร่ืองใช ้ ที่จำเป็นในการรักษา สำหรับผู้ท่ี ขาดทุนทรัพย์ หรือผู้ทุพพลภาพ

ทย่ี งั พอทำงานเลี้ยงตวั ได้

นอกจากน้ี ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งโรงเรยี นฝกึ วชิ าชพี ตามโครงการพระดาบส เพ่ือให้บุคคลดังกล่าว ได้มีโอกาสศึกษาและ

ใช้วิชาชีพในการหาเล้ียงชีพและครอบครัว โดยผู้รับการอบรม ไม่ต้องเสีย

คา่ ใชจ้ า่ ยใดๆ ทงั้ นี้ เปดิ อบรมวชิ าชา่ งไฟฟา้ ชา่ งวทิ ยุ ตงั้ แตป่ ี ๒๕๑๙ สบื เนอ่ื ง ถึงปัจจุบันมี ๗ หลักสูตร โดยมีหลักสูตรที่เพิ่มเติม ได้แก่ วิชาชีพช่างยนต์

ช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิชาชีพเกษตรพอเพียง ชา่ งซอ่ มบำรงุ เคหบรบิ าล และ ช่างไม้เครือ่ งเรือน

(๒) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ

พระบรมราชินีนาถ ทรงริเริ่มให้มีการฟื้นฟูและพัฒนางานฝีมือพ้ืนบ้าน

ในแต่ละภูมิภาคข้ึน โดยทรงส่งเสริมให้ราษฎรมีอาชีพเสริมตามทักษะความ สามารถเพ่ือเพ่ิมรายได้ อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการให้

พระม่ิงขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลงั พฒั นาประเทศ

ราษฎรฝึกอาชีพกับมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทีท่ รงจัดตั้งขึ้น โดยพระราชทานแนวทางการดำเนินงาน เป็น ๒ ประเภทคือ การส่งเสริมสนับสนุนงานฝีมือท่ีชาวบ้านทำเป็นอยู่แล้ว เช่น ผ้าไหมมัดหม่ี ผ้าตีนจก ฯลฯ และการฝึกอบรมให้ชาวบ้านทำงานฝีมือ ที่ตนเองไม่เคยทำมาก่อน เช่น การปั้นตุ๊กตา เป็นต้น ซ่ึงนอกจากราษฎรจะ

มีรายได้เล้ียงชีพแล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์งานศิลปะท้องถิ่นอันทรงคุณค่า

ของชาตดิ ว้ ย

๓.๔ การส่งเสริมคณุ ภาพชวี ิต

(๑) เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ราษฎรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปิดเส้นทางการพัฒนาสู่ชนบทท่ีห่างไกล โดยถนน ประวัติศาสตร์สายแรกท่ีสร้างตามพระราชดำริคือ โครงการสร้างถนนเข้าสู่ หมู่บ้านห้วยมงคล ต.หินเหล็กไฟ (ปัจจุบันคือ ต.ทับใต้) อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ เม่ือปี ๒๔๙๕ ซึ่งในเวลานั้นไม่มีถนนออกจากหมู่บ้าน ทั้งๆ ที่อยู่ห่างจากตัวอำเภอประมาณ ๒๐ กิโลเมตรเท่านั้น ต่อมาทรงม ี

พระม่งิ ขวญั ของชาวไทย

ผู้ทรงเป็นพลังพัฒนาประเทศ

พ ร ะ ร า ช ด ำ ริ ใ ห้ ตั ด เ ส้ น ท า ง ค ม น า ค ม

และปรับปรุงถนนในพ้ืนที่ทุรกันดาร เพ่ือ อำนวยประโยชน์ให้พสกนิกรในด้านต่างๆ อีกมากมาย อาทิ เส้นทางสาย อ.รามัน- บา้ นตะโละหะลอ อ.รือเสาะ จ.นราธวิ าส เพ่ือความม่ันคงทางการเมืองและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เส้นทางสาย บ้านวาก-บ้านใหม่-บ้านแม่ตะไคร้ จ.เชียงใหม่-ลำพูน เพ่ือประโยชน์ด้าน เศรษฐกิจและสังคม และพัฒนาเส้นทางข้ามภูเขาระหว่างบ้านเปาสามขา อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ ไป อ.แม่ทา จ.ลำพูน โดยปรับปรุงทางหลวง หมายเลข ๑๒๒๙ เป็นตน้

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชดำรใิ หส้ รา้ งเสน้ ทาง คมนาคมอย่างต่อเนื่อง อาทิ โครงการขยายสะพานรถไฟข้ามคลองฉวาง จ.สรุ าษฎร์ธานี ตลอดจนโครงการก่อสรา้ งสะพานและทางเข้าหมูบ่ ้านต่างๆ

(๒) นอกจากเส้นทางคมนาคมเพื่อการสัญจรของราษฎร

ในถิ่นทุรกันดารแล้ว พระองค์ทรงมีพระราชดำริให้สร้างสาธารณูปโภค

พื้นฐาน เพื่ออำนวยความสะดวกให้ราษฎรมีไฟฟ้าและน้ำประปาใช้ อาท ิ

พระม่งิ ขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

ในปี ๒๕๒๕ ได้มีพระราชดำรัสในคราว เสด็จพระราชดำเนินโครงการหลวงห้วยลึก ทรงให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคช่วยพัฒนา

แหล่งน้ำขนาดเล็ก ซ่ึงมีอยู่เป็นจำนวนมาก นำมาใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะในการผลิต กระแสไฟฟ้าส่งไปถึงแหล่งชุมชนที่อยู่ห่างไกล และจากการพัฒนาแหล่งน้ำ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ที่ทำให้มีการพัฒนารูปแบบการจัดส่งน้ำ

ในแต่ละพ้ืนที่ให้ท่ัวถึงทุกครวั เรอื น เกดิ เปน็ โครงการกอ่ สรา้ งประปาหมบู่ า้ น

อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เช่น โครงการก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน

ท่ีบ้านแม่ต่ืนน้อย ต.แม่ต่ืน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ และที่บ้านค้อ

ต.หนองลาด อ.วารชิ ภูมิ จ.สกลนคร เป็นต้น

(๓) สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเอ้ืออาทรใน คุณภาพชีวิตของราษฎรเช่นเดียวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยเม่ือ

ปี ๒๕๔๔ ขณะเสด็จฯ เยี่ยมราษฎรบ้านทุ่งต้นง้ิว ต.แม่ตื่น อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ ทรงเห็นสภาพความเป็นอยู่ของราษฎรที่ด้อยโอกาส ท้ังทาง เศรษฐกิจและสังคม จึงมีพระราชดำริให้ดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพ

พระมิ่งขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

ชีวิตราษฎร บ้านทุ่งต้นง้วิ อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ เพอื่ ช่วยเหลอื และพัฒนา คุณภาพชีวิตราษฎร โดยการพัฒนาด้านต่างๆ และทรงให้กองทัพภาคท่ี ๓ เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกับส่วนราชการต่างๆ ท่ีเข้าไปดำเนินการ ตามพระราชดำริ

(๔) นอกจากทรงมีพระราชดำริในการจัดต้ังโครงการต่างๆ เพ่ือช่วย เหลือประชาชนให้มีอาชีพ รายได้ และคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนแล้ว พระองค ์ ยังทรงมีพระเมตตาช่วยเหลือประชาชนผู้ตกทุกข์ได้ยาก อาทิ เม่ือปี ๒๕๔๑ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานเงินที่ได้รับจากการ จำหนา่ ยดอกมะลงิ านวนั แมแ่ หง่ ชาติ ใหส้ ภาสงั คมสงเคราะหแ์ หง่ ประเทศไทย จัดต้ังเป็นกองทุนอาหารกลางวันเล้ียงผู้ตกงาน และผู้ประสบความทุกข์ยาก เดือดร้อน โดยจัดต้ังเป็นโครงการน้ำพระทัยพระราชทาน เลี้ยงอาหาร

กลางวันแก่ผู้ตกงานและผู้ประสบความทุกข์ยากเดือดร้อน รวมทั้งครอบครัว ในภาวะวิกฤต ทุกวันเว้นวันหยุดราชการ และเม่ือปี ๒๕๔๗ เมื่อทรงทราบ ว่าการกอ่ ความไมส่ งบใน ๓ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ทำให้ชาวสวนในจงั หวดั เหลา่ นไ้ี มส่ ามารถจำหนา่ ยผลไมไ้ ด้ จงึ ทรงมพี ระราชเสาวนยี ใ์ หจ้ ดั ซอ้ื ลองกอง

ถึงสวนของชาวบ้าน ต่อจากน้ันได้มีหน่วยงานต่างๆ เข้าช่วยเหลือซื้อและ

นำมาจำหน่ายท่ีกรุงเทพฯ โดยจัดทำเป็นโครงการเฉพาะกิจชื่อ “โครงการ นำ้ พระทัยสู่ ๓ จงั หวัดภาคใต”้

พระมิง่ ขวัญของชาวไทย

ผ้ทู รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

๔. ด้านการศกึ ษา

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และ สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถทรง สนพระราชหฤทัยเรื่องการศึกษา

เป็นอย่างย่ิง ด้วยทรงตระหนักว่า

การศกึ ษาเปน็ ปจั จยั สำคญั ในการเสรมิ สรา้ ง และพฒั นาความคดิ สตปิ ญั ญา ความประพฤตแิ ละคณุ ธรรมของคนในชาติ ซง่ึ จะ เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป จึงทรงมีพระราชปณิธานที่จะ

ส่งเสริมการศึกษาให้แพร่หลาย ทั้งในเมืองและในชนบทที่ทุรกันดาร โดย เฉพาะแก่เด็กยากจนและด้อยโอกาส เพ่ือท่ีจะได้มีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดีข้นึ ต่อไป

๔.๑ การสร้างโรงเรยี น

(๑) ด้วยทรงมุ่งมั่นให้พสกนิกรได้มีการศึกษา เพ่ือเป็นรากฐานที่ดี ของชีวิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์

พระม่ิงขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

ส่วนพระองค์ในการจัดสร้างโรงเรียนสำหรับผู้ท่ีอยู่ห่างไกลทุรกันดาร และ

ผู้ด้อยโอกาสท้ังชาวไทยและชาวไทยภูเขามากมาย อาทิ เมื่อปี ๒๔๙๙

ทรงสนับสนุนให้ตำรวจตระเวนชายแดนจัดตั้ง โรงเรียนชาวเขาเยาวชนไกล คมนาคม เพอื่ เปดิ โอกาสใหช้ าวเขาและเยาวชนถ่ินไกลคมนาคม ได้มีโอกาส เรียนรู้หนังสือไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมไทย และเป็นการ สรา้ งสำนกึ ของความเปน็ คนไทยมากย่งิ ขน้ึ

ปี ๒๕๐๖ ทรงใหจ้ ดั ตง้ั โรงเรยี นทห่ี า่ งไกลทง้ั บรเิ วณชายแดนและ พื้นที่ที่ไม่สงบจากภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ คือโรงเรียนเจา้ พอ่ หลวงอปุ ถมั ภ ์ ที่ จ.เชยี งใหม่ เป็นแห่งแรก ในระยะต่อมาเพ่ิมจำนวนมากขึ้นกว่า ๒๐๐ โรงเรียน โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระศรี

นครินทราบรมราชชนนี ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์

ร่วมสนับสนุนก่อสร้างโรงเรียนเพ่ือแบ่งเบาพระราชภารกิจของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงให้ สร้างโรงเรียนเจ้าแม่หลวงอุปถัมภ์ ๑ และ ๒ สำหรับชาวไทยภูเขาเผ่าเย้า

ทีบ่ ้านหว้ ยขาน ต.แมง่ อน อ.ฝาง และชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง ต.แม่ริม อ.แมร่ มิ จ.เชียงใหม่อีกด้วย โดยทรงมอบโรงเรียนให้อยู่ในความดูแลของกองกำกับ การตำรวจตระเวนชายแดน ปัจจุบันเป็นโรงเรียนท่ีสอนถึงระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ สังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

พระมิง่ ขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

นอกเหนือจากนี้ยังมี โรงเรยี นร่มเกลา้ ซึ่งพระบาท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ท ร ง

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อยู่

ในความดูแลของกองทัพภาค

ท่ี ๒ (ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ) โดยทรงริเริ่มให้สร้าง ขึ้นสำหรับเยาวชนในท้องถิ่นชนบทห่างไกลท่ีมีความไม่สงบจากภัยต่างๆ รวมท้ังพนื้ ทช่ี ายแดนและพน้ื ท่ีสชี มพู ซ่งึ ต่อมาไดส้ รา้ งโรงเรยี นร่มเกล้าขึน้ อีก หลายแห่ง และขยายถึงระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย สำหรับในพื้นที่ที่ ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น มหาวาตภัยท่ีแหลมตะลุมพุก อ.ปากพนัง จ.นครศรธี รรมราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิราช

ประชานุเคราะห์ จัดสร้างโรงเรียนให้แก่ท้องท่ีที่ประสบภัยพิบัติต่างๆ เรียกว่า “โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห”์ ซ่ึงปัจจุบันมีอยู่ในทุกจังหวัดทั่วประเทศ และ ทรงให้มูลนธิ ิราชประชาสมาสยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จดั สร้างโรงเรียนราช ประชาสมาสัย สำหรับลูกหลานท่ีมีบิดามารดาป่วยเป็นโรคเรื้อนซ่ึงสังคม

พระมิง่ ขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

รังเกียจได้รับการศึกษา โดยปัจจุบันได้พัฒนาและสามารถรับเด็กนักเรียน ปกติเข้าร่วมเรียนด้วย ตลอดจนทรงให้จัดตั้งโรงเรียนสงเคราะห์เด็กยากจน

ขึ้นในวัดหลายแห่งใน จ.สมทุ รปราการ น่าน นครพนม และราชบรุ ี

(๒) สำหรับพระราชโอรสและพระราชธิดา บุตรข้าราชบริพารใน พระราชวงั ทรงใหจ้ ดั ต้ังโรงเรยี นจิตรลดา โดยเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชน ทั่วไปได้เรียนด้วยโดยมิได้เลือกช้ันวรรณะ และพระราชทานที่ดินให้แก ่ กรมสามัญศึกษาเพื่อใช้เป็นที่ก่อสร้างโรงเรียนราชวินิต สำหรับบุตรหลาน ของข้าราชการสำนักพระราชวังและประชาชนในท้องถ่ิน โดยเสด็จฯ

ทรงเปิดโรงเรียนเมอ่ื ๑๘ มถิ นุ ายน ๒๕๑๐

ต่อมาได้พระราชทานท่ีดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่มุม

สนามม้าราชตฤณมัยสมาคม กอ่ สรา้ ง “โรงเรียนราชวินติ มธั ยม” ตลอดจน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนวังไกลกังวลไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์

ซ่ึงจัดตั้งขึ้นเมื่อปี ๒๔๘๑ ตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จ

พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เพ่ือให้การศึกษาแก่บุตรหลานของ

เจ้าหน้าท่ีผู้ดูแลรักษาวังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ รวมถึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานที่ดินให้กรุงเทพมหานคร สร้างโรงเรียน ในบริเวณชุมชนพระราม ๙ และพระราชทานนามวา่ “โรงเรียนพระราม ๙ กาญจนาภิเษก” เป็นโรงเรียนพระราชทานสาธิตแห่งแรกของกรุงเทพฯ

พระมงิ่ ขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลังพัฒนาประเทศ

ซึ่งเน้นการบริการด้านการศึกษาระดับปฐมวัยและประถมศึกษา เพ่ือให้ บริการทางการศกึ ษาแก่เยาวชนในกรงุ เทพฯ ดว้ ย

ส่วนโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เดิมคือโรงเรียนราชวิทยาลัย ต้ังขึ้นในรัชกาลที่ ๕ เมื่อปี ๒๔๔๐ ต่อมา

คณะครูและศิษย์เก่าได้ร่วมกันจัดตั้งและดำเนนิ กจิ การโรงเรยี นราชวทิ ยาลยั

ขึ้นใหม่ โดยขอใช้สถานท่ีของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สามพรานเดิม

และทรงรับไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ตัง้ แตป่ ี ๒๕๐๗

(๓) ในปี ๒๕๐๓ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงรเิ รม่ิ ใหม้ สี ถาบนั เกี่ยวกับการพัฒนาการบริหาร อันเป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยได้พระราชทานพระราชดำริให้ศึกษาแนวทางการก่อต้ังสถาบันบัณฑิต พฒั นบรหิ ารศาสตร์ หรือ NIDA ซง่ึ ก่อตง้ั สำเรจ็ ในปี ๒๕๐๙

๔.๒ การจัดตั้งกองทนุ และมลู นธิ เิ พอื่ การศกึ ษา

(๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์สร้างโอกาส ในการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งข้ึน ด้วยการพระราชทานทุนการศึกษาต่างๆ อาทิ ทุนอานันทมหิดล พระราชทานพระราชทรัพย์ก่อต้ังข้ึนเมื่อปี ๒๔๙๘ โดยเดิมพระราชทานเฉพาะบัณฑิตสาขาแพทยศาสตร์ท่ีเรียนดี เพ่ือไปศึกษา ต่อต่างประเทศ ต่อมาปี ๒๕๐๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังเป็น

“มูลนิธิอานันทมหิดล” และให้ขยายสาขาวิชาเพิ่มขึ้น ได้แก่ สาขาวิชา

พระม่งิ ขวญั ของชาวไทย

ผู้ทรงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ อักษรศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และโบราณคดี และเมื่อปี ๒๕๐๘ ทรงฟื้นฟูทุนเล่าเรียนหลวงที่รัชกาล ที่ ๕ กอ่ ตงั้ ขน้ึ พระราชทานแกน่ กั เรยี นเรยี นดที จ่ี บการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา ให้ไปเรียนตอ่ ต่างประเทศ

(๒) สำหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์จะศึกษาขั้นอุดมศึกษา

ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งทุนภูมิพลข้ึน เพื่ออุดหนุนนักเรียนเหล่านี้ รวมท้ังทุนนวฤกษ์ สำหรับนักเรียนท่ีมีความประพฤติดี แต่ขาดแคลน

ทุนทรัพย์ ตลอดจนทุนการศึกษาพระราชทานแก่นักเรียนเฉพาะกรณี เช่น ทุนพระราชทานแก่นักเรียนชาวเขาและนักเรียนเฉพาะสถานศึกษา รางวัล พระราชทานแกน่ กั เรยี นและโรงเรยี นดเี ดน่ และสถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชยี เปน็ ตน้ (๓) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญไปถึงคร ู อาจารย์โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังมูลนิธิช่วยเหลือครูอาวุโส

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผ้ทู รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

ในบรมราชานุเคราะห์ พร้อมพระราชทานพระราชทรัพย์ให้แก่คุรุสภาเม่ือ

ปี ๒๕๑๐ เป็นทุนประเดิม เพ่ือช่วยเหลือครูอาวุโสที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยดี

มาจนเกษียณอายุ มีประวัติการทำงานและความประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดี และมอบเครื่องหมายเชิดชูเกียรติเพ่ือส่งเสริมให้ครูมีกำลังใจในการปฏิบัติ หนา้ ท่ี

(๔) สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเล็งเห็นถึงความ สำคัญของการศึกษา โดยพระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนประเดิมให้แก่ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย จัดต้ังทุนช่ือว่าทุนพระราชทาน

ช่วยเหลือการศึกษาเด็กยากจน เพอ่ื ช่วยเหลือการศกึ ษาแกเ่ ด็กยากจน ให้มี โอกาสได้รับการศึกษาตามสมควรแก่อัตภาพและความสามารถของตน

โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงรับนักเรียนยากจนขาด โอกาสทางการศึกษาที่ทรงพบ ให้เป็นนักเรียนในพระบรมราชานุเคราะห์ รวมถึงพระราชทานทุนการศึกษาแก่เด็กพิการให้เข้ารับการศึกษาในโรงเรียน

การศึกษาพิเศษ และมีพระราชเสาวนีย์ให้กองราชเลขานุการฯ ติดตาม

ผลการศึกษา และช่วยเหลือเพื่อใหไ้ ปประกอบอาชพี เล้ียงตนเองได้

๔.๓ การศึกษานอกระบบ

(๑) นอกจากการศึกษาในระบบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการศึกษานอกระบบและการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม โดยศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จ.เชียงใหม่ ได้สนอง

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผ้ทู รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

แนวพระราชดำริ จัดทำโครงการพฒั นา ชุมชน ต.บ้านจันทร์ อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ซ่ึงชาวบ้านส่วนใหญ่เป็น

ชาวเขาเผ่ากะเหร่ียงขาดโอกาสทางการ ศึกษา โดยได้จัดการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จขั้นพื้นฐาน จัดหนังสือ หมุนเวียนทุกหมู่บ้าน จัดการศึกษาผู้ใหญ่ระดับ ๓-๔ รวมถึงจัดอบรม

กลุม่ แม่บา้ น และจดั โครงการวชิ าชพี เคลื่อนที่สู่ชนบท

สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงเจริญรอยตาม

แนวพระราชดำริ โดยทรงให้สร้างศาลารวมใจ เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ ี ชาวบ้านสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นท่ีแลกเปล่ียนความรู้ ความคิด สร้างความสามัคคี และหนังสือประเภทต่างๆ ที่พระราชทานไว ้ ท่ีศาลารวมใจ รวมทั้งมีห้องปฐมพยาบาล ยาพระราชทาน สำหรับให้การรักษา พยาบาลเบื้องต้น และเจ้าหน้าที่ท่ีผ่านการอบรมหลักสูตร “หมอหมู่บ้าน”

เปน็ ผดู้ แู ลอยา่ งนอ้ ย ๑ คน

(๒) สำหรบั การศกึ ษาทางไกล กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดจ้ ดั ทำ “โครงการ ศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม” โดยเลือกโรงเรียนไกลกังวล อ.หัวหิน

พระมิ่งขวญั ของชาวไทย

ผู้ทรงเป็นพลงั พัฒนาประเทศ

จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ เปน็ แมข่ า่ ยการถา่ ยทอด ระบบทางไกลผ่านดาวเทียม รวมท้ังได้รับ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัด ต้ังสถานีโทรทัศน์ขึ้นท่ีโรงเรียนไกลกังวล

ส่งสัญญาณออกอากาศแพร่ภาพไปยัง โรงเรียนต่างๆ ในเครือข่ายการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมทั่วประเทศ

โดยแพร่ภาพเปน็ ครัง้ แรกเมอ่ื ๕ ธนั วาคม ๒๕๓๘

รวมทั้งพระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนเริ่มต้นในการจัดตั้ง มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อเป็นผู้บริหารงาน ซ่ึงมูลนิธิฯ

ได้ดำเนินการต่างๆ อาทิ โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมให้แก่ วัดไทย โดยจัดการศึกษาผ่านเครือข่ายทางอินเตอร์เน็ทตามโครงการ DEF e-School ให้ลูกหลานไทยในต่างประเทศ และชาวต่างประเทศท่ีสนใจ สามารถเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ประเทศไทย จดั ทำรายการ “ศกึ ษาทศั น”์ หรอื รายการ Quest for Knowledge เป็นรายการเพื่อการศึกษาท่ีพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ให้สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมดำเนินรายการในรูปแบบของการพานักเรียนไปศึกษาเรียนรู้ นอกห้องเรียน และการอบรมครูสอนภาษาอังกฤษด้วยวิธีการประชุม

ทางไกลระบบวดี ิทศั น์ เป็นต้น

พระม่งิ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลังพฒั นาประเทศ

๕. ดา้ นอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ เสด็จฯ ไปยังภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ

ไ ด้ ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร เ ห็ น ค ว า ม เสื่อมโทรม

ของทรัพยากรธรรมชาติ จึงทรงมีพระราชดำริ ให้มีการฟื้นฟู พร้อมทั้งอนุรักษ์ธรรมชาต ิ และส่ิงแวดล้อมด้านต่างๆ เสมอมา โดยทรง คิดค้นดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขให้เป็นงานท่ีดำเนินการได้โดยง่าย

ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศน ์ โดยสว่ นรวม และถูกต้องตามหลักวิชา

๕.๑ การฟน้ื ฟูและอนุรกั ษป์ ่าไม ้ (๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริ เกี่ยวกับการฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าไมท้ ่ีสำคัญหลายวิธี อาทิ ปลูกป่าในใจคน

พระมิ่งขวญั ของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

โดยการทำความเข้าใจกับราษฎรให้รู้ถึงประโยชน์ของป่าและการอยู่ร่วมกับ ป่าอย่างพ่ึงพาอาศัยกัน ให้ราษฎรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกป่า โดยจัด จำแนกความเหมาะสมการใช้ที่ดินตามลักษณะโครงสร้างของดิน ส่งเสริมให้ ราษฎรมีส่วนร่วมในกิจกรรมการปลูกป่า ตลอดจนรู้จักนำพืชมาใช้สอย

อย่างถูกต้อง เพอ่ื ให้ชมุ ชนอยู่ร่วมกับป่าอย่างยง่ั ยืน ดังเช่น โครงการพฒั นา พื้นท่ีลุ่มน้ำห้วยบางทรายตอนบน อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ จ.มุกดาหาร และโครงการพัฒนาพื้นท่ีลุ่มน้ำแม่อาว อันเน่ืองมาจาก

พระราชดำริ จ.ลำพนู

ปลกู ปา่ ๓ อยา่ ง ใหป้ ระโยชน์ ๔ อยา่ ง เปน็ แนวคดิ ของการผสม ผสานการอนุรักษ์ ดิน น้ำ และการฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ ควบคู่กับความ ตอ้ งการด้านเศรษฐกจิ ด้วยการจำแนกป่า ๓ อย่าง คอื ป่าไม้ใช้สอย ปา่ ไม้ กนิ และป่าไม้เศรษฐกจิ

การปลูกป่าทดแทน ได้แก่ การปลูกป่าทดแทนตามไหล่เขา

เช่น โครงการพัฒนาดอยตุง จ.เชียงราย โดยเชิญชวนให้ราษฎรร่วมปลูกป่า เพื่อฟื้นฟูตามไหล่เขา การปลูกป่าทดแทนในพื้นที่ป่าเส่ือมโทรม ในโครงการ

พัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้ำห้วยบางทรายตอนบน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.มุกดาหาร ซึ่งมีพระราชดำริให้แบ่งเขตป่าไม้ออกจากเขตชุมชน และให้มี การส่งเสรมิ การปลูกป่าฟื้นฟธู รรมชาต ิ

พระมง่ิ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลังพฒั นาประเทศ

ทฤษฎีป่าเปียก เป็นกลยุทธ์การ พัฒนาป่าไม้โดยใช้ทรัพยากรน้ำเข้ามาช่วยใน การสร้างแนวป้องกันไฟเพ่ือป้องกันไฟไหม้ป่า ในระยะยาว โดยได้พระราชทานคำแนะนำ ให้หาวิธีให้น้ำจากป่าไหลผ่านลึกลงไปใต้ดิน เพ่ือรักษาหน้าดินให้มีความช้ืน รากของต้นไม้ และพืชจะได้รับอาหารจากน้ำ ด้วยวิธีนี้

ไมเ่ พยี งปา่ จะชมุ่ ชน้ื ขนึ้ ในฤดแู ลง้ แตค่ วามชมุ่ ชนื้ ยังทำหน้าทเ่ี ป็นเขตกันชนคมุ้ ครองปา่ อกี ด้วย รวมทง้ั ทรงเน้นให้ทำวิจัยอย่าง ตอ่ เนือ่ ง เพื่อลดปัญหานำ้ เหอื ดแหง้ จากบรเิ วณตน้ นำ้ ลำธารดว้ ย

ภูเขาป่า โดยการสร้างฝายชะลอความชุ่มช้ืน หรือ Check Dam ปิดกั้นร่องนำ้ ในเขตต้นน้ำลำธาร เพื่อแผ่กระจายความชุ่มชน้ื ออกไปให้ กว้างขวาง อันจะช่วยฟ้ืนฟูสภาพป่าในบริเวณที่สูงให้สมบูรณ์ข้ึนเป็นภูเขา

ป่าน้ำในอนาคต ภูเขาป่าท่ีเขียวขจีจากแนวพระราชดำรินี้ สามารถ

พบเห็นและศึกษาได้ที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดำร ิ โดยเฉพาะท่ีเด่นชัดคือ ที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเน่ืองมาจาก

พระราชดำริ อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี

พระมิ่งขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

(๒) จากแนวพระราชดำริการ ฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าดังกล่าว พระองค์ ได้พระราชทานและนำไปใช้ในการฟ้ืนฟูสภาพป่าและปลูกป่าในพ้ืนที่ต่างๆ โดยทรงใชก้ ารฟืน้ ฟตู ามหลกั ธรรมชาติ คือ การปลกู ปา่ โดยไมต่ ้องปลูก โดย อาศัยระบบวงจรป่าไม้ คือ การปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเติบโต

ของต้นไม้และควบคุมไม่ให้คนเข้าไปตัดไม้ ไม่มีการรบกวนเหยียบย่ำต้นไม้ เล็กๆ เมอื่ ทง้ิ ไวช้ ว่ งระยะเวลาหนง่ึ พชื ลกู ไม้ พนั ธไุ์ มต้ า่ งๆ จะสามารถคอ่ ยๆ เจริญเติบโต และขยายพันธุ์ฟ้ืนตัวขึ้น ทำให้ระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิตเร่ิม

เกิดข้ึนและเกื้อกูลกัน เช่น โครงการศึกษาวิธีการฟ้ืนฟูท่ีดินเส่ือมโทรม

เขาชะง้มุ อันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ ต.เขาชะงุม้ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี และการปลูกป่าทดแทน โดยการปลูกป่าทดแทนตามไหล่เขา เช่นที่ โครงการพัฒนาดอยตุง และการปลูกป่าทดแทนในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม เช่น โครงการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มนำ้ หว้ ยบางทราย จ.มุกดาหาร เปน็ ตน้

(๓) ในการอนุรักษ์ป่าไม้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

ทรงมีพระราชกรณียกิจมากมายที่ทรงสืบสานต่อจากพระบาทสมเด็จ

พระเจา้ อยหู่ ัว รวมท้ังทท่ี รงพระราชดำริขนึ้ ใหม่ อาทิ ทรงรเิ ร่ิม โครงการป่า รักน้ำ โดยชักชวนราษฎรให้ร่วมกันปลูกป่าเป็นครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๒๕ ที่

พระมงิ่ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลงั พัฒนาประเทศ

บริเวณเชงิ เขาภผู าเหลก็ อ.สอ่ งดาว จ.สกลนคร และพระราชทานพันธ์ุไม้ รวมท้ังทรงช้ีแจง ใหร้ าษฎรเหน็ ความสำคญั ของปา่ ไม้ มคี วาม เข้าใจในวิธีการช่วยกันดูแลรักษาป่าไม้

และใช้ประโยชน์จากป่าโดยไม่ทำลายป่า การดำเนินงานประสบผลสำเร็จดีย่ิง และได้ขยายพื้นท่ีโครงการออกไป

อยา่ งกวา้ งขวางจนถงึ ปจั จบุ นั

(๔) ต่อมาในปี ๒๕๒๖ ทรงมีพระราชประสงค์ท่ีจะสอนและชี้ให้ ประชาชนเห็นว่า ป่าถูกสร้างเพื่อประโยชน์แก่คน หากรู้จักใช้ประโยชน์

ในทุกตารางนว้ิ โดยคงสภาพความสมบูรณ์ไว้ได้ กจ็ ะสามารถใชผ้ ืนป่าหาเลยี้ ง ครอบครัวได้ตลอดชีวิต จึงทรงริเริ่มโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ ในพ้ืนท่ี บา้ นหนองไผ่ ต.โคกสี อ.สวา่ งแดนดนิ จ.สกลนคร ซง่ึ ชว่ ยทำใหร้ าษฎรในพน้ื ท่ี โครงการมคี วามเปน็ อยดู่ ขี น้ึ และสามารถดแู ลรกั ษาปา่ ไมใ้ นพนื้ ทไี่ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี

และโครงการราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า โดยมีพระราช ประสงค์ให้มีการฟ้ืนฟูสภาพป่าให้อุดมสมบูรณ์เหมือนในอดีต ให้คนและป่า อยู่ด้วยกันได้ โดยให้จัดทำโครงการฝึกอบรมราษฎรพิทักษ์ป่าขึ้นเป็น

พระม่งิ ขวัญของชาวไทย

ผูท้ รงเปน็ พลงั พัฒนาประเทศ

ครั้งแรกในพ้ืนที่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ เม่ือปี ๒๕๓๘ โดย

ได้พระราชทานพระราชทรัพย์

ส่วนพระองค์ใช้ในการฝึกอบรม รวมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานธงและเข็ม “พิทักษ์ป่า เพื่อรักษาชีวิต” เพ่ือเป็นกำลังใจแก่ ราษฎรในหมู่บ้านท่ีได้รับการคัดเลือกว่าเป็นหมู่บ้านและเป็นสมาชิกราษฎร อาสาสมัครท่ีอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ดีเด่น เป็นประจำทุกปีในทุกภาคของ ประเทศ เรียกวา่ “หมบู่ า้ นรกั ษ์ปา่ ประชารักษ์สตั ว์”

(๕) นอกจากน้ี ยังมีโครงการอ่ืนๆ อีกมากมายที่ล้วนทรงม ี พระราชดำริข้ึนเพ่ือฟื้นฟูสภาพป่า อนุรักษ์ป่าต้นน้ำลำธาร ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และสำรวจหาข้อมูลทางวิชาการในการสนับสนุนการอนุรักษ์ และฟ้ืนฟูสภาพป่าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน โดยคำนึงถึงชีวิตความเป็น อยู่ของคนในพ้ืนท่ี พัฒนาอาชีพ ส่งเสริมยกระดับความเป็นอยู่และคุณภาพ ชีวิต และสร้างสำนึกเก่ียวกับสิ่งแวดล้อมข้ึน เพ่ือการฟื้นฟูและอนุรักษ์

ท่ีไดผ้ ลอย่างจรงิ จงั และย่งั ยนื อาทิ โครงการสวนปา่ สิริกิติ์ โครงการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า พ้ืนที่รอยต่อ ๕ จังหวัดภาคตะวันออก

พระมง่ิ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลงั พัฒนาประเทศ

โครงการพัฒนาพ้ืนที่รอยต่อ อ.เมือง อ.เมืองปาน และ อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง โครงการหมู่บ้านป่าไม้แผนใหม่

อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ บา้ นนาศริ ิ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ และทรงม ี พ ร ะ ร า ช ด ำ ริ ใ ห้ จั ด ตั้ ง โ ค ร ง ก า ร ส ถ า นี พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร ท่ี สู ง ต า ม

พระราชดำริ ตงั้ แตป่ ี ๒๕๔๖ โดยทรงมหี ลกั การใหฟ้ น้ื ฟสู ภาพปา่ สกดั เสน้ ทาง ขนยาเสพติดตามแนวชายแดน สนับสนุนแผนป้องกันประเทศ ช่วยรักษาเขต

ตน้ นำ้ ลำธารสรา้ งงานใหร้ าษฎร ดแู ลประชากรชาวเขา และมแี หลง่ ผลติ อาหาร เชน่ โครงการสถานพี ฒั นาการเกษตรทสี่ งู ตามพระราชดำรพิ น้ื ทภี่ พู ยคั ฆ์ ต.ขนุ นา่ น อ.เฉลมิ พระเกยี รติ จ.นา่ น และทบ่ี า้ นหว้ ยหยวกปา่ โซ อ.แมฟ่ า้ หลวง จ.เชยี งราย เปน็ ตน้ ๕.๒ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำและการอนุรักษด์ ิน

(๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงมพี ระราชดำรวิ ่า การปา่ ไม้กับ การอนุรักษ์ดินและทรัพยากรน้ำ เป็นเรื่องที่สัมพันธ์กันเสมอ จึงควรแก้ ปัญหาโดยรวมมากกว่าจะคำนึงถึงเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งของปัญหาส่ิงแวดล้อม

พระม่ิงขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลังพฒั นาประเทศ

พระองค์จึงได้พระราชทานหลักการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ำตามแนว

พระราชดำริ เพ่ือให้เกิดการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรน้ำอย่าง สูงสุด ร่วมกับการอนุรักษ์ป่าไม้ และดนิ อาทิ การบรหิ ารจดั การนำ้ แลง้ ไดพ้ ระราชทานโครงการฝนหลวง และ ทรงมพี ระราชดำริในการพัฒนาแหล่งน้ำผิวดิน อาทิ อ่างเก็บน้ำ และฝาย

ทดน้ำ ดังท่ีได้กล่าวในข้อ ๒.๓ โครงการเกี่ยวกบั การแกป้ ัญหาขาดแคลนน้ำ

ในการเพาะปลูก อาทิ ฝายต้นน้ำ (Check Dam) การขุดลอกหนองบึง

ทตี่ นื้ เขนิ ใหร้ องนำ้ หลากในฤดฝู น ประตรู ะบายนำ้ สระเกบ็ นำ้ อโุ มงคผ์ นั นำ้ ฯลฯ

(๒) สำหรับการบริหารจัดการน้ำท่วม ทรงมีพระราชดำริและ แนวทางการบริหารจัดการอันหลากหลาย อาทิ เข่ือนเก็บกักน้ำ ได้ พระราชทานพระราชดำริให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องแก้ไขปัญหาน้ำท่วม

ด้วยการสร้างเข่ือนเก็บกักน้ำในหลายพ้ืนที่ อาทิ เขื่อนขุนด่านปราการชล จ.นครนายก เพอ่ื บรรเทาปญั หาวกิ ฤต ๓ ประการคือ น้ำท่วม น้ำแลง้ และ ปัญหาดินเปรี้ยว และเข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ จ.ลพบุรี เพ่ือแก้ปัญหาอุทกภัย

ในช่วงฤดูน้ำหลากบริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสักตอนล่างและลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา

ทสี่ ง่ ผลสบื เนอื่ งถงึ กรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑลอกี ดว้ ย

พระม่งิ ขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

ทางผันน้ำ อาทิ การผนั นำ้ จากแม่น้ำเจ้าพระยา โดยทาง

ตะวันตก ผันเข้าแม่น้ำท่าจีน แล้ว ผันลงสู่ทุ่งบริเวณ จ.สุพรรณบุรี ก่อนระบายออกสู่ทะเล ส่วนด้าน ตะวันออกผันน้ำเข้าคลองระพีพัฒน์ เข้าสู่คลอง ๑๓ จากนั้นระบายออกคลอง ๑๔ โดยน้ำส่วนหน่ึงผันไปลง

แม่น้ำบางปะกง อีกส่วนหนึ่งลงคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิตผ่านสู่คลอง ชายทะเล

การปรับปรุงสภาพลำน้ำ โดยการขุดลอกลำน้ำในบริเวณท ่ี ตื้นเขิน ตกแต่งดินตามลาดตล่ิงที่ถูกกัดเซาะ กำจัดวัชพืชหรือทำลาย

สิ่งกีดขวางทางน้ำไหลเปน็ ต้น

การระบายน้ำออกจากพื้นที่ลุ่ม ตัวอย่างที่สำคัญคือ โครงการ แก้มลิง ซึ่งมีแนวทางบรรเทาปัญหาน้ำท่วมโดยจัดหาพ้ืนท่ีรองรับและกักเก็บน้ำ

พระม่ิงขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลงั พัฒนาประเทศ

ในชว่ งฝนตก มนี ำ้ มาก และระบาย ออกในช่วงที่น้ำลดลง โดยการขุด ลอกคลองต่างๆ เพื่อให้น้ำไหลมา ร ว ม กั น แ ล้ ว น ำ ม า เ ก็ บ ไ ว้ ใ น บ่ อ

พักน้ำอันเปรียบเสมือนกับแก้มลิง แลว้ จงึ ระบายนำ้ ลงทะเลเมอ่ื ปรมิ าณ นำ้ ทะเลลดลง

การหาความสัมพันธ์ของระดับน้ำและปริมาณน้ำปากแม่น้ำ เจา้ พระยา คือการศึกษาหาความสัมพันธ์ของน้ำทะเลหนุน และปริมาณน้ำ เหนือหลากผ่านเขตกรุงเทพฯ แล้วนำผลการวิเคราะห์ไปใช้สำหรับ

การบริหารจัดการปริมาณน้ำเหนือท่ีไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาและเขื่อน

ป่าสักชลสทิ ธ์ ิ

พระม่ิงขวัญของชาวไทย

ผูท้ รงเป็นพลังพฒั นาประเทศ

โครงการแก้มลิง ในปี ๒๕๓๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้

เจา้ หน้าทดี่ ูแลปัญหาน้ำท่วมเข้าเฝ้าฯ เพือ่ รบั พระราชทานแนวพระราชดำริ โครงการแก้มลิง และดำเนินโครงการแก้มลิงท่ีสำคัญในเขตกรุงเทพฯ ได้แก่ โครงการแก้มลิงฝ่ังตะวันออกและฝ่ังตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา และ โครงการแก้มลิงนอกเขตกรุงเทพฯ ท่เี ออ้ื ประโยชน์กับในเขตกรงุ เทพฯ ไดแ้ ก่ โครงการแก้มลิงแม่น้ำท่าจีนตอนล่าง โครงการแก้มลิงคลองมหาชัย-

สนามชัย และโครงการแกม้ ลงิ คลองสนุ ัขหอน

นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้ ดำเนินโครงการเฉพาะกิจต่างๆ อาทิ คราวน้ำท่วมหาดใหญ่เมื่อปี ๒๕๓๑

ได้พระราชทานพระราชดำรโิ ครงการบรรเทาอทุ กภยั อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยมีแนวทางการแก้ไขปัญหา เช่น ขุดลอกคลองธรรมชาตินอกตัวเมือง หาดใหญ่ อาทิ คลองอูต่ ะเภา คลองทา่ ช้าง-บางกลำ่ และคลองหวะ รวมทั้ง การขุดลอกคลองระบายน้ำสายใหม่ ๕ สาย คือ คลองระบายน้ำ ร.๑ ร.๓ ร.๔ ร.๕ และ ร.๖ การจัดทำแก้มลิงคลองเรยี น และการจดั การสง่ิ กอ่ สรา้ ง

ทขี่ วางทางนำ้ ไหล เปน็ ตน้ ซง่ึ บรรเทาวกิ ฤตนำ้ ทว่ มในปี ๒๕๕๓ ทม่ี ปี รมิ าณน้ำ

สงู ถงึ ๑,๖๒๓.๕๐ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วนิ าที สงู มากกวา่ ปี ๒๕๓๑ ทมี่ ปี รมิ าณนำ้ ๘๓๙ ลูกบาศก์เมตรตอ่ วนิ าที โดยสามารถแบง่ รับน้ำและระบายนำ้ ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ลดความรุนแรงของอุทกภยั ทีเ่ กิดขึ้น กล่าวคอื นำ้ ลดลงภายใน

พระมิ่งขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

๓ วัน ซง่ึ ก่อนหน้าน้ีใช้เวลาถึง ๗ วัน

โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธ์ิ

อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ซึ่งสมเด็จ

พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเคยมี

พระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำริเม่ือวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ ให้หน่วยราชการท่ีเก่ียวข้องร่วมกันดำเนินโครงการ ขุดลอกคลองลัดโพธิ์ เพื่อบรรเทาปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล เน่อื งจากแมน่ ำ้ เจา้ พระยาตอนล่างในเขต จ.สมทุ รปราการมีลักษณะโค้งอ้อม ก า ร ขุ ด ล อ ก ค ล อ ง นี้ ช่ ว ย ล ด ร ะ ย ะ ท า ง ก า ร ไ ห ล ข อ ง น้ ำ ใ น แ ม่ น้ ำ จ า ก

๑๘ กิโลเมตร เหลือประมาณ ๖๐๐ เมตรเท่าน้ัน นับเป็นตัวอย่างของ

การบริหารจัดการน้ำ โดยยึดหลักการ “เบี่ยงน้ำ” โดยเฉพาะช่วงก่อน

น้ำทะเลหนุน ภายหลังดำเนินการเสร็จในปี ๒๕๔๘ ช่วยให้สามารถควบคุม ปริมาณน้ำ ป้องกันน้ำเค็มไหลย้อน และช่วยลดระดับน้ำหลากใน

ลมุ่ เจ้าพระยาตอนลา่ ง รวมทงั้ ลดระยะเวลานำ้ ทว่ มขงั ลง

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผูท้ รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชดำรใิ หศ้ กึ ษาเพม่ิ เตมิ ใน การนำพลงั งานนำ้ ทรี่ ะบายผา่ นประตรู ะบายนำ้ นไี้ ปใชป้ ระโยชน์ กรมชลประทาน และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงร่วมกันประดิษฐ์เครื่องกำเนิดไฟฟ้า พลังงานจลน์ และชุดสำเร็จของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ข้ึน รวมท้ัง ย่ืนขอจดสิทธิบัตรงานท้ัง ๒ ชิ้นในพระปรมาภิไธย ในขณะเดียวกัน

ทาง จ.สมทุ รปราการไดเ้ ตรยี มวางโครงการตดิ ตง้ั เครอื่ งผลติ กระแสไฟฟ้าพลัง ลม เพื่อใชพ้ ลงั งานธรรมชาติให้เป็นประโยชน์มากยิง่ ข้นึ

(๓) การบรหิ ารจดั การนำ้ เสยี พระองคท์ รงใชห้ ลกั การงา่ ยๆ บนพนื้ ฐาน หลักวิชาการ อาทิ น้ำดีไล่น้ำเสีย เป็นวิธีการใช้น้ำท่ีมีคุณภาพดีช่วยผลักดัน น้ำเนา่ เสียออกไป และชว่ ยใหน้ ้ำเนา่ เสยี มสี ภาพเจือจางลง

เครอ่ื งกรองนำ้ ธรรมชาติ ได้พระราชทานพระราชดำริให้ปลูกผัก ตบชวาในการดำเนินโครงการปรับปรุงบึงมักกะสัน เพื่อดูดซึมสารท่ีเป็น โลหะหนกั กรองนำ้ เสยี ชว่ ยใหพ้ ชื และปลาอาศยั อยใู่ นนำ้ ได้ โดยเปน็ โครงการท่ี พระองค์ทรงศึกษาและวางแผนการศึกษาด้วยพระองค์เอง และจากการ ทดสอบคุณภาพน้ำในบึงพบว่าปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำตามจุดต่างๆ มปี รมิ าณเพม่ิ ขนึ้ ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ นำ้ ในบงึ หลงั ปรบั ปรงุ โดยทว่ั ไปมคี ณุ ภาพดขี น้ึ ตลอดจนสามารถนำผักตบชวามาทำปุ๋ยหมักและเช้ือเพลิง รวมถึงผู้คนที่อาศัย บริเวณน้ันได้รับความช่วยเหลือในรูปของการฝึกอาชีพในการทำอตุ สาหกรรม

พระมง่ิ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

ในครัวเรือน โดยใช้ผักตบชวาเป็นวัสดุทำตะกร้า กระเป๋า และส่ิงของต่างๆ สร้างเสริมรายได้ให้ครอบครัว นอกจากนี้ บึงมักกะสันยังเป็นแหล่งเก็บน้ำ หรือระบายนำ้ ในยามท่ีมภี ัยนำ้ ท่วมอกี ดว้ ย

สระเติมอากาศชีวภาพบำบัด ทรงใช้เครื่องจักรกลเติมอากาศ มาช่วยเพิ่มออกซิเจนละลายน้ำ เพ่ือให้แบคทีเรียย่อยสลายสารอินทรีย์

ในนำ้ เสยี เมอ่ื นำ้ ใสแลว้ จงึ ระบายทงิ้ อาทิ สระเกบ็ นำ้ พระราม ๙ ทรงมพี ระราชดำริ ให้เป็นแหล่งเก็บน้ำอเนกประสงค์ขนาดใหญ่ เพ่ือใช้ในการจัดการน้ำสำหรับ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึ่งสามารถบรรเทาปัญหาน้ำท่วมพื้นท่ีตอนล่าง โครงการ และปญั หานำ้ เน่าเสยี ตามคลองและชุมชนบางแหง่

การผสมผสานระหว่างพื้นน้ำกับระบบเติมอากาศ โดยการ สร้างบ่อดักสารแขวนลอย ปลูกต้นกกอียิปต์ เพ่ือใช้ดับกลิ่น และปลูกผัก

ตบชวาดูดสิง่ สกปรกและโลหะหนกั จากน้ันใช้ กงั หันน้ำชยั พัฒนา และแผง เติมอากาศให้กับน้ำเสียตามความเหมาะสม ตลอดจนให้ตกตะกอนก่อน ปล่อยลงแหล่งน้ำ โดยนำมาทดลองที่หนองสนม จ.สกลนคร และท่ ี บึงพระราม ๙ กรุงเทพฯ ซง่ึ สามารถพิสูจน์ไดว้ ่าคณุ ภาพนำ้ สะอาดยิง่ ข้ึน

หลักธรรมชาติบำบัดธรรมชาติ ทรงบำบัดน้ำเสียด้วยระบบ

บ่อบำบัดและพืชน้ำ ประกอบด้วย ๔ ระบบ คือ ระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย ระบบบ่อชีวภาพ ระบบหญ้ากรอง และระบบบำบัดน้ำเสียโดยใช้ป่าชายเลน

พระมงิ่ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลงั พฒั นาประเทศ

เช่น โครงการศึกษาวิจัย พั ฒ น า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ห ล ม

ผักเบี้ย อันเนื่องมาจาก

พระราชดำริ อ.บา้ นแหลม จ.เพชรบุรี

นอกจากน้ี ทรงอาศัยวิธีทางวิทยาศาสตร์ อาทิ การบำบัดน้ำ เสียด้วยกระบวนการทางฟิสิกส์เคมี “สารเร่งตกตะกอน” เช่น โครงการ บำบัดน้ำเสียหนองสนม-หนองหาน ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ไดพ้ ระราชทานชอ่ื รุ่นของเครอื่ งบำบัดน้ำเสยี น้วี า่ “TRX-๑” เป็นต้น

(๔) พระองค์ทรงพัฒนาแหล่งน้ำเพ่ืออุปโภคบริโภค โดยได้ พระราชทานพระราชดำริและแนวทางต่างๆ แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

แหง่ ประเทศไทย และกรมชลประทาน ในการสรา้ งเขอื่ นตา่ งๆ ซง่ึ พระวสิ ยั ทศั น์

ท่ีทรงคำนงึ ถงึ ประโยชนข์ องประชาชนทกุ หมเู่ หลา่ นเี้ องชาวไทยจงึ มกี ระแสไฟฟา้ ใช้มากขึ้น มีน้ำเพื่ออุปโภคบริโภคและใช้ในการเกษตร รวมทั้งยังลดปัญหา อุทกภัยลงได้ด้วย อาทิ เขื่อนภูมิพล เขื่อนแควน้อย เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ โครงการจัดหาน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค เช่น โครงการเข่ือนคลองท่าด่าน จ.นครนายก โครงการพัฒนาที่ลุ่มน้ำปากพนัง และการเพ่ิมประสิทธิภาพ การบริหารจัดการน้ำในพ้ืนที่โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ (พ้ืนที่ นำร่อง ๙ จังหวัด) เพื่อสนับสนุนและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ในการบริหารจัดการน้ำอย่างต่อเน่ืองและเปน็ ระบบ โดยเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม ของราษฎร ใหเ้ ปน็ ผดู้ ำเนนิ การดว้ ยตนเอง

พระม่ิงขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลังพฒั นาประเทศ

รวมทั้งทรงให้จัดตั้ง สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร เพ่ือดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลทรัพยากรน้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยา ทั้งหมด จากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แล้วสำเนากระจายข้อมูลนี้กลับไป ใหห้ นว่ ยงานตา่ งๆ อกี ครงั้ ใหไ้ ดใ้ ชข้ อ้ มลู รว่ มกนั เกดิ เปน็ กลไกในการประสานงาน

ในการวจิ ัยและพัฒนาระบบดงั กล่าว

(๕) สำหรับการอนุรักษด์ ิน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงเหน็ วา่ ดินเป็นปัจจัยพ้ืนฐานสำคัญเช่นเดียวกับน้ำ จึงทรงริเริ่มโครงการจัดและ พัฒนาที่ดินเมื่อปี ๒๕๑๑ เพื่อพลิกผนื ดนิ ทแ่ี หง้ แลง้ ขาดความอดุ มสมบรู ณใ์ ห้ สามารถผลติ พืชพนั ธธ์ุ ัญญาหารได้ โดยทรงแนะใหใ้ ช้วธิ กี ารทดลองต่างๆ เพื่อ อนุรักษ์บำรุงรักษาดิน ซ่ึงส่วนใหญ่เปน็ วธิ กี ารตามธรรมชาติที่เป็นหนทาง สร้างความสมดุลของสภาพแวดล้อมให้เกิดขึ้น พระราชดำริที่เก่ียวกับวิธี การแก้ไขปัญหาเร่ืองดินจึงเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะที่สอดคล้องกับพ้ืนที่นั้นๆ

โดยนำความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาใช้ให้เกิดผลชัดเจน โดยพระองค์ ทรงศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ แกไ้ ขปญั หาดนิ ตา่ งๆ โดยไดก้ ลา่ วในขอ้ ๒.๒ โครงการเกยี่ วกบั

การแก้ปัญหาดินเพ่ือการเพาะปลูก โดยเฉพาะปัญหาดินที่เส่ือมโทรม

พังทลายจากการชะล้างหน้าดิน ท่ีพระราชทานพระราชดำริให้ใช้หญ้าแฝก ร่วมกบั ระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ ซ่ึงได้ขยายผลการศกึ ษา วจิ ัย ทดลอง และ รณรงคก์ ารใชห้ ญา้ แฝกอยา่ งกวา้ งขวาง อาทิ การศกึ ษากระบวนการตรงึ ไนโตรเจน ทางชวี ภาพ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการกระจายมวลชวี ภาพของรากหญา้ แฝก และการจดั ทำระบบฐานขอ้ มลู หญา้ แฝกในประเทศไทย ฯลฯ

พระมิ่งขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเป็นพลังพฒั นาประเทศ

๕.๓ การอนรุ ักษส์ ัตวแ์ ละพันธพุ์ ืช

(๑) จากวิกฤตการณ์การบกุ รกุ

ทำลายพน้ื ทป่ี า่ การคกุ คามชวี ติ สตั วป์ า่ จนสัตว์ป่าได้สูญพันธ์ุไปเป็นจำนวน มากและอีกหลายชนิดอยู่ในสภาวะที่ใกล้จะสูญพันธ์ุ พระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรพันธ์ุสัตว์ป่า

รวมท้ังแหล่งท่ีอยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์ป่า ดังโครงการอันเน่ือง

มาจากพระราชดำรมิ ากมาย อาทิ การจดั ตง้ั สถานเี พาะเลย้ี งสตั วป์ า่ โคกไมเ้ รอื จ.นราธิวาส เนื่องในคราวเสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎร จ.นราธิวาส เม่ือปี ๒๕๒๔ ทรงมีพระราชดำริที่จะยกระดับความเป็นอยู่และสภาวะเศรษฐกิจ ของประชาชนให้ดีขึ้น จึงได้เกิดโครงการศูนย์เพาะเลี้ยงและขยายพันธ์ุสัตว์ ปา่ โคกไมเ้ รือ ซงึ่ ต่อมาได้เปล่ียนเปน็ สถานีเพาะเลีย้ งสตั วป์ า่ โคกไมเ้ รอื

การจัดตั้งสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าปางตอง เมื่อปี ๒๕๒๕ โดย ทรงมีพระราชดำริให้มีการเพาะเล้ียงสัตว์ป่าในรูปสวนสัตว์เปิด โดยในขั้นต้น ให้จัดทำคอกอนุบาลเพ่ือเป็นที่พักของสัตว์ป่า ในระยะต่อไปให้พิจารณานำ

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผูท้ รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

สัตว์ไปเล้ียงในสวนสัตว์เปิด เพ่ือเป็นตัวอย่าง แก่ราษฎรได้ยึดเป็นอาชีพหลักอย่างหนึ่งและ เป็นที่พักผ่อนของประชาชนทั่วไป รวมทั้งทรง มีพระราชดำริให้จัดตั้งสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า บางละมุง จ.ชลบุรี สถานีเพาะเล้ียงสัตว์ป่า ภเู ขยี ว จ.ชยั ภมู ิ สถานเี พาะเลย้ี งสตั วป์ า่ เขาคอ้ จ.เพชรบูรณ์ สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าห้วยทราย จ.เพชรบุรี สถานเี พาะ เลยี้ งสตั วป์ า่ ดอยตงุ จ.เชยี งราย เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาชโี อน จ.ชลบรุ ี ฯลฯ

(๒) ขณะโดยเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการลงพ้ืนที่

ในภูมิภาคต่างๆ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงใยชีวิต สัตว์ต่างๆ ที่ใกล้สูญพันธุ์ จึงทรงสานงานอนุรักษ์สัตว์ต่างๆ มากมาย อาทิ สถานีเพาะเล้ียงสัตว์ป่าช่องกล่ำบน จ.สระแก้ว สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ห้วยยางปาน และสถานีเพาะเล้ียงสัตว์ป่าอมก๋อย จ.เชียงใหม่ โครงการ

พระมงิ่ ขวัญของชาวไทย

ผูท้ รงเป็นพลังพัฒนาประเทศ

คืนสัตว์ป่าสู่พงไพร โครงการอนุรักษ์พันธ์ุ สตั วป์ า่ ภเู ขยี ว จ.ชยั ภมู ิ โครงการพระราชดำริ สวนป่าหาดทรายใหญ่ จ.ประจวบครี ีขันธ ์

(๓) นอกจากสัตว์ป่าแล้ว ทรงมี

พระราชดำริให้กรมประมงฟ้ืนฟูปลาไทย และอนุรักษ์ปลาหายาก จึงได้เกิดโครงการ ฟน้ื ฟปู ลาไทย เปน็ โครงการต่อเน่ือง ตั้งแต่ปี ๒๕๓๓ ซึ่งประสบความสำเรจ็ ในการเพาะเลี้ยงปลาไทยได้เกือบทุกชนิด รวมถึงโครงการวังปลา ซึ่งจัด สถานท่ีแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดวังปลา ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อันเป็นสถาน อนุรักษ์พันธ์ุปลาน้ำจืด และเปรียบเป็นเสมือนตู้ปลาขนาดใหญ่ของประเทศ รวมท้ังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ราษฎรศึกษาการเล้ียงและเพาะฟัก

ลูกกุ้งก้ามกราม ควบคู่ไปกับการฝึกอาชีพหัตถกรรมและการเพาะปลูกพืชไร่ โดยทรงรับซ้ือและไปปล่อยท่ีแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณใกล้เคียงศูนย์ศิลปาชีพ บางไทร หลังจากน้ันกรมประมงได้นำพันธุ์กุ้งก้ามกรามไปปล่อยสมทบ

อีก โดยปฏิบัติเช่นน้ีอยู่สองสามปี ทำให้พื้นท่ีบริเวณน้ันมีกุ้งก้ามกรามชุกชุม ชาวบา้ นบางไทรจงึ พากนั เรียกว่า “กงุ้ สมเดจ็ ฯ”

พระมิง่ ขวัญของชาวไทย

ผ้ทู รงเป็นพลังพัฒนาประเทศ

(๔) สำหรับทรัพยากรธรรมชาติชายฝ่ัง ทะเล ทรงให้อนุรักษ์สัตว์ต่างๆ ท่ีใกล้สูญพันธ์ุ อีกมากมายหลายโครงการ เช่น โครงการ สมเด็จฯ อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล ท่ี อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ซ่ึงสามารถเพ่ิมและขยายพันธ์ุเต่าทะเลในธรรมชาติท่ีใกล้สูญพันธ์ุ ให้กลับฟื้นคืนมา โครงการคนื สัตว์สูป่ า่ ชายเลน อาทิ โครงการฟื้นฟอู นุรักษ์ ป่าทุ่งทะเล อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.กระบี่ โครงการฟ้ืนฟูทรัพยากร

ธรรมชาตชิ ายฝั่งทะเล อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ ฯลฯ

(๕) ส่วนการอนุรักษ์ช้าง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับดำเนินตามพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาทิ โครงการสตั วแพทยส์ ญั จร เพอื่ ใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นความรรู้ ะหวา่ งสตั วแพทย์ เรื่องโรคช้าง โดยสัตวแพทย์จะเดินทางพร้อมกับควาญช้างเข้าไปในพื้นท ่ี ห่างไกลเพ่ือตรวจรักษาช้าง และทำทะเบียนประวัติและบัตรสุขภาพช้าง โครงการจัดการช้างตกมันและช้างอาละวาด เพ่ือส่งผู้ชำนาญไปยังพ้ืนที ่ ท่ีช้างอาละวาดอยู่และช่วยควาญช้างหรือเจ้าของช้างระงับความเสียหาย

ทเ่ี กดิ ข้นึ และควบคุมช้าง

พระมิง่ ขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลงั พัฒนาประเทศ

โครงการดูแลช้างสุขภาพไม่ดี เพื่อดูแลช้างที่เจ้าของไม่สามารถเล้ียงดูได้ โดยองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ได้จัดเขต บริบาลช้างสุขภาพไม่ดีดังกล่าวให้ และ โครงการทดลองการคืนช้างสู่ธรรมชาติ โดยการเลือกช้างที่ทดลองปล่อย และเลือกป่าที่จะใช้เป็นท่ีอยู่ของช้างท่ีมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ เพื่อเป็นที่ สำหรับเล้ียงช้างท่ีพิการ ช้างชรา ช้างดุร้าย ช้างท่ีเจ้าของไม่ต้องการ และ เปน็ สสุ านชา้ ง เป็นตน้

(๖) เมื่อเสด็จฯ ไปทรงงาน ณ พ้ืนที่แห่งใด สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงให้ความสนพระราชหฤทัยในธรรมชาติรอบ

พระวรกายอยู่เสมอ จึงทรงมีพระราชดำริให้อนุรักษ์พันธุ์พืชและไม้ดอก ธรรมชาติ อาทิ โครงการคืนชีวิตกล้วยไม้สู่ไพรพฤกษ์ ในพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์กล้วยไม้พันธ์ุเอื้องแซะ จ.แม่ฮ่องสอน โครงการอนุรักษ์ กล้วยไม้รองเท้านารี ศูนย์รวมพรรณไม้บ้านร่มเกล้า และศูนย์การศึกษา วจิ ัยรวบรวมและขยายพนั ธด์ุ อกดาหลา เปน็ ตน้ รวมทง้ั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระนามาภิไธยเป็นช่ือพรรณไม้ต่างๆ อาทิ กหุ ลาบควนี สริ กิ ติ ์ิ แคทลยี าควนี สริ กิ ติ ์ิ โมกราชนิ ี รวมทง้ั ไดพ้ ระราชทาน นามพรรณไมต้ า่ งๆ อาทิ ดสุ ติ า มณเี ทวา สรอ้ ยสวุ รรณา และทพิ เกสร เปน็ ตน้

พระมง่ิ ขวัญของชาวไทย

ผูท้ รงเปน็ พลงั พฒั นาประเทศ

๖. ด้านเทคโนโลยีและการสอ่ื สาร

ด้วยสายพระเนตรอัน

ยาวไกลของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ

พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงเล็งเห็นว่า เทคโนโลยีและ การสื่อสารเป็นปัจจัยพ้ืนฐาน สำคัญของการพัฒนาประเทศ จึงทรงศึกษา วิจัย และนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งสามารถ นำมาพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงานทดแทน การเกษตร

การแพทย์และการรักษาพยาบาล และนวัตกรรมการประดิษฐ์ ตลอดจน

การสร้างสรรค์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือใช้ในกิจการทั้งปวง อันสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศเป็นอย่างย่ิง โดยมีโครงการแและ กิจกรรมต่างๆ อาทิ

พระมง่ิ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

๖.๑ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมดา้ นพลงั งานทดแทน

(๑) พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงหว่ งใยเรอื่ งนำ้ มนั ในโลกซง่ึ นบั วนั

จะคอ่ ยๆ หมดไป จงึ พระราชทานพระราชดำรใิ หค้ น้ ควา้ วจิ ยั หาพลงั งานทดแทน น้ำมัน โดยให้นำพืชผลการเกษตรมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนตั้งแต่ปี ๒๕๒๒ เม่ือทดลองและพัฒนาได้ผลดีแล้วจึงพระราชทานเผยแพร่เพื่อ ประโยชน์แก่ประชาชนท่ัวไป อาทิ โครงการพัฒนาพลังงานแก๊สชีวภาพ ด้วยการทดลองใช้มูลโคในโครงการโรงโคนมในสวนจิตรลดาผลิตแก๊สชีวภาพ

ต่อมาได้รับการพัฒนาให้สามารถผลิตพลังงานเพิ่มจำนวนมากข้ึน จนกระท่ัง ผู้ประกอบการฟาร์มขนาดกลางและขนาดใหญ่สามารถนำกระบวนการ

ไปพัฒนาสร้างโรงงานผลิตก๊าซเป็นพลังงานหมุนเวียนในฟาร์มของตนได้ และทรงศึกษาต้นทุนการผลิตแอลกอฮอลล์จากอ้อย และได้ปรับปรุงและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนสามารถผลิตเอทานอลในปริมาณเพียงพอสำหรับ ผสมกับน้ำมันเบนซินเป็นแก๊สโซฮอล์ และร่วมกับการปิโตรเลียม

แห่งประเทศไทย (ปตท.) ปรับปรุงคุณภาพจนสามารถนำออกจำหน่ายเพ่ือ ใช้เติมรถยนต์ของประชาชนทว่ั ไปได้ ซ่งึ เป็นพลังงานสำคัญในปัจจุบัน

สำหรับดีโซฮอล์ คือน้ำมันเช้ือเพลิงที่ได้จากการผสมน้ำมันดีเซล

เอทานอล และสารอ่ืนที่จำเป็นเพื่อนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์ ดีเซล โดยร่วมกับ ปตท. ทดลองผสมเอทานอล จนในท่ีสุดสามารถนำไปใช้ สำหรับเครื่องยนต์ดีเซลในรถยนต์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลงั พฒั นาประเทศ

ซึ่งมีประสิทธิภาพดี สามารถลดมลพิษได้ นอกจากนี้ ได้มีพระราชดำริให้ พัฒนาไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มโดยให้กองงานส่วนพระองค์วิจัยและ พัฒนานำน้ำมันปาล์มบริสุทธ์ิมาใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์ดีเซลในชื่อ “การใช้น้ำมันปาล์มกล่ันบริสุทธิ์เป็นเช้ือเพลิงสำหรับเคร่ืองยนต์ดีเซล” และไดจ้ ดสิทธบิ ัตรทก่ี ระทรวงพาณิชยเ์ ม่อื ๙ เมษายน ๒๕๔๔

(๒) พระองคท์ รงมพี ระราชดำรใิ หท้ ดลองนำวสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากการเกษตร มาพัฒนาใช้ให้เกิดประโยชน์จึงมีการนำวัสดุต่างๆ เช่น แกลบบด ผักตบชวา และขี้เล่ือยจากถุงเพาะเห็ด มาอัดเป็นแท่งเช้ือเพลิง เรียกว่าเชื้อเพลิงเขียว ซึ่งเป็นเชือ้ เพลงิ ท่ีใหค้ วามร้อนได้ดี โดยปจั จุบันมีจำหน่ายแกบ่ คุ คลท่วั ไป

(๓) สำหรับพลังงานด้านอื่นๆ พระองค์ทรงศึกษาเกี่ยวกับน้ำอย่าง ละเอยี ดลกึ ซง้ึ ทำใหท้ รงทราบถงึ ปรมิ าณนำ้ ทส่ี ามารถนำมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ด้านต่างๆ และพระราชทานข้อสังเกต แนวทางแก้ปัญหาแก่เจ้าหน้าท่ีท่ี เกยี่ วขอ้ งนำไปพฒั นาการใชพ้ ลงั งานนำ้ ใหส้ มบรู ณย์ งิ่ ขน้ึ รวมถงึ พระราชดำริ เก่ียวกับการสร้างเข่ือนและโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก เพ่ือกักเก็บน้ำไว้ใช้ ประโยชน์และสร้างกระแสไฟฟ้าให้ชุมชนในละแวกใกล้เคียงในพื้นท่ีชนบท ห่างไกล เสริมการทำงานของโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่ของภาครัฐ อาทิ โรงไฟฟา้ พลงั นำ้ บา้ นสนั ติ จ.ยะลา โรงไฟฟา้ พลงั นำ้ บา้ นบาง จ.เชยี งใหม่

และทรงมพี ระราชดำรพิ ฒั นาพลงั งานลม เพอ่ื นำไปใชป้ ระโยชน ์ ในโครงการหลวงเป็นจำนวนมาก อาทิ การติดกังหันลมเพื่อใช้สูบน้ำ

พระมิ่งขวญั ของชาวไทย

ผ้ทู รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

ในโครงการพระราชดำริการพัฒนาน้ำเพ่ือ การเกษตรทุ่งสาเมาะ อ.รามัน จ.ยะลา

ซึ่งสามารถทำให้เกษตรกรท่ีอยู่ในพ้ืนที่สูง ส า ม า ร ถ มี น้ ำ เ พ่ื อ ก า ร เ ก ษ ต ร ไ ด้ โ ด ย ใ ช้ พลังงานท่ีประหยัด และกระทรวงพลังงาน ได้สนองพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีทรงสนพระราชหฤทัย ในการนำพลังงานจากแสงอาทติ ยม์ าใชป้ ระโยชน์ ด้วยการติดต้งั ระบบเซลล์ แสงอาทิตย์ ผลิตกระแสไฟฟ้าในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริต่างๆ เช่น โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านพุระกำ จ.ราชบุรี โครงการศูนย์ศิลปาชีพ

เกาะเกิด จ.อยุธยา สถานีพัฒนาเกษตรที่สูง จ.เชียงใหม่ และโรงเรียน

จติ รลดา เป็นตน้

๖.๒ เทคโนโลยีและนวัตกรรมดา้ นการแพทย์

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระอจั ฉรยิ ภาพในการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ นวตั กรรมตา่ งๆ อาทิ มพี ระราชดำรใิ หส้ รา้ งหนุ่ ยนตค์ ณุ หมอพระราชทาน และ

พระม่งิ ขวัญของชาวไทย

ผทู้ รงเป็นพลังพัฒนาประเทศ

พระราชทานเงนิ จำนวน ๒ หมนื่ บาทใหว้ ทิ ยาลยั เทคนคิ กรงุ เทพ (ปจั จบุ นั คือ มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ)

สร้างถวาย เพ่ือใชใ้ นการประชาสมั พันธเ์ ชิญชวนประชาชนทมี่ างานกาชาดให้ บริจาคช่วยกาชาด เมอื่ ปี ๒๔๙๘ รวมทงั้ ทรงออกแบบภาชนะรองรบั ของเสยี ท่ี ขบั ออกจากรา่ งกายเปน็ อปุ กรณท์ ใี่ ชส้ ำหรบั รองรบั ของเสยี ของผปู้ ว่ ย เพอ่ื ให้ สะดวกตอ่ การใชง้ าน และไดร้ บั จดสทิ ธบิ ตั รเปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาเมอ่ื ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๔๖

๖.๓ เทคโนโลยีและนวตั กรรมการประดษิ ฐ์

(๑) แม้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมีพระราชภารกิจต่าง ๆ มากมาย แต่ก็โปรดท่ีจะต่อเรือใบพระที่น่ังด้วยพระองค์เอง เนื่องจากทรง โปรดกีฬาเรือใบเป็นอย่างย่ิง โดยเรือใบลำแรกที่ทรงต่อเองเมื่อปี ๒๕๐๗

ชื่อ “เรือราชปะแตน” และลำต่อมา ได้แก่ “เรือเอจี” “เรือนวฤกษ์”

หลงั จากนนั้ ทรงออกแบบและต่อเรือใบประเภทม็อธด้วยพระองค์เองจำนวน

พระม่ิงขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

หลายลำ อันเป็นจุดกำเนิดของการต่อเรือที่ทรงพระราชทานนามว่า “เรือมด

เรอื ซเู ปอรม์ ด และเรอื ไมโครมด”

(๒) นอกจากประดษิ ฐกรรมเพอ่ื การกฬี าดงั กลา่ วแลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวยังทรงพระอัจฉริยภาพในการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ

เพื่อใช้ในงานพัฒนาตา่ งๆ อาทิ ทรงโปรดเกลา้ ฯ ให้มลู นิธิชัยพัฒนาสนบั สนุน งบศึกษาและวิจัยร่วมกับกรมชลประทานผลิตเคร่ืองกลเติมอากาศท่ีเป็น กังหันน้ำแบบทุ่นลอย ในปี ๒๕๓๒ จากนั้นได้พัฒนาจนเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “กงั หนั นำ้ ชยั พฒั นา” เพอื่ ใชใ้ นการปรบั สภาพนำ้ ทเี่ นา่ เสยี ของแหลง่ นำ้ ตา่ งๆ

รวมทั้งพระราชทานเอกสารทางเทคนิคเก่ียวกับจักรยานเผินน้ำ ให้แกก่ รมอทู่ หารเรอื เพอ่ื ศกึ ษาและดำเนนิ การสรา้ งจกั รยานเผนิ นำ้ ซง่ึ สามารถ สร้างเป็นผลสำเร็จ โดยใช้ว่า “ไฮโดรไมด์” และทรงให้มีการสร้างอุปกรณ์ ควบคมุ การผลักดันของเหลวหรือท่ีเรียกว่าเรือหางกุด เป็นอุปกรณ์ท่ีติดต้ัง ท่ีท้ายเรือสำหรับการขับเคล่ือน สามารถนำไปติดตั้งทำให้เป็นเรือไม่มีหาง เพือ่ ใชใ้ นพนื้ ทต่ี า่ งๆ ไดง้ ่ายและสะดวกข้นึ

พระม่ิงขวญั ของชาวไทย

ผ้ทู รงเป็นพลงั พฒั นาประเทศ

๖.๔ เทคโนโลยีด้านสารสนเทศและการสอื่ สาร

(๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัด

ตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. ขึ้นท่ีพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เม่ือป ี ๒๔๙๕ เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านต่างๆ และข่าวสารตลอดจนความบันเทิง

แก่ประชาชนโดยตรง ซึ่งวิทยุ อ.ส. ได้มีบทบาทในการเผยแพร่ข่าวภัยพิบัต ิ ท่ีเกิดในประเทศ และได้ประกาศขอรับบริจาคเงินและส่ิงของช่วย

ผปู้ ระสบภัยหลายครงั้

และทรงใช้วิทยุส่ือสารเป็นเครื่องมือในการติดต่อและ

ดำเนินงานเร่ืองต่างๆ รวมท้ังทรงสดับข่าวสารทุกข์สุขของประชาชน

โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึนกับประชาชน เพื่อจะได้พระราชทาน

พระบรมราชานุเคราะห์หรือทรงแก้ไขปัญหาได้ทันเหตุการณ์ ตลอดจน พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำระบบสื่อสารแบบถ่ายทอดสัญญาณ หรือ Repeater ให้มูลนิธิแพทย์อาสา (พอ.สว.) นำไปใช้ในการดำเนินงาน

ใหบ้ รกิ ารรกั ษาพยาบาลผ้เู จบ็ ป่วยในท้องถ่นิ ทุรกนั ดารหา่ งไกล

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผูท้ รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

(๒) นอกจากน้ี ด้วยการที่ พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง เ ป็ น พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ์ ที่สนพระทัยใฝ่รู้และทรงศึกษาอย่าง จริงจังโดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสาร สนเทศ จึงทรงศึกษาคิดค้นสร้าง โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลข้อมูลต่างๆ ด้วยพระองค์เอง ทรงประดิษฐ์รูปแบบตัวอักษรไทยที่มีลักษณะงดงาม อาทิ แบบจิตรลดา

และแบบภพู งิ คเ์ พอื่ แสดงผลบนจอภาพคอมพวิ เตอรแ์ ละเครื่องพิมพ์ และทรง ติดตั้งเครือข่ายสื่อสารคอมพิวเตอร์เพ่ือสนับสนุนพระราชภารกิจต่างๆ

ท้ังยังทรงประดิษฐ์ ส.ค.ส. ด้วยคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ผ่านสื่อมวลชน

เพอ่ื ทรงอวยพรปวงชนชาวไทย ทรงใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรใ์ นงานสว่ นพระองค์ ทางด้านดนตรี โดยป้อนโน้ตเพลงและเน้ือร้อง ท้ังนี้ พระองค์ทรงศึกษา

วธิ กี ารใช้เคร่ืองและโปรแกรมทีเ่ กย่ี วข้องดว้ ยพระองค์เอง

พระมิ่งขวญั ของชาวไทย

ผ้ทู รงเปน็ พลังพฒั นาประเทศ

๗. ด้านอนุรักษแ์ ละฟ้ืนฟูศิลปวฒั นธรรมและประเพณ ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม

ราชินีนาถ ทรงตระหนักในคุณค่าของ ศิลปวัฒนธรรมและขนมธรรมเนียม ประเพณีของไทยอันเป็นมรดกซึ่ง บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และสืบทอด มาจนปัจจุบัน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อนุรักษ์และฟื้นฟูมรดก

ทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมเด็จ

พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชดำริให้จัดตั้งศูนย์ศิลปาชีพ

ซึ่งมีอยู่ท่ัวทุกภูมิภาค เพ่ือส่งเสริมและฟ้ืนฟูงานศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านไทย โบราณ ให้กลับมาแพร่หลาย ซึ่งนอกจากเป็นการสร้างอาชีพเสริมแก่ราษฎร แล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านอันเป็นสมบัติล้ำค่าของ ประเทศชาติใหค้ งอยตู่ อ่ ไป

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลงั พฒั นาประเทศ

๗.๑ ศิลปวัฒนธรรมไทย

(๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้า

อยู่หัว ทรงให้รักษาและฟ้ืนฟูศิลป วัฒนธรรมไทย ที่กำลังสูญหายจาก สังคมไทย อาทิ ทรงมีพระราชดำริให้ จัดทำและซ่อมแซมงานศิลปกรรมต่างๆ เช่น การออกแบบเหรียญประจำ รัชกาล พระราชลัญกรประจำพระองค์ การปั้นและหล่อพระพุทธรูป ประจำรัชกาล การซ่อมเรือสุพรรณหงส์ เรืออนันตนาคราช และการสร้าง เรือพระท่ีนั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ซึ่งงานดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยฝีมือช่าง ท่ีมีความเช่ียวชาญ และรักษาไว้ซึ่งแบบอย่างขนบธรรมเนียม จารีตและ ประเพณีไทยเป็นสำคญั

ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเสอ้ื ชดุ ไทยพระราชทาน เมือ่ ปี ๒๕๒๓ เพ่อื รกั ษาวฒั นธรรมการแต่งกายแบบไทย ซ่งึ คณะรัฐมนตรไี ด้ มีมติให้น้อมนำแบบเสื้อชุดไทยพระราชทานใช้แทนชุดสากลได้ ขณะที่ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชดำริให้ออกแบบ

พระมิง่ ขวญั ของชาวไทย

ผทู้ รงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ

ชุดไทย และมีพระบรมราชานุญาตให้จัดพิมพ์ “สมุดภาพหญิงไทย”

เผยแพร่การแต่งกายชุดไทยพระราชนิยม ๕ แบบ คือ ชุดไทยเรือนต้น

ชดุ ไทยจติ รลดา ชุดไทยอมรนิ ทร์ ชุดไทยบรมพิมานและชุดไทยจักรี ต่อมาได้ ทรงสรา้ งสรรค์ขนึ้ อีก ๓ แบบ คือ ชดุ ไทยดสุ ิต ชุดไทยจักรพรรดิ และชุดไทย ศวิ าลยั และทรงนำผ้าไทยไปเผยแพรเ่ ปน็ ทีร่ ูจ้ ักแพร่หลายในตา่ งประเทศ

(๒) เม่ือวนั ท่ี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๐๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงร่วมอภิปรายกับผู้ทรงคุณวุฒิทางภาษาไทยของชุมนุมภาษาไทย

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกี่ยวกับปัญหาการใช้คำไทย ทรงแสดงความหว่ งใย และทรงปลกุ จิตสำนกึ ใหช้ าวไทยเหน็ ความสำคญั ของ ภาษาไทย เม่ือปี ๒๕๔๒ รัฐบาลจึงมีมติให้วันท่ี ๒๙ กรกฎาคมของทุกป ี เป็น “วันภาษาไทยแห่งชาติ” รวมทั้งทรงอนุรักษ์หนังสือ โดยส่งเสริม

ให้ห้องสมุดและหอสมุดแห่งชาติเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ และทรง

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์หนังสืออันมีคุณค่าพระราชทาน

ในโอกาสตา่ งๆ เชน่ ประชมุ โคลงสภุ าษติ พระราชนพิ นธ์ในรชั กาลที่ ๕

(๓) ในการอนุรักษ์นาฏศิลป์และดนตรีไทย ทรงจัดให้มีพระราชพิธี

พระมง่ิ ขวญั ของชาวไทย

ผ้ทู รงเปน็ พลงั พัฒนาประเทศ

ครอบครโู ขน-ละคร เพอื่ สบื ทอดนาฏศลิ ป์ ของไทยสืบไป โดยจดั ข้ึน ๒ ครั้ง คือ ในปี ๒๕๐๖ ณ พระทนี่ ง่ั อัมพรสถาน พระราชวังดุสติ และในปี ๒๕๒๗ ณ ศาลาดสุ ิดาลยั ทรงมีพระราชดำริใหท้ ำ วิจัยมาตรฐานความถี่ของเสียงเคร่ืองดนตรีไทย และจัดทำหนังสือโน้ต เพลงไทย และทรงจัดการแสดงนาฏศิลป์และดนตรีไทย ในโอกาสที่ม ี พระราชอาคนั ตกุ ะมาเยอื นประเทศไทย และในโอกาสทรงแปรพระราชฐาน

นอกจากนี้ ได้พระราชทานคำแนะนำเก่ียวกับการปรับปรุงการ แต่งหน้าและเคร่ืองแต่งกายของโขน ละครไทย ซ่ึงสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ ไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ ใหก้ รมศลิ ปากร นำไปปรบั ปรงุ เครอื่ งแตง่ กายโขนตามพระราชดำริ ตลอดจนเสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปทอดพระเนตรการแสดงโขนธรรมศาสตรห์ ลายครั้ง

(๔) พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว ทรงตระหนกั วา่ โบราณวัตถุ ศิลป วัตถุ และโบราณสถานในยุคสมัยต่างๆ ของไทย เป็นสิ่งที่มีคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์ แสดงถึงความเจริญทางอารยธรรมของประเทศ จึงเสด็จฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทอดพระเนตรโบราณ สถานตา่ งๆ และไดม้ พี ระราชดำรวิ า่ โบราณสถานและโบราณวตั ถซุ ง่ึ พบ ณ ทใ่ี ด ก็ควรเก็บรักษาไว้ ณ ท้องถิ่นน้ัน กรมศิลปากรจึงได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์

สถานในส่วนภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งทรงมีพระราชประสงค์ให้กรมศิลปากร

พระม่งิ ขวัญของชาวไทย

ผูท้ รงเป็นพลงั พัฒนาประเทศ

เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ พระพุทธรตั นสถาน โดยยึดความสำคญั ของ พระพุทธรัตนสถานเป็นหัวใจในการกำหนด ภาพ และทรงแก้ไขภาพร่างทุกภาพด้วย พระองค์เองอยา่ งละเอยี ด

๗.๒ ประเพณไี ทย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รักษา พระราชพธิ ปี ระจำปตี ามแบบแผนทเ่ี คยปฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มา รวมทง้ั พระราชพธิ ี ในโอกาสพิเศษและการบำเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ เพ่ือสร้างสิริมงคลแก ่ พระราชวงศ์ และบ้านเมือง ตลอดจนทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฟ้ืนฟ ู พระราชพิธีบางอย่างท่ีเลิกปฏิบัติไป แต่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนและ บ้านเมืองข้ึนมาใหม่ อาทิ พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ การจัดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค พระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้าง สำคัญ พระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พระราชพิธีในมงคล สมัยครบรอบการเสด็จเถลงิ ถวัลย์ราชสมบัติ เปน็ ต้น

พระมิ่งขวัญของชาวไทย

ผูท้ รงเปน็ พลังพฒั นาประเทศ

๘. ดา้ นศาสนา

(๑) ภายหลงั จากทรงขนึ้ ครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๑๐ ปี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระผนวช ในพระพุทธศาสนาตามโบราณราชประเพณี ทรงได้รับพระสมณฉายาว่า “ภูมิพโล” โดยตลอดระยะเวลา ๑๕ วันท่ีทรง ดำรงสมณเพศ ทรงศึกษาพระธรรมวินัยร่วมกับพระภิกษุสามเณรตามที่

พระราชอุปัฌาย์จัดถวาย และทรงปฏิบัติโดยเคร่งครัด ไม่มีบกพร่องจนถึง

วนั สุดทา้ ยท่ีทรงลาสกิ ขาบท

(๒) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ทรงเกื้อกูลค้ำจุนทุกศาสนา อย่างเสมอภาคและเท่าเทียม ท้ังศาสนาพุทธ อิสลาม คริสต์ทุกนิกาย ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก โดยทรงเชื่อว่าทุกศาสนาล้วนสอนให้ ทุกคนเป็นคนดี อาทิ สนับสนุนพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อใช้ในการ แปลพระคัมภีร์อัลกุรอานเป็นภาษาไทยข้ึน เมื่อปี ๒๕๐๕ นอกจากน ้ี ทั้งสองพระองค์ ยังทรงให้การสนับสนุนพระราชทรัพย์เพ่ือการก่อสร้าง ซ่อมแซม ทำนุบำรุงมัสยิดในจังหวัดต่างๆ เสด็จฯ เยือนนครวาติกัน เมื่อ

พระมงิ่ ขวัญของชาวไทย

ผู้ทรงเปน็ พลังพัฒนาประเทศ