ภาระ งาน กล ม งาน อาช ว เวชกรรม

(ภาษาไทย) หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงอาชีวเวชศาสตร์

(ภาษาอังกฤษ) Residency Training in Preventive Medicine (Occupational medicine)

2. ชื่อวุฒิบัตร

ชื่อเต็ม

(ภาษาไทย) วุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงอาชีวศาสตร์

(ภาษาอังกฤษ) Diploma of the Thai Board of Preventive Medicine (Occupational Medicine)

ชื่ออภิไธย

(ภาษาไทย) แพทย์อาชีวเวชศาสตร์

(ภาษาอังกฤษ) Occupational Medicine Physician

3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

สมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย (โดยสมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย กำหนดให้สถาบันฝึกอบรมที่จะได้รับการอนุมัติให้จัดการฝึกอบรม จะต้องผ่านการประเมินความพร้อมในการเป็นสถาบันฝึกอบรม และสถาบันฝึกอบรมจะต้องจัดให้มีการประกันคุณภาพการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องดังนี้

ความเป็นมา } กระทรวงแรงงานและกระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงกลุ่มผู้ใช้แรงงาน } ได้จัดทำข้อตกลงความร่วมมือจัดตั้ง “โครงการศูนย์โรคจากการทำงาน” } เมื่อ 6 กรกฎาคม 2548 โดยมีวัตถุประสงค์ จัดให้มีระบบการดูแลสุขภาพและการวินิจฉัยโรคจากการทำงานของลูกจ้าง 2. ดูแล รักษา หลังจากการเกิดโรคและอุบัติเหตุ 3. พัฒนาศักยภาพอาชีวเวชศาสตร์ และเครือข่าย ตลอดจนแนวทางการวินิจฉัยที่เป็นมาตรฐาน 4. สร้างระบบป้องกันและส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม โรงพยาบาลนครพนม เข้าร่วมโครงการในปี 2554 โดยได้ดำเนินงานเป็นระยะที่ 4 ของโครงการ หลังจากรับนโยบายจากสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลนครพนมก็ได้ริเริ่มจัดตั้งคลินิกโรคจากการทำงาน ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายโรคจากการทำงาน จังหวัดนครพนมขึ้น เพื่อสร้างความ ร่วมมือและติดตามผลการดำเนินงาน } เน้นการให้บริการในกลุ่มผู้ประกันตน ที่ป่วยและบาดเจ็บจากการทำงาน ข้อมูลสถานประกอบการ จังหวัดนครพนม } จำนวนสถานประกอบการในจังหวัดนครพนม 1,182 แห่ง } จำนวนผู้ประกันตนในจังหวัดนครพนม ความเป็นมา } กระทรวงแรงงานและกระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงกลุ่มผู้ใช้แรงงาน } ได้จัดทำข้อตกลงความร่วมมือจัดตั้ง “โครงการศูนย์โรคจากการทำงาน” } เมื่อ 6 กรกฎาคม 2548 โดยมีวัตถุประสงค์ จัดให้มีระบบการดูแลสุขภาพและการวินิจฉัยโรคจากการทำงานของลูกจ้าง 2. ดูแล รักษา หลังจากการเกิดโรคและอุบัติเหตุ 3. พัฒนาศักยภาพอาชีวเวชศาสตร์ และเครือข่าย ตลอดจนแนวทางการวินิจฉัยที่เป็นมาตรฐาน 4. สร้างระบบป้องกันและส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม โรงพยาบาลนครพนม เข้าร่วมโครงการในปี 2554 โดยได้ดำเนินงานเป็นระยะที่ 4 ของโครงการ หลังจากรับนโยบายจากสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลนครพนมก็ได้ริเริ่มจัดตั้งคลินิกโรคจากการทำงาน ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายโรคจากการทำงาน จังหวัดนครพนมขึ้น เพื่อสร้างความ ร่วมมือและติดตามผลการดำเนินงาน } เน้นการให้บริการในกลุ่มผู้ประกันตน ที่ป่วยและบาดเจ็บจากการทำงาน ข้อมูลสถานประกอบการ จังหวัดนครพนม } จำนวนสถานประกอบการในจังหวัดนครพนม 1,182 แห่ง } จำนวนผู้ประกันตนในจังหวัดนครพนม