ค ม อการม ส วนร วมของประชาชน ผศ.ดร.อรท ย ก กผล

ไปค้นมาให้แล้วครับ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการใช้ตำแหน่งทางวิชาการเป็นคำนำหน้านาม ผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการมีสิทธิ์ใช้ตำแหน่งทางวิชาการที่ได้รับเป็นคำนำหน้านามได้ในการลงชื่อ ในหนังสือราชการ เอกสารราชการหรือที่เกี่ยวกับงานสารบรรณ มิได้ใช้บังคับอย่างเป็นกฎหมายให้ครอบคลุมไปถึงการใช้ตำแหน่งทางวิชาการเป็นคำนำหน้านามในทะเบียนบ้าน ซึ่งเป็นข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร ดังนั้น จึงมิอาจใช้ตำแหน่งทางวิชาการเป็นคำนำหน้านามในทะเบียนบ้านได้

การใช้คำนำ หน้านาม หรือนำหน้าชื่อในหนังสือราชการ 1. บุคคลธรรมดา ให้ใช้คำนำหน้านามว่า นาย นาง นางสาว ตามปกติ 2. ผู้มีฐานันดรศักดิ์ (เชื้อสายราชสกุล) ให้ใช้คำนำหน้าตามสิทธิ์ เป็นต้นว่า หม่อมหลวง หม่อมราชวงศ์ หม่อมเจ้า 3. หากผู้เป็นผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทำให้มีคำนำหน้านามว่า คุณ คุณหญิง และท่านผู้หญิง ให้ใช้เป็นคำนำหน้านามตามที่ได้รับพระราชทาน 4. หากเป็นผู้มีตำแหน่งทางวิชาการ ได้แก่ ผศ. รศ. และ ศ. ให้ใช้เป็นคำนำหน้านามได้ตลอดไป ((ใช้ในการลงชื่อ ในหนังสือราชการ เอกสารราชการหรือที่เกี่ยวกับงานสารบรรณ แต่ใช้กับทะเบียบบ้านบัตรประชาชนไม่ได้)) 5. หากมียศทหาร หรือตำรวจ ให้ใช้คำนำหน้านามตามชั้นยศของตน เช่น พลเอก พลตำรวจโท พันเอก (พิเศษ) ฯลฯ ---- อย่างไรก็ตาม มีข้อห้าม หรือข้อพึงระวังในการใช้คำนำหน้านาม หรือนำหน้าชื่อในหนังสือ ราชการเอกสารราชการ หรือเอกสารอื่นใดที่เป็นทางการ ดังนี้ 1. งดใช้คำย่อ อักษรย่อ หรือตัวย่อ เช่น ผู้ว่า-ผวจ. แพทย์-น.พ. รศ. ม.ร.ว. ให้ใช้คำเต็ม เท่านั้น 2. งดใช้คำ ฯพณฯ (พะ-นะ-ท่าน) เพราะมีข้อกำหนดให้เลิกใช้ไปแล้ว ยกเว้นใช้ในการพูด เพื่อให้เกียรติสำหรับผู้ที่ยังอยู่ในตำแหน่งตามที่กำหนดให้มีสิทธิ์ใช้ รวมถึงเอกอัครราชทูตหรือใช้ใน กิจการต่างประเทศ 3. งดใช้คำนำหน้านามที่เป็นคำแสดงถึงวิชาชีพ หรืออาชีพ เช่น นายแพทย์ เภสัชกร ทันตแพทย์ สัตวแพทย์ ครู ทนาย โหร ฯลฯ 4. งดใช้คำ ดร. (ด๊อกเตอร์) นำหน้า เพราะเป็นคำที่แสดงคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก เท่านั้น ไม่ใช่คำนำหน้านามหรือนำหน้าชื่อที่ใช้ในราชการ ------- อนึ่งการใช้คำ ดร. สามารถใช้ได้ในการเรียกขานเพื่อให้เกียรติ หรือใช้ในเอกสารอื่นที่ไม่เป็น ทางการได้ โดยมากพบในแวดวงทางวิชาการ เช่น ศาสตราจารย์ ดร.สุจริต เพียรชอบ หากจะใช้ใน หนังสือราชการ เช่น การลงนามท้ายหนังสือ จะใช้ว่า ศาสตราจารย์สุจริต เพียรชอบ เท่านั้น

บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย หลกั สตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ISBN 978-616-438-626-6 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data หลัักสูตู รศิลิ ปศาสตรมหาบััณฑิติ สาขาวิชิ าภาษาไทย. บทคัดั ย่่อ : หนึ่่ง� ทศวรรษของการวิจิ ัยั ทางภาษาและวรรณกรรมไทย. ขอนแก่น่ : คณะมนุุษยศาสตร์์และสังั คมศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั ขอนแก่น่ , 2564. 276 หน้า้ . 1. ภาษาไทย วิิจัยั . 2. วรรณกรรมไทย -- วิิจัยั . I. ชื่่�อเรื่่อ� ง. 495.91072 ISBN 978-616-438-626-6 พิมพ์ครง้ั ที่ 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 พมิ พ์ที่ โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถ.มติ รภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น รหสั ไปรษณยี ์ 40002 โทรศัพท์/โทรสาร 043-202100 มือถือ 099-4655115 ภายใน 44770

กc คำนำ หนังสือ “บทคัดย/อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย” นี้ เปHนการรวบรวม บทคัดย/อวิทยานิพนธKของมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรKและสังคมศาสตรK มหาวิทยาลัยขอนแก/น ตั้งแต/ ปP 2555 - 2564 โดยมีวัตถุประสงคKเพื่อเผยแพร/งานวิจัยระดับปริญญาโท ของหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ที่เป[ดสอนตั้งแต/ปPการศึกษา 2553 ซึ่งมี ผูสำเร็จการศกึ ษาแลว กวา/ รอ ยคน การวิจัยดานภาษาและวรรณกรรมไทยของหลักสูตรฯ นี้ อาจแบ/งตามเนื้อหาเปHนงานวิจัยทาง ภาษาศาสตรKโดยเฉพาะการวิจัยเกี่ยวกับระบบเสียง หรือการใชแนวคิดทางภาษาศาสตรKเปHนกรอบใน การศึกษา งานวิจัยดานการใชภาษาไทยส/วนใหญ/เปHนการวิเคราะหKการใชคำ ประโยค กลวิธีทางภาษา หรือโครงสรางภาษาเพื่อแสดงใหเห็นถึงลักษณะของการใชภาษาในสื่อต/าง ๆ และงานวิจัยดานวรรณคดี วรรณกรรม และคติชนวิทยา ที่สะทอนใหเห็นปรากฏการณK พิธีกรรม สภาพความเปHนอยู/ของสังคมที่ สง/ ผ/านตัวบทหรอื ขนบธรรมเนยี มประเพณีของทอ งถิ่นที่ใชศึกษา ขอบเขตของงานวิจัยของนักศึกษามุ/งเนนการศึกษาในบริบทสังคมไทยโดยเฉพาะในพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อสนองตอบต/อการพัฒนาชุมชนตามนโยบายการเปHนมหาวิทยาลัยสู/สังคม และ พันธกิจของมหาวิทยาลัยขอนแก/นที่เปHนมหาวิทยาลัยแห/งการเรียนรูและมหาวิทยาลัยแห/งการวิจัยบน พื้นฐานการพัฒนาชุมชนและสังคมไทย หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จึงมุ/งผลิตมหาบัณฑิตใหมีความรู ดานการวิจัยและการบูรณาการภาษาและวรรณกรรมไทย เพื่อสรางองคKความรูและเผยแพร/ความรูใน ระดับประเทศและสากล จึงหวังเปHนอย/างยิ่งว/าหนังสือเล/มนี้จะเปHนประโยชนKหรือแนวทางในการวิจัย ภาษาและวรรณกรรมไทยแกผ/ ส^ู นใจโดยทัว่ ไป

สารบญั คe งานวจิ ัยด$านภาษาศาสตร3 หนา$ - การตั้งช่อื ลายผา ไหมของอสี าน - การตง้ั ชือ่ ของชาวไทดำ หมู/บา นนาปhาหนาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชยี งคาน จงั หวดั เลย 5 - อปุ ลกั ษณทK ี่เก่ียวกบั ผชู ายและผหู ญิงในเพลงลกู ทง/ุ อีสาน 7 - การใชคำลงทายของชาวไทยพวน: บานบุฮม อำเภอเชยี งคาน จังหวดั เลย 13 - คำเรียกสภี าษาญฮั กรุ 23 - การเลอื กภาษาและการสลับภาษาระหวา/ งภาษาเขมรถ่นิ ไทยและภาษาไทยกลาง 28 ของชาวบานหนองเข ตำบลสขุ ไพบลู ยK อำเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสมี า - การสลับภาษาระหวา/ งภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอสี านของนกั จัดรายการวทิ ยุ 50 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวดั ขอนแก/น - การเชื่อมโยงความในเรียงความของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 54 โรงเรยี นดงมะไฟวิทยา อำเภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร - การแสดงความหมายของการใชถ อยคำในการใหคำแนะนำเร่อื งความรกั ในรายการวิทยุ 63 “คลับฟรายเดยK” - การวิเคราะหพK าดหวั ขา/ วในหนงั สือพิมพKทองถนิ่ อีสาน: ทฤษฎีวงความหมาย 67 - นามสกลุ ของกลม/ุ ชาตพิ นั ธกKุ ูยในจงั หวดั สุรินทรK: การวิเคราะหทK างอรรถศาสตรKชาติพันธKุ 84 - นามสกุลของคนไทยอีสานในอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธุK 86 - การใชภ าษาไทยในการตอบรับคำชมของคนจนี ในประเทศไทย 88 - การแปรของวรรณยุกตKภาษาเลยใน 6 อำเภอ: วงั สะพุง ภกู ระดึง ภหู ลวง เอราวัณ 109 ผาขาว และหนองหิน - การศกึ ษาช่ือภาษาไทยของนักศกึ ษาจีนที่อยใ/ู นประเทศไทย 123 - ทัศนคติต/อภาษาและการเลือกใชภาษาของชาวไทพวน อำเภอบานผือ จังหวดั อุดรธานี 143 - การแปรและการเปลีย่ นแปลงคำศพั ทใK นภาษาไทยพวน อำเภอบา นผือ จงั หวดั อดุ รธานี 146 - ระบบเสยี งและการแปรทางเสยี งในภาษาไทยพวน อำเภอบานผือ จังหวัดอุดรธานี 159 - ความสามารถในการใชภาษาและการเลือกใช^ภาษาของคนไทยเชอ้ื สายเวียดนาม 161 ในจงั หวดั อุดรธานี - การแปรของวรรณยกุ ตตK ามตัวแปรอายใุ นภาษาไทพวน อ.เชียงคาน จ.เลย 163 - การต้ังชอ่ื ทพี่ ักอาศยั ในอำเภอเมอื งจงั หวัดขอนแกน/ 169 174

fง สารบัญ (ต-อ) หน$า - การตั้งชื่อเกาะในประเทศไทย 176 - การศกึ ษาเปรยี บเทียบเสยี งวรรณยกุ ตขK องภาษาไทใตคงและภาษาไทใหญ/ 180 - การศกึ ษาการใชศ พั ทKภาษาผูไ ทของคนสามระดับอายุ : การแปรและปtจจยั การเปลีย่ นแปลง 187 - ภาษากับความเปนH จีนในหนังสอื แนะนำการทอ/ งเทย่ี วจีน 198 - ภาษากบั อัตลกั ษณKผูหญิงลาวในวาทกรรมเพลงไทย : การศึกษาตามแนวทาง วาทกรรมวิเคราะหเK ชงิ วพิ ากษK 200 - การแปรของวรรณยกุ ตKภาษาไทยถ่ินกลาง อำเภอพรานกระตา/ ย จังหวัดกำแพงเพชร 211 - นามสกลุ ของกลุม/ ชาตพิ นั ธแKุ สกในจงั หวดั นครพนม 217 - การรูศพั ทKและการใชศ ัพทKวฒั นธรรมอสี านของวัยร/นุ ในจงั หวดั ขอนแก/น 231 - การแสดงความหมายของการใชถ ยคำเขยี นคำฟuองและคำใหการในคดีทางการแพทยK 237 - การเลอื กใชภ าษาของนักเรียนกล/ุมชาติพนั ธKุผไู ทในโรงเรียนธาตพุ นม อำเภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม 241 - การแปรเสียงวรรณยุกตKภาษาไทยถน่ิ อสี านจงั หวดั หนองบัวลำภู 243 - การแปรของวรรณยุกตKภาษาไทยถน่ิ อสี าน อำเภอภเู วียง จังหวัดขอนแกน/ 245 - ทศั นคตติ /อภาษาและการธำรงภาษาสว/ ยของชาวส/วยอำเภอลำปลายมาศ จังหวดั บุรรี มั ยK 251 - ปริจเฉทสนุ ทรพจนKอดุ มศึกษาเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร 253 - กลวิธที างภาษาในการนำเสนออุดมการณKความเปHนอสี าน ในข/าวออนไลนK เดอะอสี าน เรคคอรKด 255 งานวจิ ัยดา$ นการใชภ$ าษา 1 - การส่อื ความหมายของคำกรยิ าในพาดหัวขา/ วอาชญากรรมของหนังสือพิมพไK ทยรัฐ 9 - ลกั ษณะเฉพาะการเขียนและการใชคำยืมภาษาองั กฤษในนติ ยสารบนั เทิงไทย 11 - วัจนลีลาของ สทุ ธพิ งษK ธรรมวฒุ ิ ในรายการคนคน^ ฅน 17 - กลวิธกี ารเล/าเรอื่ งในสุนทรพจนKอุดมศกึ ษาเฉลิมพระเกยี รติ 32 - ลลี าภาษาของ คำผกา ในบทความทางการเมือง ทต่ี พี ิมพลK งในมตชิ น สดุ สัปดาหK 78 พ.ศ. 2553 – 2554 - กลวธิ ที างภาษาและเนอ้ื หาในการบรรยายธรรมะของอาจารยKบุญเสริม ธมฺมปาโล

สารบญั (ตอ- ) จg - การใชภาษาองั กฤษในเพลงลกู ทงุ/ อีสาน หน$า - อปุ ลักษณคK วามทกุ ขKในภาษาไทย 94 - การใชภ าษาในการเขยี นขา/ วสั้นทางโทรศัพทมK อื ถอื 117 - กลวธิ ีการใชภาษาและลักษณะการนำเสนองานเขียนธรรมะในนิตยสารซเี ครต็ 119 - การเปรยี บเทียบอปุ ลกั ษณKในสำนวนจนี และสำนวนไทยทเ่ี กี่ยวกับผหู ญงิ 121 - การศึกษาเทศนKมหาชาติแหล/อีสานตามแนวชาตพิ นั ธุKวรรณนาแหง/ การส่อื สาร 127 - การใชภ าษาไทยกลาง ภาษาไทยถนิ่ อีสานและภาษาบาลีในการแสดงธรรมของ 135 พระอาจารยKสมภพ โชติปyฺโญ - ลกั ษณะการใชภาษาไทยกลางและภาษาไทยถนิ่ อีสานในเพลงลกู ทงุ/ หมอลำ 204 - กลวธิ กี ารแปลและการใชภาษาไทยในชดุ หนังสือความรทู ่ัวไปเก่ียวกับประเทศจีน 209 - การเปรียบเทียบคำยืมภาษาบาลี-สนั สกฤต และภาษาองั กฤษในภาษาไทยตามวัจนลลี า 229 - วจั นลีลาของ ธนาธร จงึ รุง/ เรืองกจิ ในการหาเสียงเลอื กต้ังสมาชกิ สภาผูแทนราษฎร 239 พ.ศ. 2562 - ลลี าภาษาของเกตเุ สพยKสวัสด์ิ ปาลกะวงศK ณ อยุธยา ในรายการอย/าหาวา/ นา สอน 249 - ลีลาภาษาของพทุ ธอภวิ รรณ องคKพระบารมี ในรายการทบุ โต{ะข/าว 261 263 งานวจิ ยั ด$านวรรณคดี/วรรณกรรม - ภาพสะทอนวัฒนธรรมอีสานจากวรรณกรรมคำสอย 3 - ตัวละครแบบฉบับในนวนิยายของโสภี พรรณราย 15 - ภาษาและเนอ้ื หาในเพลงการเมอื งของกลมุ/ แนวร/วมประชาธิปไตยตอ/ ตานเผดจ็ การแห/งชาติ และกล/ุมพนั ธมติ รประชาชนเพอื่ ประชาธปิ ไตย 21 - วรรณศลิ ปแ| ละอุดมการณKของตัวละครในมหาเวสสันดรชาดก สำนวนอีสาน 25 - ความเปรียบในมหาชาติสำนวนอสี าน 30 - เนื้อหาและกลวธิ ที างภาษาในงานเขยี นของพระไพศาล วิสาโล 34 - หมอลำ: กรณศี กึ ษา หมอลำจมู ทอง เสียงเสนห/ K 38 - วิเคราะหบK ทเพลงทเ่ี กี่ยวของกับจงั หวัดนครพนม 40 - บทรอ ยกรองคอลมั นK “คมเลนสK” ในมตชิ นสดุ สัปดาหK: ความสัมพันธKระหว/างภาษากับแนวคิด 42 - เพศวิถีของตวั ละครในวรรณกรรมอีสาน 46

hฉ สารบัญ (ต-อ) หนา$ - การศึกษาภาษาและการสะทอนอัตลักษณKของชุมชนคนโคราช ผ/านเนื้อหาเพลงโคราช 52 - ผูหญิงและธรรมชาติในนวนิยายของถา/ ยเถา สจุ รติ กุลโดยใชทฤษฎสี ตรีนยิ มเชงิ นเิ วศ 56 - การนำเสนอภาพแทนของรกั ร/วมเพศชายในเพลงลูกทงุ/ และหมอลำ 59 69 - การสรา งอารมณKสะเทอื นใจและแนวคดิ ในกวนี ิพนธKของ ไพวรินทรK ขาวงาม - ความเปHนโพสตKโมเดิรนK ในเพลงลูกทุง/ จากคล่ืนวิทยุลกู ท/งุ มหานคร 95 FM 73 “มหานครชารตK ” ต้ังแตป/ P พ.ศ. 2552 – 2554 75 - การส่อื ความหมายทางวัฒนธรรมและพลวัตของพธิ ีกรรมแต/งแกเ สียเคราะหK ของชาวไทพวนบานผอื อำเภอบา นผือ จงั หวดั อดุ รธานี 80 - ภาพสะทอนคา/ นยิ มดา นเพศวิถีในบทเพลงลูกทงุ/ ไทยร/วมสมยั ท่ีเผยแพร/ในช/วง 90 ปP พ.ศ. 2545 – 2554 96 - การนำเสนอภาพความเปHนชายและความเปHนหญงิ ในคัมภีรอK รรถกถาธรรมบท 100 ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย 104 107 - อุดมการณแK ละความสมั พันธรK ะหว/างพุทธศาสนากบั ไสยศาสตรKในละครโทรทศั นKแนวผี 111 - การศึกษาตัวบทและบทบาทของหมอลำคณะบานรม/ เย็น จงั หวดั มหาสารคาม 113 - วาทกรรมผหู ญงิ ยุคใหมใ/ นนวนยิ ายของดวงตะวัน 125 - “เมยี นอ ย” ภาพสตรีชายขอบทสี่ อื่ ผ/านเพลงลกู ทง/ุ 129 - การนำเสนอภาพความเปนH ชายในเรอ่ื งส้นั รางวลั วรรณกรรมซีไรตK - การเล/าเรอ่ื งและอดุ มการณKในนวนิยายเพ่ืออาเซยี นของนักเขียนไทย 133 137 - ตวั บทและพิธีกรรมตดั เหมรยแกบนอำเภอเขาพนม จงั หวัดกระบแ่ี ละอำเภอทุ/งใหญ/ 141 จงั หวดั นครศรีธรรมราช: พลวัตและการสอื่ ความหมายทางวฒั นธรรม 148 - นวนยิ ายไทยเกยี่ วกบั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: การเล/าเร่ือง และภาพแทน 150 - การศึกษาวเิ คราะหคK วามเปนH หญงิ ในนวนิยายของ ว.วนิ ิจฉัยกุล ดว ยทฤษฎสี ตรีนิยม พลงั สมยั ใหม/ - ตำนานขา วและบททำขวญั ขาวในทงุ/ กลุ ารอ งไห - กลวธิ กี ารเล/าเร่ืองและอดุ มการณใK นวรรณกรรมเยาวชนทีไ่ ดร บั รางวัล นายอนิ ทรK อะวอรKด - เพศวิถขี องตวั ละครผีในนวนนิ ายซีร่ีสขK องภาคนิ ัย - การเปรียบเทียบตำนานขาวของภาคอีสานในประเทศไทยกบั จว^ งมลฑลกวางสี ในสาธารณรัฐประชาชนจนี

สารบญั (ต-อ) ชi - บทบาทหญงิ ชายและเพศวถิ ใี นนิทานกอมอีสาน หน$า - เพศวถิ ใี นกลอนลำอีสาน: กรณีศกึ ษาหมอลำเคน ดาเหลา บุญเพง็ ไฝผวิ ชัย 154 และราตรี ศรีวิไล - นิทานอาเซยี น: ประเภทของนทิ านและอัตลกั ษณรK /วม 156 - การเปรยี บเทียบนทิ านพ้นื บานไทลอ้ื ทภ่ี าคเหนอื ประเทศไทย และสบิ สองปtนนา 165 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน - ตัวบทและพธิ ีกรรมของชาวไทดำ บา นนาปาh หนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย: 171 จักรวาลวิทยาและอำนาจเหนอื ธรรมชาติ - ภาพแทนโสเภณชี ายในวรรณกรรมไทย 178 - สมั พนั ธบทของรามเกียรตก์ิ บั ไพพ/ ยากรณK 182 - ตำนานเมอื งลม/ ในภาคอีสาน : ความสมั พันธรK ะหว/างวรรณกรรมความเชือ่ กบั ทองถนิ่ 184 - เพศวถิ ใี นวรรณกรรมเกยอK อนไลนK 190 - เพศภาวะและแอลกอฮอลKในเพลงไทย 194 - ความหลากหลายดา นเพศวถิ ีในบทละครเรอื่ งรามเกียรติ์ พระราชนพิ นธKในรชั กาลท่ี 1 202 - กลวธิ กี ารเล/าเรื่องและภาพแทนของครใู นวรรณกรรมเพลงไทย 206 - อัตลกั ษณแK ละพื้นทีท่ างสงั คมของกลม/ุ ชายรกั ชายในละครชุดท่เี ผยแพร/ระหวา/ ง 213 พ.ศ. 2557 – 2560 - พลวตั และการสรางสรรคเK รื่องเล/าและประเพณีการบชู าพระธาตุในจังหวัดนครพนม 219 ในบริบทสังคมไทยรว/ มสมยั - ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มลุม/ แมน/ ำ้ โขงในนวนยิ ายของวุฐศิ านติ์ จนั ทรวK ิบูล 222 - ภาพแทนผูหญงิ ในเรอื่ งมงกุฎดอกสม และ Raise the Red Lantern 225 - เควยี รKในนทิ านสุนทรภ/ู 233 - ผหู ญิงกบั ธรรมชาติในนวนิยายไทยร/วมสมยั : ทฤษฎสี ตรีนยิ มเชงิ นิเวศ 247 257

1 บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 1 กฤติกา พรหมสาขา ณ สกลนคร. 2555. การสื่อความหมายของคำกริยาในพาดหัวข7าวอาชญากรรม ของหนังสือพิมพ:ไทยรัฐ. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.วิรัช วงศ9ภินันท9วัฒนา บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การใชUคำกริยาในพาดหัวขFาวอาชญากรรมของ หนังสือพิมพ9ไทยรัฐ และความหมายของคำกริยาในพาดหัวขFาวอาชญากรรมของหนังสือพิมพ9ไทยรัฐ โดย เก็บรวบรวมขUอมูลที่ตีพิมพ9ตั้งแตFฉบับวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ถึงฉบับวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยคัดเลือกเฉพาะพาดหัวขFาวอาชญากรรมเทาF นน้ั ผลการศึกษาการใชUคำกริยาในพาดหัวขFาวอาชญากรรมของหนังสือพิมพ9ไทยรัฐ พบวFา พาดหัว ขFาวอาชญากรรมสามารถจำแนกไดUเป_น 4 ประเภท ตามประเภทของอาชญากรรม ไดUแกF พาดหัวขFาวฆFา คนตายโดยเจตนา พาดหัวขFาวอาชญากรรมการเมือง พาดหัวขFาวขFมขืน และพาดหัวขFาวฆFาคนตายโดย ไมFเจตนา ซึ่งแตFละพาดหัวขFาวมีการใชUคำกริยาดังนี้ พาดหัวขFาวฆFาคนตายโดยเจตนามีการใชUคำกริยา แสดงอาการ คำกริยาแสดงสภาพ และคำกริยาแสดงอารมณ9และความรูUสึก พาดหัวขFาวอาชญากรรม การเมืองมีการใชUคำกริยาแสดงอาการ คำกริยาแสดงสภาพ และคำกริยาแสดงอารมณ9และความรูUสึก พาดหัวขFาวขFมขืนมีการใชUคำกริยาแสดงอาการ คำกริยาแสดงสภาพ และคำกริยาแสดงอารมณ9และ ความรูUสึก พาดหัวขFาวฆFาคนตายโดยไมFเจตนามีการใชUคำกริยาแสดงอาการ คำกริยาแสดงสภาพ และ คำกริยาแสดงอารมณ9และความรUูสึก ผลการศึกษาความหมายของคำกริยาในพาดหัวขFาวอาชญากรรมของหนังสือพิมพ9ไทยรัฐ พบวFา พาดหัวขFาวอาชญากรรมมีการสื่อความหมายของคำกริยาทั้งหมด 3 ประเภท คือ คำกริยาแสดงอาการ คำกริยาแสดงสภาพ และคำกริยาแสดงอารมณ9และความรูUสึก ซึ่งการสื่อความหมายของคำกริยาแสดง อาการ สื่อความหมายออกมาในลักษณะของความหมายตรง และความหมายแฝง คำกริยาแสดงสภาพ สื่อความหมายออกมาในลักษณะความหมายตรงและความหมายแฝง สFวนคำกริยาแสดงอารมณ9และ ความรูUสึกส่อื ความหมายเพียงลกั ษณะเดียว คอื ความหมายตรง

2 2 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Kittika Promsakha Na Sakonnakorn. 2012. The Meaning of Verbs on Criminal Headlines in Thai Rath. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Wirat Wongpinunwatana ABSTRACT This study encompassed to analyze the verbs which were used in criminal headlines of Thairath newspaper and the meanings of the verbs which were used in criminal headlines of Thairath newspapers. The data was collected from the issues which were published from January 1, 2011 to December 31, 2011. They were particularly criminal headlines only. The study results of using verbs in criminal headlines of Thairath newspaper could be categorized into four types, namely murder on purpose headlines, politics criminal headlines, outrage headlines, and accidental murder headlines. The verbs used in each headline were as follow: the verbs which were employed in murder on purpose headlines were the verbs of manner, condition and emotion, feelings; the verbs which were employed in politics criminal headlines were the verbs of manner, condition and emotiom, feelings; the verbs which were employed in outrage headlines were the verbs of manner, condition and emotion, feelings; and the verbs which were employed in accidental murder headlines were the verbs of manner, condition and emotion, feelings. The study result of meaning of the verbs which were used in criminal headlines of Thairath newspaper were found that the meanings of verbs used in criminal headlines could be classified into three kinds, namely the verbs of manner, condition and emotions, feelings. The verbs which were employed in manner types were both direct and indirect usage. The verbs which were employed in emotions, feelings types were employed in only one descripttion – direct usage.

3 บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 3 นิติพัฒน9 โพธิ์สิทธิพันธุ9. 2555. ภาพสะทbอนวัฒนธรรมอีสานจากวรรณกรรมคำสอย. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารยท: ่ปี รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.พรสวรรค9 สุวรรณธาดา บทคดั ย7อ วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9ภาพสะทUอนวัฒนธรรมอีสานและลักษณะการใชU ภาษาจากวรรณกรรมคำสอยที่รวบรวมโดยการสัมภาษณ9ผูUบอกภาษา ไดUแกF หมอสอย หมอแคน และ หมอลำ ต้ังแตวF นั ที่ 1 กนั ยายน พ.ศ. 2554 ถงึ วันท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2554 ผลการศึกษาพบวFาภาพสะทUอนวัฒนธรรมอีสานจากวรรณกรรมคำสอยนั้นมี 7 ดUาน เรียง ตามลำดับ ไดUแกF 1) ดUานการดำเนินชีวิต แบFงไดUเป_น 5 ประเด็นยFอย ไดUแกF การบริโภค การเปลี่ยนแปลง ทางสังคม ความสัมพันธ9ในครอบครัว บทบาทผูUหญิงอีสาน และบทบาทผูUชายอีสาน 2) ดUานเศรษฐกิจ และอาชีพ แบFงไดUเป_น 2 ประเด็นยFอย ไดUแกF เศรษฐกิจแบบสังคมเกษตรกรรม และเศรษฐกิจแบบทุน นิยม 3) ดUานการเมืองการปกครอง 4) ดUานศาสนาและความเชื่อ แบFงไดUเป_น 3 ประเด็นยFอย ไดUแกF การยึดมั่นในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา ความเชื่อเรื่องนรก – สวรรค9การเวียนวFายตายเกิด และความเชื่อในเรื่องภูตผีปéศาจ 5) ดUานขนบธรรมเนียมประเพณี แบFงไดUเป_น 2 ประเด็นยFอย ไดUแกF ขนบธรรมเนียมของชาวอีสาน และประเพณีของชาวอีสาน 6) ดUานการศึกษา 7) ดUานธรรมชาติและ สงิ่ แวดลUอม ผลการศึกษานี้สะทUอนใหUเห็นวิถีชีวิตของชาวอีสานมากที่สุดซึ่งสัมพันธ9กับการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม นอกจากนี้วรรณกรรมคำสอยยังสะทUอนอัตลักษณ9ของการใชUภาษาอีสานโดยมุFงเนUนใหUเกิด ความตลกขบขันดUวย คำสำคัญ: คำสอย, วฒั นธรรมอีสาน, ภาษาอีสาน

4 4 ⬗ บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Nitipat Posittipan. 2012. The Isan Culture in Khamsoi Literature. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Pornsawan Suwanthada ABSTRACT The Thesis of this article was to analyze the reflection of Isan culture in all aspects of literature Khamsoi and the features of literary language usage in literature Khamsoi which was derived from interviewing Mosoi (Isan experts in using language artistically), Mocan (Isan reed mouth organ blowers), and Molam (Isan folksingers) from 1 September 2011 to 31 December 2011. The results of the study indicated that the reflection of Isan culture in literature Khamsoi consisted of 7 aspects as follows: (1) the making-a-living aspect can be divided into 5 sub-issues such as the consumption aspect, the social transformation aspect, the family relationship aspect, the female role aspect and the female role aspect; (2) the economical and career aspect can be divided into 2 sub-issues such as Agricultural economy and Capitalist economy; (3) the political aspect ;(4) the religious and beliefs aspect, can be divided into 3 sub-issues, including adherence to the teachings of Buddhism and who put their faith in evil spirits, hell, heaven and Imp; 5) the traditions can be divided into 2 sub-issues, including the culture of Isan and the tradition of Isan; (6) the educational aspect; (7) the natural and environmental aspect. The results reflect the culture of the Isan and activists very deep relationship with the farmers. It’s also reflected in the Khamsoi literature, the identity of the Isan language by focusing on the humor too. Keywords: Khamsoi, Isan culture, Isan language

5 บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 5 เบญจวรรณ เพชรกUอน. 2555. การตั้งชื่อลายผbาไหมของอีสาน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จันทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาการใชUภาษาในการตั้งชื่อลายผUาไหมของอีสาน ขUอมูลที่ใชUใน การศึกษาเป_นชื่อลายผUาไหมที่ผลิตในอำเภอชนบท จังหวัดขอนแกFน อำเภอคำมFวง จังหวัดกาฬสินธุ9 และ อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี ผลการศึกษาออกเป_น 2 ประเด็น คือ โครงสรUางชื่อลายผUาไหมและ โครงสรUางทางความหมายของคำที่นำมาตั้งชื่อลายผUาไหมเพื่อเชื่อมโยงไปถึงความสัมพันธ9ของชื่อลายผUา ไหมกบั วิถีชีวิตของคนในชมุ ชน ผลการศึกษาพบวFาโครงสรUางภาษาในการตั้งชื่อลายผUาไหมโดยอยูFในรูปของพยางค9 คำ วลี และ ประโยค พบวFาการตั้งชื่อเป_นวลีมากที่สุด และอยูFในรูปของประโยคนUอยที่สุด โครงสรUาง ทางความหมาย ของการตั้งชื่อลายผUาไหมนั้น พบวFาเป_นวงความหมายเดียวและสองวงความหมาย ชื่อที่เกิดจากวง ความหมายเดียวสามารถแบFงกลุFมออกเป_น 2 กลุFม คือ สิ่งมีชีวิต ไดUแกF มนุษย9และสัตว9 สิ่งไมFมีชีวิต ไดUแกF พืช อาหาร สถานที่ เครื่องประดับ และสิ่งของ โดยในกลุFมนี้พบวFามีการตั้งชื่อที่มีวงความหมายเกี่ยวกับ พืชมากที่สุด การตั้งชื่อสองวงความหมายนั้นเกิดจากการนำคำจากวงความหมายเดียวมาประกอบกัน เป_นชื่อใหมF พบการนำคำจาก พืช+สิ่งของ มาใชUตั้งเป_นชื่อลายผUาไหมมากที่สุด การตั้งชื่อลายผUาไหมของ อีสานนี้สะทUอนใหUเห็นถึงวิถีชีวิตของคนในแหลFงผลิต 3 ดUาน คือ 1) วิถีชีวิตที่เกี่ยวขUองกับธรรมชาติและ เกษตรกรรม 2) วถิ ีชวี ติ ทเี่ กยี่ วขอU งกบั วฒั นธรรมทางวัตถแุ ละ 3) วิถีชีวิตท่เี ก่ยี วขUองกับความเช่อื แนวโนUมในอนาคตการตั้งชื่อลวดลายผUาไหมจะมีการใชUวงความหมายหลายวงความหมายเพ่ิม มากขึ้นเพื่อเป_นการสรUางสรรค9ลายผUาใหมF ๆ โดยการนำชื่อลายเดิมและลายใหมFมาประกอบเขUาดUวยกัน ท้ังนก้ี ารประสมคำเพ่ือสรUางช่ือลายผUาไหมน้ีนิยมบอกถึงวิธีการทอและทีม่ าของลายผUาเดิมเขUาไวUดวU ยกนั

6 6 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Benjawan Petkon. 2012. The Naming of I-saan silk. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims to study the language in the naming patterns of the East silk. The data used in this study in the patterned silk production in Amphoe Chonnabot Khonkaen Province, Amphoe Khammuang Khalasin Province, Amphoe Nongwuaso Udontanee Province. Which were divided into 2 types of structures and structural meaning of words used to name the silk for a link to the relationship of a silk on the life of the community. The results showed that the structure of language in a silk syllable word, phrases and sentences are used to set up a silk. The naming of the phrase. Minimum is in the form of a sentence. The naming structure of the silk. The name is a meaningful one and two-band means. The name of only one meaning can be grouped into two major groups of living organisms, including humans and animals. Non-livingthing, including food, jewelry and objects found in the naming of living things. Most of the plants. Naming a band is the result of the terms of the meaning that come together as one like the snake bug me (animal + plants) were used for plant + objects, used as a silk too. Most naming patterns from the East in addition to the structure of language and meaning, it also reflects the lifestyle of people in three areas: 1. Way of life associated with nature and agriculture 2. Way of life associated with material culture and way of life and beliefs. The language in the naming of the East silk. There are a wide range. Most words are associated with patterns of silk and reflects the lifestyle of local people. The structure of the title to reflect the pattern of silk. If the name is a meaningful one. The pattern is complex and has less than two group means. Trends in the naming patterns of the silk will be a significant increase in the number one. The silk is much more complex. Find, it increases the more spectacular.

7 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 7 รุจิเรข บุรวิชเกษตรกร. 2555. การตั้งชื่อของชาวไทดำ หมู7บbานนาปsาหนาด ตำบลเขาแกbว อำเภอ เชียงคาน จังหวัดเลย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทร9เทาว9 บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาลักษณะการใชUภาษาในการตั้งชื่อของชาวไทดำ ท่ี อาศัยอยูFในหมูFบUานนาปûาหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย โดยการวิเคราะห9โครงสรUางพยางค9 ความหมายของชื่อ ลักษณะภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อ และเปรียบเทียบลักษณะภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อของ ชาวไทยดำ 2 ชFวงอายุ ไดUแกF กลFมุ อายแุ รกเกดิ ถึง 40 ปé และกลุFมอายุ 40 ปขé ้ึนไป รวมทัง้ สนิ้ 338 ชอ่ื ผลการศึกษาพบวFา โครงสรUางพยางค9ชื่อชาวไทดำ แบFงออกเป_น 4 ลักษณะ คือ โครงสรUาง พยางค9เดียว โครงสรUางสองพยางค9 โครงสรUางสามพยางค9และโครงสรUางสี่พยางค9 สFวนความหมายของช่ือ ที่ปรากฏสามารถแบFงการศึกษาออกเป_น 2 ลักษณะ คือ 1. วงความหมายของชื่อชาวไทดำ พบทั้งหมด 6 วงความหมาย ไดUแกF 1) สิ่งที่ปรารถนา/ความเป_นสิริมงคล 2) บFงบอกลักษณะบุคคล 3) คุณสมบัติอัน พึงประสงค9 4) สิ่งแวดลUอม 5) ความเชื่อ 6) อื่น ๆ และ 2. โครงสรUางวงความหมายจากการศึกษาพบวFา ในชื่อหนึ่ง ๆ อาจมีความหมายของชื่อมากกวFาวงความเดียว ดังนั้นจึงสามารถจำแนกโครงสรUางวง ความหมายออกเป_น 2 ลักษณะ คือ โครงสรUางวงความหมายเดียวและโครงสรUางสองวงความหมาย การ เลือกใชUภาษาในการตั้งชื่อของชาวไทดำ พบวFามี 4 ภาษา ไดUแกF ภาษาไทย ภาษาถิ่น ภาษาบาลี สันสกฤตและภาษาเขมร สามารถจำแนกการศึกษาออกเป_น 2 ลักษณะ คือ ชื่อที่มีภาษาเดียวและชื่อที่มี หลายภาษาโดยช่ือของเพศชายและเพศหญิงจะมลี กั ษณะแตกตาF งกันตามชวF งอายุ ผลการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อของชาวไทดำ 2 ชFวงอายุ พบวFา มี ความแตกตFางกัน กลุFมอายุแรกเกิดถึง 40 ปé นิยมตั้งชื่อเป_นโครงสรUางสามพยางค9 ความหมายของช่ือ สFวนใหญFอยูFในวงความหมายสิ่งที่ปรารถนา/ความเป_นสิริมงคลมากที่สุด ในขณะที่กลุFมอายุ 40 ปéขึ้นไป นิยมตั้งชื่อดUวยโครงสรUางสองพยางค9และความหมายของชื่อที่พบมากที่สุดอยูFในวงความหมายบFงบอก บุคคล สFวนภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อของชาวไทดำทั้ง 2 ชFวงอายุนั้นนิยมตั้งชื่อดUวยภาษาบาลี สันสกฤต แตFพบขUอสังเกตวFา เพศชายกลุFมที่ 1 ไมFปรากฏชื่อที่ตั้งดUวยภาษาไทย ในขณะที่ชื่อของเพศชายกลุFมที่ 2 พบชื่อท่ตี ้งั ดUวยภาษาไทยมากเปน_ อันดับท่ีสอง

8 8 ⬗ บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Rujirake Burawitkasedkorn. 2012. The Naming of Thai-Dam at Na Pa Nhad Village Chiang khan District, Loei Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The aim of the study is to examine the characteristics of the language in naming of ThaiDam people who live in Na Pa Nhad Village Chiang khan District, Loei Province. Syllable structure, meaning of names, language use were analyzed, and there was a comparison of the characteristics of the language in the naming of Thai-Dam people, including two age groups which are under 40 years old and over 40 years old, 338 names in total. The results showed that the syllable structure of Tai-Dam names was divided into four structures: one-syllable, two-syllable, three-syllable, and four-syllable structure. The meaning of Thai-Dam names appeared was divided into two patterns: 1) the groups of meaning consisted of six groups which are desires, identification, desirable properties, and environment, believes, and others; and 2) the structure of the meaning group. From the study, it was found that within a name, it could provide one more meaning group. Therefore, the structure of meaning group can be classified into two types which are the structure of one meaning group and the structure of two meaning groups. There are four languages including Thai, dialects, Pali-Sanskrit, and Khmer chosen for naming in Thai-Dam community. The study can be classified into two features consisted of name with a single language and name with a multi- language, and the naming of male and female will be different depending on the span of age. The findings revealed that the comparison of the characteristics of the language in ThaiDam people’s naming within two generations was different. The first group of Tai-Dam people under 40 years old was likely to use the three syllable name. The majority of naming was in the group of desires that people needed to name babies for a good luck. In the age over 40 years old, the popular names were used as two syllables, and the meaning of the name was in a group of identification. The languages used in the naming of Tai-Dam people, the popular name for 2 generations were Bali-Sanskrit. The observation found that Thai naming of male in group 1, under 40 years old, was not shown while the Thai naming of male group 2 was mostly shown in a second rank.

9 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 9 สราภรณ9 สุวรรณแสง. 2555. ลักษณะเฉพาะการเขียนและการใชbคำยืมภาษาอังกฤษในนิตยสาร บันเทิงไทย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ีป่ รึกษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทรเ9 ทาว9 บทคัดย7อ การวิจัยเรื่อง ลักษณะเฉพาะการเขียนและการใชUคำยืมภาษาอังกฤษในนิตยสารบันเทิงไทยมี จุดมุFงหมายเพื่อจำแนกหมวดหมูFคำยืมภาษาอังกฤษ ลักษณะรูปเขียนคำยืม และการใชUคำยืม ภาษาอังกฤษ ขUอมูลคำยืมภาษาอังกฤษรวบรวมจากนิตยสารบันเทิง 11 รายชื่อ จำนวน 132 เลFม ท่ี เผยแพรFในปé พ.ศ. 2553 ผูUวิจัยปรับแนวคิดการจัดหมวดหมูFความหมายเชิงวัฒนธรรม ที่เรียกวFา โฮป¶é โดเมน (Hopi domain) ของโวจิลินส9 (Voegelins, 1957) นำมาจัดแบFงกลุFมคำยืม ผลการศึกษาพบวFา สามารถแบFงกลุFมคำยืมเป_น 5 หมวดหมูF ไดUแกF 1) หมวดธรรมชาติ 2) หมวดมนุษย9และพฤติกรรม 3) หมวดสติป®ญญา อารมณ9 4) หมวดความสัมพันธ9ระหวFางบุคคล 5) หมวดคำศัพท9ทางไวยากรณ9 โดยกลุFมสดุ ทาU ยนเี้ ป_นขอU มลู ท่ีพบเพิม่ เติมจากการศึกษาของโวจิลนิ ส9 ภาษาที่ใชUในการเขียนมี 4 ลักษณะ คือ เขียนทั้งรูปภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เขียนในรูป ภาษาไทย เขียนในรูปภาษาอังกฤษ และเขียนรูปภาษาไทยปนภาษาอังกฤษ สFวนรูปแบบการเขียนพบ 5 รูปแบบ คือ การเขียนตัดพยางค9 การเขียนเพิ่มพยางค9 การเขียนผิดรูป การเขียนไมFคงที่ และการเขียน สะกดผดิ การใชUคำยืมภาษาอังกฤษในนิตยสารบันเทิงไทยแบFงไดU 2 ลักษณะ คือ 1) การใชUในดUานรูปศัพท9 และ 2) การใชUในดUานความหมาย ผลการศึกษาพบวFามีการเรียงคำตามหลักไวยากรณ9ภาษาอังกฤษ และ มกี ารใชคU ำยมื ภาษาองั กฤษในเชงิ เปรยี บเทยี บ ผลการศึกษาสะทUอนใหUเห็นสถานภาพคำยืมภาษาอังกฤษในภาษาไทยทั้งการรับคำใหมF หมวดหมูFของคำ การสรUางคำโดยการประสมกับคำไทยและการแปลความหมาย รวมถึงการเขียนผิดรูป ซึ่งสFงผลตFอการเรียนรูUคำยืมภาษาอังกฤษของผูUอFานรวมถึงการเขียนสะกดคำเหลFานี้ตามอยFางที่ปรากฏใน นติ ยสารบันเทิงเหลาF น้ี

10 10 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Saraporn Suwannasang. 2012. The Characteristics of Writing and Using English Loanwords in the Thai Entertainment Magazines. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims to categorize the English loanwords. The characteristics of writing and using the English loanwords were also studied in this thesis. The data was from the Thai Entertainment magazines which were published in 2010. The researcher applied concept of language culture fields namely ‘Hopi Domain’ proposing by Voegelins (1957) to categorize the English loanwords. There are 5 categories of English loanword as follows; 1 ) Physical and biological world 2 ) Physical attributes and activities of people 3 ) Intellectual and emotional expressions, and values 4) People and interpersonal relations 5) Grammatical Vocabulary. The languages for writing found that they were used both in Thai and English form, only Thai form, only English and mixing Thai and English forms. There are 5 of English loanwords written patterns as follow; the writing of syllable truncation, the writing of syllable compounding, the writing of distorted words, the writing of inconstant words and the writing of misspelled words. The result found English punctuations and grammar in the written system of the Thai entertainment magazines. It revealed Thai people adopt English grammar to use in Thai written system. This case can effect to incorrect writing of Thai people. The characteristics of using showed the words order based on English grammar. In addition, it showed English loanwords were used as metaphorical words. The result revealed using English loanwords in Thai. It showed about loanwords receiving, loanwords classification, loanwords building and loanwords meaning that can effect to learning English loanwords of the readers.

11 บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 11 สุมาลี พลขุนทรัพย9. 2555. วัจนลีลาของ สุทธิพงษ: ธรรมวุฒิ ในรายการคนคbนฅน. วิทยานิพนธ9 ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ทปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จันทรเ9 ทาว9 บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9วัจนลีลาของ สุทธิพงษ9 ธรรมวุฒิ ในรายการสารคดี โทรทัศน9 รายการคนคUนฅน ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน9ชFอง 9 อสมท. โดยเก็บรวบรวมขUอมูลที่ ออกอากาศตั้งแตFวันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2551 จนถึงวันอังคารที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2553 กลุFม ตัวอยFางจำนวน 49 ตอน โดยคัดเลือกเฉพาะรายการคนคUนฅน ตอนที่สุทธิพงษ9 ธรรมวุฒิ เป_นผูUดำเนิน เร่ือง กรอบแนวคดิ ในการวิจัยน้ี คือ แนวคดิ วจั นลลี าศาสตร9 ผลการศึกษาวัจนลีลาของ สุทธิพงษ9 ธรรมวุฒิ ในรายการคนคUนฅน แบFงเป_น 2 ประเด็น ไดUแกF 1. ลักษณะภาษา 2. รูปแบบการนำเสนอเรื่อง ประเด็นแรก ดUานลักษณะภาษาพบวFามีลักษณะเดFนดUาน การใชUคำ ไดUแกF คำซUอน การซ้ำคำเพื่อเนUนย้ำ การสรUางคำใหมF และคำระดับ สFวนดUานการใชUประโยค พบวFา สุทธิพงษ9 มีลักษณะเดFน ดUานการใชUประโยคความรวมและประโยคความซUอนที่มีโครงสรUาง ซับซUอน รูปประโยคคำถาม และรูปประโยคแสดงความขัดแยUง ดUานการใชUภาพพจน9 พบวFามี 5 ประเภท ไดUแกF บุคคลวตั อปุ มา อุปลกั ษณ9 อาวตั พากย9 และนามนยั โดยพบวาF มกี ารใชภU าพพจนป9 ระเภทบุคคลวตั มากทส่ี ดุ รูปแบบการนำเสนอเรื่อง แบงF เป_น 3 ชวF ง ไดUแกF การเปด´ เรื่อง การนำเสนอเน้ือเรื่อง และการป´ด เรือ่ ง ดาU นการเป´ดเรอื่ งพบวาF มี 3 รปู แบบ ไดแU กF การต้งั คำถาม การใหขU Uอมูลเกีย่ วกบั คนตUนเรื่อง และการ เปรียบเทียบแบบคูFตรงขUาม ดUานการนำเสนอเนื้อเรื่อง พบวFามี 5 รูปแบบ ไดUแกF การบรรยายฉาก บรรยายบุคคล บรรยายความรูUสึก บรรยายเหตุการณ9 และบรรยายขUอเท็จจริง ดUานการป´ดเรื่อง พบวFามี 4 รูปแบบ ไดUแกF การตงั้ คำถาม การแสดงความคิดเหน็ การใหUขอU คดิ และการสรุปความ

12 12 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Sumalee Phonkhunsap. 2012. The style of Suthipong Thammawut in “Kon Kon Kon” Television Program. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims was to analyze the style of Suthipong Thammawut, a main moderator in “Kon Kon Kon” which is a documentary television program on Modern 9 channel. The data was collected from 49 episodes of “Kon Kon Kon” television program that were broadcasted from Tuesday 8th January 2008 to Tuesday 19th October 2010. All of the episodes were hosted by Suthipong Thammawut. This research used the framework of stylistics concept. The study result presented Suthipong Thammawut’s style in 2 categories’; 1. language characteristics 2. the presentation. For the first one, the research found that he was very outstanding for words usage such as synonymous compound, duplicate and emphasize words, the creating of new words, and word level usage. Moreover, he was outstanding in complex sentence structure. He used the compound sentences, complex sentences, question sentences, conflict sentences. There were 5 kinds of figure of speech usage representing which were personification, simile, metaphor, synesthesis and metonymy. Personification was mostly used. For the presentation style, it was divided 3 parts; 1. the opening 2. the presentation 3. the closing. The opening was introduced in 3 styles which were opening by asking the question, opening by telling the main guest’s information and, opening by binary opposition. The presentation was presented in 5 styles which were scenery, people, feeling, events and fact narration. The closing was presented in 4 styles which were question, opinion, consideration point and conclusion.

13 บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 13 หทัยวรรณ มณีวงษ9. 2555. อุปลักษณ:ที่เกี่ยวกับผูbชายและผูbหญิงในเพลงลูกทุ7งอีสาน. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทร9เทาว9 บทคัดย7อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9รูปคำอุปลักษณ9เกี่ยวกับผูUชายและผูUหญิงในเพลงลูกทุFง อีสาน และหาความเชื่อมโยงระหวFางรูปคำที่ใชUเป_นอุปลักษณ9กับวิถีชีวิตของชาวอีสานเพื่อทำใหUเห็น มโนทัศน9ของคนอีสานผFานรูปคำอุปลักษณ9 โดยใชUทฤษฎีทางภาษาศาสตร9ปริชาน (Cognitive linguistic) เรื่องอุปลักษณ9เป_นกรอบแนวคิดในการศึกษาขUอมูลการวิจัย คือ เพลงลูกทุFงอีสานที่ขับรUอง โดยนกั รUองผชูU ายและผหUู ญิงท่มี ีภมู ลิ ำเนาเปน_ ชาวอีสาน จำนวน 1,406 เพลง ผลการวิจัยพบวFารูปคำอุปลักษณ9ที่เกี่ยวกับผูUชายมีจำนวน 146 รูปคำและรูปคำอุปลักษณ9 ที่เกี่ยวกับผูUหญิงมีจำนวน 169 รูปคำ กลFาวคือ มีการใชUรูปคำอุปลักษณ9เปรียบเทียบกับผูUหญิงมากกวFา ผูUชาย โดยรูปคำอุปลักษณ9เกี่ยวกับผูUชายแบFงออกเป_น 7 ประเภท ไดUแกF มนุษย9 สัตว9 สิ่งของ ธรรมชาติ พืช การเดินทาง และอาหาร ตามลำดับ สFวนรูปคำอุปลักษณ9เกี่ยวกับผูUหญิงแบFงออกเป_น 8 ประเภท ไดUแกF มนุษย9 พืช สง่ิ ของ สัตว9 ธรรมชาติ อาหาร การเดนิ ทาง และนามธรรม รูปคำอุปลักษณ9ที่นำมาใชUเปรียบเทียบกับผูUชายและผูUหญิงในเพลงลูกทุFง เป_นรูปคำที่มีความ เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนอีสานและอาชีพเกษตรกรรม ตลอดจนบทบาทและหนUาที่ของผูUชายและ ผูหU ญงิ อีสาน นอกจากนี้ยังแสดงถึงมโนทศั นข9 องคนอสี านท่ีมตี Fอสงิ่ แวดลUอมและการมองโลกดวU ย

14 14 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Hataiwan Maneewong. 2012. Metaphor of male and female in I-saan folksongs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims to analyze the metaphor of male and female in I-saan folksongs and determines the link between words used as metaphors with I-saan lifestyle. This study shows the concept of I-saan people through considering words of metaphors by the cognitive linguistic theory. One thousand four hundred and six I-saan folk songs were sung by male and female singers who have I-saan as the hometown was selected to be the information in this study. The results showed that the words of metaphors can apply to male and female have 146 and 169 words respectively. The metaphors about male were divided into 7 categories: human, object, animal, nature, plant, journey and food. Beside, the metaphors about female were divided into 8 categories: human, plant, object, animal, nature, food, journey and abstract. The metaphors used to compare about male and female were linked with I-saan lifestyle and agriculture as well as the roles and responsibilities of I-saan male and female. Furthermore, it also represents the concept about the environment and worldview of I-saan people.

15 บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 15 อรวรรณ ฤทธิ์ศรีธร. 2555. ตัวละครแบบฉบับในนวนิยายของโสภี พรรณราย. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ดร.อมุ ารนิ ทร9 ตุลารักษ9 บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9เรื่องนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาลักษณะแบบฉบับและกลวิธีการสรUางตัวละครเอก และตัวละครรองในนวนิยายของโสภี พรรณราย ระหวFางชFวงปé พ.ศ. 2527-2547 จำนวน 30 เรื่อง โดยแบFงกลุFมตัวละครเป_น 3 กลุFม คือ ตัวละครเอก ตัวละครรองฝûายดี และตัวละครรองฝûายรUาย ใชUแนวคิดตัวละครแบบฉบับในการศึกษา ดUานลักษณะแบบฉบับ พบวFาตัวละครทั้ง 3 กลุFม มีความ เพียบพรUอมในดUานรูปสมบัติ สFวนในลักษณะนิสัยพบวFา ตัวละครเอกฝûายชายมี 1) เครFงขรึม สงFางาม 2) เก็บกด เจUาคิดเจUาแคUน 3) อารมณ9ดี เจUาชูUกรุUมกริ่ม 4) อFอนโยน มีน้ำใจ ตัวละครเอกฝûายหญิงมี 1) รFาเริง มองโลกในแงFดี 2) จริงจัง ยึดมั่นในความคิดของตน 3) หยิ่งยโส ถือตนวFาเหนือกวFาผูUอ่ืน ตัวละครรองฝûายดี พบวFา ตัวละครฝûายชายมี 1) อFอนโยน มีน้ำใจ 2) อารมณ9ดี เจUาชูUกรุUมกริ่ม ดUาน ตัวละครฝûายหญิงมี 1) รFาเริง มั่นใจในตนเอง 2) อFอนโยน สุภาพเรียบรUอย ตัวละครรองฝûายรUาย พบวFา ตัวละครฝûายชายมี 1) ความทะเยอทะยานตUองการยกฐานะ 2) ตUองการอำนาจ สFวนตัวละครฝûายหญิงมี 1) ทะเยอทะยาน ตUองการยกฐานะ 2) ตUองการความรักจากคนที่ตนรัก ในดUานสถานภาพพบวFาตัวละคร ทั้ง 3 กลุFม มีสถานภาพแบบ 1) ร่ำรวย 2) ปานกลาง ดUานกลวิธีการสรUางตัวละคร พบวFาตัวละครเอกฝûาย ชายและหญิง มีกลวิธีการสรUาง 1) สรUางตัวละครใหUมีความเพียบพรUอมทุกดUาน 2) สรUางใหUมีความขัดแยUง สFวนตัวละครรองฝûายดีทั้งฝûายชายและฝûายหญิง 1) สรUางตัวละครใหUมีลักษณะนิสัยใกลUเคียงตัวละครเอก 2) สรUางใหUมีลักษณะนิสัยตรงขUามกับตัวละครเอก ตัวละครรองฝûายรUายทั้งฝûายชายและฝûายหญิง มีการ สรUาง 1) สรUางตัวละครใหUมีความขัดแยUงดUานลักษณะนิสัย 2) สรUางตัวละครใหUมีความขัดแยUงดUาน สถานภาพ เมื่อเปรียบเทียบการศึกษาตัวละครแบบฉบับในสมัยตFาง ๆ ของไทย กับตัวละครแบบฉบับ ในนวนิยายของโสภี พรรณราย พบวFา มีการสืบทอดและเปลี่ยนผFานขนบของตัวละครตามการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมและคFานิยมในแตFละยุคสมัย อยFางไรก็ตามตัวละครเอกและตัวละครรองฝûายดี ก็ยังคงความเป_นอุดมคติไวU ในขณะเดียวกันตัวละครรองฝûายรUายก็ยังมีลักษณะที่ขัดกับอุดมคติอันดีงาม ของสังคมไทยเชFนเดิม

16 16 ⬗ บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Orawan Rithisrithorn. 2012. The Sterotypes of Characters in Sopee Pannarai’s Novels. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularuk ABSTRACT The objective of this thesis was to study stereotype characteristics and techniques to create major and minor characters in thirty novels composed by Sopee Pannarai between 1984 and 2004. Characters were categorized into three groups: Major characters, Minor characters and Villains based on the concept of model characters. Results found that for stereotype characteristics, all three groups of characters were well heeled in appearances. In an aspect of trait, male major characters expressed their traits in four patterns: 1) Being solemn and dignified, 2) Being repressed and resentful, 3) Being in a good temper and gallant, 4) Being gentle and generous. Female major characters expressed their traits in three patterns: 1) Being cheerful and optimistic, 2) Being serious and self-confident, 3) Being arrogant. While male minor characters expressed their traits as follows: 1) Being gentle and generous, 2) Being in a good temper and gallant, female minor characters had their traits as follows: 1) Being cheerful and self-confident , 2) Being gentle and polite. While male villains expressed their traits as follows: 1) Being ambitious, 2) Being dictatorial, female villains had their traits as: 1) Being ambitious, 2) Seeking to be loved. By considering an aspect of status, all three groups of characters were in 1) high class, and 2) middle class. By considering an aspect of creating characters, there were two techniques for creating male and female major characters: 1) Creating the perfect characters and 2) Making conflicts between different characters. There were two techniques for creating male and female minor characters: 1) Their traits were closely related to major characters’ traits, 2) Their traits were opposite to major characters’ traits. Besides, there were two ways to create male and female villains: 1) Different characters had different traits and 2) Different characters had different status. By making a comparison between characters in Thai novels and characters found in Sopee Pannarai’s novels, results found that there were traditional inheritances between characters according to social change and values in each period. However, major and minor characters still reflected idealism. Meanwhile, villains still had contrary characteristics from the ideals of Thai society.

17 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 17 อลิสา เล็กวานิชย9. 2555. กลวิธีการเล7าเรื่องในสุนทรพจน:อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติ. วิทยานิพนธ9 ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ี่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ:: ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคดั ยอ7 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาในสุนทรพจน9 ทั้งในระดับคำ ในระดับความ และศึกษาอุดมการณ9ที่ปรากฏในสุนทรพจน9อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งจัดโดยสมาคมนิสิตเกFา จุฬาลงกรณ9มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ9 จากผูUที่ผFานการคัดเลือกเขUาสูFรอบชิงชนะเลิศทั้ง 4 ครั้ง คือ ตั้งแตFปéพุทธศักราช 2551 - 2554 อนึ่ง ในการศึกษาครั้งนี้ ผูUวิจัยศึกษาเฉพาะตัวบทในรอบที่มี การเตรียมตัวลFวงหนUาเทFานั้น รวมทั้งสิ้น 59 ตัวบท ผลการศึกษากลวิธีทางภาษาในสุนทรพจน9 พบวFา มีการใชUกลวิธีทั้งหมด 8 กลวิธีโดยแบFงเป_นกลวิธีในระดับคำ 3 กลวิธีคือ 1) การสรรคำ เพื่อความงดงาม ทางภาษา ชFวยสรUางวรรณศิลป±ที่มีประสิทธิภาพ สรUางการพรรณนาเพื่อใหUเห็นภาพอยFางประณีต บรรจง 2) การเลFนคำ เพื่อสรUางใหUเกิดความเสนาะไพเราะ ความลึกซึ้งของความหมาย และความเปรียบท่ี กระทบอารมณ9โดยแบFงเป_น คำสัมผัสคลUองจอง และคำที่มีความหมายตรงขUามกัน 3) คำเรียกแทน พระบาทสมเด็จพระเจUาอยูFหัวจะชFวยสะทUอนทัศนคติที่ประชาชนมีตFอพระองค9 แสดงใหUเห็นถึงความ เคารพยกยอF งพระองค9 อกี ทงั้ ยังพบคำเรียกดวU ยความเชื่อเรือ่ งการมีชาตกิ ำเนดิ สงู นอกจากกลวิธีในระดับคำแลUว บทสุนทรพจน9นี้ยังใชUกลวิธีทางภาษาในระดับความ 5 กลวิธี คือ 1) การใชUภาพพจน9 โดยแบFงเป_น ความเปรียบ ทำใหUภาษาสามารถสื่อภาพไดUชัดเจน เนื้อความนFาสนใจ มีความคมคาย และยังทำใหUภาษามีความสวยงามละเมียดละไมมากยิ่งขึ้น และคำถามเชิงวาทศิลป±จะทำ ใหUผูUฟ®งสนใจในสิ่งที่จะนำเสนอตFอไป และยังเป_นการกระตุUนใหUคิด และตระหนักถึงสิ่งที่ถูกตั้งคำถาม 2) การใชUสำนวน โดยแบFงเป_น สำนวน สุภาษิต คำพังเพย และสำนวนที่เกี่ยวกับคำสอนของศาสนา ซ่ึงชFวยใหUเนื้อความกระชับ แตFทำใหUถUอยคำสะดุดหูสื่อความหมายไดUกวUางขึ้น 3) การสรUางเอกภาพ แบFงเป_น คำซUอน ซึ่งชFวยเนUนย้ำใหUความหมายใหUมีความโดดเดFนและแจFมชัด ทั้งยังเพิ่มความงามทาง วรรณศลิ ป± การซำ้ คำและความ ซึง่ ชวF ยเนUนยำ้ ใหเU นื้อหามคี วามชดั เจนมากยง่ิ ขึ้น ภาษาสละสลวย มคี วาม นFาสนใจการใชUประโยคขนานความ ชFวยทำใหUขUอความที่ตUองการจะเนUนมีความโดดเดFน ภาษาสวยงาม มี จังหวะ 4) การใชUสFวนขยายเป_นการขยายความในเนื้อหาใหUมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเพื่อเพิ่มความ หนักแนFนเนUนย้ำเนื้อหา 5) การเรียบเรียงขUอความ โดยแบFงเป_นการเรียบเรียงขUอความโดยการแสดง เหตุผล การเรียบเรียงขUอความโดยการขยายความ ซึ่งชFวยจัดเรียงความคิดอยFางมีลำดับขั้นตอน เพ่ือ อธิบายขยายความใหUสามารถเขUาใจไดUชัดเจนยิ่งขึ้น และการเรียบเรียงขUอความโดยการอUางถึง เพื่อใหU เนอื้ ความมีความนFาเช่ือถือ ทำใหผU Uูอน่ื เห็นคลUอยตามไดU

18 18 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย นอกจากนี้ บทสุนทรพจน9ที่ดีจะตUองมีความงามทางวรรณศิลป± ซึ่งจำเป_นตUองใชUหลาย ๆ กลวิธี ประกอบกัน เพอ่ื ใหUเกดิ ความ “ด”ี “งาม” และ “ไพเราะ” คือ เนื้อหาดี ภาษามีความงามทางวรรณศิลป± และทำใหUเกิดความไพเราะ ประทับจิตติดใจผูUฟ®ง จึงจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค9 ในการโนUมนUาวใจหรือ จรรโลงใจผUฟู ง® ไดU ผลการศึกษาอุดมการณ9ที่ปรากฏในสุนทรพจน9อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติพบวFา อุดมการณ9ที่ เก่ยี วขUองกบั พระมหากษตั ริย9 มีท้งั อดุ มการณท9 ีส่ ืบทอดมาจากขนบเดิมและอดุ มการณ9ท่มี ีการปรบั เปลี่ยน ไปบUางตามยุคสมัย โดยสามารถจำแนกไดU 6 ดUาน คือ 1) พระมหากษัตริย9ผูUทรงธรรม พบความเชื่อวFา พระองค9ทรงเป_นแบบอยFางที่ดีแกFประชาชน 2) พระมหากษัตริย9นักพัฒนา พบความเชื่อวFาพระองค9เป_น นักคิด คือ การคิดอยFางเป_นระบบแลUวนำความคิดนั้นมาพัฒนาประเทศชาติบUานเมือง พัฒนาทั้งคนและ พัฒนาสิ่งแวดลUอม 3) พระมหากษัตริย9เป_นผูUชFวยเหลือ พบความเชื่อวFาพระองค9คือผูUที่ชFวยใหUประเทศ ผFานพUนวิกฤตตFาง ๆ มาไดUดUวยดี และเป_นผูUชFวยเหลือประชาชนใหUพUนจากทุกข9ภัยตFาง ๆ 4) ความเป_น ชาติ พบความเชื่อวFาพระองค9เป_นศูนย9รวมใจเป_นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน สามารถหลอมรวม ใหUเกิดความสามัคคี เป_นน้ำหนึ่งใจเดียวกันไดU 5) ความสามัคคี พบความเชื่อวFาพระบาทสมเด็จ พระเจUาอยูFหัวทรงเนUนย้ำถึงความสำคัญของความสามัคคี เนื่องจากความสามัคคีเป_นพลังอันยิ่งใหญF เป_นสิ่งที่ชFวยสรUางความมั่นคง และความเขUมแข็งใหUกับประเทศชาติ 6) ความพอเพียง พบความเชื่อวFา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจUาอยูFหัวพระราชทานแกFชาวไทย เป_นปรัชญาท่ี สามารถแกUไขป®ญหาไดUทุกป®ญหา มีลักษณะที่ยืดหยุFน สามารถประยุกต9ใชUไดUตามความเหมาะสม จะชFวย ป≥องกันและแกUไขปญ® หาเศรษฐกจิ ไดU นอกจากสุนทรพจน9อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติจะทำหนUาที่ในการถFายทอดอุดมการณ9ดังที่กลFาว มาขUางตUนแลUว ยังทำหนUาที่เชFนเดียวกับวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติ โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบมาเป_น การแสดงสุนทรพจน9 และเป´ดโอกาสใหUเยาวชนไทยสามารถเขUามามีสFวนรFวมในการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจUาอยFหู วั ไดU

19 บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 19 Alisa Lekwanich. 2012. Speech Narrative Techniques in the Higher Education Speech Contest for His Majesty the King is Celebration. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT The current study was conducted to study language expression in both lexical and sentence level; as well as notions which existed in under graduate national speech competition glorifying his majesty the king which was held by Chulalongkorn University Alumni association under of his majesty the king. The data were collected from 59 scripts of competitors passing through the final round of the last 4 competitions (2007-2011). In detail, the selected scripts were only first draft. The analyzed result indicated that 8 strategies were used in the competition. In lexical level, 3 strategies were employed which were 1) word choices- the competitors specifically choose words to express art created language and adumbration, 2 ) Puns- harmonized words and antonyms were used to express language tunefulness, recondite meaning, and emotional expressiveness, and 3 ) pronouns referring to his majesty the king – the pronouns were selected to the royalty of Thai people that is expressed to the King and royal family. Beside lexical level, 5 techniques were found in sentence level including 1) Images - the competitors compared words to illustrate situation, increase interest, and particularize content and asked questions encouraging listeners’ critical mind, 2) epigrams – idioms, proverbs, aphorisms, modern idioms, and Buddhism instruction were used to notify thoughts, 3) identification – sentence repeat was used to clarify sentence meaning and increase language value in the sentences, and parallel sentences were used to indentify content, 4) modifier using- adjective clause and adverbial clause were used to clarify the words it modify, and 5 ) word orders- words and sentences were ordered logically to clarify meaning, and reference were used to increase content trustworthiness. Particularly, in order to reach the goal, a good speech should include persuasive content, value language expression, and melodiousness.

20 20 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย In addition, in terms of ideology relating to his majesty the king, both traditional and contemporary ideology existed. In detail, four ideologies of the king were 1 ) the ideology of great king- his majesty the king is an ideal for Thai people, 2 ) ideology of developer king- his majesty the king is the great thinker and innovator who try to develop the country, 3 ) the ideology of assistant- his majesty the king is a helper who lead the people to pass crucial events happened with the country, 4) the ideology of being heart of the country, his majesty the king has become the spirit of the country who can united the country, 5) the ideology of nation unity- his majesty has realized the importance of unity as a tool to contribute stability of nation, and 6 ) the ideology of sufficiency-his majesty the king’s sufficient economy has been praised as a notion to solve problems in people’s lives. Moreover, the speech functioned as the same role as literature related to his majesty the king. It was an opportunity for the youth to participate in his majesty the king glorification.

21 บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 21 สุญาดา เทพธรณี. 2555. ภาษาและเนื้อหาในเพลงการเมืองของกลุ7มแนวร7วมประชาธิปไตยต7อตbาน เผด็จการแห7งชาติ และกลุ7มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ดร.อมุ ารนิ ทร9 ตลุ ารักษ9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9นี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9ภาษาและเนื้อหาของเพลงการเมือง โดยใชUแนวคิด เรื่องความหมายของภาษาตามทฤษฎีอรรถศาสตร9 (Semantics) และแนวคิดเรื่องการประกอบสรUาง ความเป_นจริงทางสังคม (Social construction of reality) มาเป_นกรอบในการวิจัยตามลำดับ โดย ผูUวิจัยเก็บรวบรวมขUอมูลจากเพลงการเมืองของกลุFมแนวรFวมประชาธิปไตยตFอตUานเผด็จการแหFงชาติและ กลุFมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ซึ่งนำเสนอในชFวงที่มีการชุมนุมทางการเมืองระหวFางปé พ.ศ. 2548-2552 เป_นจำนวนทั้งสิ้น 240 บทเพลง และนำเสนอผลการวิจัยในรูปแบบการพรรณนา วเิ คราะห9 (Descriptive analysis) ผลการวิจัยเรื่องนี้สามารถแบFงออกไดUเป_น 2 ประเด็น คือ ผลการวิจัยทางดUานภาษาและ ผลการวิจัยทางดUานเนื้อหา ซึ่งผลการวิจัยทางดUานภาษานั้นพบวFา ภาษาในเพลงการเมืองของกลุFมแนว รFวมประชาธิปไตยตFอตUานเผด็จการแหFงชาติ และกลุFมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยประกอบไป ดUวยภาษาทั้งหมด 4 ประเภท คือ 1) ภาษาที่แสดงความหมายอUางอิง 2) ภาษาที่แสดงความหมายสอด สังคม 3) ภาษาที่แสดงความหมายสื่ออารมณ9 และ 4) ภาษาที่แสดงความหมายเปรียบ สFวนผลการวิจัย ทางดUานเนื้อหาพบวFา เพลงการเมืองของทั้งสองกลุFมนี้ประกอบไปดUวยชุดของความหมายเชิงบวกและ ชุดของความหมายเชิงลบทั้งหมด 4 ประเด็น คือ 1) การกลFาวถึงบุคคลหรือกลุFมบุคคลที่เกี่ยวขUองกับ การเมือง 2) การบริหารประเทศ นโยบาย และโครงการของรัฐบาล 3) เหตุการณ9และสถานการณ9ที่ เกิดขึ้นในประเทศไทย และ 4) การเชญิ ชวนประชาชนใหรU Fวมชุมนุมทางการเมือง จากผลการวิจัยแสดงใหUเห็นวFา เพลงการเมืองของกลุFมแนวรFวมประชาธิปไตยตFอตUาน เผด็จการ แหFงชาติ และกลุFมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เป_นสื่อที่สำคัญในการสนับสนุนการเคลื่อนไหว ทางการเมืองของกลุFมการเมืองทั้งสอง อีกทั้งยังชFวยเปลี่ยนขนบการรับรูUขFาวสารในแบบปกติมาเป_นการ รับรูUขUอมูลที่ถูกนำเสนอในบทเพลง เสมือนเป_นถFายทอดขFาวสารแบบยFอใหUผูUฟ®งไดUรับทราบ ทำใหUคนใน ป®จจุบันสามารถรบั รUูขFาวสารไดอU ยาF งทนั ทFวงที และไดUรบั อรรถรสจากการเสพขาF วสารเหลาF น้นั มากยงิ่ ข้ึน

22 22 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Suyada Tepthorranee. 2 0 1 2 . Language and Content in Political Song of Red Shirt Group and Yellow Shirt Group. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The objective of this thesis was to analyze language and content in political song based on Semantics and Social construction of reality as the frameworks. The author collected data about 2 4 0 political songs of Red shirt group and Yellow shirt group that was presented on politics relate during 2005 and 2009. Data was analyzed and presented by using Descriptive analysis. The results could be divided into two points including the language and the content of political song. By considering the language aspect, political song of Red shirt group and Yellow shirt group represented four characters: 1) the language that represents reference meaning, 2) the language that represents social meaning, 3) the language that represents expressive meaning, and 4 ) the language that represents metaphorical meaning. In an aspect of the content, political song of Red shirt group and Yellow shirt group reflected positive and negative meanings, classifying into four points: 1) Citing an individual and a group involved in politics, 2) Citing the country administration, policies and government projects, 3 ) Citing events and situations occurring in Thailand and 4 ) Persuading people to form a politics relate. By the results, political song of Red shirt group and Yellow shirt group are important convey to support political movements of both groups. Besides, It also helps to change the convention recognized the news normally come to realization that information is presented in a political song broadcast a brief audience. So, people in current age be able to know news and information timely and have more experience beautiful wording for perceiving news and information by these songs.

23 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 23 ณชากุญ สิงห9เสนา. 2556. การใชbคำลงทbายของชาวไทยพวน: บbานบุฮม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารย:ที่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จันทร9เทาว9 บทคัดยอ7 งานวิจัยเรื่องนี้เป_นการศึกษาคำลงทUาย (Final particle) ที่ใชUในกลุFมชาติพันธ9ุไทยพวน เพื่อศึกษาการใชUคำลงทUายของชาวไทยพวน 2 ชFวงอายุ ไดUแกF กลุFมที่อายุนUอย และอายุมาก พื้นที่วิจัย คือ หมูFบUานบุฮม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เก็บรวบรวมขUอมูลดUวยแบบสอบถามและการสัมภาษณ9 ผบูU อกภาษา ผลการวิจัย พบวFา ชาวไทยพวนมีการใชUคำลงทUายทั้งหมด 149 คำ โดยแบFงตามลักษณะ โครงสรUางพยางค9 พบวFามี 4 รูปแบบ ไดUแกF พยางค9เดียว สองพยางค9 สามพยางค9 และสี่พยางค9 ทั้งนี้ยัง พบวFาชาวไทยพวนไดUใชUคำลงทUายตามประเภทของประโยค 4 ประเภท ไดUแกF ประโยคแจUงใหUทราบ ประโยคคำถาม ประโยคคำสั่ง และประโยคอุทาน โดยคำลงทUายที่ใชUในประโยคแจUงใหUทราบ แบFง ออกเป_น 4 ลักษณะ ไดUแกF การบอกขUอมูล ความขัดแยUง การคาดคะเน และการตำหนิ คำลงทUายที่ใชUใน ประโยคคำถามจัดแบFงออกเป_น 4 ลักษณะ ไดUแกF คำถามที่ตUองการคำตอบรับ (ใชF/ไมFใชF) คำถามท่ี ไมFตUองการคำตอบ คำถามที่ตUองการรายละเอียด คำถามตFอเนื่อง คำลงทUายที่ใชUในประโยคคำสั่งจัดแบFง ออกเป_น 10 ลักษณะ ไดUแกF การสั่ง การขอรUอง การชักชวน การเชื้อเชิญ การเตือน การอนุญาต การกระตุUน การใหUกำลังใจ การแนะนำ และการใหUพร และคำลงทUายที่ใชUในประโยคอุทานที่แสดงถึง ความประหลาดใจ หรอื พึงพอใจ ผลการศึกษาพบวFา ชาวไทยพวนทั้งกลุFมอายุนUอยและกลุFมอายุมากยังคงมีการใชUรักษาและมี การใชUคำภาษาไทยพวนในป®จจุบัน โดยเฉพาะคำลงทUายประเภทพยางค9เดียวและคำลงทUายสองพยางค9 นอกจากนี้ยังพบวFาชาวไทยพวนทั้งสองกลุFมมีการนำคำลงทUายภาษาไทยถิ่นเลยและภาษาไทยกลางมาใชU รFวมดUวย

24 24 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Nashakoon Singsena. 2013. The Using of Thai-Phuan Final Particles: Buhom Village, Chiangkhan District, Loei Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This study focused on the usage of the final particles in Thai-Phuan language. There were two focus groups: young and old generation. The research area was Buhom Village, Chiang Khan District, Loei Province. The data were collected by questionnaires and informant interview. The results showed that Thai Phuan used 149 final particled classifies by syllable structure: one, two, three, and four syllables. Thai Phuan final particle usage was classified according to 4 types of sentences: declarative, interrogative, imperative and exclamatory sentences. First, final particle used in declarative sentence was divided into 4 types: telling information, conflict, assumption and blame. Second, final particle used in interrogative sentence was divided into 4 types: yes-no question, rhetorical question, open-ended question, and Contingency Question. Third, final particle used in imperative sentence was divided into 10 types: command, request, persuade, invitation, warn, permission, stimulation, encouragement, introduction, and blessing. Finally, final particle used in exclamatory sentence was expressed surprised or satisfied feeling. The study revealed that nowadays, the group of young and old generations of Thai Phuan still used and reserved Thai Phuan language, especially one and two syllable final particles. Furthermore, groups of young and old generation also used Loei language and Central Thai language together.

25 บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 25 กอบชัย รัฐอุบล. 2556. วรรณศิลปèและอุดมการณ:ของตัวละครในมหาเวสสันดรชาดก สำนวนอีสาน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกนF . อาจารย:ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ:: ดร.อุมารินทร9 ตลุ ารกั ษ9 บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มุFงศึกษาตัวบทเรื่องมหาเวสสันดรชาดก สำนวนอีสาน ฉบับวิรัช จำปามูล โดยมีความมุFงหมายสองประการคือ 1. เพื่อศึกษาวรรณศิลป±ในมหาเวสสันดรชาดก สำนวนอีสาน และ 2. เพื่อศึกษาอุดมการณ9ของตัวละครในมหาเวสสันดรชาดก สำนวนอีสาน โดยใชUแนวคิดอุดมการณ9และ วาทกรรม วิเคราะห9ขUอมูลเชิงคุณภาพและนำเสนอผลการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการวิจัยมี ดังตFอไปนี้ ผลการศึกษาดUานกลวิธีการใชUภาษาพบวFา กวีมีการใชUวรรณศิลป±ซึ่งประกอบดUวย 3 ดUาน ไดUแกF 1. ดUานฉันทลักษณ9รUอยกรองตามแบบอีสาน พบวFา วรรณกรรมเรื่องนี้แตFงขึ้นดUวยฉันทลักษณ9โคลงสาร ซึ่งไดUรับอิทธิพลมาจากวรรณคดีสมัยอาณาจักรลUานชUาง ฉันทลักษณ9โคลงสารดังกลFาวที่กวีใชUมีความ โดดเดFนในเรื่องคำกFายนอกและคำกFายใน (สัมผัสนอกและสัมผัสใน) พบวFา กวีมีการใชUคำกFายในท่ี เรียกวFาเคียงคูFมากที่สุด รองลงมาคือเทียบเคียง ทบเคียง แทรกคูF แทรกรถตามลำดับ 2. ดUานการใชUคำ ถUอย พบวFา กวีมีการใชUคำ 7 ลักษณะ ไดUแกF การใชUคำหลากซึ่งกวีใชUมากที่สุด รองลงมาคือคำซUอน คำซ้ำ การเลFนอักษร คำแสดงการเคลื่อนไหว ตามลำดับ 3. ดUานการใชUโวหารภาพพจน9พบวFา กวีมีการใชUโวหาร ภาพพจน9ใน 8 ลักษณะ ไดUแกF การใชUโวหารอุปมา ซึ่งเป_นโวหารภาพพจน9ที่กวีใชUมากที่สุด รองลงมาคือ อปุ ลกั ษณ9 บุคลาธษิ ฐาน อธิพจน9 สัญลักษณ9 ปฏิภาคพจน9 ปฏปิ ุจฉา และการกลFาวอUางถงึ ตามลำดบั ผลการศึกษาดUานอุดมการณ9ของตัวละคร พบวFามีอุดมการณ9ที่ถูกนำเสนอผFานตัวละครใน 4 ลักษณะ คือ 1. อุดมการณ9สูงสุด หรืออุดมการณ9กระแสหลักของเรื่อง ถูกนำเสนอผFานตัวละคร พระเวสสันดร อุดมการณ9ดังกลFาวคืออุดมการณ9แหFงความหลุดพUน 2. อุดมการณ9ความรัก ประกอบดUวย ความรักในสองสถานะ คือ สถานะที่หนึ่ง ความรักระหวFางบิดามารดากับบุตร ไดUแกF ความรักที่ พระเจUาสญชัย พระนางผุสสดีมอบใหUแกFพระเวสสันดร และความรักที่พระเวสสันดรมอบใหUสองกุมาร สถานะที่สอง ความรักแบบสามีภรรยา ไดUแกF ความรักที่พระเวสสันดรมีตFอพระนางมัทรี และความรักที่ พราหมณ9เฒFาชูชกมีตFอนางอมิตตดา 3. อุดมการณ9ทางชนชั้น นำเสนอผFานพระเจUาสญชัย ที่เป_นชนชั้น กษัตริย9แบบธรรมราชา ซึ่งเป_นกษัตริย9ตามคติทางพระพุทธศาสนา และ อุดมการณ9ทางชนชั้นของ พระเวสสันดรที่ทำหนUาที่กษัตริย9ควบคูFไปกับความเป_นพระโพธิสัตว9 และ 4. อุดมการณ9ทางเพศ ถูกนำเสนอในหลายสถานะ เชFน พระเวสสันดรในฐานะป´ตาธิปไตย นางอมิตตดา ในฐานะของความ

26 26 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย เป_นมาป´ตาธิปไตย รวมถึง พราหมณ9เฒFาชูชก ในฐานะของการถูกลดทอนความเป_นชาย ตลอดจน พระนางมัทรใี นฐานะของความเป_นสตรตี ามขนบในวัฒนธรรมอสี าน การนำเสนอภาพอุดมการณ9ผFานตัวละครและเนื้อหาของวรรณกรรมโบราณ ที่ประกอบสรUางขึ้น เป_นสำนวนใหมF แสดงใหUเห็นวFา ในทุกยุคทุกสมัยจำเป_นจะตUองมีอุดมการณ9รFวมและอุดมการณ9ที่ แตกตFางที่ไดUรับการนำเสนอผFานตัวละคร แตFอยFางไรก็ตามการใหUคุณคFาเชิงลบและเชิงบวกตFอการ กระทำตFาง ๆ ของตัวละครแตFละตัวเป_นสิ่งที่เชื่อมโยงกับวาทกรรมที่อยูFในสังคมที่กลายเป_นกรอบ ความคดิ ท่ีสงF ผลตFอการกระทำของตวั ละครและผUูคนในสงั คมดวU ยเชนF กนั

27 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 27 Kobchai Ratubon. 2013. Literary Aesthetics and Ideologies of the Characters in Mahawetsandonchadok Isan version. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The article aimed to study and compare an ideology of female characters in Mahavessandon (a story of the great birth of the Buddha’s previous life) in the version of I-san (northeast of Thailand). This Jataka or story is most influential to I-san people. In the present study, the researcher had concentrated on two female characters, Matri who is a main character of the story and Amittada, to examine how the female ideology was presented. Ideological ideas and female ideology were used as a framework for an analysis. The comparative study of the female ideology served as an explanation of Thai social phenomena which were manifested through a literary work. Although the two characters lived under the patriarchal society, their female ideology gender markedly differed. Power relation, bargaining and reduction played a key part in the story. As evidenced in Matri’s role, her gender was positively portrayed in that she who was described as an ideal woman in I-san’s cultural framework was bodily and spiritually beautiful, who was honest to her husband. Amittada, on the contrary, a character who also lived under a male-dominated society, did not strictly follow social traditions because she was entirely disillusioned with a patriarchal society. As a consequence, she sought to establish power for herself by exploiting her beauty in a power bargaining process. In the end she achieved her set goal, wielding power over her husband. However, the author portrayed her in a negative way and judged her actions as bad. It can be said the two female characters are related to an ideological woman and a woman who is deviant from an ideology in I-san society.

28 28 ⬗ บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย กัปปน9ติพัฒน9 เกียดนอก. 2556. คำเรียกสีภาษาญัฮกุร. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ป่ี รึกษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคัดยอ7 วัตถุประสงค9ของการวิจัยนี้มี 2 ประการ ไดUแกF เพื่อศึกษาคำเรียกสีพื้นฐานและคำเรียกสี ไมFพื้นฐาน และ 2) เพื่อศึกษาการรับรูUสีของชาวญัฮกุร โดยมีผูUบอกภาษาชาวญัฮกุร จำนวน 20 คน ซึ่งเกิดและอาศัยอยูFในหมูFบUานบUานไรF อำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ เก็บขUอมูลดUวยการสัมภาษณ9เชิงลึก การวิจัยนใ้ี ชทU ฤษฎีคำเรยี กสีพืน้ ฐานของ Berlin และ Kay’s (1969) ผลการวิจัยแสดงใหUเห็นวFา มีสีพื้นฐาน จำนวน 5 สี ไดUแกF (สีขาว)/phìat/ (สีดำ),/phle:n/ (สีแดง),/pacu:n/ (สีเหลือง) และ /Ɂɯ:ncɔ:k/ สีกรู (GRUE) ซึ่งสีกรูนี้อยูFในลำดับขั้นที่ 4 ของคำเรียก สีพื้นฐานของ Berlin และ Kay’s (1969) ที่กลFาวถึงวิวัฒนาการคำเรียกสี สFวนคำเรียกสีไมFพื้นฐานพบวFา มี 4 กลวิธี ไดUแกF 1) การยืมคำจากภาษาถิ่นอื่น 2) การประสมคำระหวFางคำเรียก สีพื้นฐานและคำเรียก สไี มFพนื้ ฐาน 3) การประสมคำระหวาF งคำเรยี กสีพ้ืนฐานกับคำขยาย และ 4) การใชUคำเรยี กสิง่ ของเฉพาะ

29 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 29 Kaptipat Keadnok. 2013. Color Term of Nyahkur. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The objectives of this research are 1) to study basic and non- basic color terms, and 2) to color perception of Nyakur people. There are 20 non- Nyakur people as the informants who born and settled in Banrai village, Tepsathit district, Chaiyaphum province by in-depth interview. The basic color term theory of Berlin and Kay's (1969) was used as frameworks. The research finding revealed that there were 5 Nyakur basic color terms; /kɔ:k/ 'white', phliat 'black', /phlé:n/ 'red', /pacu:n/ 'yellow', and /Ɂɯ:ncɔ:k/ (GRUE). The GRUE color was in stage IV according to Berlin and Kay's (1969) stated the evolution of basic color terms. The non-basic color terms were found that there are 4 strategies of non- basic color terms; 1) loan words from other dialects, compounding word from basic color terms and non-basic color term, 3) compounding word from basic color term and modifier, and 4) referring to specific objects.

30 30 ⬗ บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย จุฑามาศ สังข9วิจิตร. 2556. ความเปรียบในมหาชาติสำนวนอีสาน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทร9เทาว9 บทคดั ยอ7 งานวิจัยเรื่องความเปรียบในมหาชาติสำนวนอีสานฉบับกรมศิลปากรนี้มีวัตถุประสงค9 2 ประการ คือเพ่ือวิเคราะห9การเปรียบเทียบตัวละครสำคัญ จำนวน 8 ตัวละคร และความเปรียบอ่ืน กับส่ิงที่นำมาเปรียบผูUวิจัยปรับแนวคิดการศึกษาความเปรียบตามทฤษฎีดั้งเดิม (Traditional Theory) เพื่อนำมาใชUในการคัดเลือกขUอมูลและใชUแนวคิดเร่ืองการเช่ือมโยงความสัมพันธ9ของรูปคำและ ความหมายตามแนวคิดของทฤษฎีภาษาศาสตร9ปริชาน (Cognitive linguistics) เพ่ือวิเคราะห9 ความสมั พันธข9 องคำเปรียบกับสิง่ ท่ถี ูกเปรียบ ผลการศึกษา พบวFาความเปรียบตัวละครมีจำนวน 44 ความเปรียบ โดยพบคำเปรียบตัวละคร มากที่สุดตามลำดับ ไดUแกF พระเวสสันดร นางมัทรี กัณหา–ชาลี ชูชก พระพุทธเจUา นางอมิตดา และ นางผุสดี คำเปรียบที่นำมาเปรียบมีความสัมพันธ9กับธรรมชาติ สัตว9 สิ่งของ อวัยวะ ผีปéศาจ ซึ่งเป_น การเช่อื มโยงใหเU หน็ ถึงฐานะของบุคคล ลกั ษณะบุคคล และความงาม สFวนคำเปรียบอื่น พบวFา มี 77 ความเปรียบ แบFงออกเป_น 2 ประเภท ไดUแกF นามธรรมและ รูปธรรม ตามลำดับเป_นการเชื่อมโยงกับบุคคล นอกจากนี้ยังเชื่อมโยงกับธรรมชาติและความเชื่อของ ชาวอสี าน

31 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 31 Jutamad Sangwijit. 2013. Metaphor in Mahachati North – Eastern Version. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research has two objectives which are to analyze the relations between the word form used as metaphor of eight characters and to analyze the other metaphors in this literature. There are two theories were used in this research, the traditional theory was adapted for collecting the data and the cognitive linguistics was used for finding the relationship between word form and its metaphor. The key finding of this research is there are forty-four metaphors of eight characters: Wetsandon, Matthri, Kanha and Chali, Chuchok, the Buddha, Amittada, and Phutsadirespectively. The word form of each metaphor related to nature, animals, objects, organs, and ghosts-spirits in order to link to status, behavior and beauty of people. In addition, there are other seventy-seven-word forms divided into two categories which are abstract metaphor and concrete metaphor respectively. Both of them are related to three main points which are person’s characteristics, nature and belief of northeastern region.

32 32 ⬗ บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ปรมาพร สวFางแกUว. 2556. ลีลาภาษาของ คำผกา ในบทความทางการเมืองที่ตีพิมพ:ลงในมติชน สุดสัปดาห: พ.ศ. 2553 - 2554. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ท่ปี รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.พรสวรรค9 สุวรรณธาดา บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่อง ลีลาภาษาของ คำผกา ในบทความทางการเมืองที่ตีพิมพ9ลงในมติชน สุดสัปดาห9 พ.ศ. 2553 - 2554 มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาลักษณะการใชUภาษาในบทความทางการเมือง ของคำผกา เรื่องการใชUคำ การใชUสำนวนและการใชUโวหารภาพพจน9และเพื่อศึกษาลีลาในการเขียนของ คำผกา ในบทความทางการเมือง ขUอมูลเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยเรื่องนี้คือบทความของคำผกา จำนวน 96 บทความ ผลการศึกษาพบวFา บทความทางการเมืองของคำผกา มีการใชUคำทั้งหมด 15 ประเภท คือ คำที่ พบมากที่สุดคือ คำแสดงอารมณ9 คำหยาบ/ต่ำ คำภาษาตFางประเทศ ตามลำดับ สวF นคำที่ปรากฏอยFูนUอย ไดUแกF คำภาษาตลาด คำศัพท9เทคนิคและคำภาษา ตามลำดับและผูUทำวิจัยไมFพบคำเลียนเสียงธรรมชาติ คำภาษาพาณิชย9 คำผวน คำรูปธรรมและคำนามธรรมในงานเขียนแตFอยFางใด ในดUานการใชUสำนวนลีลา ภาษาในบทความทางการเมือง พบการแบFงสำนวนออกเปน_ 2 ประเภท คือ สำนวนเดิมและสำนวนใหมF ในงานเขียนนิยมใชUสำนวนเดิมตามพจนานุกรมมากกวFาการเปลี่ยนแปลงสำนวนใหมF ในดUานการใชU โวหารภาพพจน9มีการแบFงประเภทของโวหารออกเป_น 10 ประเภท พบมากที่สุดคือการใชUอุปลักษณ9 โวหาร อติพจน9 บุคลาธิษฐาน ตามลำดับ สFวนอุปมาเป_นโวหารที่ไมFพบจากการใชUโวหารทั้งหมด ในดUาน วัจนลีลาการเขยี นสามารถแบFงออกไดUเป_น 3 สFวน วัจนลีลาประชดประชัน วัจนลีลาเสียดสี และวัจนลีลา ลUอเลียนตามลำดับ วัจนลีลาที่พบมากที่สุดในงานเขียน คือ วัจนลีลาประชดประชัน พบรองลงมาคือ วัจนลีลาเสียดสีและพบนUอยที่สุดคือวัจนลีลาลUอเลียน งานเขียนบทความทางการเมืองเชิงประชดประชัน เสียดสีสังคม ดังนั้น ตัวตนของคำผกาจึงมีบทบาทที่จะกำหนดงานเขียนของเธอออกมาไดอU ยFางมีคุณภาพ และประสทิ ธิภาพมายาวนาน

33 บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 33 Paramaphon Sawangkaew. 2013. Language Stylistic of Khum Phaka in The Political Journal Published in Matichon Weekly During 2010-2011. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Pornsawan Suwanthada ABSTRACT The thesis of Khum Phaka’s speech style in the political articles entitled “Lon – Arn Column” aimed to study Khum Phaka’speech style corncerning words, idioms, and figure of speech used in writing political articles and identify her writing style in political articles. The information applied in this study was her 96 articles. The findings revealed that her speech style used in the political article categorized into 15 types. The most words found in the articles were emotional, impolite and foreign words, respectively. And the words rarely found in the articles were slangs, technical terms and other words, respectively. Moreover, the researcher did not find any words imitating from the sound of nature, commercial, spoonerism, concrete or abstract words. For the aspect of her idioms in the political articles could be separated into 2 groups of traditional and modern styles. All of the above, the similes were not found. Her writing style could be separated into 3 parts which were how to name the topic, strategies for presentations and how to end the articles. The study revealed that naming the topics mostly came from the main contents, naming the topics in contrast to the contents and naming the topics exactly from the contents, respectively. And for naming the topics by asking questions were the least. In the aspect of content presentations, most of them were started by the daily news, by the questions, and by concluding the main ideas of the contents, respectively used for ending the articles, the study showed that most of them were ended by the writer’s opinions, respectively. The characteristics of her article ending also showed that her identity distinctively different from other writers because she could extremely reflect herself through her works.

34 34 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ปéยกนิษฐ9 สาธารณ9. 2556. เนื้อหาและกลวิธีทางภาษาในงานเขียนของพระไพศาล วิสาโล. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคดั ย7อ งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาเนื้อหาและกลวิธีทางภาษาในงานเขียนของพระไพศาล วิสาโล ที่มีแกFนเรื่องหลักแนวสันติวิธี ตั้งแตFปé พ.ศ. 2518 - 2555 รวมทั้งสิ้น 14 เลFม ผลการศึกษาสรุป ไดUวาF ดาU นเนอ้ื หา พระไพศาลนำเสนอเนอื้ หาหลัก 3 ดาU น ดงั รายละเอียดดงั ตFอไปน้ี จากวัตถุประสงค9ขUอที่ 1. การศึกษาเนื้อหาในงานเขียนของพระไพศาล ผลการศึกษา พบวFา เนื้อหาแบFงไดUเป_น 3 ดUาน คือเนื้อหาดUานการเมือง ประกอบดUวย 1) ป®ญหาดUานการเมือง ไดUแกF ป®ญหา ดUานการเมืองที่เกิดจากตัวบุคคลและป®ญหาดUานโครงสรUาง 2) ผลกระทบของป®ญหาดUานการเมือง ไดUแกF ผลกระทบที่เกิดจากการแกUป®ญหาไมFตรงจุด ความโกรธเกลียดในตัวบุคคลทำลายความเป_นมนุษย9 3) แนวทางการแกUไขป®ญหา แบFงไดUเป_น 2 ประเด็นยFอย คือ การแกUไขป®ญหาตามแนวทางสันติวิธีทางดUาน การเมืองแบFงเป_น 6 วิธี ไดUแกF การมีจิตสำนึกที่ดีในตัวบุคคล หลักความรFวมมือจากสถาบันตFาง ๆ ในสังคม หลักการกระจายอำนาจ หลักการถอยทีละกUาว หลักการเจรจา หลักการยอมรับความหลากหลาย และ การแกUไขป®ญหาตามแนวทางพุทธสันติวิธี แบFงไดUเป_น 2 ลักษณะ คือ หลักธรรมที่เกิดจากตัวบุคคลและ หลักธรรมทีเ่ ผ่ือแผFแกFบคุ คลอ่ืน จากผลการศึกษาเนื้อหาดUานเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ประกอบดUวย 1) ป®ญหาดUานเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี แบFงเป_น การตกเป_นทาสวัตถุเงินทองและการตกเป_นทาสของสื่อเทคโนโลยี 2) ผลกระทบดUานเศรษฐกิจและเทคโนโลยี แบFงเป_น เพิ่มภาระคFาใชUจFายในการดำเนินชีวิต การขาด วิจารณญาณในการบริโภคขUอมูลขFาวสาร การละเมิดสิทธิ ขาดความสัมพันธ9ระหวFางครอบครัว สิ่งแวดลUอมเป_นพิษ 3) แนวทางการแกUไขป®ญหาดUานเศรษฐกิจและเทคโนโลยี แบFงไดUเป_น การแกUไข ป®ญหาดUานเศรษฐกิจและเทคโนโลยีโดยใชUแนวทางสันติวิธี 4 วิธี แบFงเป_น บุคคลยึดหลักพอดี พอเพียง พึ่งพาตนเอง การเปลี่ยนวิกฤติใหUเป_นโอกาส รFวมกันสรUางความเขUมแข็งใหUชุมชนและการแกUไขป®ญหา ดUานเศรษฐกิจตามแนวทางพุทธสันติวิธี แบFงเป_น หลักศีล สมาธิ ป®ญญา หลักการใชUสติ หลักการ ปลFอยวาง วางใจ จากผลการศึกษาเนื้อหาดUานศาสนา ประกอบดUวย 1) ป®ญหาดUานศาสนา เชFน ป®ญหาที่เกิดจาก ความไมFเขUาใจถึงแกFนแทUของศาสนา เขUาใจหลักธรรมคลาดเคลื่อนของพระสงฆ9และฆราวาส การสอน ศีลธรรมที่ผิดและสอนไมFยุคสมัย และป®ญหาในอดีตที่เกิดจากการปฏิรูปนโยบายการปกครองที่ผิดพลาด 2) ผลกระทบดUานศาสนา แบFงเป_น พระไรUคุณภาพและเสื่อมคุณภาพและวัดรUาง 3) แนวทางการแกUไข ป®ญหาดUานศาสนา แบFงเป_น การแกUไขป®ญหาดUานศาสนาตามแนวทางสันติวิธี ประกอบดUวยระบบ

35 บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 35 กลั่นกรองผูUที่มาบวชและกลFอมเกลาผูUที่ผFานการบวชมาแลUวและการแกUไขป®ญหาความเสื่อมของสถาบัน สงฆ9โดยอาศัยความรFวมมือจากทุกสถาบันในสังคมและการแกUไขป®ญหาตามแนวทางพุทธสันติวิธี โดยใชU หลักการละอตั ตา หลักขันตแิ ละเมตตา จากวัตถุประสงค9ขUอที่ 2. ดUานกลวิธีทางภาษาในงานเขียนของพระไพศาล พบวFา สามารถแบFง การศึกษาโครงสรUางของงานเขียน 4 ประเด็น คือ 1) การตั้งชื่อเรื่องแบFงเป_น 4 ลักษณะ คือ การตั้งช่ือ เรื่องแบบคำเขUาคูFกันที่มีความหมายขัดแยUงกัน การตั้งแบบใหUขUอคิด การตั้งชื่อเรื่องแบบใหUคำแนะนำ การตั้งชื่อเรื่องตามแนวคิดและแกนของเรื่อง 2) การนำเรื่อง แบFงเป_น 4 ลักษณะ คือ การนำเรื่องดUวย คำบอกเวลา การสรุปใจความสำคัญ การยกตัวอยFางเหตุการณ9 การอUางอิง 3) การสรุปเรื่องแบFงเป_น 3 ลักษณะ คือ แบบปุจฉา-วิสัชนา แบบขUอเสนอแนะและการตัดกลับหรือหวนกลับ 4) เนื้อเรื่อง พบการ ใชUกลวิธีทางภาษาระดับคำ กลวิธีทางภาษาระดับประโยคและกลวิธีทางภาษาระดับความ โดยแบFงเป_น กลวิธีทางภาษาในระดับคำ 4 กลวิธี คือ การซ้ำคำ การใชUคำซUอน คำทับศัพท9 คำที่มีความหมายขัดแยUง กลวิธีทางภาษาในระดับประโยค คือ ประโยคขนานความหรือประโยคสมดุล และกลวิธีทางภาษาใน ระดับความ 9 กลวิธีคือ คำถามแบบปุจฉา-วิสัชนา บุคคลวัต อุปลักษณ9 อุปมา สำนวน การยกบท สนทนา การเสรมิ ความดUวยเคร่อื งหมายนขลิขติ การอาU งอิง และการนยิ าม จากผลการศึกษาทั้งเนื้อหาและกลวิธีทางภาษาในงานเขียนของพระไพศาล วิสาโล พบวFา เป_นงานเขียนที่มีความโดดเดFนจากงานเขียนแนวธรรมะทั่ว ๆ ไป คือ การเนUนเนื้อหาที่เกี่ยวกับสันติวิธี เพื่อแกUป®ญหาการเมือง สังคม พรUอมทั้งสอดแทรกหลักสันติวิธีและพุทธสันติวิธีไดUอยFางลงตัวโดยใชUกลวิธี ทางภาษาหลากหลายพรUอมกัน เพ่ือจดุ ประสงค9ในการโนมU นUาวใจใหUผอUู FานคลUอยตาม

36 36 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Peekanit Satarn. 2013. Contents and Language Techniques in Phra Paisal Visalo’s Literary Works. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT The study was conducted to investigate contents and language techniques in Phra Paisal Visalo’s literary works. 14 books during 1975 - 2012 having content related to Lord Buddha’s peaceful mean were analyzed. The result of study indicates three main issues were presented in the following detail. According to the first purpose of the study, the result points out the issue of politics including 1) political problems for example the problems related to personnel and construction; 2) effect of political crisis including effect coursed by ineffective problems solving and dehumanizing hatred among political groups, 3) solutions divided into 2 mains categories- political peaceful mean related to 6 methods of peace which are personal conscious, participation from social organizations, decentralization, compromise, negotiation, and political diversity; and Buddhism peaceful mean including personally generated Dharma principle and gained Dharma principle. In cases of economy and technology, there were 3 mains issues found which were 1) problems in economy and technology for example materialism and technological addict, 2) effect of the problems which were increasing of outcome, lack of information consideration, copy rights, family relationship, and pollution; and 3) solutions divided into 4 categories in terms of peaceful mean which were living sufficiency, turning crisis into opportunities, strengthening social participation. For the Buddhism aspect, morality, concentration, wisdom, consciousness, independence, and free mind were presented as solutions. In aspect of religion, the investigation of the data pointed out 3 main issues which were 1) problems in religion including misunderstanding of religious core, misunderstanding of Dharma principles both in people and monks, mal-promulgation and undeveloped methods of Dharma, and policy in distribution of religion teaching, 2) the effects of the problems can be seen in the case of ineffective, inefficient, and

37 บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 37 ruined temples, 3) the solutions related to peaceful mean were screening of men who request to ordain as monks and co-organization of social units. In aspect of Buddhism, ignoring of desires, patience, and mercy were the recommended solutions. According to the second purposes of the study, language techniques used in the literacy works were categorized in 4 points which were 1) 5 naming including contradict matching, philosophic naming, suggesting naming, and content conceptual naming; 2) 4 leadings which were leading by adverb of time, by conclusion, by illustration, and by reference; 3) 3 conclusions consisted of QA conclusion, suggested conclusion, and flash back conclusion; 4) content found techniques both in lexical and content level. The techniques used in lexical level were repetition, compound words, transliterated words, contradict words, sentence order, parallel text, balanced content and definition while content techniques were questions and answers, personifications, metaphors, comparisons, proverbs, dialogues, parallelism, punctuations, and references. The result of the study points out that the literacy works of the author are more outstanding than other Dharma literacies in the way of integrating content related to politics and society. Moreover, the author illustrates aspects of both peaceful mean and Buddhism peaceful mean as solutions of problem by using persuasive various techniques of linguistics.

38 38 ⬗ บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย วุฒินันท9 สุพร. 2556. หมอลำ: กรณีศึกษา หมอลำจูมทอง เสียงเสน7ห:. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ี่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.พรสวรรค9 สวุ รรณธาดา บทคดั ยอ7 การศึกษาเรื่อง หมอลำ: กรณีศึกษา หมอลำจูมทอง เสียงเสนFห9 ในครั้งนี้มีจุดมุFงหมายเพื่อศึกษา เกี่ยวกับวรรณศิลป± จริยศิลป± ศิลปะการแสดง และรวบรวมประวัติ ผลงานของหมอลำจูมทอง เสียงเสนFห9 โดยการเก็บรวบรวมผลงานดUานกลอนลำที่ใชUในการแสดงและผลงานที่ไดUรับรางวัลของ หมอลำจมู ทอง เสียงเสนFห9 นำเสนอผลการศกึ ษาแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFา หมอลำจูมทอง เสียงเสนFห9 ความสามารถในดUานการแสดงหมอลำ และสิ่งท่ี ทำใหUหมอลำจูมทอง เสียงเสนFห9ประสบผลสำเร็จในการแสดง คือ ดUานวรรณศิลป± กลFาวคือ หมอลำ จูมทอง เสียงเสนFห9 มีความรูUและความสามารถในดUานการใชUภาษาไมFวFาจะเป_นการใชUภาษาถิ่นอีสาน ภาษาไทยกลาง และเนื้อหาของกลอนลำมีเอกลักษณ9เฉพาะตน มีความไพเราะ และแตกตFางจากหมอลำ ทFานอื่น ดUานจังหวะและทFวงทำนองในการลำ จนไดUรับฉายาวFา “เสียงเสนFห9” ดUานขนบนั้นเป_นผูUที่มี ความประพฤติที่ยึดขนบธรรมเนียมประเพณี โดยเฉพาะอยFางยิ่งในดUานการแสดงหมอลำที่ดีซ่ึง เปรียบเสมือนกระจกที่สะทUอนใหUเห็นถึงคุณงามความดีและยังสFงผลใหUหมอลำจูมทอง เสียงเสนFห9 ไดUรับ ความนิยมชื่นชอบจากผูUชมเป_นอยFางมาก ดUานศิลปะการแสดงนั้น มีเอกลักษณ9ที่โดดเดFนเฉพาะตนท้ัง ดUานวาดฟ≥อนลำรวมท้ังทFาแมFบท ทFาฟ≥อนอิสระ และวาดลำ (ทำนองลำ) โดยสะทUอนใหUเห็นถึงผลงานที่ ไดUรับรางวัลอยFางมากมาย จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถทำใหUทราบถึงประวัติชีวิต ผลงานดUานการ แสดงของ หมอลำจูมทอง เสียงเสนFห9 ที่สามารถถFายทอดศิลปะดUานการแสดงหมอลำจนเป_นที่ยอมรับ ของคนในสังคมมีผลงานและรางวัลทมี่ ากมาย ผลการศึกษาคUนควUาในครั้งนี้ สามารถนำไปใชUในการเผยแพรFดUานภูมิป®ญญาทUองถิ่น อันกFอ ใหUเกิดองค9ความรูUใหมFที่สามารถนำไปใชUประโยชน9พัฒนาสังคม ชุมชน และยังเป_นการอนุรักษ9สืบสาน ศลิ ปะการแสดงดาU นหมอลำใหคU งอยคFู สFู ังคมอีสานสบื ไป คำสำคญั : หมอลำ. กลอนลำ. หมอลำจมู ทอง เสยี งเสนFห.9 เพลงพืน้ บUาน. ภมู ปิ ญ® ญาพ้ืนบUาน.

39 บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 39 Wuttinan Suporn. 2013. Morlum: A Case Study of Morlum Chumthong Siangsaneh. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Pornsawan Suwanthada ABSTRACT The purposes of the study of Morlum: A Case Study of Morlum Chumthong Siangsaneh were to study about the art of language usage, aesthetics , moral and , performance in the collection of biography and masterwork of Morlum Chumthong Siangsaneh. Data were collected from klorn lum which she performed and received the rewards. Descriptive analysis was used to present the data. Results of the study were found that Morlum Chumthong Siengsananea was able to perform Morlum. What made her succeed in performance were language art created and aesthetics. We could say that she had the knowledge and ability using both the dialect of Esaan and Thai language. The contents of her Klornlum had the beautiful self identity which was different from others about the rhythm and tune until she was named “Siangsaneh”. On the aspect of moal, she concentrated on customs and tradition especially in good Morlum performance which was like the mirror reflected to goodness, and led Morlum Chumthong Siangsaneh to be popular all over. On the aspect of performance, Morlum Chumthong Siangsaneh had the outstanding self identity on ward fornlum (dancing style) including original dancing, free style dancing and singing style (ward lum) which resulted in the numbersof rewards she received. The results of this study could promote folk wisdom and led to the new knowledge for the benefits of society and community. Moreover, it could help to sustainabiy conserve and inherit performance art on morlum to be with the esaan society.

40 40 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ศิริพรรษา คำพันธ9ุ. 2556. วิเคราะห:บทเพลงที่เกี่ยวขbองกับจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ท่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.พรสวรรค9 สวุ รรณธาดา บทคดั ยอ7 การศึกษาภาพสะทUอนวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในบทเพลงจังหวัดนครพนม มีวัตถุประสงค9เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห9การใชUคำในบทเพลงที่เกี่ยวขUองกับจังหวัดนครพนม 2) ศึกษาโวหารภาพพจน9ในบท เพลงท่ีเกี่ยวขUองกับจังหวัดนครพนม 3) เพื่อศึกษาวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี ผFานบทเพลงท่ีเกี่ยวขUอง กับจังหวัดนครพนม ในการวิจัยครั้งนี้เป_นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากผลงานเพลงที่เกี่ยวขUองกับ จังหวัดนครพนม จำนวน 74 เพลง จะเลือกเฉพาะเนื้อหาของบทเพลงที่กลFาวอUางถึงบุคคลและสถานท่ีท่ี เกี่ยวกับจังหวัดนครพนมและผUูประพันธ9เพลงเป_นชาวนครพนมแลUวนำมาแยกแยะขUอมูล วิเคราะห9ขUอมูล และเรยี บเรียงนำเสนอแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFา บทเพลงที่เกี่ยวขUองกับจังหวัดนครพนม มีลักษณะการใชUคำดังนี้ มีการใชUคำ ที่สื่ออารมณ9ของมนุษย9ทั้ง 9 อารมณ9 อารมณ9ที่พบมากที่สุด คือ อารมณ9สุขสุดชื่น รองลงมา อารมณ9 โศกเศรUา เสียใจ อารมณ9ทพี่ บนอU ยที่สุดคือ อารมณ9สงสาร เห็นใจใหUอภัย แตFไมFพบอารมณ9ประชดประชัน เสียดสี คำซUอน มีการใชUคำซUอน 2 คำมากที่สุด รองลงมา คือคำซUอน 4 คำ คำสัมผัสซึ่งแบFงคำสัมผัส ออกเป_น 2 ประเภท คือ สัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ การใชUคำสัมผัส สัมผัสพยัญชนะที่พบมากที่สุด คำคFู รองลงมาคำแทรกคูF คำสัมผัสสระที่พบนUอยที่สุด คำทบเคียง และมีการใชUคำภาษาถิ่น เพื่อสื่อ ความหมายใหUชัดเจนและเพิ่มความไพเราะในบทเพลง สFวนลักษณะดUานการใชUโวหารภาพพจน9มีการใชU โวหารอุปมามากที่สุด รองลงมา อุปลักษณ9 อติพจน9 บุคลาธิษฐาน นามนัย ปฏิทรรศน9 สัมพจนัย คำถาม เชิงวาทศิลป± สัญลักษณ9 การเลียนเสียง ธรรมชาติ ปฏิพจน9 ตามลำดับ แตFไมFพบโวหารการกลFาวอUางถึง ดUานวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ประเพณีที่สะทUอนผFานบทเพลง พบวFา ดUานภาพสะทUอนวิถีชีวิต พบ 2 ประเด็น คือ การทำมาหากิน และป®จจัยสี่ในการดำรงชีวิต สFวนภาพสะทUอนวัฒนธรรมประเพณี พบ 8 ประเด็น คือ ประเพณีไหลเรือไฟ ประเพณีวันออกพรรษา พบมากที่สุด รองลงมา ประเพณี สงกรานต9 ประเพณีนมัสการพระธาตุพนม ประเพณีเขUาพรรษา ประเพณีไทยแสก ประเพณีโซFทั่งบั้ง ประเพณบี ญุ ขUาวจี่ ตามลำดบั

41 บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 41 Siripunsa Kumpun. 2 0 1 3 . The Analysis of Nakhon Phanom's Local Songs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Ponsawun Suwantada ABSTRACT The study of traditional ways of life and culture in Nakhon Phanom’s songs aimed to (1 ) Analyse words used in Nakhon Phanom’s songs, (2 ) study the speech figure in Nakhom Phanom’s songs, (3 ) study ways of life and culture festivals through Nakhon Phanom’s songs. The qualitative methodology was employed in this study. There were 7 4 selective songs concerning people, places and composers in Nakhon Phanom. The gathered information was distinguished, analysed, and presented in analytical description. The findings revealed that the characteristics of words used in the songs were 9 kinds of men’s emotions. The most emotions found were happiness and sadness, respectively. And the least ones found in the songs were sympathy, and forgiveness but sarcasm was not found. The 2 and 4 synonymous compound words were mostly found in the songs, respectively. The 2 kinds of rhyming words found were consonants and vowels. The consonants rhyming mostly found were double and added words respectively; the least of rhyming vowels found were the four words which have same vowel sound together. And there were some dialects used for obvious communication and more beautiful songs. For the aspect of speech figure use, the results ranking from the most to the least were similes, metaphors, hyperboles, personifications, metonymy, paradoxes, synecdoches, rhetorical questions, symbols, sound imitation of nature and oxymorons, respectively. However, the referential rhetoric was not found. When considering about ways of life, culture festivals reflecting through songs, it showed that there were 2 points of ways of life reflections. The first one was how to earn a living and the other one was the four requisites for comfort. And there were 8 issues of cultural festival reflections. The most were found in Illuminated Boat Procession and Buddhist Lent Day ; the rest were Songran Festival, Phrathat Phanom Worship Festival, End of Buddhist Lent Day, Thai – saak Festival, So-thung-bung Festival and Boon-kraow-chee Festival, respectively.

42 42 ⬗ บทคัดยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ศุกภลักษณ9 พุดตาเต. 2556. บทรbอยกรองคอลัมน: “คมเลนส:” ในมติชนสุดสัปดาห: : ความสัมพันธ: ระหว7างภาษากับแนวคิด. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ที่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ:: ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีจุดมุFงหมายเพื่อศึกษาวิเคราะห9กลวิธีทางภาษาและวิเคราะห9ความสัมพันธ9ระหวFาง ภาษากับแนวคิดของบทรUอยกรองคอลัมน9 “คมเลนส9” ในมติชนสุดสัปดาห9 โดยศึกษาบทรUอยกรอง ชวF งปé พ.ศ. 2551 - 2554 จำนวน 138 ตวั บท จากผลการวิจยั พบวาF กลวิธีทางภาษาในบทรUอยกรองคอลัมน9 “คมเลนส9” ในมติชนสุดสัปดาห9พบวFาในบทรUอยกรอง มีการสรรคำ การเลFนคำและเลFนเสียง การซ้ำคำ การใชUภาพพจน9 การใชUสัญลักษณ9 และการใชUสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย ดังนี้ 1) การสรรคำ พบการสรรคำที่มีความหมายทิศทางเดียวกัน การสรรคำ ที่มี ความหมายคลUายกันหรือความหมายใกลUเคียงกัน 2) การเลFนคำและเลFนเสียงพบการเลFนคำซ้ำ การเลFน คำโดยสลับตำแหนFงของคำ การเลFนคำที่เป_นคำนามกับคำกริยา การเลFนคำเพ่ือเพิ่มความหมายของคำใหU มีความหนักแนFนยิ่งขึ้น และการเลFนเสียงสัมผัสสระและพยัญชนะ 3) การซ้ำคำ พบการซ้ำคำเพื่อเนUนย้ำ ความหมายของคำ และการซ้ำคำเพื่อแสดงถึงความลังเลไมFแนFใจ 4) การใชUภาพพจน9 พบภาพพจน9 5 ประเภท คือ ปฏิปุจฉา อุปมา อุปลักษณ9 บุคคลวัต และอติพจน9 ภาพพจน9ท่ีปรากฏมากที่สุดคือ ปฏิปุจฉา มุFงใหUผูUอFานไดUฉุกคิด และตระหนักถึงประเทศชาติ 5) การใชUสัญลักษณ9 พบการใชUสัญลักษณ9ท่ี สื่อถึงกลุFมความขัดแยUงทางการเมือง การใชUสัญลักษณ9ที่สื่อถึงพฤติกรรมของบุคคลที่มีความหมายในเชิง ลบ และการใชUสัญลักษณ9ที่สื่อถึงเกษตรกร และ 6) การใชUสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย เป_นกลวิธีทาง ภาษาที่โดดเดFนท่ีพบมากที่สุดในบทรUอยกรอง มีการใชUสำนวน สุภาษิตและคำพังเพยตUนแบบกวีมีการ ดดั แปลง ละความ และตัดคำ สำนวน สุภาษติ และคำพงั เพย จากการศึกษาความสัมพันธ9ระหวFางภาษากับแนวคิดพบ 4 ประเด็น ไดUแกF แนวคิดดUานการเมือง แนวคิดดUานสังคม แนวคิดการสดุดี และแนวคิดดUานพระพุทธศาสนา ประเด็นที่ 1 แนวคิดดUานการเมือง กลFาวถึงพฤติกรรมของนักการเมือง ความขัดแยUงทางการเมืองและรัฐธรรมนญู ประเด็นที่ 2 แนวคิดดUาน สังคม กวีนำเสนอป®ญหาสังคมที่เกิดขึ้นในประเทศไทย คือ ป®ญหาแรงงานและความยากจน ป®ญหา น้ำทFวม ป®ญหาสิ่งแวดลUอม ป®ญหาเศรษฐกิจ และป®ญหาสังคมอื่น ๆ ประเด็นที่ 3 แนวคิดการสดุดี พบ การสดุดีสถาบันพระมหากษัตริย9 และการสดุดีผูUกลUาหาญ ประเด็นที่ 4 แนวคิดดUานพระพุทธศาสนา กวีนำเสนอแนวทางการขจัดทุกขต9 ามหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา และกลFาวถึงพระกรุณาธิคุณ ของพระพุทธเจUาท่ีทรงสั่งสอนหลักธรรมอริยสัจสี่ นอกจากนี้ยังพบวFาภาพประกอบบทรUอยกรองมีสFวน สำคัญท่ีทำใหUขFาวหรือเหตุการณ9ที่กวีนำเสนอ มีความคมชัดและเป_นรูปธรรมที่ชัดเจนมากยิ่งข้ึน

43 บทคดั ยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 43 การศึกษาคอลัมน9 “คมเลนส9” ในชวF งเวลาดังกลFาวท่ีนำเสนอขFาวเหตุการณ9เดFนในแตFละสัปดาห9 และการ แสดงทรรศนะของกวีผFานบทรUอยกรองคอลัมน9 “คมเลนส9” เป_นเสมือนจดหมายเหตุของประเทศไทย ท่บี ันทึกขาF วเหตกุ ารณ9ตFาง ๆ ผFานมุมมองของกวใี นฐานะที่เป_นประชาชนไทยคนหนง่ึ ดวU ย

44 44 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Sugpaluk Pudtate. 2013. The Poem “Komlens” in Matichon Weekly Magazine: the Relationship between Language and Theme. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT This research aimed to analyze the language use and the relationship between the language and the themes of the poem “Komlens” in Matichon Weekly Magazine. The analysis covered a selection of 138 poems during the years 2008-2011. The analysis of the language use revealed that the language use in the poem “Komlens” was consisted of six elements; 1) word selection, 2) word play, 3) word repetition, 4) figures of speech, 5) signs, 6) idioms, proverbs, and aphorism. These elements are detailed as follows: 1) Word selection: Synonyms which conveyed meanings in the same direction were selected. 2) Word play: Word repetition, word inversion, noun-verb play, meaning accentuation, and vowel rhyme and alliteration were used. 3) Word repetition: The word repetition accentuated word meanings and expressed hesitation. 4) Figures of speech: Rhetorical question, simile, metaphor, personification, and hyperbole were used. Rhetorical question as the most often found figure of speech was aimed to make the reader realize and raise awareness of the nation. 5) Signs: The signs implied politically conflict groups, negative personal behavior, and agriculturists. 6) Idioms, proverbs, and aphorism: These elements were the most remarkable and often found in the poem. Original idioms, proverbs, and aphorism appeared thoroughly in the poem. The poet adapted, omitted and cut words in these idioms, proverbs, and aphorism. The analysis of the relationship between the language and the themes unveiled that the poet used four themes; 1) politics, 2) society, 3) praise and 4) philosophy. 1) Political theme: Politician behaviors, political conflicts, and the constitution were uncovered. 2) Social theme: The poet presented social problems in Thailand such as labor and poverty, flooding, environment, economic, and other general problems. 3) Praise theme: The praise of the royal family and the brave was presented.

45 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 45 4) Philosophical theme: The poet included the Lord Buddha’s ways of elimination of suffering and His grace in preaching the Four Noble Truths. In addition, it was found that the illustrations used along with the poem played an important role in clarifying the news and events presented in the poem. The poet expressed his viewpoints through “Komlens” which brought the reader up to date with weekly highlight news and events. The poem “Komlens,” therefore, was regarded as annals composed by the poet as a member of Thai citizens.

46 46 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย อภิชาติ คำวิเลิศ. 2556. เพศวิถีของตัวละครในวรรณกรรมอีสาน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารยท: ่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพยี ยรุ ะ บทคัดย7อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาเพศวิถีของตัวละครกับความเชื่อ ความตUองการทางเพศ ของตัวละคร และปฏิบัติการทางเพศ โดยศึกษาจากวรรณกรรมอีสาน 6 เรื่อง ไดUแกF กาฬะเกษ ขูลูนางอั้ว นางแตงอFอน นางผมหอม ผาแดงนางไอF และสังขศ9 ิลป±ชัย ซ่ึงใชกU รอบแนวคิดเพศวิถีในการวเิ คราะห9 ผลการศึกษาพบวFา ในดUานเพศวิถีของตัวละครกับความเชื่อ ตัวละครชายและหญิงเชื่อวFา ผีรUาย เป_นตัวทำลายสัมพันธภาพทางเพศและผีรUายเปรียบเสมือนสัญลักษณ9ของผูUท่ีไมFมีศีลธรรมทางเพศ ผีดี มีหนUาที่เป_นสื่อสัมพันธ9ทางเพศ นอกจากนี้ตัวละครยังมีความเชื่อตFอเทพเจUา พุทธศาสนา ไสยศาสตร9 เชื่อเรื่องแถนและแนน ซึ่งความเชื่อเหลFาน้ีมีบทบาทในการเป_นที่พึ่งทางจิตใจใหUกับตัวละครในยามท่ี ตวั ละครเกิดวิกฤตทางเพศ โดยตัวละครจะกระทำตFอความเช่อื รูปแบบตาF ง ๆ เพือ่ ขอใหUสัมพนั ธภาพทางเพศ ดำเนินตFอไปไมFมีสิ่งขัดขวาง สFงผลใหUการกระทำตFอความเชื่อนั้นมีทั้งท่ีเป_นคุณและโทษแกFตนเองรวมถึง ผูUอื่น โดยเฉพาะความเชื่อทางไสยศาสตร9 สFวนความเชื่อทางพุทธศาสนาเป_นการควบคุมพฤติกรรมทางเพศ ของตัวละครชาย และควบคุมทั้งพฤติกรรมและรFางกายสำหรับตัวละครหญิงใหUเป_นไปตามบทบัญญัติทาง ศีลธรรม และความเช่ือเรื่องฝ®นถอื เปน_ ลางบอกเหตุใหUตวั ละครทราบเกยี่ วกับคูคF รองของตน ความตUองการทางเพศของตัวละครชายและหญิงเกิดจากสิ่งเรUา โดยเฉพาะรูปลักษณ9 เรือนรFาง ของฝûายหญิงและชาย สFงผลใหUตัวละครทั้งชายและหญิงแสวงหาวิธีการในการตอบสนองความตUองการ ทางเพศ ซึ่งทั้งชายและหญิงสามารถแสดงความตUองการทางเพศไดUอยFางเป´ดเผย โดยเฉพาะตัวละคร หญิงจำพวกผีและยักษ9สFวนตัวละครหญิงท่ีเป_นหญิงสูงศักดิ์ตUองเก็บซFอนความรูUสึกทางเพศไวU เนื่องดUวย กรอบจารตี และความเชือ่ ตFาง ๆ ครอบวิถีปฏิบัตทิ างเพศอยูF แตFแรงขบั ทางเพศทำใหตU ัวละครหญิงสงู ศกั ด์ิ ตUองละเมิดกรอบจารีต สFวนพื้นที่ในการแสดงออกถึงความตUองการทางเพศของตัวละครชายและหญิงนั้น ตัวละครจะแสดงออกในพื้นที่สาธารณะ โดยเฉพาะในขบวนแหF ในปûาและงานบุญ อีกทั้งความตUองการ ทางเพศของตัวละครยงั กFอใหเU กดิ ทัง้ ความสุขและความทุกข9ทงั้ แกตF นเองและผUอู ื่น ปฏิบัติการทางเพศในวรรณกรรมอีสาน ปรากฏปฏิบัติการของระบบจารีตที่คอยควบคุม พฤติกรรมทางเพศตัวละครชายและหญิงผFานขUอหUามและคำสอน อันแสดงใหUเห็นทั้งทัศนคติที่ดี ทัศนคติ ที่ไมFดี และการใหUคุณคFาพฤติกรรมทางเพศของตัวละคร ปฏิบัติการทางศาสนาก็มีสFวนในการควบคุม พฤติกรรมทางเพศตัวละครทั้งชายและหญิงเชFนเดียวกัน โดยการอUางถึงความเชื่อทางศาสนาเป_น บทลงโทษใหUกับตัวละครที่ประพฤติผิดตFอศีลธรรมทางเพศ เพื่อแสดงใหUเห็นวFาเมื่อตัวละครประพฤติ ขัดแยUงกับหลักศีลธรรมทางเพศ จะทำใหUความสัมพันธ9ทางเพศระหวFางตัวละครชายและหญิงประสบกับ

47 บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 47 ความทุกข9 สFวนปฏิบัติการทางเพศของสังคมนั้น สถาบันทางครอบครัว และสถาบันกษัตริยจ9 ะมีบทบาท ของความสัมพันธ9ของตัวละครชายและหญิงที่เป_นคูFรักกัน ทั้งในดUานการยอมรับใหUคุณคFา และลงโทษ อันแสดงใหUเห็นถึงระบบของอำนาจชายเป_นใหญFที่คอยควบคุมผูUหญิงใหUเป_นเสมือนสิ่งเสริมบารมีเป_นแมF และเมียทดี่ ี

48 48 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Apichat Khamwiloet. 2 0 1 3 . Sexuality of the Characters in Isan Literature. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This study aimed to explore sexuality of characters in Isan local literature on the aspects of belief, sexual desire, and sexual practice. In this respect, six Isan local literatures, namely Kalaket, Khulu- Nang-ua, Nang Tang-orn, Nang Pom Horm, Pardaeng- Nang-ai, and Sangsinchai were analyzed using sexuality theoretical framework. Results of the study showed that both male and female characters believed that a bad spirit ruined their sexual relationship, and was a symbol of sexually immoral persons. Those characters believed that a good spirit assisted to maintain their sexual relationship. They also believed in god, Buddhism, black magic, Thaen god and Nan destiny, all of which were their spiritual refuges when facing relationship crisis. In general, both male and female characters acted upon those beliefs to maintain the smooth relationship. Such acts, particularly the belief of black magic, yielded both positive and negative effects on the main characters as well as others. Belief in Buddhism controlled sexual behavior of male and female characters. Both male and female characters also believed that they could meet their soul mates in a foretelling dream. The results of the study also indicated that sexual desire of both male and female characters derived from physical appearances. Those characters then had to seek for ways to respond their desire. The characters, especially female demon and giant, could openly show their sexual desire. In contrast, elite female characters had to keep their desire as they were controlled by the tradition and certain beliefs. Nonetheless, the elite ladies sometimes violated the tradition due to their sexual drive. On the aspect of sexual practice, the characters were seen conducting such practice in public area, particularly in a parade, a forest, and religious festivals. Their desire affected them and other people’s happiness or sadness. When male and female characters in Isan literature conducted sexual practice, they did it in accordance to the traditional regulation. Such phenomenon reflected both good and bad attitudes as well as reflected how each

49 บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 49 character valued the sexual practice. Religious practice also took part in controlling sexual practice. In so doing, religious doctrine was used as the criteria of punishment when an immoral sexual conduction occurred. This confirmed that conducting immoral sexual practice resulted in sexual relationship crisis. In terms of social aspect, family as well as monarchy institutions played important roles in approving, valuing, and punishing male and female lovers. This phenomenon reflected patriarchal system in which women were treated as the tools to potentiate men.

50 50 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย เบญจนา เสนไสย. 2556. การเลือกภาษาและการสลับภาษาระหว7างภาษาเขมรถิ่นไทยและ ภาษาไทยกลาง ของชาวบbานหนองเขb ตำบลสุขไพบูลย: อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารยท: ี่ปรึกษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จันทร9เทาว9 บทคดั ย7อ การวิจัยน้ีเป_นงานศึกษาเชิงภาษาศาสตร9สังคม (Sociolinguistics) โดยมวี ัตถุประสงค9เพื่อศึกษา การเลือกภาษาของชาวบUานหนองเขU ตำบลสุขไพบูลย9 อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา และการสลับ ภาษาระหวFางภาษาเขมรถิ่นไทย และภาษาไทยกลาง ของชาวบUานหนองเขU ตำบลสุขไพบูลย9 อำเภอเสิง สาง จังหวัดนครราชสีมา เก็บขUอมูลดUวยแบบสอบถามและการสัมภาษณ9เชิงลึก กลุFมตัวอยFางแบFงเป_น 2 กลุFม โดยกำหนดป®จจัยหลักดUานเพศและอายุ ไดUแกF เพศชายเพศหญิง อายุ 15 - 25 ปé และ 45 - 55 ปé จำนวน 40 คน ผลการวิเคราะห9การเลือกภาษาตามแวดวง พบวFา กลุFมเพศชายมีการใชUภาษาเขมรถิ่นไทยกับ สมาชิกในครอบครัวมากที่สุด ตามดUวยใชUพูดกับพระสงฆ9 และเจUาของรUานคUา สFวนแวดวงนอกชุมชน พบวFา ภาษาเขมรถิ่นไทยพูดในสถานที่ราชการโดยใชUพูดกับคนทั่วไป สFวนภาษาไทยกลางนั้นในชุมชน พบวFา เพศหญิงใชUพูดกับเพื่อนบUานมากกวFาเพศชายและทั้งสองกลุFมใชUพูดในสถานที่ราชการกับบุคคลที่ เปน_ เจาU หนาU ทหี่ รือเจUาพนกั งาน ผลการวิเคราะห9เรื่องการสลับภาษาเขมรถิ่นไทยและภาษาไทยกลาง พบวFาเพศชายกลFุม อายุมาก มีการสลับภาษาสูงที่สุด สFวนเพศชายและเพศหญิงกลุFมอายุนUอย มีการสลับภาษาในระดับต่ำ และไมFแตกตFางกัน ดังนั้นป®จจัยดUานอายุมีผลทำใหUเกิดการสลับภาษาท่ีแตกตFางกันมากกวFาป®จจัยดUาน เพศ ป®จจัยที่สFงผลตFอการสลับภาษาที่พบในผลการวิจัยครั้งนี้มี 4 ป®จจัย คือ 1) เนื่องจากคูFสนทนาใชU ภาษาไทยกลาง 2) ตUองการอธิบาย ขยายความ 3) ตUองการสื่ออารมณ9 และ 4) เพื่อพูดถึงเรื่องท่ีเป_น ทางการ

51 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 51 Benjana Sensai. 2013. Language choice and Code Switching between Khmer Dialect and Central Thai Dialect of Nong-Khae Villagers, Suk-Paiboon, Saeng-Sang District, Nakhon Ratchasima Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This is a sociolinguistic research, aiming to study language choice and code switching between Khmer dialect and Central Thai dialect of Nong-Khae Villagers, Suk-Paiboon, Saeng-Sang District, Nakhon Ratchasima Province. Data collection was accomplished with questionnaires and in-depth interviews. The samples were divided into 2 groups, according to genders and ages: male and female between 1 5 - 2 5 years old, and 45-55 years old, totaling 40 persons. The research results were found that language choice used in different domains and revealed that outside village the Khmer dialect was used the most among male group spoken with the family members, with monks, also with shop keepers. Outside the village, Khmer dialect was used in the government offices with ordinary people. While in inside village, The Central Thai dialect was used the most by the female group with their neighbors. The both genders used Central Thai dialect in the government offices with the officers. For code switching between Khmer dialect and Central Thai dialect revealed that the older male group has the most code switching. The younger group have lower rate of code switching. There fore , age as social factor of code switching has more an effect than gender. The other factors of code switching, the research finding was found that there are 4 factor; 1) an interlocutors spoken Central Thai dialect 2) for explanation or interpretation 3) for present feeling and 4) in formal communication.

52 52 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย เพียงพิมล กองวารี. 2556. การศึกษาภาษาและการสะทbอนอัตลักษณ:ของชุมชนคนโคราช ผ7าน เนื้อหาเพลงโคราช. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารยป: รึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.พรสวรรค9 สุวรรณธาดา บทคัดย7อ การศึกษา ภาษาและการสะทUอนอัตลักษณ9ของชุมชนคนโคราชผFานเนื้อหาเพลงโคราช มีวัตถุประสงค9เพื่อ 1) ศึกษาภาษาในกลอนเพลงโคราช 2) ศึกษาการสะทUอนอัตลักษณ9ชุมชนคนโคราช ผFานเนื้อหาเพลงโคราช ในการวิจัยครั้งน้ีเป_นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชUกรอบแนวคิดอัตลักษณแ9 ละการ ใชUภาษา ขUอมูลที่ใชUในการศึกษามาจากการรวบรวมกลอนเพลงโคราช การสัมภาษณ9เจาะลึกกลุFม ตัวอยFางศิลป´นเพลงโคราช วิเคราะห9 ภาษา และเนื้อหาเกี่ยวกับการสะทUอนอัตลักษณ9ของชุมชนคน โคราชผFานเนื้อหาเพลงโคราช จากครูเพลง 4 คณะ จังหวัดนครราชสีมา อำเภอเมือง 2 คณะ ไดUแกF คณะกำป¶®น บUานแทFน คณะสุทธี หนองไผF อำเภอโนนสูง 2 คณะ ไดUแกF คณะสม ดอนแตUว คณะสำเรียง ไพล รวมทั้งสิ้น 75 กลอนเพลง เป_นการเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบวFา เพลงโคราชเป_นเพลง ปฏิพากย9ซึ่งมีลีลาทFารำเป_นเอกลักษณเ9 ฉพาะตัว บทรUองมีทFวงทำนองและภาษาทUองถิ่น มีสัมผัสที่ไพเราะ โดยไมFมีเครื่องดนตรีประกอบการแสดง ภาษาในกลอนเพลงโคราชมีบทบาทในการถFายทอดภาษาถิ่น โคราชที่เป_นลักษณ9ของชาวโคราช โดยผูUฟ®งชาวโคราชไดUซึมซับ เรียนรUูและเกิดความภาคภูมิใจในภาษา ถิ่น ขณะเดียวกันผูUฟ®งที่ไมFใชFชาวโคราชก็ไดUชื่นชมอัตลักษณ9ดUานภาษาที่โดดเดFนของชาวโคราชผFาน การฟ®งเพลงโคราช เนื้อหาของเพลงทำหนUาท่ีในการถFายทอดวิถีชีวิตของชุมชน คนฟ®งเพลงโคราชรูUจัก สถานที่ทFองเที่ยว อาหารการกิน ภูมิป®ญญา การดำรงชีวิตที่งดงามตามแบบฉบับโคราชผFานเนื้อหาที่ สอดแทรกในเพลง ทำใหUคนโคราชเกิดความภูมิใจ และนักทFองเที่ยวตFางถิ่นอยากมาเที่ยวชมจังหวัด นครราชสีมา จากการศึกษายังพบวFาสิ่งที่สะทUอนใหUเห็นชัดเจนถึงอัตลักษณ9ความเป_นตัวตนของคน โคราช คือ ความเชื่อในสิ่งที่อยูFเหนือธรรมชาติ ยึดมั่นในศาสนาและเชื่อในกฎแหFงกรรม โดยคนโคราชจะ นำเอาความเช่ือเหลาF น้มี าใชUเป_นสอื่ ในการสัง่ สอนโดยถFายทอดผFานเน้อื หาของเพลงโคราช

53 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 53 Piangpimon Kongwaree. 2013. Studying Language and Self – Reflection Identity of Korat Community through the Content of Korat Folksong Lyrics. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Pornsawan Suwanthada ABSTRACT The purposes of studying language and self – reflection identity of Korat Commumity through the content of Korat Folksong Lyrics were 1) to study language on poems of Korat Folksong Lyrics and 2) to study self – reflection identity of Korat Commumity through the content of Korat Folksong Lyrics. This research was a Quantitative one by using identity conceptual framework. Data for the study were collected from poems of Korat folksong lyrics and In-depth interview the samples of Korat local singers including 4 Korat song teachers teams by choosing two teams : Kampan Bantaen and Sutthi Nongphai teams in Muang district and from the other two teams : Som Dontaew and Samrieng Plai teams in Nonsung district. The language and content about the reflection identity of Korat communities of 75 poems from Korat Folksong Lyrics were selected by purposive sampling and analyzed. Results of the study showned that Korat songwas a retort one which had the identity dancing style. Songs had the melody and local language with beautiful rhyme without music instruments for performance. Language in Korat songs had the role for passing on knowledge of Korat local language which was the identity of Korat communities. Korat listeners could absorb learning and be proud of Korat dialect. At the same time listeners who were not Korat people were also proud of the outstanding Korat identity language through Korat folksong lyrics. The content of Korat folksong lyrics could transmit ways of lives of communities. Listeners could learn about tourist attractions, food, folk wisdom and beautiful ways of lives of Korat people which could promote tourists to visit Korat. Furthermore; from the study it could be seen clearly that the identity of self – reflection identity of Korat communities were about the belief of supernatural, faith in religion and reciprocal deeds. Korat people would lead these to teach people by transmittance them through Korat folksong lyrics.

54 54 ⬗ บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย เมตตา ฟองฤทธิ์. 2556. การสลับภาษาระหว7างภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสานของนักจัดรายการ วิทยุ ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดขอนแก7น. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การสลับภาษาระหวFางภาษาไทยกลางและภาษาไทย ถิ่นอีสานของนักจัดรายการวิทยุ โดยมีวัตถุประสงค9 คือ เพื่อศึกษาลักษณะการสลับภาษาไทยกลาง และ ภาษาไทยถิ่นอีสานของนักจัดรายการวิทยุ ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดขอนแกFน ในดUาน วลี ประโยค และขUอความ และเพื่อศึกษาป®จจัยที่สัมพันธ9ตFอการสลับภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสานของ นักจัดรายการวิทยุ ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดขอนแกFน กลุFมตัวอยFางในการวิจัย ไดUแกF นักจัดรายการ วิทยุแนวเพลงลูกทุFงในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดขอนแกFน จำนวนทั้งสิ้น 4 คน เป_นชาย 2 คน และ หญิง 2 คน เครอื่ งมอื ท่ใี ชUในการเกบ็ ขUอมลู ไดUแกFการบันทกึ เทปรายการ ผลการศึกษาจากการสลับภาษาจากภาษาไทยกลางมาเป_นภาษาไทยถิ่นอีสาน และสลับภาษา จากภาษาไทยถิ่นอีสานมาเป_นภาษาไทยกลาง พบวFามีลักษณะการสลับภาษาในดUานวลี พบมากที่สุด รองลงมาคือดUานประโยคและขUอความ ตามลำดับ สFวนป®จจัยที่สัมพันธ9ตFอการสลับภาษา ดUานหนUาที่ของ การสลับภาษาพบวFามี 3 หนUาที่ ไดUแกF เนUนย้ำการอธิบายและแสดงความรูUสึก พบวFาหนUาที่ของการสลับ ภาษาเพื่อการอธิบายมากที่สุด รองลงมาคือเพื่อการเนUนย้ำและเพื่อการแสดงความรูUสึก ตามลำดับ สFวนดUานป®จจัยที่ทำใหUเกิดการสลับภาษาพบวFามี 4 ป®จจัย ไดUแกF ชื่อเฉพาะ ความเป_นทางการ เรื่องที่พูด และภาษาแมF พบป®จจัยที่ทำใหUเกิดการสลับภาษามากที่สุด คือ ชื่อเฉพาะ รองลงมาคือเรื่องที่พูด ภาษา แมFและความเปน_ ทางการ ตามลำดบั

55 บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 55 Metta Fongrit. 2013. Code Switching between The Central Thai Dialect and the Northeastern Thai dialect of Radio DJ in Muang Municipality, Khon Kaen Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The purpose of this research is to analyze code switching between central Thai and northeastern Thai dialects of the radio DJs in Muang municipality Khon Kaen province in the aspects of phrases, sentences and paragraph. This also aims studying about functions and factors that relate to code switching between central Thai and northeastern Thai dialects of radio DJs in Muang municipality Khon Kaen province. The study has been done by recording the radio programs of 4 folk music radio DJs in Muang municipality Khon Kaen province, and the 4 of the DJs are 2 male DJs and 2 female ones. The study of code switching from the central Thai dialect to the northeastern Thai dialect and code switching from the northeastern Thai dialect to the central Thai dialect shows that code switching in phrases is the most found, and the second one is code switching in sentences, and code switching in paragraph is the least one found. There are 3 language functions found in code switching such as; toemphasize, to explain and to express feelings. And code switching is used to explain the most, the less one used is to emphasize, and to express feelings is the least one used. And there are 4 factors of code switching such as; specific names, formality, topics and mother tongue. The factor that causes code switching most is specific names, the less one does the same is the topic, then the mother tongue, and the least one does is formality.

56 56 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย โศภิษฐ9 สุFมมาตย9. 2556. ผbูหญิงและธรรมชาติในนวนิยายของถ7ายเถา สุจริตกุลโดยใชbทฤษฎีสตรี นิยมเชิงนิเวศ. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ท่ีปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพยี ยรุ ะ บทคัดยอ7 งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค9ในการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห9ความสัมพันธ9ระหวFางผูUหญิงกับ ธรรมชาติ โดยใชUทฤษฎีสตรีนิยมเชิงนิเวศ และเป_นการประยุกต9ใชUทฤษฎีการวิจารณ9วรรณกรรมของ ตะวันตกมาประยุกต9ใชUในวรรณกรรมไทย โดยศึกษาจากผลงานของถFายเถา สุจริตกุล จำนวน 3 เลFม คือ มงกุฎดอกสUม, ดอกสUมสีทอง และตุπกตาในปาû หนาว ผลการศึกษาพบวFา ถFายเถา สุจริตกุล ไดUใชUธรรมชาติในการเชื่อมโยงตามกรอบแนวคิด ของ Warren (1993) ในงานของตน 4 ประเด็น คือ 1) การเชื่อมโยงในทางมโนทัศน9 2) การเชื่อมโยงโดย หลกั ฐานเชิงประจกั ษ9 3) การเช่อื มโยงโดยสญั ลักษณ9 และ 4) การเชื่อมโยงโดยจริยธรรม ซึง่ การเชื่อมโยง ผูUหญิงกับธรรมชาติในงานวรรณกรรมของถFายเถาสุจริตกุลทั้ง 4 ประเด็นนี้ผูUวิจัยไดUนำมาจัดหมวดหมูFไดU ใหมเF ป_น 2 กลFุม คือ กลFมุ ท่เี ปน_ นามธรรมกบั กลุFมทเี่ ปน_ รูปธรรม ดังตFอไปน้ี การเชื่อมโยงผูUหญิงกับธรรมชาติเชิงนามธรรมพบวFา ในงานของถFายเถา สุจริตกุล ไดUเปรียบ ผูUหญิงกับธรรมชาติที่ไมFสามารถจับตUองไดU โดยอาศัยการแสดงอารมณ9ความรูUสึกของตัวละครหญิงที่ถูก กดขี่ขFมเหงกับธรรมชาติเป_นตัวเปรียบ และความหวาดกลัวตFอภยันอันตรายโดยเปรียบกับธรรมชาติดUาน มืด ซึ่งปรากฏการณ9เชื่อมโยงเชิงนามธรรมที่แสดงออกใหUเห็นในทางมโนทัศน9ในสังคมชายเป_นใหญF และ การเชอ่ื มโยงดาU นจริยธรรมซ่ึงบFงบอกถงึ ความตระหนักและเห็นคุณคาF ของผูหU ญิงและธรรมชาติ การเช่อื มโยงผูหU ญิงกับธรรมชาติเชิงรปู ธรรมพบวFา ในงานของถาF ยเถา สจุ รติ กลุ ไดUเปรยี บผูหU ญงิ กับธรรมชาติเสมือนวัตถุ สิ่งของ ดอกไมU สิ่งที่มีชีวิตและไมFมีชีวิต ซึ่งปรากฏการเชื่อมโยงเชิงรูปธรรมที่ แสดงออกใหUเห็นในทางหลักฐานเชิงประจักษ9โดยวิธีการขFมขืน การเปรียบผูUหญิงใหUเป_นเพียงวัตถุบำบัด ความใครFเพื่อกดขี่ขFมเหง ในการเชื่อมโยงโดยสัญลักษณ9นั้นมีการใชUทั้งพืชและสัตว9เป_นอาการของพืช ดอกไมU ตUนไมUใชUแสดงถึงความรUายกาจและดUานมืดของตัวละครหญิง เพื่อจัดใหUผูUหญิงไปอยูFในปริมณฑล ของธรรมชาติ มีการใชUสัตว9เป_นสัญลักษณ9แทนความดุรUายและความนFากลัว การใชUสัญชาตญาณสัตว9 แทนดUานมืดของธรรมชาติและผูUหญิง การใชUสัตว9ที่สวยงามแทนความรUายกาจ การใชUสัตว9เพื่อแสดงใหU เห็นถึงการกดขี่ ขFมเหง การลดคุณคFาของผูUหญิงดUวยการนำไปเปรียบกับสัตว9ที่ไมFมีสมอง และการใชU รูปกายภายนอกที่อัปลักษณ9เป_นการลดคFาของตัวละครหญิง การใชUอากัปกิริยาของสัตว9แทนอารมณ9 ความรูUสึกของตัวละครหญิง และการสลับภาษาธรรมชาติกับมนุษย9เพศหญิง เพื่อลดคFาของผูUหญิงใหUเห็น อยFางชดั เจนวFาถูกบงั คับใหUไปอยFูในปรมิ ณฑลของธรรมชาติ

57 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 57 Sopit Soommart. 2013. Women and Nature in Thaaithao Sutjaritgoon’s Novels: Ecofeminist Approach. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This research aimed to analyze the women-nature connections in literary works, based on ecofeminism theory. This study applied the western theory of criticism on literary works to the three Thai literary works produced by Thaaithao Sutjaritgoon: Mongkut Dok Som, Dok Som Si Thong, and Tukata Nai Pa Nao. The study found that women in Thaaithao Sutjaritgoon’s works were connected to nature and could be analyzed by Warren’s conceptual framework (1993) of (1) conceptual connections, (2) empirical and experiential connections, (3) symbolic connections, and (4) ethical connections. From women-nature connections in these literary works, the researcher categorized it into two groups: abstract and concrete, as follows. For women-nature connections on abstract side, it was found that Thaaithao Sutjaritgoon connected women to the nature which was intangible. The feelings of bullied female characters were connected to the nature, and their fear of danger was compared with the nature on its dark side. These were expressed through the conceptual connections in patriarchal society and also through ethical connections which entailed awareness and value of women and the nature. On concrete side, Thaithao Sujaritkul connected women to the nature as materials, items, flowers as well as living and non-living creatures. This concrete side could be seen from empirical and experiential connections like rapes, which women were oppressed and treated as sex objects. In symbolic connections, both animals and plants were connected with women. As to connect women to the nature, appearances of plants, flowers and trees were used to express cruelty and dark side of the female characters. Animals were symbols of wildness and dreadfulness; animal instincts represented the dark side of nature and women. Beautiful animals were used to represent savagery. Moreover, animals were exploited to decrease woman value by

58 58 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย being connected to animals without brains or an ability to think. The use of animals’ physical defection and ugliness was also intended to devalue women. The connection of animal postures to female characters’ negative feelings and temper emphasized a decrease in woman value in a way that women were forced into the nature boundary.

59 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 59 จักรกริช โพธิ์ศรี. 2557. การนำเสนอภาพแทนของรักร7วมเพศชายในเพลงลูกทุ7งและหมอลำ. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกนF . อาจารยท: ปี่ รึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพยี ยุระ บทคดั ย7อ วิทยานิพนธ9เรื่อง การนำเสนอภาพแทนของรักรFวมเพศชายในเพลงลูกทุFงและหมอลำมี วัตถุประสงค9ในการศึกษาคือเพื่อวิเคราะห9การสื่อความหมายของตัวละครรักรFวมเพศชายที่ปรากฏใน เพลงลูกทุFงและหมอลำและวิเคราะห9ภาพแทนของรักรFวมเพศชายที่ปรากฏในเพลงลูกทุFงและหมอลำโดย มีขอบเขตดUานเนื้อหาเป_นเพลงลูกทุFงและหมอลำที่มีเนื้อหาเกี่ยวขUองกับรักรFวมเพศชายตั้งแตF ปé พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2556 โดยขUอมูลจะตUองปรากฏในรูปแบบของแผFนบันทึกเสียงหรือเทป บันทึกเสียงทงั้ หมดจำนวน 25 เพลง ผลการศึกษาพบวFาการสื่อความหมายของตัวละครรักรFวมเพศชายที่ ปรากฏในเพลงลูกทุFงและตัวหมายผูUวิจัยไดUใชUทฤษฎีสัญวิทยา (Semiology) ของ Ferdinand (1974) เพื่อศึกษากระบวนการสื่อความหมายจากการสื่อความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย พบวFา ปรากฏตวั หมายทัง้ หมด 8 กลุFม คอื 1) เกย9 2) กะเทย 3) สาวประเภทสอง 4) ประเทอื ง 5) แตว∫ 6) หญงิ เทียม 7) แอπบแมนหรือผูUชายแอπบแมน และ 8) เพลงที่ไมFปรากฏการใชUคำเรียกแทนตัวละครรักรFวมเพศ ชายในแตFละตัวหมายจะมีการแสดงความหมายที่แตกตFางกันไป คือ ประการแรก คือ ความหมาย โดยตรงในลักษณะที่เป_นการแสดงบุคลิกเหมือนผูUชาย แสดงออกเป_นบางครั้ง หรือสามารถคบหาไดUทั้ง สองเพศพบในตัวหมายที่เป_น เกย9 กะเทย (สFวนนUอย) และผูUชายแอπบแมน ประการที่สองแสดงบุคลิกท่ี แสดงออกเต็มที่ แตFงตัวเลียนแบบผูUหญิง พบในตัวหมายที่เป_น กะเทย สาวประเภทสอง ประเทือง แต∫ว และหญิงเทียม ในสFวนของการสื่อความหมายโดยนัยพบวFา มีการสื่อความหมายท่ีตอกย้ำถึงพฤติกรรม และทัศนคติในลักษณะที่โนUมเอียงไปในทางลบตFอรักรFวมเพศชาย แมUจะถูกมองวFาเป_นตัวแทนของความ สนุกสนานสรUางสีสันใหUกับสังคมก็ตาม สFวนในประเด็นการสื่อความหมายจากน้ำเสียงของผูUแตFงและตัว ละครรักรFวมเพศชายพบวFาปรากฏลักษณะการใชUน้ำเสียงในการสื่อความหมายทั้งหมด 11 ลักษณะ น้ำเสียง คือ 1) สดใสรFาเริงตลกขบขันสนุกสนาน 2) ประชดประชันเสียดสี 3) แรUนแคUน 4) เด็ดเดี่ยว 5) ชักชวน 6) อUอนวอนขอรUอง 7) นUอยเนื้อต่ำใจ 8) เอือมระอา 9) โกรธเคืองดุเดือด 10) ผิดหวัง 11) งุนงงสับสน ซึ่งน้ำเสียงที่ปรากฏเป_นประเด็นที่สามารถวิเคราะห9การสื่อความหมายโดยนัยใหUมี ความชัดเจนมากยิง่ ข้นึ ในสFวนของการศึกษาภาพแทนของรักรFวมเพศชายในเพลงลูกทุFงและหมอลำ ผูUวิจัยไดUใชUทฤษฎี ภาพแทน (Representation) ของ Stuart Hall (1980) เป_นทฤษฎีหลักในการวิเคราะห9ขUอมูล โดย ศึกษาถึงป®จจัยที่สFงผลตFอการแสดงความหมายของภาพแทนรักรFวมเพศชายในเพลงลูกทุFงและหมอลำ

60 60 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย พบวFาสามารถแบFงกลุFมตัวหมาย ออกไดUเป_น 2 กลุFม คือ ภาพแทนของเกย9และภาพแทนของกะเทย ซึ่งปรากฏภาพแทนทั้งหมด 4 ประเภท คือ 1) ภาพแทนท่ีเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ9ทางเพศและการรFวมเพศ 2) ภาพแทนที่เกี่ยวกับมุมมองทางดUานความรัก 3) ภาพแทนที่เกี่ยวกับตัวตนของรักรFวมเพศ และ 4) ภาพแทนที่เกี่ยวกับทัศนคติของสังคมตFอรักรFวมเพศโดยมีป®จจัยทางวัฒนธรรม ทั้งที่เป_นป®จจัยท่ี เช่ือมโยงกับบริบทภายนอกและปจ® จยั ภายใน มาเป_นปจ® จยั หลกั ในการสราU งความหมายผาF นภาพแทน

61 บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 61 Jarkkirch Posri. 2014. The Representation of Male Homosexuals in Folk Songs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT The study of The Representation of Male Homosexuals in Folk Songs aims to analyze how the homosexual characters in Thai folk songs convey messages and meanings in the songs. In addition, the study aims to analyze the representation of male homosexuals shown in the Thai folk songs. The scope of this study covers 2 6 Thai folk songs with contents related to male homosexuality composed in 2003 to 2013, of which information must be presented in the form of CD or tape records. The researcher applied Semiology theory by Ferdinand de Saussure ( 1 9 7 4 ) to study the process of male homosexuals representation both denotation and connotation. It was found that there are 8 groups of word representations including 1) Gay 2) Katoey 3) Sao Prapet Sorng or Ladyboy 4) Pratueng 5) Taew 6) Ying Tiam, 7) Ab Man or Poochai Ab Man, and 8) the songs that do not contain words to represent male homosexuality. Each of the word representation has different meaning. Firstly, direct representations that project male- dominant characteristics, whose homosexuality characteristics are sometimes displayed or those who can be engaged in relationship with both heterosexual and homosexual. This group is represented by words including Gay, Katoey, and Poochai Ab Man. Secondly, feminine characteristics are displayed completely and openly by dressing up to imitate female characteristics found in word representations including Katoey, Sao Prapet Sorng, Pratueng, Taew, and Ying Tiam. With regards to the implicit representations, it was found that the representations convey meanings that emphasize the behaviors and attitudes implying negativity toward the male homosexuals, despite the perception that the male homosexuals represent fun and colorful atmosphere for the society. Furthermore, on the aspect of the authors’ and the homosexual characters’ tone, it was found that there are 11 types of tones to construct meanings and representations. These representations include 1) cheerful, humorous, fun; 2) sarcasm and insulting; 3) pathetic; 4) persistent; 5) persuasive or inviting; 6) begging; 7) feeling neglected; 8) being tired of things; 9) angry;

62 62 ⬗ บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย 1 0 ) feeling disappointed; 1 1 ) confusing. The tone of voices can be analyzed to clarify interpretation of the implicit representations. To study the representation of male homosexuality in Thai folk songs, the researcher uses the Theory of Representation by Stuart Hall (1980) as the basis for data analysis. This research was conducted to study factors impacting the connotation of male homosexual representation in Thai folk songs. The study found that group of representations can be divided into 2 groups including representation of gay men and representation of Katoey. It was shown that there are 4 representations include 1) representations related to sexual interaction and sexual intercourse, 2) representations related to perception of love, 3 ) representations related to the self-identity of the homosexuals, and 4 ) representations related to social attitude toward homosexuality. Cultural factors, both related to external context and internal factors have been major factors contributing to the construction of meanings using the representations.

63 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 63 ณิตาวรรณ โพธิ์ไหม. 2557. การเชื่อมโยงความในเรียงความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนดงมะไฟวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ดร.ศุภกิต บวั ขาว บทคัดยอ7 การศึกษาการเชื่อมโยงความในเรียงความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียน คงมะไฟวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดยเก็บขUอมูลเรียงความจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 4 - 6 ทกุ คน โดยไมกF ำหนดหวั ขอU เรือ่ ง จำนวน 113 คน คนละ 1 เรอ่ื ง รวมจำนวน 113 สำนวน การศึกษาโครงสรUางของเรียงความ พบสFวนประกอบ 3 สFวน คือ สFวนนำ สFวนเนื้อเรื่อง และ สFวนสรุปโดยสFวนนำไดUนำชื่อเรื่องมาเขียนเริ่มประโยคแรก อธิบายความหมายจากชื่อเรื่อง และการนำ เรื่องโดยการแนะนำตนเอง สFวนเนื้อเรื่องนักเรียนเขียนโดยการยกตัวอยFางประกอบ และพบการเขียน สFวนสรุป คือ การเขียนดUวยการแสดงความเห็น การตั้งคำถามใหUผูUอFานเกิดการฉุกคิดการใชUคำเพื่อเนUนย้ำ หรอื สรุปเรอ่ื งท่กี ลFาวนำมากFอน การศึกษานี้พบการเชื่อมโยงความโดยการใชUคำเชื่อมมากที่สุด คือ การเชื่อมโยงความแสดง ความคลUอยตามพบมากที่สุดรUอยละ 14.66 ซึ่งแสดงถึงการเขียนเรียงรUอยเรื่องราวเพื่อใหUผูUอFานเกิดความ เขUาใจอยFางมีความตFอเนื่อง นอกจากนี้ยังพบการใชUคำเชื่อมเพื่อแสดงตัวอยFางรUอยละ 7.69 การใชU คำเชื่อมเพื่อขยายความรUอยละ 13.43 การใชUคำเชื่อมเพื่อแสดงเงื่อนไข รUอยละ 15.38 การใชUคำเชื่อม เพื่อแสดงเหตุรUอยละ 12.94 การใชUคำเชื่อมเพื่อแสดงความขัดแยUง รUอยละ 3.81 การใชUคำเชื่อมเพื่อ แสดงการเปรียบเทียบ รUอยละ 17.30 การใชUคำเชื่อมเพื่อแสดงการสรุปความ รUอยละ 2.65 การใชU คำเชื่อมเพื่อแสดงการใหUเลือก รUอยละ 1.70 และการใชUคำเชื่อมเพื่อแสดงการแยกสFวน รUอยละ 5.78 สำหรับการเชื่อมโยงความโดยการอUางถึง พบการอUางถึงดUวยบุรุษสรรพนาม เนื่องจากเรียงความที่ นักเรียนเขียนมีความเป_นทางการนUอย จึงปรากฏคำที่บFงบอกถึงความเป_นกันเอง พบวFามีความแตกตFาง กันขึ้นอยูFกับเรื่องที่เขียน ความถี่การอUางถึงดUวยสรรพนามบุรุษที่ 1 เอกพจน9คือฉันมากที่สุด รUอยละ 36.87 การอUางถึงดUวยคำนามที่ใชUเป_นสรรพนาม รUอยละ 19.97 การอUางถึงดUวยสุญญสรรพนาม รUอยละ 58.19 การอUางถึงดUวยการชี้เฉพาะ รUอยละ 20.82 และการอUางถึงดUวยการเปรียบเทียบในแงFความตFาง รUอยละ 36.36 การเชื่อมโยงความโดยการละ พบวFาการละหนFวยนามตำแหนFงประธาน รUอยละ 37.72 เป_นลักษณะเดFนของกลวิธีการเชื่อมโยงความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งชFวยใหUการดำเนิน เรื่องมีความกระชับมากยิ่งขึ้น นักเรียนใชUกลวิธีนี้เพื่อเลี่ยงความซ้ำซUอน ผูUอFานสามารถเขUาใจไดUจาก ขUอความที่นำมากFอนและพบการละหนFวยกริยา รUอยละ 35.53 การเชื่อมโยงความโดยการแทนที่พบการ แทนที่หนFวยกริยามากที่สุด รUอยละ 52.20 และการแทนที่หนFวยนาม รUอยละ 47.81 ผูUอFานสามารถ

64 64 ⬗ บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย เขUาใจความหมายหรือเรื่องราวที่ผูUเขียนตUองการสื่อสารไดUโดยไมFตUองอFานเรื่องราวทั้งหมด การเชื่อมโยง ความดUานคำศัพท9 พบการใชUคำที่อยูFในชุดเดียวกันมากที่สุด รUอยละ 26.37 การกลFาวซ้ำรUอยละ 29.23 การใชUคำพUองความ รUอยละ 18.40 การใชUคำจFากลุFม รUอยละ 15.65 การใชUคำตรงขUาม รUอยละ 11.67 และการใชUคำแสดงองคป9 ระกอบยFอย รUอยละ 8.65

65 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 65 Nitawan Phomai. 2014. Cohesion in Composition of High School Students: Dongmafai wittaya School, Muang District, Sakonnakhon Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT The research study aimed to investigate the coherence used in the composition of the students at Dongmafaiwittaya School, Muang District, Sakonnakhon Province. The data were collected from an composition of every high school students 4-6. As a result, 113 compositions were collected. The study found 3 parts of structures in the composition including the introduction, the content and the conclusion. The students tended to use the title, the explanation of the title and the introduction of themselves as an introduction of the composition. Moreover, they were likely to give examples in the contents of the composition. The study also found that in the conclusion, the students tended to write either their opinions, rhetorical questions to stimulate the reader, emphasis of the important words, or summary of the whole composition. The study of the coherence in the composition also revealed that the most frequent used conjunction was the coordinate conjunction 14.66 percent which showed that the students wanted the reader to understand the coherence of the story. Nevertheless, the study found other conjunctions were used including the conjunctions which indicated example, explanation, condition, reason, contradiction, comparison, summary, choice offering, and separation of the context. The coherence of reference showed that the students used pronoun 3rd person in their composition because of the low level of formality. Then their writings were likely to be more casual. The coherence of reference analysis found that the most frequent used of pronoun 1 st person “chan” (1) 36.87 percent was applied differently depended on the subject of the composition 3 6 . 3 6 percent. The ellipsis was found with the frequency. The students used this technique to avoid the complication of the context 3 7 . 7 2 percent so that the reader could easily understand the Previously - mentioned parts. Secondly, the frequency of verb ellipsis. The coherence by using subject ellipsis was the significant method that the

66 66 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย students used to help their stories to be more precise 35.53 percent. The coherence by using verb substitution and noun substitution 52.20 percent. As a result, the reader could understand the meanings or the stories that the writers intended to convey without reading the whole story. The study found the usage of collocation the most 26.37 percent. The other usages namely the repetition 29.23 percent, synonym 18.40 percent hyponymy 15.65 percent, and meronymy 8.65 percent were found respectively because the students used several vocabularies that had similar and enhance the meanings.

67 บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 67 ป´ªนอนงค9 จำปาเงิน. 2557. การแสดงความหมายของการใชbถbอยคำในการใหbคำแนะนำเร่ืองความรัก ในรายการวิทยุ “คลับฟรายเดย:”. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ป่ี รึกษาวิทยานิพนธ:: ดร.ศุภกิต บัวขาว บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การแสดงความหมายของการใชUถUอยคำในการใหU คำแนะนำ เรื่องความรักในรายการวิทยุคลับฟรายเดย9 ตามแนวทางของทฤษฎีการประเมินคFา (Appraisal Theory) ขUอมูลที่ใชUในการศึกษาเก็บจากการบันทึกเทปรายการวิทยคุ ลับฟรายเดย9 จากวิทยุ คลื่นกรีนเวฟ 106.5 MHz เป_นระยะเวลา 6 เดือน คือ ตั้งแตFวันศุกร9ที่ 6 มกราคม จนถึงวันศุกร9ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ซึ่งจะเลือกเฉพาะเทปบันทึกการจัดรายการที่ สายทิพย9 มนตรีกุล ณ อยุธยา กับ นภาพร ไตรวิทย9วารกี ลุ จัดรายการรFวมกนั เทFานัน้ รวมจำนวนขUอมูลทใี่ ชUศึกษาในครง้ั น้ีทง้ั สน้ิ 13 เทป ผลการศึกษาพบวFา การแสดงความหมายของการใชUถUอยคำในการใหUคำแนะนำเรื่องความรัก ใน รายการวิทยุคลับฟรายเดย9มีการแสดงความหมายหลัก ๆ 3 ประเด็น ไดUแกF การแสดงความหมายของ ทัศนคติ การแสดงความหมายของการบอกระดับ และการแสดงความหมายของการผูกมัด การศึกษาใน ครั้งนี้พบวFา 1) การแสดงความหมายของทศั นคติ ผUูพูดจะใชUถUอยคำแสดงทัศนคติทั้งทางบวกและทางลบ ในการใหUคำแนะนำเรื่องความรัก และมีการวางคำบอกปฏิเสธ “ไมF” “ไมFตUอง” และ “อยFา” ไวUขUางหนUา ถUอยคำ เพื่อเปลี่ยนถUอยคำที่แสดงทัศนคติทางลบเป_นทางบวกหรือในทำนองกลับกันก็เปลี่ยนถUอยคำท่ี แสดงทัศนคติทางบวกเป_นทางลบไดU 2) การแสดงความหมายของการบอกระดับมีสFวนประกอบ 2 สFวน คือ สFวนที่ชFวยปรับระดับของความหมายในบริบทของการใหUคำแนะนำใหUเพิ่มขึ้น และสFวนที่ชFวยปรับ ระดับของความหมายใหUลดลง 3) การแสดงความหมายของการผูกมัดสามารถแบFงไดUเป_น 2 สFวน คือ สFวนที่เป_นการผูกมัดผUูพูดเขUากับคำแนะนำ เชFน “พี่วFา” “พี่เชื่อวFา” และการหลีกเลี่ยงการผูกมัดตัวผูUพูด เขUากบั คำแนะนำ ผพูU ดู จะใชกU ารอาU งองิ บุคคลอนื่ นอกจากนี้ ผลการศึกษาครั้งนี้ยังแสดงใหUเห็นดUวยวFาถUอยคำที่ผูUพูดใชUแนะนำจะเชื่อมโยงกับการ แสดงทัศนคติทางบวกของผูUพูดมากกวFาทัศนคติทางลบ เนื่องจากผูUพูดมีความประสงค9ที่จะชี้นำผูUฟ®งวFา ตUองกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งผูUพูดเชื่อวFาสิ่งนั้นจะเป_นประโยชน9กับผูUฟ®ง จึงทำใหUไมพF บถUอยคำที่เป_นการทำ รUายจิตใจผUฟู ง® หรือทำใหผU ูUฟง® ตอU งรูUสกึ อบั อาย และลำบากใจตFอการใหUคำแนะนำเร่ืองความรกั

68 68 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Pinanong Champa-ngeon. 2 0 1 4 . Meaning Expression of Giving Advice on Love in “Club Friday” Radio Program. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT This thesis has its aim to analyze the meaning of word expression in consultancy of love affairs in a radio program “Club Friday” according to Appraisal Theory. The data have been gathered from the 6 month record of the program from Green wave Radio 1 0 6 . 5 MHz: Friday, 6 th January until Friday, 2 9 th June, 2 0 1 2 . The records were used for analyzing only on the day Saythip Montrikun Na Ayuthhaya and Naphaporn Traiwitwarikun broadcast together, totaling 13 records or days. The results show that the expression of words in consultancy of love affairs in a radio program “Club Friday” has three major systems: attitude, graduation, and engagement. It’s found as follows.1) Attitude expression, the speakers used positive and negative attitude of words in consultancy of love affairs, and used preverbal negation “no”, “not”, and “do not” before the expression for changing positive to negative attitude, or vice versa. 2 ) Graduation expression consists of two parts: increasing levels of meaning in the context of consultancy, and decreasing levels of meaning in the context of consultancy. 3 ) Engagement expression consists of two parts: engaging the speakers with the consultancy, such as “I think that”, “I believe that”, and avoiding the speakers with the consultancy by referring to others. Moreover, the results also show that the word expression of consultancy link to positive attitude of the speaker more negative attitude, since the speakers have their purpose to guide the listeners to do something, and the speaker believe that that would be useful for the listeners. Accordingly, the speakers seldom use words hurt the listeners, or causes them shame, frustrated, in giving advice about love affairs.

69 บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 69 ภิญญาพัชญ9 ไพเรืองโสม. 2557. การสรbางอารมณ:สะเทือนใจและแนวคิดในกวีนิพนธ:ของ ไพวรินทร: ขาวงาม. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคดั ย7อ งานวิจัยนี้ มีจุดมุFงหมายเพื่อศึกษาการสรUางอารมณ9สะเทือนใจและแนวคิดในกวีนิพนธ9ของ ไพวรินทร9 ขาวงาม โดยศึกษากวีนิพนธ9 จำนวน 12 เลFม คือ ลำนำวเนจร คำใดจะเอFยไดUดั่งใจ ฤดีกาล คือแรงใจและไฟฝ®น ถนนนักฝ®น มUากUานกลUวย ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีรัก กลอนกลFอมโลก ดวงใจจึงจำนรรจ9 เราจะพบกันอกี ไหม โฉมชวี าอษุ าคะนงึ และ ณ ทีซ่ ่ึงแมโF พสพเคยสถิต ผลการศึกษาพบวFาการสรUางอารมณ9สะเทือนใจในกวีนิพนธ9ของไพวรินทร9 ขาวงาม มี 2 ประการ คือ 1) การเลFาเรื่อง ไดUแกF 1.1) การสรUางเหตุการณ9พลัดพราก เพื่อพรรณนาการพรากจาก วิถีชีวิตใน สังคมเกษตรกรรมและความดีงามของจิตใจมนุษย9ในลักษณะแบบนิราศ ดUวยการมุFงเนUนอารมณ9 ความรูUสึกที่หดหูFเศรUาสรUอยของการจากลา 1.2) การสรUางฉากสถานที่นั้นยังเชื่อมโยงบริบทสำคัญทั้งดUาน สภาพแวดลUอมและดUานอารมณ9ของคนที่อยูFในสถานที่นั้น ๆ ใหUเขUาไปในใจผูUอFานไดU ความหมายที่ผูUอFาน ไดUรับจึงมีความหมายกวUางกวFาชื่อสถานที่เพียงอยFางเดียว 1.3) การสรUางบทสนทนาเป_นลักษณะเดFนท่ี ตFางจากกวีทFานอื่นโดยกวีอยูFในสถานะผUูเลFาเรื่องที่มีสFวนรูUเห็นในเนื้อเรื่องดUวยและไดUสอดแทรกความ คิดเห็นของตนลงไประหวFางการเลFาไดU จึงทำใหUผUูอFานนั้นไดUรับรูU เรื่องราวเสมือนกับไดUอยูFในเหตุการณ9 ลักษณะเชFนนี้จึงทำใหUกวีนิพนธ9ของไพวรินทร9 ขาวงาม มีความโดดเดFน ทำใหUผูUอFานเกิดอารมณ9สะเทือน ใจไปกับเรื่องราวเหตุการณ9ที่ปรากฏไดUมากขึ้น 2) ทFวงทำนองในการเขียนกวีนิพนธ9 ไดUแกF การสรรคำ การเลFนเสียงเลFนคำ การใชUภาพพจน9 การใชUสัญลกั ษณ9 และการเสียดสีและประชดประชัน ซึ่งสรUางความ โดดเดFนในการใชUภาษาไดUอยFางประณีตงดงาม มีคุณคFาและสื่อความหมายที่สรUางอารมณ9สะเทือนใจใหU เกิดกบั ผUูอFานจนตระหนักรUู และเกิดความเขUาใจความเป_นไปในชวี ติ มากข้ึน แนวคิดในกวีนิพนธ9ของไพวรินทร9 ขาวงาม ไดUนำเสนอแนวคิดที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) แนวคิดเกี่ยวกับสังคม ไดUแกF ระบบทุนนิยมทำใหUเกิดความลFมสลายของเกษตรกรรม ความยากจนของ คนชนบทที่ตUองดิ้นรนสูFสังคมเมือง สิ่งแวดลUอมเสื่อมโทรม และระบบการศึกษาที่ไมFพัฒนา การสะทUอน ป®ญหาดังกลFาวทำใหUเกิดความเปลี่ยนแปลงในระบบความคิดและการปฏิบัติตัวของคนเมืองกับคนชนบท ซึ่งสFวนใหญFเกิดจากการไดUรับผลกระทบจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 2) แนวคิดเกี่ยวกับการเมือง ไดUแกF การกลFาวถึงระบบการเมืองการปกครอง ไพวรินทร9 ขาวงาม ไดUสะทUอนถึงการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยที่ลUมเหลว สะทUอนการสูญเสียชีวิตของคนในประเทศ และพฤติกรรมของนักการเมือง ไพวรินทร9 ขาวงาม ไดUสะทUอนพฤติกรรมที่ไมFชอบธรรมของนักการเมืองหวังเขUามากอบโกยผลประโยชน9

70 70 ⬗ บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ใหUตนเองและพวกพUองเป_นพฤติกรรมที่นFารังเกียจ 3) แนวคิดเกี่ยวกับคำสอน ไดUแกF คำสอนเกี่ยวกับ สัจธรรม ไดUชี้ใหUเห็นถึงความไมFเที่ยง ความไรUแกFนสารและความเป_นมายาของชีวิตพรUอมทั้งกระตุUนใหU ผูUอFานใชUดุลยพินิจแสวงหาและตั้งคำถามวFาสิ่งใดที่มีคุณคFายั่งยืนและมีความหมายอันเป_นสารัตถะแทUจริง คำสอนเกี่ยวกับบาป บุญ คุณ โทษ นรก-สวรรค9 เป_นการสื่อความคิดเรื่องบาปและบุญที่แสดงใหUเห็นถึง ความคิดที่ยังยึดติดในการสรUางบุญทำใหUจิตวนเวียนอยูFในสังสารวัฏ ความเชื่อเรื่องการไดUไปสวรรค9ทำใหU จิตก็ยังเต็มไปดUวยกิเลส อยากไดUอยากมีในที่สุดก็ไมFอาจพบทางหลุดพUน ตามหลักธรรมของพุทธศาสนา ไดUและคำสอนเกี่ยวกับอุดมคติในชีวิตนั้นไพวรินทร9ไดUเรียกรUองใหUมนุษย9มีความรักความเสียสละและ ศรัทธาในเสรีภาพและความดีงามการชี้นำใหUสังคมหันมาตระหนักรFวมกัน แนวคิดเกี่ยวกับคำสอนน้ัน ไพวรินทร9 ขาวงาม ไดUสืบทอดขนบความคิดเรื่องการสรUางเสพวรรณคดีเพื่อบรรลุธรรม 4) แนวคิด เกี่ยวกับพันธกิจของกวีและการสรUางสรรค9กวีนิพนธ9 การนำเสนอแนวคิดดังกลFาวสะทUอนใหUเห็นวFา ไพวรินทร9 ขาวงาม ใหUความสำคัญตFอป®ญหาที่เกิดขึ้นในสังคมชี้ใหUเห็นวFา ไพวรินทร9 ขาวงาม ใหU ความสำคัญกับความเป_นไปในสังคมกระตุUนความคิดใหUผูUคนหันมาตระหนักเพื่อใหUสังคมดำรงอยูFไดUดUวย ความรกั และความดงี าม กวีนิพนธ9ของไพวรินทร9 ขาวงาม จึงเป_นวรรณกรรมที่เปéªยมดUวยคุณคFา เป_นศิลปะทาง วรรณศิลป±เพราะมุFงเนUนการสรUางอารมณ9สะเทือนใจตFอผูUอFานเป_นอารมณ9ที่กFอใหUเกิดความสุข ความสลด เวทนาหรือความงอกงามทางความคิดจนเกิดการตระหนักรูUและยกระดับจิตของตนไปสูFความเขUาใจใน สัจธรรมสำหรับการดำรงชีวิตไดU ซึ่งมีสFวนสัมพันธ9กับแนวคิดในการมองโลกและชีวิตของกวีที่มีตFอสังคม รวมถึงบทบาทหนUาที่ที่กวีพึงชี้นำทางความคิดตFอสังคมใหUเพื่อนมนุษยเ9 กิดความตระหนักถึงคุณคFาทาง จิตใจซึ่งลวU นจำเป_นตอF การดำรงอยFูในสังคม

71 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 71 Pinyapat Pairaungsom. 2014. Creating Emotion and Conception in the Poetry of Phaiwarin Khaongam. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT This study aims to analyze the emotional creativities and ideations expressed in the poetry works of PhaiwarinKhaongam. The major works I base my study on are 12 in numbers and they include ‘LamnamWanejorn,’ ‘Kham Dai JaEari Dai Dang Jai,’ ‘Rudee Karl,’ ‘KueRangjaiLaePhaiphan,’ ‘ThanonNukPhan,’ ‘Mar KanKluay,’ ‘Tee Dai MeeRuk Tee Nun MeeRuk,’ ‘KlonKlomLoke,’ ‘Duang Jai Jung Jamnan,’ ‘RaoJaPhobKanEeg Mai,’ ‘ChomeChewaUsaKhanung,’ and ‘Tee Sung Mae Phosope Keri Sathit.’ This study found that in PhaiwarinKhaongam’s poetry works, two methods are being used to create a sense of deep touched emotion in poetic expression. The first method is the telling style. Phaiwarin specifies three styles of telling to create emotional touch appealing poetry. The first is the emotional touch feeling of separation from agrarian life and from love ones (human kindness) in order to express depression and sadness of separations. The second is the creation of background scene that provides physical and emotional contexts conveying the message to the readers. This can communicate the readers which is wider than giving only the name of the place. The third is the creation of the unique dialogue which differs from other writers. The writer is the teller who participates in the story while inserting his own opinions. That makes the readers to learn the story as if they are in the event by themselves. So, this makes PhaiwarinKhaongam’spoetries an outstanding feature in creating more touched appealing events. Secondly, the tone of writing such as choice of words, sound of word, word- picture, symbol and ridicule with sarcasm that creates the uniqueness of language selection with refinement, and valuableness while conveying the meaning that creates emotional touching for the readers. Moreover, such an art of creation is more appealing to the readers to gain a better understanding and realizing the actual life. The ideation in PhaiwarinKhaongam’s poetry works aimed to present four concepts to the readers. Firstly, social ideology; for example: capitalism brings about the collapse of agriculture; poverty pushes rural people to struggle for migration to the city; environmental

72 72 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย degradation and the un-development of education system. The reflection of those problems initiates the changing of ideology and practices of urbanized people to rural people. Secondly, political ideology; for example: PhaiwarinKhaongam’s poetry works reflect the failure of the democratic regime and the loss of people’s lives. Moreover, his poetry works also reflect the disgusting behavior of politicians who were trying to grasp an opportunity to benefit for themselves and their companions but neglecting voices of their voters. Thirdly, moral ideology; for example: using the Buddhist concepts of the ‘three signs of existence’ that points out to the unstableness or impermanency (anicca), nonsensicalness or unsatisfactory (dukkha), andthe illusion or non-self (anatta) of life, while encouraging the readers to be critical and question what the enduring valuableness is? And what is contained in the essence of meaning? In addition, he underlines the doctrine of karma, hell and heaven. In order to explain and convince the people that they are adhering to the idea of hell and heaven, as a result, people make merits while expecting results to come afterwards. Therefore, human’s mind is full of lust and always wanting. At the end, our mind cannot be freed to realizing nirvana. And lastly, the poetic works is focusing on the teaching about ideology of life. Phaiwarin urges people to practice loving-kindness, to be generous and to be ardent for own freedom and good quality of life. The social guidance of PhaiwarinKhaongam is also found in his poetry works which carries the idea of ‘consuming literature for enlightenment.’ Fourthly, the idea of the poet’s obligation and the creation of poetry, the presentation of this idea which reflects what PhaiwarinKhaongam gives priority to social problems and in which he urges people to be concerned in order to create a better society and a better place to live in the world, with love, peace, harmony and goodness. PhaiwarinKhaongam’s poetry worksare such valuable and full of artistic ideation and skillfully crafted language expression. Besides, the poetry works are aimed to create emotional touching to be borne with happiness and sympathy. The poetry works also emphasizes to be creativity, and thoughtfulness in order to understand the true nature of life which links to the vision of the world and society at large. And lastly, Phaiwarin’s poetry works are seen to be focused on the value of mindfulness in which he said ‘that is the essence of social life.’

73 บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 73 วณิชยา สายสุพรรณ9. 2557. ความเปùนโพสต:โมเดิร:นในเพลงลูกทุ7งจากคลื่นวิทยุลูกทุ7งมหานคร 95 FM “มหานครชาร:ต” ตั้งแต7ปü พ.ศ. 2552 - 2554. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ี่ปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ดร.อุมารนิ ทร9 ตลุ ารกั ษ9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาการใชUภาษาและเนื้อหาในบทเพลงจากรายการ ลูกทุFงมหานคร ตั้งแตFปé พ.ศ. 2552 - 2554 โดยใชUแนวคิดโพสต9โมเดิร9นวิเคราะห9ขUอมูลเชิงคุณภาพและ มีการนำเสนอผลการศึกษาแบบพรรณนาวเิ คราะห9 ซึ่งผลการศกึ ษามีดงั น้ี ผลการศึกษาดUานการใชUภาษาและเนื้อหาในบทเพลง พบวFา มีการใชUภาษาในการประพันธ9เพลง ใน 6 ลักษณะ ไดUแกF 1) คำภาษาถิ่น 2) คำทับศัพท9ภาษาอังกฤษ 3) คำแสดงลักษณะ 4) คำเลียนเสียง ธรรมชาติ 5) คำเปรียบเทียบ 6) คำสแลง นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอเนื้อหาของบทเพลงใน 5 ลักษณะ คือ 1) ความรัก 2) การแสดงอารมณ9สนุกสนาน/ตลกขบขัน 3) การพลัดพรากจากถิ่นที่อยูF 4) วิถีการ ดำเนินชีวติ และ 5) คตสิ อนใจ ในสFวนผลการศึกษาความเป_นโพสต9โมเดิร9นในบทเพลงดUานรูปแบบ พบวFา ความเป_น โพสต9โมเดิร9นตามแนวคิดของ Jameson (1984) ปรากฏอยูF 5 ลักษณะ ไดUแกF 1) การผลิตซ้ำ 2) การ ผสมผสาน 3) การปะติดปะตFอ 4) การปฏิเสธระเบียบทางสุนทรียะของบทเพลง และ 5) การใชU สัมพันธบท นอกจากน้ี ยังพบวFาความเป_นโพสต9โมเดิร9นในดUานแนวคิดและเนื้อหา ไดUมีการนำเสนอ แนวคิดและเนื้อหาใน 5 ลักษณะ ไดUแกF 1) สังคมการบริโภคนิยม 2) การปฏิเสธระเบียบกฎเกณฑ9ของ สังคม 3) ความเจริญกUาวหนUาทางเทคโนโลยี 4) การโหยหาอดีต และ 5) การเชื่อมโยงศิลปะกับ ชวี ติ ประจำวันตามลำดบั การศึกษาความเป_นโพสต9โมเดิร9นในเพลงลูกทุFงจากคลื่นวิทยุลูกทุFงมหานคร 95 FM “มหานคร ชาร9ต” ตงั้ แตปF é พ.ศ. 2552 - 2554 แสดงใหเU หน็ วาF บทเพลงมีความเชือ่ มโยงกับแนวคดิ โพสตโ9 มเดริ น9 ซ่ึง ผูUประพันธ9จะรูUตัวหรือไมFรูUตัวก็ตาม บทเพลงมีแนวคิดสมัยใหมFผสมผสานอยูF เป_นพื้นที่ของการปะทะ ประสานทางความคิดแบบเดิมและความคิดสมัยใหมF ซึ่งมีทั้งการผลิตซ้ำ การปะติดปะตFอ ความไรU ระเบียบ การปฏิเสธความเป_นสุนทรียะ ประเด็นเหลFานี้คือปรากฏการณ9ความเป_นโพสต9โมเดิร9นที่ไหล ผFานเขUามาในสังคมไทย แตFอยFางไรก็ตาม บทเพลงยังคงทำหนUาที่เป_นเครื่องบันเทิงใจ ปลอบประโลมใจ และสรUางอุดมการณ9 ตลอดจนการสรUางสำนึกรFวมใหUเกิดขึ้นในสังคม รวมถึงการทำหนUาที่ในการเลFาเรื่อง และบนั ทึกเหตกุ ารณใ9 นสังคมตอF ไป

74 74 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Wanitchaya Saisuphan. 2014. Postmodern in Thai Songs Brodcasting in Lookthoongmahanakorn During 2009 - 2011. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The objective of this thesis is to study the use of language and content in songs from the Lukthung Mahanakorn program from 2009 - 2011. By using the postmodern concept, the qualitative data was analyzed and the results of this study were presented using a qualitative method. descriptive analysis. The results of the study are as follows: The study of language use and content in songs found that there were 6 types of language used in songwriting, namely 1) dialect words 2) English transliteration 3) characteristic words 4) onomatopoeia 5) words. Compare 6) slang. In addition, the content of the song is presented in 5 aspects, namely 1) love 2) fun/comedy expression 3) separation from residence 4) lifestyle and 5) teachings Mind. As for the results of the study of postmodernity in form of music, it was found that postmodernity according to the concept of Jameson (1984) appeared in 5 characteristics, namely 1) Reproduction 2) Reproduction a combination of 3) articulation, 4) rejection of the aesthetic order of the song, and 5) the use of the relationship. It was also found that postmodernism in concept and content Concepts and content were presented in five aspects: 1) consumerism society, 2) rejection of social rules, 3) technological advancement, 4) nostalgia for the past, and 5) linking art to daily life. chronological day. A study of postmodernity in Lukthung songs from Lukthung Maha Nakhon 95 FM “Maha Nakhon Chart” from 2009 to 2011 showed that the songs are linked to postmodern ideas. which the author may or may not know the songs are mixed with modern concepts. It is a space where conventional and modern ideas collide. which has both reproductive patching lawlessness denial of aesthetics These issues are postmodern phenomena that flow through Thai society. However, Music continues to serve as a means of entertainment, consolation, and ideology. as well as creating a collective consciousness to occur in society Including the duty to tell stories and record events in society.

75 บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 75 วรรณภา จันทร9อFอน. 2557. การสื่อความหมายทางวัฒนธรรมและพลวัตของพิธีกรรมแต7งแกbเสีย เคราะห:ของชาวไทพวนบbานผือ อำเภอบbานผือ จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ท่ปี รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ดร.อมุ ารนิ ทร9 ตลุ ารักษ9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมและพลวัตของ พิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9 ของชาวไทพวนบUานผือ อำเภอบUานผือ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งใชUแนวคิดการส่ือ ความหมายและพลวัต โดยศึกษาจากตัวบทซึ่งไดUจากการเก็บขUอมูลภาคสนาม และนำเสนอผลการศึกษา แบบพรรณนาวิเคราะห9 ซ่งึ ผลการศกึ ษามีดังตFอไปน้ี ผลการศึกษาดUานพิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9 ของชาวไทพวนบUานผือ อำเภอบUานผือ จังหวัด อุดรธานี พบวFา ชาวไทพวน ชุมชนบUานผือ อำเภอบUานผือ จังหวัดอุดรธานี มีความเชื่อเรื่องเคราะห9และ พิธีสะเดาะเคราะห9 ตามแบบชาวอีสานท่ัวไป แสดงใหUเห็นวFา จากแตFเดิมชาวไทพวน นับถือผีเจUาและผี บรรพบุรุษ จากนั้นชาวไทพวนไดUมีการอพยพยUายถิ่นฐานมาสูFประเทศไทย และตั้งถิ่นที่บUานผือ ซ่ึง ลUอมรอบดUวยชุมชนชาวอีสาน ความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับ การสะเดาะเคราะห9 ไดUมีการแพรFกระจาย เขUาไปในชุมชนไทพวนบาU นผอื รวมถึงมกี ารรับเอาพระพุทธศาสนาเป_นศาสนาประจำชมุ ชนอีกดUวย จากการศึกษาพบวFา รูปแบบและองค9ประกอบของพิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9พบวFา พิธีกรรมนี้ แบFงออกเป_น 4 ประเภท ประกอบดUวย 1) พิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9เมื่อมีเหตุไมFดีเกิดกับบุคคล 2) พิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9ตFออายุ 3) พิธีแตFงแกUเสียเคราะห9เพื่อรับโชค 4) พิธีกรรม สFงราหู ซึ่งทั้ง 4 ประเภท เป_นการผสมผสานกันระหวFางพิธีกรรมดั้งเดิมของชาวไทพวน และพิธีกรรมที่ไดUรับอิทธิพลมาจาก ชุมชนชาวอีสาน ซึ่งมีระบบความคิด ความเชื่อทางพุทธศาสนา และศาสนาฮินดู จึงเห็นไดUวFาวิถีชีวิตและ ความเชอื่ ของชาวไทพวนมีทง้ั ยังคงอยแFู ละเปลีย่ นแปลงไปจากอดีตแสดงใหเU หน็ ถงึ ความเปน_ พลวตั อกี มติ ิหน่ึง ผลการศึกษาดUานสื่อความหมายทางวัฒนธรรมและพลวัตของพิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9 พบวFา มีพลวัตขององค9ประกอบพิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9 ดังนี้ 1) ผูUเขUารFวมพิธีกรรม 2) เครื่อง ประกอบพิธีกรรม 3) สถานที่และเวลาในการประกอบพิธีกรรม สFวนการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมใน ประเด็นตFาง ๆ ดังนี้ 1) การสื่อความหมายผFานองค9ประกอบพิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9 2) การสื่อ ความหมายผFานความเชื่อและพธิ ีกรรมแตงF แกUเสียเคราะห9

76 76 ⬗ บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย การศึกษาการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมและพลวัตของพิธีกรรมแตFงแกUเสียเคราะห9ของชาวไท พวน บUานผือ อำเภอบUานผือ จังหวัดอุดรธานี แสดงใหUเห็นวFาองค9ประกอบของพิธีกรรมตFาง ๆ ยFอมมี ความหมายแฝงอยแูF ละมีการเปลี่ยนแปลงไปตามบริบทตFาง ๆ อยFางไรก็ตามพิธีกรรมการแตFงแกUเสียเคราะห9 ยังมีความสำคัญตFอชุมชนไทพวนบUานผือ ในฐานะเป_นเครื่องมือควบคุมสังคมใหUอยูFเป_นปกติสุข เป_นเครื่อง ปลอบประโลมใจมิใหUวิตกหวั่นไหวกับลางรUาย เป_นเครื่องมือในการสรUางความสามัคคีใหUกำลังใจซึ่งกันและ กันในชมุ ชน และพิธีกรรมนี้จะยังคงมีการสบื ทอดและดำรงอยคูF ชูF ุมชนไทพวนบUานผอื ตFอไป

77 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 77 Wannapa Chanon. 2014. Cultural Meaning Communication and Dynamic of Exorcising Ritual of the Tai Puan of Banphue Umpher Banphue Changwat Udon Thani. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularuk ABSTRACT The objective of this thesis is to study ritual dynamics and the cultural meaning of ritual practiced byvillager at Tai Puan of Banphue Umpher Banphue Changwat Udon Thani. Data collected by field survey has been presented as descriptive analysis. The results of the study are as follow. The results of this research found that ritual performed by Tai Puan of Banphue Umpher Banphue Changwat Udon Thani indicates that they believe in wretchedness and worship to holy spirit as same as general northeastern people’s belief. This ritual is the sign of transformation of belief from native northeastern people to Tai Puan community at Tai Puan also adopted Buddhism as their community’s religion. However, the ritual can be categorized by its structure and component into four categories. They are 1) ritual for eliminating wretchedness, 2) ritual for long live, 3) ritual for fortunate, and 4 ) ritual for movement of Rahu. All four of them are combination of Tai Puan belief and native northeastern people’s belief. The native people are Buddhism and Hinduism. The belief adopting indicates the dynamics of ritual resulted from the remaining and the changes of Tai Puan belief and life style. Furthermore from study results, dynamics in this ritual practice consists with four components; 1) participant, 2) oblation, and 3) time and place of ritual. For the meanings of this ritual, they can be described trough 1) oblation, 2) belief and ritual practice. The study of ritual dynamics and the cultural meaning of ritual show that each element of ritual has its own meaning. The meaning may be changed depend on its circumstance. However, the worship to Holy Spirit is still importance. It can be used as a tool for community to live in peace and order, not panic with wretchedness. It can also be used as measure to establish courage and unity of people. Therefore, the worship to Holy Spirit will be conserved and transferred to the new generation of Tai Puan community.

78 78 ⬗ บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ศิริพร ดอนเตาเหล็ก. 2557. กลวิธีทางภาษาและเนื้อหาในการบรรยายธรรมะของอาจารย:บุญเสริม ธมฺมปาโล. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารยท: ี่ปรึกษาวิทยานิพนธ:: ดร.ศุภกิต บวั ขาว บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค9 เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาในการบรรยายธรรมะ ของอาจารย9 บุญเสริม ธมฺมปาโล และเพื่อศึกษาเนื้อหาการบรรยายธรรมะของอาจารย9บุญเสริม ธมฺมปาโล ทั้งทาง โลกียธรรมและโลกุตตรธรรม ขUอมูลที่ใชUในการศึกษาครั้งนี้เก็บขUอมูลจากซีดีบันทึกเสียงการบรรยาย ธรรมะของอาจารย9บญุ เสรมิ ธมฺมปาโล ทพี่ บในปé พ.ศ. 2555 จำนวน 9 ชดุ ผลการวิจัย พบวFา อาจารย9บุญเสริม ธมฺมปาโล ใชUกลวิธีทางภาษา 8 กลวิธี ในการบรรยาย ธรรมะ ไดUแกF 1) การเลียนเสียง 2) การยกตัวอยFาง 3) การเลFนภาษา การเลFนคำ และการใชUสำนวน 4) การอUางองิ 5) การตำหนิ 6) การอปุ มาและการอปุ ลักษณ9 7) การกลาF วใหคU วามหวัง และ 8) การกลFาว ใหUกลัว กลวิธีที่มีลักษณะเดFนและพบมากที่สุด คือ กลวิธีการเลียนเสียงคิดเป_น รUอยละ 39.83 ของกลวิธี ทางภาษาทั้งหมด ซึ่งแสดงความสามารถของผUูบรรยายในการเลียนเสียงลักษณะตFาง ๆ เชFน เสียงบุคคล เสียงเหตุการณ9 เสียงธรรมชาติ และเสียงสัตว9 เป_นตUน กลวิธีดังกลFาวชFวยใหUการบรรยายธรรมมะไดUท้ัง สาระและความสนุกสนาน ชFวยดึงดูดความสนใจของผูUฟ®งและสรUางอารมณ9ขัน กลวิธีที่พบนUอยที่สุด คือ กลวิธีการกลFาวใหUความหวัง และกลวิธีการกลFาวใหUกลัว พบจำนวนเทFากันคิดเป_นรUอยละ 2.51 ของกลวิธี ทางภาษาทั้งหมด ผลการศึกษาเห็นไดUชัดเจนวFา กลวิธีทางภาษาในการบรรยายธรรมะของอาจารย9 บุญเสริม ธมมฺ ปาโล สวF นมากเป_นไปเพื่อการสรUางอารมณ9ขันดUานเน้ือหาธรรมะ ผลการวิจัยพบวาF ปรากฏ เนื้อหาธรรมะระดับโลกียธรรมมากกวFาเนื้อหาธรรมะระดับโลกุตตรธรรม พบการบำเพ็ญประโยชน9ตFอ ครอบครัวมากที่สุด คิดเป_นรUอยละ 24.52 ของเนื้อหาธรรมะทั้งหมดและพบผลจากการปฏิบัติจนหมด กิเลสนUอยที่สุดคิดเป_นรUอยละ 1.29 ของเนื้อหาธรรมะทงั้ หมด ทั้งนี้เนื่องจากธรรมะระดับโลกียธรรมเป_น ธรรมะที่เหมาะกับฆราวาสโดยทั่วไปสามารถนำไปปฏิบัติเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิต ยกระดับจิตใจใหUสูงข้ึน และสรUางความสุขใหUแกFชีวิตไดU สFวนธรรมะระดับโลกุตตรธรรมเป_นธรรมะขั้นสูงที่ผUูครองเรือนนำไป ปฏิบตั ิใหเU ห็นผลไดคU อF นขาU งยาก จึงพบความถกี่ ารปรากฏนอU ยกวFา

79 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 79 Siriporn Dontaolek. 2014. Language Strategies and Contents in Buddhist Sermon of Ajarn Boonserm Dhammapalo. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT The purposes of this research were 1 ) to study Language strategies in Buddhist sermons of Ajarn Boonserm Dhammapalo (a Buddhist priest) and 2 ) to analyze the content of principles of mundane and supermundane life in his sermons. The data collected in this research was audio recorded sermons. The source of the data was nine CDs recorded in the year 2012. The results of the study of linguistic strategies revealed that Ajarn Boonserm Dhammapalo employed eight linguistic strategies in his sermons; 1) imitating, 2) exemplifying, 3) language word play and idioms, 4) referring, 5) blaming, 6) simile and metephor, 7) giving hope and 8) terrifying. The most distinctive and used strategy was particular voices (39.83% out of all the strategies). This indicated that the priest was capable of mimicking individuals, creatures, and nature. This strategy made his sermons instructive and enjoyable. It also attracted listeners’ attention and roused their sense of humor. On the contrary, the least used strategies were giving hope and terrifying (2.51% out of all the strategies). It could be apparently summarized that Ajarn Boonserm Dhammapalo combined various strategies in his sermons to get the audience’s attention. The results of the analysis of the sermon content unveiled those principles of mundane life exceeded those of supermundane life. The most found content were the mundane principles in Group 4 of Blessings of Life (24.52% out of all the content) whereas the least found content were the supermundane principles in Group 10 of Blessings of Life (1.29% out of all the content). This finding might be due to the fact that principles of mundane life were more appropriate for lay Buddhists to practice and develop their lives and mind qualities. With this kind of principles, they can live happy lives. In contrast, principles of super mundane life were more difficult to practice successfully among lay Buddhists. For this reason, they were less presented in the sermons.

80 80 ⬗ บทคดั ยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย อรวรรณ ชมดง. 2557. ภาพสะทbอนค7านิยมดbานเพศวิถีในบทเพลงลูกทุ7งไทยร7วมสมัย ที่เผยแพร7 ในช7วง ปü พ.ศ. 2545 – 2554. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพยี ยุระ บทคัดย7อ การวิจัยน้ีเป_นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค9เพ่ือศึกษาถึงรูปแบบความสัมพันธ9ทาง เพศระหวFางชายกับหญิงและศึกษาคFานิยมดUานเพศวิถีที่สะทUอนผFานบทเพลงลูกทุFง โดยศึกษาจาก วรรณกรรม เพลงลูกทุFงท่ีประพันธ9เนื้อรUองโดยนักประพันธ9ชาย ขับรUองโดยนักรUองหญิง ที่เผยแพรFในชFวง ปé พ.ศ. 2545 – 2554 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวขUองกับเรื่องเพศวิถีรวมทั้งหมด 78 เพลง ซึ่งใชUแนวคิดการสมรส และนอกสมรส ภายใตUกฎหมายของรัฐไทย (ประทินทิพย9 วิรุณพันธ9, 2554) และทฤษฎีเพศวิถี Sexuality in a Gender Framework ของ Ruth Dixon - Mueller (1993) เปน_ กรอบในการศึกษา ผลจากการศึกษาวิเคราะห9เนื้อหาของเพลง เพื่อศึกษาถึงรูปแบบความสัมพันธ9ทางเพศ ระหวFาง เพศชายกับหญิง โดยใชUแนวคิดการสมรสและนอกสมรสภายใตUกฎหมายของรัฐไทย (ประทินทิพย9 วิรุณพันธ9, 2554) พบวFา เพลงที่ยกตัวอยFางมาทั้งหมดสะทUอนใหUเห็นถึงรูปแบบ ความสัมพันธ9ทางเพศวFา สังคมไทยนั้น มีรูปแบบความสัมพันธ9ทางเพศแบบรักตFางเพศอยูF 3 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบความสัมพันธ9 ทางเพศแบบชายหนง่ึ คนตอF หญงิ หนง่ึ คน (Monogamy) 2) รูปแบบความสัมพนั ธท9 างเพศแบบชายหนง่ึ คน ตFอหญิงหลายคน (Polygyny) และ 3) รูปแบบความสัมพันธ9ทางเพศแบบหญิงหนึ่งคนตFอชายหลายคน (Polyandry) อยาF งไรกต็ ามถงึ แมนU วาF บคุ คลทก่ี ลาF วถงึ ในบทเพลงในขณะนน้ั อาจจะเปน_ บคุ คลทก่ี ำลงั ทำใหU เกิดรูปแบบความสัมพันธ9ทางเพศ แบบที่ 2 และแบบที่ 3 อยFูก็ตาม แตFก็พยายามหาวิธีที่จะเขUาสูFรูปแบบ ความสัมพันธ9ทางเพศแบบท่ี 1 เพื่อใหUเป_นที่ยอมรับของสังคมใหUไดU สFวนในการศึกษาวิเคราะห9ถึงคFานิยม ดUานเพศวิถีตามฐานคิดของ Ruth Dixon – Mueller (1993) นั้น พบวFา เพลงที่นำมาวิเคราะห9ไดสU ะทUอน ใหUเห็นถึงคFานิยมดUานเพศวิถีตามฐานคิดทั้ง 4 องค9ประกอบ คือ 1) ดUานคูFความสัมพันธ9ทางเพศ (Sexual Partnership) พบวFา บทเพลงไดUสะทUอนใหUเห็นถึงคFานิยมของสังคมไทย ดUานจำนวนของคูFความสัมพันธ9 ทางเพศ และทม่ี าของคคFู วามสมั พันธท9 างเพศแบบตาF งเพศ คือ รูปแบบความสัมพนั ธ9ทางเพศแบบชายหน่ึง คนตFอหญิงหนึ่งคน (Monogamy) ยังเป_นคFานิยมที่ดี ที่เหมาะสมกับสังคมไทยและยังใหUอำนาจในการ ตัดสินใจที่จะทำใหUเกิดความสัมพนั ธ9นั้นกับฝûายชายมากกวFาฝûายหญิง 2) ดUานพฤติกรรมทางเพศหรือการ ปฏิบัติทางเพศ (Sexual Acts) พบวFา บทเพลงไดUสะทUอนใหUเห็นถึงคFานิยมที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปของ สังคมไทยจากคFานิยมการรักนวลสงวนตัวของหญิงไทยด่ังในสมัยกFอนนั้น กลายเป_นวFาผูUหญิงไทยใน ป®จจุบัน มีความกลUาที่จะแสดงออกถึงพฤติกรรมทางเพศมากยิ่งขึ้น 3) ดUานการใหUความหมายของ ความสัมพันธ9ทางเพศ (Sexual Meaning) พบวFา บทเพลงไดUสะทUอนใหUเห็นถึงคFานิยมของสังคมไทยวFา

81 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 81 ไมFวFาเวลาจะผFานไปนานเทFาใด แมUวFาผูUหญิงจะไดUรับการยกยFองจากสังคมวFามีความเกFง มีความสามารถ รอบดUาน และมีสิทธิเสรีภาพในการตัดสินใจมากขึ้นเพียงใด แตFสุดทUายเรื่องเพศวิถีนั้น ผูUชายยFอมอยูFเหนือ ผูUหญิงเสมอ 4) ดUานแรงขับทางเพศและความพึงพอใจ (Sexual Drives and Enjoyment) พบวFา บท เพลงไดUสะทUอนใหUเห็นถึงคFานิยมในสังคมไทยวFา การเกิดแรงขับทางเพศและความพึงพอใจทางเพศน้ัน สงั คมไทยมคี วามเปล่ียนแปลงท่พี ยายามทีจ่ ะยอมรบั ถงึ การแสดงออกของฝาû ยหญงิ แตFถึงอยFางไรก็ตาม แมUนักประพันธ9เพลงชายไดUประพันธ9คำรUองของเพลงที่สามารถสะทUอนใหU เห็นถึงการกลUาแสดงออกกลUาตัดสินใจและกลUานำเสนอความตUองการของฝûายหญิง ที่สามารถทำใหUเกิด ทั้งรูปแบบของความสัมพันธ9ทางเพศที่นอกเหนือจากบรรทัดฐานของสังคมไทยที่กำหนดไวแU ละการเกิด องค9ประกอบทั้ง 4 องค9ประกอบของเพศวิถีตามฐานคิดของ Ruth Dixon – Mueller (1993) นั้น วFาสามารถเกิดขึ้นมาไดUในสังคมยุคใหมFมากยิ่งขึ้น แตFนักประพันธ9เพลงชายยังไมFสามารถที่จะยอมรับ ผลของพฤติกรรมเหลFานี้ไดUอยFางเต็มที่นัก เพราะในเนื้อหาของเพลงนักประพนั ธ9เพลงชายยังใชกU รอบของ ศีลธรรมอันงามของไทยควบคุมพฤติกรรมบางอยFางของฝûายหญิงไวUไมFใหUแสดงออกมาไดUอยFางโจFงแจUง เต็มท่ี

82 82 ⬗ บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Orawan Chomdong. 2014. The Reflection of Values in Sexuality in Contemporary Thai Folk Songs Distributed during 2002 - 2011. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This qualitative research aimed to explore forms of male-female sexual relations and sexual values reflecting in contemporary the Thai folk songs. This was done by examining the lyrics of the folk songs composed by male writers and sung by female singers. Data included 78 songs distributed during 2002 - 2011. These songs had the contents related to sexuality. The concept of legitimate and illegitimate marriage underlying Thailand’s legal justice (Wirunphan, 2011) and the Dixon-Mueller (1993)’s Sexuality in a Gender Framework were used as the theoretical frameworks of this research. Data were analyzed using the concept of legitimate and illegitimate marriage underlying Thailand’s legal justice (Wirunphan, 2011) in order to gain knowledge about forms of malefemale sexual relations. Results showed that the songs reflected three forms of sexual relations. Form 1 , Monogamy, was a one man and one women relationship, and Form 2 , Polygyny, was a one man and multiple women relationships. Form 3 was called Polyandry. It was a one woman and multiple men relationship. The results further revealed that although having Form 2 and Form 3 relations, the characters in the songs were seen trying to turn their relations into Form 1 in order to be socially accepted. In terms of sexual values underlying Dixon-Muller’s concept of Sexuality in a Gender Framework, it was found that the songs reflected sexual values based on the four aspects of sexuality- Sexual Partnership, Sexual Acts, Sexual Meaning, Sexual Drives and Enjoyment.1) In the aspect of Sexual Partnership, results revealed that Thai society valued numbers of the partners in a sexual partnership as well as an originality of a sexual partnership, particularly the heterosexual partnership. In this respect, the one man and one women relationship (Monogamy) has still been suitable for Thai society. In addition, men were more authorized to make decision than women. 2 ) Regarding the

83 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 83 Sexual Acts, it was found that the songs reflected changing in a value in the Thai society. In that, the traditional value of purity self-preserving of a Thai woman in the past was being transformed to be a modern woman with more courage to show her sexual behavior. 3) In the aspect of Sexual Meaning, it was found that although time has passed and women has received respect from the society (being seen as the ones who have competence in every aspect as well as have right to make decision), when it came to sexuality, women were usually under men’s control. 4 ) For the Sexual Drives and Enjoyment, data revealed that Thai society has tried to show more positive perception on women’s sexual drives and enjoyment. In this regard, women’s showing their sexual drives and enjoyment were increasingly acceptable in Thailand. It could be seen from the data that the male writers have composed the songs reflecting women’s courage to act, make decision, and dare to show their desire. This may result in sexual relation form that is beyond the Thai social norm. It could also be seen that the four aspects of sexuality based on Dixon – Mueller (1993)’s concept could possibly occur in this contemporary period. However, male writers could not fully accept the consequences of those behaviors. This could be seen from their using the Thai decent moral as a frame to limit some of women overt acts.

84 84 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย นนั ทิญา พนั ธ9โชติ. 2557. การวเิ คราะหพ: าดหวั ข7าวในหนังสือพิมพท: bองถน่ิ อสี าน: ทฤษฎีวงความหมาย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทร9เทาว9 บทคดั ย7อ งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห9กลุFมความหมายของคำศัพท9พาดหัวขFาวในหนังสือพิมพ9ทUองถ่ิน อีสาน: ทฤษฎีวงความหมาย มีวัตถุประสงค9เพื่อมุFงศึกษาเนื้อหาของขFาว วงความหมายของคำศัพท9และ ในพาดหัวขFาวหนังสือพิมพ9ทUองถิ่นอีสาน จำนวน 3 ฉบับ ไดUแกF หนังสือพิมพ9โคราชคนอีสาน หนังสือพิมพ9ไทยเสรี หนังสือพิมพ9มิ่งเมืองนิวส9 ซึ่งเป_นหนังสือพิมพ9ที่ผลิตในจังหวัดนครราชสีมา ขอนแกนF และอบุ ลราชธานี ท่ีเผยแพรFในพ้ืนทภ่ี าคอีสาน รวมทั้งหมด 76 ฉบับ รวม 493 พาดหัวขFาว ผลการวิจัยพบวFาเนื้อหาของขFาวที่ปรากฏในพาดหัวขFาวหนังสือพิมพ9ทUองถิ่นอีสานสามารถ จำแนกเป_น 3 กลุFม คือ 1) กลุFมปรากฏที่ปรากฏมาก ไดUแกF ขFาวเศรษฐกิจ ขFาวการเมือง และขFาว อาชญากรรม 2) กลุFมที่ปรากฏปานกลาง ไดUแกF ขFาวการศึกษา ขFาวสิ่งแวดลUอมและการเกษตร ขFาว ทFองเที่ยวและศิลปวัฒนธรรม และ 3) กลุFมที่ปรากฏนUอย ไดUแกF ขFาวสาธารณสุขทUองถิ่น และขFาว คมนาคมและขนสFง ดUานวงความหมายของคำศัพท9พาดหัวขFาวในหนUาหนึ่งของหนังสือพิมพ9ทUองถิ่นอีสาน สามารถแยกไดUทั้งหมด 9 วงความหมายของคำศัพท9พาดหัวขFาวในหนUาหนึ่งของหนังสือพิมพ9ทUองถิ่น อีสานสามารถแยกไดUทั้งหมด 9 วงความหมาย ไดUแกF วงความหมายเศรษฐกิจ วงความหมายการเมือง วงความหมายอาชญากรรม วงความหมายสิ่งแวดลUอมและการเกษตร วงความหมายสาธารณสุข วงความหมายการศึกษา วงความหมายคมนาคม วงความหมายชื่อสถานที่ วงความหมายทFองเที่ยวและ กีฬา สFวนดUานลักษณ9ภาษาผูUวิจัยไดUวิเคราะห9ลักษณะคำและประโยคในพาดหัวขFาว พบวFา มีการใชU ลักษณะคำและเครื่องหมายทั้งหมด 7 ประเภท คือ การใชUคำยFอ อักษรยFอ คำทับศัพท9 คำสแลง สมญานามและชื่อเลFนคำกริยาและเครื่องหมาย สFวนลักษณะประโยคสามารถแบFงไดU 2 รูปแบบ คือ โครงสราU งประโยคสมบรู ณแ9 ละโครงสรUางประโยคไมสF มบรู ณ9 งานวิจัยนี้ไดUสะทUอนใหUเห็นบริบททางสังคมอีสานในทุกดUาน โดยเฉพาะดUานเศรษฐกิจ การเมือง ทUองถิ่น และศิลปวัฒนธรรมของคนอีสานไดUอยFางโดดเดFน ทำใหUผูUอFานสามารถเขUาใจสภาพสังคมและ อตั ลักษณ9ของสงั คมทอU งถน่ิ อีสานผFานหนงั สอื พิมพท9 อU งถนิ่ อสี าน

85 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 85 Nanteya Panchote. 2014. An Analysis of the Isan Local Newspaper Headlines: A Semantic Field Theory. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The purpose of the study was to analyze the content and the semantic fields which appeared in headlines of three Isan (the Northeast of Thailand) local newspapers; Korat Khon Isan, Thai Seri, and Ming Muang News. These newspapers are printed in Nakhon Ratchasima, Khon Kaen, and Ubon Ratchathani provinces respectively. The newspapers are available only in the Northeast of Thailand. The analysis of this study covered 493 headlines in 76 copies of the newspapers. The results of the analysis are as follows; the content of the newspapers could be divided into three groups according to its coverage sizes. The first group had the largest coverage, that is economic, politic, and crime. The second group had a moderate coverage size that is education, environment and agriculture, tourist and arts. The headlines of the newspapers were composed of nine semantic fields that are economics, politics, crime, environment and agriculture, public health, education, tourism and culture, transportation, and names of places. The language use had seven characteristics that are abbreviated words, acronyms, transliterated words, idiom, alias and nicknames, dynamic verbs, and punctuation marks. It was also found that the sentences of the headlines appeared in two characteristics; complete and incomplete sentences. The Research finding was shown that it reflects the unique social aspects of the Isan context, particularly economy, local politics, and arts and cultures. Readers can understand the distinctive characteristics and identity of the Isan society through these local newspapers.

86 86 ⬗ บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย นารี กรุมรัมย9. 2557. นามสกุลของกลุ7มชาติพันธุ:กูยในจังหวัดสุรินทร: : การวิเคราะห:ทางอรรถศาสตร: ชาติพันธุ:. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารยท: ี่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รัตนา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาลักษณะภาษาของนามสกุลของชาติพันธุ9กูยใน จังหวัดสุรินทร9 โดยการวิเคราะห9โครงสรUางของหนFวยคำ ลักษณะภาษาที่ใชUในการตั้งนามสกุล และศึกษา ความหมายที่ปรากฏในนามสกุลของชาติพันธุ9กูย ตลอดจนศึกษาถึงภาพสะทUอนทางสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อและคFานิยมของชาติพันธุ9กูยที่อาศัยอยูFในจังหวัดสุรินทร9 ซึ่งผูUวิจัยไดUศึกษาขUอมูลชื่อนามสกุล จากเอกสารทะเบียนราษฎร9 และจากการสัมภาษณ9ชาวกูย ตลอดจนศึกษาความหมายจากพจนานุกรม หลายฉบับ โดยเฉพาะพจนานุกรมภาษาเขมร ภาษากูย และภาษาไทย โดยศึกษาจากนามสกุลของกลFุม ชาติพันธุ9กูยที่อาศัยอยูFในจังหวัดสุรินทร9 จำนวน 435 นามสกุล และเสนอผลการศึกษาโดยวิธีพรรณนา วเิ คราะห9 ผลการศึกษา พบวFา โครงสรUางหนFวยคำของนามสกุลชาติพันธุ9กูย แบFงออกเป_น 3 ลักษณะ คือ โครงสรUาง 1 หนFวยคำ โครงสรUาง 2 หนFวยคำ และโครงสรUาง 3 หนFวยคำ สFวนลักษณะภาษาที่ใชUในการ ตั้งนามสกุล พบวFามี 4 ภาษา ไดUแกF ภาษาเขมร ภาษาไทย ภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษากูย และ สามารถจำแนกการศึกษาที่มาของภาษาออกเป_น 3 ลักษณะ คือ นามสกุลที่มีที่มาจากภาษาเดียว นามสกุลที่มีที่มาจาก 2 ภาษา และนามสกุลที่มีที่มาจาก 3 ภาษา โดยภาษาที่ใชUในการตั้งนามสกุลมาก ที่สุด คือ ภาษาเขมร รองลงมา คือ ภาษาไทย ภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษากูย ตามลำดับ สFวน ความหมายของนามสกุลที่ปรากฏ สามารถแบFงไดU 13 กลุFมความหมาย โดยเรียงตามความถี่จากมาก ที่สุดถึงนUอยที่สุด ดังนี้ 1) ธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม 2) ความมั่งคั่งร่ำรวย 3) ความดีงามและความ เจริญรุFงเรือง 4) มนุษย9และคุณสมบัติ 5) ความเชื่อและศาสนา 6) คุณลักษณะและอากัปกิริยา 7) ความสุขและความรัก 8) อำนาจและเกียรติยศ 9) เชื้อสายและวงศ9ตระกูล 10) รูปรFางและอวัยวะ 11) ลำดับและจำนวน 12) ส่ิงของ เครื่องใชU และ 13) สี

87 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 87 Naree Kroomram. 2014. The Surnames of Kui in Surin Province : Ethnosemantics study. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The aims of the study is to examine the characteristics of the language in surnames of Kui ethnic groups in Surin province. Morpheme structures and language uses were analyzed. In addition, the meanings of surnames, social contexts, cultures, belief, and values of Kui were studied. There were 435 Kui’s surnames collected from the registers of birth in Surin provinces and from key informant’s interviews used as the data of this research. All surnames were proofed for the meaning using Khmer, Kui, and Thai dictionaires. The results were presented by descriptive analysis. The results showed that the morpheme structure of Kui surnames was divided into three structures; one-morpheme, two-morpheme, and three-morpheme. There are four language sources; Khmer, Thai, Pali-Sanskrit, and Kui. The study can be classified into three features consisting of surnames with a single language, two languages and three languages. The research finding found that the languages that were most referred in Kui’s surnames were Khmer, Thai, Pali-Sanskrit, and Kui, respectively. A part of surname’s meaning was divided into 13 categories and the most frequently found meanings were; 1) nature and environment 2) wealth 3) goodness and prosperity 4) human and characteristics 5) belief and religion 6) attribute and action 7) happiness and love 8) power and honor 9) lineage 10) shape 11) order and number 12) object, and 13) color, respectively.

88 88 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย พรจรัส สรUอยศรีฉาย. 2557. นามสกุลของคนไทยอีสานในอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ:. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารยท: ่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทร9เทาว9 บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาลักษณะภาษาในการตั้งชื่อนามสกุลของคนไทยอีสานใน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ9 ดUานโครงสรUางของคำ ภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อนามสกุล และ ความหมายของคำที่ใชUในการตั้งชื่อนามสกุล โดยเก็บขUอมูลช่ือนามสกุลจากแหลFงขUอมูล 2 แหลFง ไดUแกF ขUอมลู จากทะเบยี นราษฎร9 และขUอมลู จากการสมั ภาษณ9 รวมทงั้ สิ้น 2,103 นามสกลุ ผลการวิจัยพบวFา โครงสรUางของคำมีทั้งหมด 4 ลักษณะ คือ นามสกุลที่ประกอบดUวยจำนวนคำ 1 คำ นามสกุลที่ประกอบดUวยจำนวนคำ 2 คำ นามสกุลที่ประกอบดUวยจำนวนคำ 3 คำ และนามสกุล ที่ประกอบดUวยจำนวนคำ 4 คำ สFวนภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อนามสกุลแบFงออกเป_น 2 ประเภท คือ นามสกุลที่มาจากภาษาเดียว ไดUแกF ภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาบาลีสันสกฤต ภาษาไทย ภาษาเขมรและ ภาษาจนี และนามสกุลที่มาจากหลายภาษา ไดแU กF ภาษาไทยถนิ่ อสี านและภาษาบาลสี นั สกฤต ภาษาไทย ถิ่นอีสานและภาษาเขมร ภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาไทย ภาษาบาลีสันสกฤตและภาษาเขมร ภาษา บาลสี นั สกฤตและภาษาไทย และภาษาไทยถิ่นอีสานภาษาเขมรและภาษาบาลีสนั สกฤต ความหมายของคำที่ใชUในการตั้งชื่อนามสกุลแบFงไดUเป_น 2 กลุFม ไดUแกF กลุFมแรก คือ ความหมาย ของชื่อนามสกุลโดยทั่วไป แบFงยFอยออกเป_น 16 กลุFมความหมาย ไดUแกF ความเป_นสิริมงคล คุณลักษณะ และคุณสมบัติ ทรัพย9สินและความร่ำรวย ธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม อำนาจความกลUาหาญและชัยชนะ พืช ความเชื่อและศาสนา ชื่อเสียงและความกUาวหนUา อาชีพ สถานที่ สัตว9 บุคคลเพศและวัย เชื้อสาย และตระกูล สิ่งของ กาลเวลาและทิศทาง และอวัยวะ และกลุFมที่สอง คือ ความหมายของชื่อนามสกุลท่ี มีคำวFา “ภู” เป_นสFวนประกอบ โดยพบวFามีการนำคำวFา “ภู” ไปประกอบกับความหมายทั้ง 16 กลุFม ความหมายขUางตนU ชื่อนามสกุลของคนไทยอีสานมีโครงสรUางแบบ 2 คำมากที่สุด โดยมีภาษาที่ใชUเป_นภาษาไทยถิ่น อีสานมากที่สุด และมีความหมายแสดงถึงความเป_นสิริมงคลมากที่สุด ดังนน้ั การศึกษาชื่อนามสกุลของ คนไทยอีสานจึงแสดงใหUเห็นทั้งลักษณะทางภาษาและความสัมพันธ9กับบริบทสังคมอีสานจากชื่อ นามสกลุ ซึง่ ยงั คงแสดงอัตลกั ษณ9ของคนไทยอสี าน

89 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 89 Pornjarat Soisrichay. 2014. Surnames of Thai Isan people at Yangtalad District, Kalasin Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The objective of the research was to study the word structures, languages, and semantic of words in surnames of Thai Isan people who lived in Yangtalad District, Kalasin Province. The scope of the research covered 2,103 surnames which were collected from two major sources: the Civil registration and interviews. The results of the study revealed that word structures of surname had 4 types: one-word, two-words, three-words, and four-words. The surnames could be divided into two categories according to the languages used to make the surnames. The first category contained one language surname which derived from Isan dialects, Pali, Sanskrit, Thai, Khmer, and Chinese. The second category consisted of several languages which derived from different languages such as Isan dialect and Pali-Sanskrit, Isan dialect and Khmer, Isan dialect and Thai, Pali-Sanskrit and Khmer, Pali-Sanskrit and Thai, and Isan dialect, Khmer and Pali-Sanskrit. For the semantic study, the results showed that there were two main groups of the meanings of the surnames. In first group, the surnames had 16 general meanings; auspiciousness, characteristics and qualities, assets and wealthiness, nature and environment, power/brave and victory, plants, beliefs and religions, fame and advancement, occupations, places, creatures, individuals, gender and age, genealogy and families, stuff, time and directions, and organs. In the second group, the surnames contained the word Phu “a mountain” as part of them. This word was used together with words of the 16 meanings above. In summary, the majority of the surnames had the two-word structure, derived from Isan dialects, and contained auspiciousness meaning. Therefore, the importance of this study is that it presents the language characteristics and relationship between the surnames and the Isan contexts. In addition, the surnames displayed the identity of the Isan people.

90 90 ⬗ บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ดิษยทรรศน9 ศรีบุญเรือง. 2557. การนำเสนอภาพความเปùนชายและความเปùนหญิงในคัมภีร:อรรถกถา ธรรมบทฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ที่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทยั เพยี ยรุ ะ บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาการนำเสนอภาพความเป_นชายและความเป_นหญิงท่ี ปรากฏในคัมภีร9อรรถกถาธรรมบท โดยเป_นการศึกษาวิจัยเอกสาร (documentary research) จากคัมภีร9 อรรถกถาธรรมบทฉบับแปลเป_นภาษาไทย จำนวน 8 ภาค 302 เรื่อง กำหนดเกณฑ9ในการศึกษาโดยเลือก เฉพาะเรื่องที่เป_นเรื่องราวของฆราวาสที่แสดงลักษณะของความเป_นชายและความเป_นหญิงไดUอยFางชัดเจน จำนวนทั้งหมด 59 เรอ่ื ง และนำเสนอขUอมูลในรปู แบบพรรณนาวเิ คราะห9 (Descriptive Analysis) กรอบแนวคิดในงานวิจัยนี้ผูUวิจัยใชUกรอบการวิเคราะหข9 อง เจ.เอ ดอล9ย (J.A. Doyle) เป_นกรอบ ในการวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFา ความเป_นชายที่ปรากฏในคัมภีร9อรรถกถาสFวนใหญFสะทUอนความเป_นชายที่ ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะชายที่เกิดในชนชั้นวรรณะกษัตริย9ซึ่งถูกปลูกฝ®งใหUประสบความสำเร็จซ่ึง ความสำเร็จสูงสุดคือการไดUครองความเป_นกษัตริย9 ซึ่งการประสบความสำเร็จดังกลFาวมักประกอบดUวย ความเชื่อมั่นและความกUาวรUาว ซึ่งคุณสมบัติของความเป_นชายทั้งสามประการมักจะประกอบสรUาง รวมอยูFในคนเดียวกัน นอกจากนี้ คุณสมบัติอีกขUอหนึ่งของความเป_นชายในคัมภีร9อรรถกถาที่พบมาก คือ ความเป_นที่สนใจทางเพศ ซึ่งความเป_นที่สนใจทางเพศดังกลFาวปรากฏผFานตัวละครที่หลากหลายในชน ชัน้ ตFาง ๆ เชFน กษัตริย9 เศรษฐี รวมถงึ ชนชน้ั วรรณะพราหมณอ9 ีกดวU ย สำหรับความเป_นหญิงที่ปรากฏในคัมภีร9อรรถกถาธรรมบท มักสะทUอนผFานความเป_นหญิงที่ ใสFใจรูปลักษณ9และความเป_นหญิงที่เพียบพรUอม ซึ่งความเพียบพรUอมดังกลFาวมาพรUอมกับการเกิด ขณะเดียวกันก็ประกอบดUวยความอFอนไหว และเอาใจใสFผูUอื่น นอกจากนี้ผูUวิจัยพบวFาความเป_นหญิงใน คัมภีร9อรรถกถาสFวนใหญFเป_นเรื่องของความเป_นหญิงที่อยูFในชนชั้นสูง และมีความหมายของความเป_น หญิงที่หลากหลาย กลFาวคือ มีลักษณะทางอารมณ9 พฤติกรรม และการแสดงออกแตกตFางกันไป ทั้งเป_นไปตามขนบธรรมเนียมของสังคมยุคนั้นและแหกขนบของสังคมยุคนั้น เชFน หนีตามผูUชายเพราะ ความรัก หรือแตFงงานกับโจรเพียงเพราะเห็นครั้งแรกเป_นรักแรกพบอยFางน้ี เป_นตUน อยFางไรก็ตามความ เป_นหญิงที่ปรากฏโดยมากในคัมภีร9อรรถกถาธรรมไดUรับการปลูกฝ®งในทางลบและตFางสยบยอมกับสังคม ท่ชี ายเป_นใหญF

91 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 91 อยFางไรก็ตาม โดยสรุปเมื่อวิเคราะห9ความเป_นชายและความเป_นใหญFภายใตUกรอบแนวคิดดUาน สังคมศาสนา (พราหมณ9และพุทธ) พบวFา ภาพความเป_นชายและความเป_นหญิงภายใตUบริบทดังกลFาวมี ขอบเขตกวUางกวFาการอธิบายหรือการตีตราภาพลักษณ9ของความเป_นชายและเป_นหญิงจากแนวคิด ตะวันตก กลFาวคือ ความเป_นชายและความเป_นหญิงภายใตUบริบทดUานสังคม/ศาสนาในสังคมยุคนั้น มี ลักษณะเดFนสองลักษณะทั้งความเป_นชายและความเป_นหญิง คือ ลักษณะของความเป_นชายและความ เป_นหญิงที่ถูกครอบดUวยอิทธิพลทางสังคมและศาสนาพราหมณ9จะมีลักษณะยึดถือจารีตอยFางเครFงครัด โดยเฉพาะเพศหญิงหากทำผิดจารีตประเพณีจะถูกลงโทษอยFางเครFงครัดและรุนแรง ซึ่งจารีตดังกลFาวถูก ครอบดUวยอิทธิพลของแนวคิดชายเป_นใหญFอีกชั้นหนึ่งซึ่งไมFยุติธรรมสำหรับเพศหญิง หากพิจารณาจาก มุมมองในป®จจุบัน อีกลักษณะหนึ่งความเป_นชายและความเป_นหญิงที่ครอบดUวยอิทธิพลบริบททางสังคม ของศาสนาพุทธจะมีลักษณะยืดหยุFนความเป_นหญิงหรือชายจะถูกหรือผิดใหUดูที่ความถูกตUองยุติธรรม และชอบดUวยธรรมะเป_นหลักดังนั้นความเป_นหญิงในบริบทสังคมที่เป_นพุทธจะใหUความเสมอภาคของ ความเป_นหญิงชายที่เทFาเทียมกัน ซึ่งหลักการดังกลFาวทำใหUหญิงชายที่นับถือพระพุทธศาสนาตUองใหU เกียรติกันและกันและตFางตUองทำหนUาที่ของตนเองตามหลักการทางพุทธ เชFน การทำหนUาที่ของภริยา การทำหนาU ทขี่ องสามี เปน_ ตUนซ่ึงแนวคิดดงั กลFาวไดรU บั การสบื ทอดมาจนถึงปจ® จุบนั

92 92 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Disayathat Sibunrueang. 2014. The Presentation of Masculinity and Femininity in Dhammapada Commentary Scripture: Mahamakuta Ratchawittayalai Version. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This study aimed to present the masculinity and femininity in Dhammapada commentary scripture. Underlying a documentary research framework, the study collected data from the Thai version commentary scripture of Dhammapada. From 302 stories in eight sections of the scripture, 59 stories were selected. All of the selected data were stories whose main characters were laypersons; masculinity and femininity were clearly reflected in these laypersons. The data were presented in a form of descriptive analysis. J.A. Doyle’s analysis framework of masculinity and femininity was the theoretical framework of this study. Results of the study revealed that most of the masculinity in Dhammapada commentary scripture was presented through successful men especially ones who belong to the Kshatriya caste. These men were generally brought up to look up to the success and the utmost success was to succeed to the throne. In order to reach such ultimate goal, ones had to be confident and aggressive. These qualities were usually mingled together to mold up a qualified man. Another important quality of masculinity in the commentary scripture of Dhammapada was being sexually attractive. This quality was seen through male characters especially of the kshatriya the vaishya and the brahman castes. Results also showed that femininity in the Dhammapada commentary scripture was reflected in the perfect women who gave importance to physical appearance. These female characters were usually born wealthy and perfect. They were also seen as being sensitive and being attentive to others. Results further revealed that femininity in the scripture was mostly presented through the stories of women in elite families. Such presentation elaborated the femininity of various emotions, behaviors, and expressions. These varieties could be both the ones conformed to and the ones which were against

93 บทคัดยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 93 the traditional practice. Running away with a lover and marrying a criminal due to the love at first sight were examples of the practices that were not traditionally accepted. It could be seen that most females in the scripture were negatively implanted and had to succumb to the male dominated society. However, when the masculinity and femininity were analyzed using social- religious framework (Brahmanist and Buddhist), it was found that masculinity and femininity were described in a broader manner comparing with when they were analyzed using the western conceptual framework. In this regard, the social-religious framework yielded two aspects of masculinity and femininity. The first aspect was the masculinity and femininity under the social-Brahmanist perspective. All characters underlying this aspect had to strictly attach to their traditional practice. This phenomenon was made stronger in the case of female characters. Once they did not follow the practice, they would be seriously punished. In general, the punishment was severe. Actually, the traditional practice was controlled by the concept of male dominant which would be seen, through the current view, as being unfair for female characters. The second aspect was the masculinity and femininity under the social- Buddhist perspective which seemed to be very flexible. To further explain, the good or bad deeds of all characters were judged based on justice and dharmic principles. As a result, femininity was seen as being equal with masculinity. From this point, the characters had to respect one another. In addition, they all had their own duties to do such as the duty of a wife and the duty of a husband. This social-Buddhist perspective has been adopted up to this present time.

94 94 ⬗ บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย วรรณวรางค9 โอฬาริกพันธ9ุ. 2557. การใชbภาษาอังกฤษในเพลงลูกทุ7งอีสาน. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จันทร9เทาว9 บทคัดย7อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาลักษณะการใชUภาษาอังกฤษและหนUาที่ของภาษาอังกฤษใน เพลงลูกทงFุ อสี านโดยรวบรวมเพลงลกู ทงุF อีสานจากหนังสอื เพลงและแผFนซดี ี จำนวน 123 เพลงที่เผยแพรF ในปé พ.ศ. 2540 - 2556 โดยใชUกรอบแนวคิดเรื่องการสัมผัสภาษา (Language Contact) และการปน ภาษา (Code-mixing) ผลการศึกษาพบวFามีการใชUคำภาษาอังกฤษ 7 ชนิด ไดUแกF คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ9 คำบพุ บท สนั ธาน และคำอุทาน นอกจากนน้ั ยงั มีการใชวU ลแี ละประโยคภาษาองั กฤษ ดUวยหนUาที่ของการใชUภาษาอังกฤษในเพลงลูกทุFงแบFงออกเป_น การสรUางความตลก การเล่ียงคำไมFสุภาพ การใชUแทนคำที่ไมFมีในภาษาไทย และการสFงสัมผัสเพื่อความไพเราะของการขับรUอง ผลการวิจัยแสดงใหU เห็นอิทธิพลของภาษาอังกฤษที่นำมาปนกับภาษาไทยกลางและภาษาอีสานในเพลงลูกทุFง ทั้งดUานหนUาที่ ของภาษาองั กฤษในเพลงลูกทุงF ในปจ® จบุ นั

95 บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 95 Wanwarang Orarigaphan. 2014. The Use of English in Isan Folksongs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims to study the use of English and function of English in Isan folksongs There are 123 Isan folk songs as the data were grouped from book songs and CD published in 1997 to 2013. The language contact and code-mixing are the frameworks of this study. The research finding was found that there are 7 categories of English words; noun, verb, adverb, preposition, conjunction and interjection. In addition, phrase and sentence of English are found in this research. A part of function, English language is used to be funny, to politeness, new words, and rhythm. The result shows the influence of English to the mixing into Central Thai and Isan languages including the function of English in Isan folk songs nowadays.

96 96 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย วัฒนาพร นนลือชา. 2557. อุดมการณ:และความสัมพันธ:ระหว7างพุทธศาสนากับไสยศาสตร:ในละคร โทรทัศน:แนวผี. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ดร.อมุ ารินทร9 ตุลารักษ9 บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9ฉบับน้ีมุFงศึกษาตัวบทละครโทรทัศน9แนวผีที่ออกอากาศในชFวงปé พ.ศ. 2550 - 2555 จำนวน 9 เรื่อง คือ ปéªแกUวนางหงส9 สาปภูษา วายุภัคมนตรา รอยไหม บFวง ปûูโสมเฝ≥าทรัพย9 ภูตแมFน้ำโขง มือนาง และปางเสนFหา มีจุดมุFงหมายสองประการคือ 1) เพื่อศึกษาอุดมการณ9ที่ปรากฏอยFู ในละครโทรทัศน9แนวผีที่ออกอากาศในชFวงปé พ.ศ. 2550 - 2555 และ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ9 ระหวFางพุทธศาสนาและไสยศาสตร9ในละครโทรทัศน9แนวผีที่ออกอากาศในชFวงปé พ.ศ. 2550 - 2555 โดยใชUแนวคิดอุดมการณ9ของหลุยส9 อัลธูแซร9ประกอบกับการจำแนกประเภทของอุดมการณ9ในละคร โทรทัศน9ของกาญจนา แกUวเทพ งานวิจัยครั้งนี้เป_นการวิเคราะห9ขUอมูลเชิงคุณภาพและนำเสนอผล การศึกษาแบบพรรณนาวเิ คราะห9 ผลการวิจัยมดี ังตFอไปนี้ ผลการศึกษาอุดมการณ9ที่ปรากฏอยูFในละครโทรทัศน9แนวผีที่ออกอากาศในชFวงปé พ.ศ. 2550 - 2555 พบวFา มีอุดมการณ9ตามแนวคิดของกาญจนา แกUวเทพ ปรากฏอยูFในละครโทรทัศน9แนวผีทั้งหมด 6 ประเภท ไดUแกF อุดมการณ9ศักดินา อุดมการณ9ทุนนิยม อุดมการณ9เรื่องคุณคFาของแตFละเพศ และ ความสัมพันธ9ระหวFางเพศ อุดมการณ9ชาตินิยม อุดมการณ9เกี่ยวกับความรุนแรง อุดมการณ9แหFง ไสยศาสตร9 นอกจากน้ียังพบอุดมการณ9อื่น ๆ เพิ่มอีก 3 ประเภท ไดUแกF อุดมการณ9แหFงพุทธศาสนา อดุ มการณ9วิทยาศาสตร9 และอุดมการณ9เร่ืองความรกั ผลการศึกษาความสัมพันธ9ระหวFางพุทธศาสนาและไสยศาสตร9ในละครโทรทัศน9แนวผีที่ ออกอากาศในชFวงปé พ.ศ. 2550 - 2555 พบวFา ละครโทรทัศน9แนวผีเนUนการนำเสนออุดมการณ9 พุทธศาสนาผFานความเชื่อและคำสอนของพุทธศาสนา เรื่องบุญและบาป เนื้อคูF เจUากรรมนายเวร ชาติภพ กฎแหFงกรรม การใหUอภัย การนั่งสมาธิ โดยเนUนที่เรื่องกฎแหFงกรรมและการใหUอภัยเป_นหลัก เพื่อใหUผUูชมรูUจักเกรงกลัวตFอบาปกรรมทจี่ ะติดตFอและสFงผลตFอชะตาชีวิตของตวั ละครในทุกชาติภพ ทั้งนี้ พุทธศาสนาในละครโทรทัศน9แนวผียังมีลักษณะของความเหนือธรรมชาติในรูปแบบของอภิญญา ปาฏิหาริย9 มีพลังพิเศษสามารถเอาชนะพลังสิ่งชั่วรUาย สFวนไสยศาสตร9นั้นไดUรับการนำเสนอใหUเห็นวFาเป_น สิ่งเหนือธรรมชาติและมีอยFูจริง โดยแบFงไสยศาสตร9ออกเป_น 2 ประเภท คือ ไสยศาสตร9ขาวและ ไสยศาสตร9ดำ ไสยศาสตร9ขาวเป_นสิ่งเสริมพลังอำนาจของพุทธศาสนา ในขณะที่ไสยศาสตร9ดำเป_นสิ่งที่ ขัดแยUงหรือเป_นคูFตรงกันขUาม อีกทั้งยังแสดงใหUเห็นวFาปมป®ญหาในเรื่องมักเกิดจากไสยศาสตร9 และ ทUายที่สุดแลวU พุทธศาสนาจะเขUามาแกUไขป®ญหาตาF ง ๆ ใหUคล่ีคลายในภายหลัง

97 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 97 กลFาวไดUวFา ละครโทรทัศน9แนวผีไดUพยายามแสดงใหUเห็นอุดมการณ9ตFาง ๆ ที่หลากหลายใน สังคมไทย ความสัมพันธ9ของแตFละอุดมการณ9จึงมีความเชื่อมโยงกันทั้งในลักษณะที่ขัดแยUงและสFงเสริม กัน โดยมีอุดมการณ9เรื่องความรักเป_นอุดมการณ9หลักของเรื่อง โดยใชUอุดมการณ9พุทธศาสนาเขUามา กำหนดคุณคFา เร่ืองความรักนำเสนอใหUเห็นวFาความรักที่อยFูในศีลธรรมและความถูกตUองเป_นสิ่งที่ดี สFวน ไสยศาสตร9ในทางชั่วรUายที่เกี่ยวขUองกับความลุFมหลงในตัณหาตUองพFายแพUไป แมUวFาในละครโทรทัศน9ไดU ตอกย้ำความเชื่อที่ไสยศาสตร9มีพลังอำนาจจริง แตFในทUายที่สุดพลังอำนาจของไสยศาสตร9ท่ีชั่วรUายยFอม ตกเป_นรองพลังอำนาจพุทธศาสนา แสดงใหUเห็นวFาพุทธศาสนาคือความเชื่อที่สำคัญที่สุดของคนในสังคม ละครโทรทัศน9แนวผจี งึ เปน_ สือ่ สำคัญในการนำเสนอความเปน_ พุทธศาสนาออกมาสผFู Uูชมอกี ทางหนงึ่ ดUวย

98 98 ⬗ บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Wattanapon Nonluecha. 2 0 1 4 . Ideology and Relationship of Buddhism and Black Magic in Thai Ghost Television Drama. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT This thesis paper aims to study the scripts of nine Thai ghost television dramas broadcasted in 2007-2012 including 'Pee Kaew Nang Hong,' 'Sab Pu Sa, Wayupakmontra,' 'Roi Mai,' 'Buang,' 'Pu Som Phao Sab, \"Put Mae Nam Khong,' 'Mue Nang,' and 'Pang Saneha.' The objectives are to study the ideology and to study the relationship of Buddhism and black magic which is using Louis Althusser's ideology together with Kanjana Kaewtep's ideology categorization in Thai ghost television dramas broadcasted in 2007-2012. This thesis is the qualitative analysis and the results are presented as descriptive analysis. The results are as follows: Result of studying the ideology in Thai ghost television dramas broadcasted in 2007-2012 is that there are six types of the ideologies based on Kanjana Kaewtep's categorization including hierarchy, capitalism, value and relation of male and female, nationalism, violence, and black magic. Besides, there are other ideologies found including Buddhism, science, and love. Result of studying the relationship of Buddhism and black magic in Thai ghost television dramas broadcasted in 2007-2012 is that Thai ghost television drama focused on presenting the ideology of Buddhism through belief and philosophy, such as merit and sin, soul mate, enemies from former life, incarnation, karma, forgiveness, and meditation. Karma and forgiveness are mainly emphasized in order to make audiences realize that karma will affect their lives in every incarnation Buddhism in Thai ghost television dramas also includes super power which can defeat all the bad things or bad spirit. Generally, black magic is presented like it really exists, and is divided into two types which are white and black. White magic is to support the power of Buddhism while black magic is contradiction. It is shown that the problem is usually caused by black magic, and Buddhism is the thing to cope with it.

99 บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 99 In general, Thai ghost television dramas are trying to present the variety of ideologies in Thai society, and relationship of each ideology is connected in both contradictive and supportive way. Basically, love is the core ideology of story that Buddhism is used to define its value. Also, it is presenting that love based on rightness and morality is good thing while the black magic which relates to lust will be defeated in the end. In dramas, black magic is emphasized that it exists, and the dark one will eventually lose to Buddhism. This is shown Buddhism is the most important belief of people in the society. Therefore, horror drama is one of significant mediums to present the Buddhism to audiences.

100 100 ⬗ บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย พระสมุห9อนันตศักด์ิ พลแกUวเกษ. 2557. การศึกษาตัวบทและบทบาทของหมอลำคณะบbานร7มเย็น จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ: : ดร.อุมารนิ ทร9 ตลุ ารกั ษ9 บทคดั ย7อ วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มุFงศึกษาตัวบทและบทบาทของหมอลำคณะบUานรFมเย็น จังหวัดมหาสารคาม โดยมีวัตถุประสงค9สองประการคือ 1. เพื่อศึกษาตัวบทของหมอลำคณะบUานรFมเย็น และ 2. เพื่อศึกษา บทบาทของหมอลำคณะบUานรFมเย็นในการเผยแพรFความรูUเพื่อป≥องกันรักษาชาวบUาน โดยใชUทฤษฎี บทบาทหนUาที่ของคติชนในสังคม ของ วิลเลียม บาสคอม (William Bascom) วิเคราะห9ขUอมูลเชิง คณุ ภาพและนำเสนอผลการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการศกึ ษามี ดงั น้ี ผลการศึกษาวิเคราะห9ตัวบทของหมอลำคณะบUานรFมเย็น จังหวัดมหาสารคาม พบวFา โครงสรUางของหมอลำคณะบUานรFมเย็น แบFงออกเป_น 2 ลักษณะ คือ 1. การเรียงลำดับตัวบท ไดUแกF การ ไหวUครู การแนะนำตัวผูUแสดง การนำเสนอเนื้อหาที่เป_นแกFนของเรื่อง การลำลาผูUชม และการอวยพรใหU เจUาภาพและผูUชมผูUฟ®งหมอลำ 2. รูปแบบและลักษณะของตัวบทหรือคำประพันธ9ของหมอลำคณะบUาน รFมเย็น แบFงออกเป_น 2 ลักษณะ ไดUแกF ตัวบทที่แตFงขึ้นใหมF มีลักษณะคลUายรFายโบราณ และคลUายกลอน และตัวบทที่มาจากการดัดแปลงจากตัวบทเดิมที่มีมากFอน พบวFา มีการดัดแปลงตัวบท 2 ลักษณะ ไดUแกF 1. ลักษณะที่นำตัวบทเดิมมาดัดแปลงบางสFวน มีลักษณะคลUายรFายโบราณ 2. ลักษณะการนำตัวบทเดิม ทีม่ มี ากอF นมาใชUทัง้ หมด มีลักษณะคลUายราF ยโบราณเชFนกัน ดUานเนื้อหากลอนลำของหมอลำคณะบUานรFมเย็น แบFงออกเป_น 13 ประเด็น ดังนี้ 1. การแนะนำ ตัวและที่มาของหมอลำคณะบUานรFมเย็น 2. การแนะนำโทษของการไมFเคารพสิทธิมนุษยชน 3. การ แนะนำวิธีป≥องกันไมFใหUเสี่ยงตFอการติดเชื้อเอดส9และโรคอื่น ๆ 4. เนื้อหาการนำเสนอเป_นนิทานเกี่ยวกับ การใหUความรูUเรื่องเอดส9และโรคอื่น ๆ 5. การขอความรFวมมือผูUซื้อและผูUขายยาบUาใหUเห็นภัยที่เกิดขึ้นจาก ยาบUา 6. การแนะนำวิธีป≥องกันการติดเชื้อไขUหวัดใหญF 2009 7. การบอกลักษณะของการปûวยเป_นโรคไต 8. การเตือนสติในการดำเนินชีวิตของเพศที่สาม 9. การปฏิบัติตนตามหลักสุขอนามัย 10. การแนะนำวิธี ป≥องกันรักษาวัณโรค 11. การกลFาวตUอนรับผูUตรวจการกระทรวงสาธารณสุข 12. การบวชทดแทน พระคณุ ของบดิ ามารดา 13. การกลFาวลาผูUชมและการอวยพรสงF ทาU ยแกFผูUชม สFวนการวิเคราะห9บทบาทของหมอลำคณะบUานรFมเย็นในการเผยแพรFความรูUเพื่อป≥องกันโรค เอดส9และโรคติดตFอทางเพศสัมพันธ9อื่น ๆ พบวFา ทั้งบทบาทการแสดงและเนื้อหาของตัวบทมีบทบาทตFอ ชุมชนสอดคลUองตามทฤษฎีคติชนวิทยาของ วิลเลียม บาสคอม (William Bascom) คือ 1. บทบาทใน การใหUการศึกษาแกFคนในชุมชน 2. บทบาทในการรักษาอบรมระเบียบสังคมและรักษามาตรฐานทาง

101 บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 101 พฤติกรรมที่เป_นแบบแผนของสังคม แบFงออกเป_น 2 ประเด็น คือ ทางธรรมและทางโลก 3. บทบาทใน การใหUความเพลิดเพลินและเป_นทางออกใหUกับความคับขUองใจของบุคคล แบFงออกเป_น 2 ประเด็น คือ 1. บทบาทในการใหUความเพลิดเพลิน ทั้งดUานวรรณศิลป± และดUานการแสดง 2. บทบาทในการเป_น ทางออกความคับขUองใจ แบFงออกเป_น 2 กลุFม คือ บทบาทในการเป_นทางออกใหUกับความคับขUองใจของ ผูUปûวยและบุคคลที่เกี่ยวขUอง และบทบาทในการเป_นทางออกใหUกับความคับขUองใจของบุคคลทั่วไป 4. บทบาทในการใชUอธิบายที่มาและเหตุผลในการทำพิธี แบFงออกเป_น 3 ดUาน คือ ดUานการแสดง ดUานตัว บทและดUานบทบาท กลFาวไดUวFา การแสดงหมอลำของคณะบUานรFมเย็นเปรียบไดUกับพิธีกรรมสำคัญทางคติชนวิทยา ในการประสานศิลปะพื้นบUานกับความรูUทางการแพทย9 เพื่อใหUเขUาถึงชุมชนและเพื่อใหUสังคมตระหนักถึง ผลของการรักษาโรคภัย รวมทั้งการป≥องกันและบำบัดรักษา ดUวยบทบาทดังกลFาวทำใหUหมอลำคณะบUาน รFมเย็นโรงพยาบาลมหาสารคาม ไดUรับความนิยมจากสังคมและเป_นสิ่งที่มีคุณคFามีประโยชน9ตFอสังคม อยาF งย่งิ

102 102 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Phra Samuanantasak Ponkawkes. 2014. The study of texts and roles of Morlum Ban Romyen group in Mahasarakham province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The study of texts and roles of Morlum Ban Romyen group in Mahasarakham province. was to study the text and the role of Morlum Ban Romyen and to study the role of Morlum Ban Romyen in accordance with propagation of knowledge to protect and save the community from illness things according to William Bascom’s role theory of folk wisdom in the society. The qualitative data analysis was made with the representation of descriptive analysis. A result of this study was in the following aspects. A result of analyzing the text and the role of Morlum Ban Romyen in Mahasarakham province was found that the structure of Morlum Ban Romyen was divided into two aspects: (1) paying the respect to the teachers, introduction of players to the audiences, representation of the story’s content, saying goodbye, and blessing the host and audiences, (2) the form and the characteristics of the text or verses of Morlum Ban Romyen divided into two aspects, and “Raai” ( ร F า ย ) . The text taken from the original text in the past was found that there were two ways of the verse-modification The first was the modification of some part of the original text that was like the ancient form. The second was to use all parts of the original verse that was like the ancient verse. The content of verses of Morlum Ban Romyen was divided into thirteen aspects. The first was introduction and a history of Morlum Ban Romyen The second was the introduction of disrespect of human right. The third was to give a way to protect a person from the risk of AIDS and the other diseases. The fourth was the content to storytelling about AIDS and other diseases. The fifth was the cooperation between a buyer and a seller to learn the danger of methamphetamine. The sixth was to show a way of self- protection from Influenza A 2009 (H1N1). The seventh was to tell the symptom of renopathy. The eighth was to remind people of a way of the transsexual life. The ninth

103 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 103 was to follow the principle of sanitation. The tenth was to protect life from tuberculosis. The eleventh was the salutatory to the inspector in Ministry of Public Health. The twelfth was to get the ordination for the compensation of the parents’ goodness. The thirteenth was to say goodbye and to bless the audiences. An analysis of Morlum Ban Romyen role in accordance with propagation of knowledge to protect people from AIDS and other sexual tranmitted diseases was found that both performance and the content of the text influenced the communities. It was in conformity with William Bascom’s theory in two aspects. The first was the role of giving knowledge to people in the community. The second was the role of keeping the social order and developing the standard of social custom, actually divided into two aspects: a Dhamma aspect and a worldly aspect. The third was the role of entertainment and a way to release the people’s mental suffering, generally divided into two aspects: (1) the role of entertainment covering both art created language and performance and (2) the role to allow a person in showing his mental suffering. The last aspect could be divided into two groups: the role of showing the mental suffering among the patients and related people, and the role of showing the mental suffering among other people. The fourth was the role of describing the history and a reason of the rite that could be divided into three aspects: performance, the text and the role. It might be concluded that the performance of Morlum Ban Romyen could be compared to the important rite of folklore in joining the folk art and the scientist knowledge in order to understand clearly the community and remind the societies of a reason of curing the diseases. It also included the protection and curing the diseases by means of the above-mentioned role. As a result, Morlum Ban Romyen, the Mahasarakham hospital was famous, valuable and useful in the societies.

104 104 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย กฤต โสดาลี. 2557. วาทกรรมผูbหญิงยุคใหม7ในนวนิยายของดวงตะวัน. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพยี ยุระ บทคดั ย7อ งานวิจัยเรื่องวาทกรรมผูUหญิงยุคใหมFในนวนิยายของดวงตะวัน มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาการ ประกอบสรUางวาทกรรมผูUหญิงยุคใหมFและเพื่อศึกษาลักษณะของผูUหญิงยุคใหมFในนวนิยายของดวงตะวัน โดยศึกษาจากชุดวรรณกรรมธิโมส9 ซึ่งมีจำนวน 13 เรื่อง ไดUแกF เรื่อง เพชรอสูร, แรขอบฟ≥าอรุโณทัย, รัตติกาลยาตรา, สดับเสียงรัก, รุUงในลมหนาว, เอลันตรา, ณ ที่ดาวพราวพรFางรัก, บัลลังก9บุหลัน, ผีเสื้อ ลายตะวัน, ปราสาททรายในสายฝน, ดอกไมUและสายลม, รักที่ริมทะเลเมฆ และเรื่องรุUงจันทร9ตะวันดาว โดยการใชUกรอบแนวคิดเรื่องวาทกรรม ตามทรรศนะของมิเชล ฟูโกต9 และแนวคิดภาวะทันสมัย ตามทรรศนะของอเลก็ ซ9 องิ เคเลส ผลการศึกษาพบวFา ในดUานการประกอบสรUางวาทกรรมผูUหญิงยุคใหมF ดวงตะวันไดUสรUาง วาทกรรมอีกชุดหนึ่งในลักษณะที่เป_นคูFตรงกันขUาม คือวาทกรรมผูUหญิงยุคเกFา โดยวาทกรรมผูUหญิงยุคเกFา ถูกประกอบสรUางขึ้นจากระบบสังคมแบบป´ตาธิปไตยและระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ทำใหUตัวละคร หญิงถูกปฏิเสธความคิดเห็นในประเด็นตFาง ๆ การถูกกำหนดวFาเป_นวัตถุทางเพศ กระทั่งทำใหUตัวละคร หญิงถูกขFมขืนและกระทำชำเรา รวมถึงการถูกลดคุณคFาจากความเป_นมนุษย9ใหUเหลือเพียงเครื่องมือที่จะ ทำใหUตัวละครชายใชUประโยชน9 ขณะที่วาทกรรมผูUหญิงยุคใหมFไดUถูกนำเสนอผFานบุคลิกภาพในดUานตFาง ๆ ของตัวละครหญิงใหUมีความมุFงมั่นในการทำงาน, ความมั่นใจในตนเอง, ลักษณะของผูUที่มองการณ9ไกล, ความสามารถในการแกUป®ญหาและตัดสินใจไดU, ความสงFางาม, ความกลUาหาญ และความรุนแรง รวมถึงมี การกำหนดลักษณะของผูUหญิงใหUตUองมีความโอบอUอมอารี, ความกตัญ¿ู และหUามคบชูUสูFชาย ซึ่งเป_น ลักษณะทีส่ อดคลอU งกบั ลักษณะของผหูU ญงิ ทด่ี ใี นอดุ มคตติ ามความคาดหวังของสังคม ลักษณะของผูUหญิงยุคใหมFเกิดขึ้นจากความพยายามของตัวละครหญิงที่ตUองการจะมีบทบาทอยูF ในสังคม ตัวละครหญิงไดUแสดงออกถึงการเป´ดรับประสบการณ9ใหมFและยอมรับความเปลี่ยนแปลงของ สังคม ตลอดจนถึงตUองปรับตัวใหUเขUากับป®จจุบัน การที่ตัวละครหญิงแสดงออกถึงลักษณะดังขUางตUนน้ี จะ ทำใหUตัวละครหญิงสามารถมีสFวนรFวมในสังคมตFาง ๆ และทำใหUตัวละครหญิงสามารถแสดงออกถึง ศักยภาพและความสามารถในดUานอื่น ๆ ไดU เชFน การแสดงจุดยืน, การแสวงหาขUอเท็จจริง, ความเชื่อม่ัน ในตนเอง, การมองการณ9ไกล, การใชUเหตุผล, การพัฒนาทางทักษะ, การเคารพสิทธิ์และศักดิ์ศรีของ ตนเองและผUอู ่ืน และการมองโลกในแงFดี

105 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 105 Kit Sodalee. 2014. ‘Modern woman’ Discourse in Duangtawan’s Novels. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT The aims of this study were to investigate the construction of a modern woman discourse and to examine the female characteristics in Duangtawan’s Novels. In so doing, 13 stories in the Thimos literature series were thoroughly explored. These stories included Petch-A-Suan, Rae-Khob-Pha-Arunothai, Rattigarn-Yatra, Sa-Daph-Seang-Rak, Rung-Nai-Lomnaow, Ae-Luntra, Na-Tee-Daow-Praw-Prang-Rak, Ban-Lang-Bu-Lan, Phee- Suae-Lai-Tawan, Prasart-Sai-Nai-Sai-Phon, Dokmai-Lae-Sailom, Rak-Tee-Ream-Talae-Maek, and Rung-Chan-Tawan-Daow. Michel Foucault’s Discourse Theory and Alex Inkeles’s Modernization Theory were used as the theoretical frameworks of this study. Results in the part of the construction of modern woman discourse revealed that Duangtawan created a discourse named traditional woman discourse to be compared with the modern woman discourse. As the traditional discourse was constructed from Patriarchal Social System and Capitalist Economic System, it was evident that female characters’ opinions on many issues were usually rejected. Furthermore, those female characters were seen as only the sex objects. Such view was evident in many situations where women were sexually assaulted. They were devalued and were seen as only the tools that men could make use of. In contrast, the modern woman discourse was presented through various characteristics of female characters. For example, they were seen as the ones who posses working determination and self-confidence. There were also described as being provident women, having an ability to solve problems and being able to make decisions. These women were seen as having grace, courage, and harshness. They were determined to have generosity as well as gratitude. These women were given no chance to be unfaithful to their husbands. All of these characteristics conform to the characteristics of ideal women expected by a society. In terms of modern women characteristics, the results revealed that characteristics of modern women were seen as a result of their attempts to play roles in the society. These female characters have showed that they were open to new

106 106 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย experiences and changes in the society. They also exhibited the attempts to adjust themselves in the current situation. From all of these characteristics, these female were seen having roles in the society. For example, they were seen being able to express their ideas, seeking for truth, being self-confident, being provident, and being reasonable. They also had skill development as well as showed respects not only on their right and dignity but also on others’. These women were seen having optimistic views.

107 บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 107 พัชนุช เครือเจริญ. 2557. “เมียนbอย” ภาพสตรีชายขอบที่สื่อผ7านเพลงลูกทุ7ง. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ดร.อุมารินทร9 ตุลารกั ษ9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่อง “เมียนUอย” ภาพสตรีชายขอบที่สื่อผFานเพลงลูกทุFง มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษา 1) ภาพแทนของเมียนUอยในเพลงลูกทุFง 2) บทบาททางเพศ และความเป_นชายขอบของเมียนUอยในบท เพลงลูกทุFง โดยมีขอบเขตขUอมูลเป_นเพลงลูกทุFงที่มีเนื้อหาถFายทอดเรื่องราวผูUหญิงที่เป_นเมียนUอย ขับรUอง โดยนกั รอU งหญิง และมีการถาF ยทอดระหวาF งปé พ.ศ. 2520 - 2555 จำนวน 64 เพลง ผลการศึกษาพบวFา ภาพแทนของเมียนUอยผูUศึกษาใชUแนวคิดของ Hall (1997) โดยการวิเคราะห9 สัญญะที่ปรากฏในเพลงลูกทุFง พบวFาภาพแทนเมียนUอยมี 8 ภาพแทน ไดUแกF 1) ภาพผูUหญิงที่มีความทุกข9 ทรมาน เจ็บปวดและขมขื่น 2) ภาพผูUหญิงชายขอบที่สังคมเหยียดหยามประณามวFาเลวรUาย 3) ภาพ ผูUหญิงที่มีสถานภาพเป_นตัวสำรอง 4) ภาพผูUหญิงที่ต่ำตUอยดUอยคุณคFา ไมFมีศักดิ์ศรีในสังคม 5) ภาพผูUหญิงที่ถูกมองเป_นวัตถุทางเพศ 6) ภาพผูUหญิงที่เป_นเบี้ยลFางผูUชายหรือสามี 7) ภาพผูUหญิงที่ถูก เกบ็ ซอF นไวUเป_นความลบั ของผUูชายหรอื สามี และ 8) ภาพผูUหญิงที่กลาU ทUาทายตFอวฒั นธรรมกระแสหลัก เมื่อศึกษาบทบาททางเพศของเมียนUอยในบทเพลงลูกทุFงตามแนวคิดของปราณี วงศ9เทศ (2544) โดยศึกษาบทบาทผูUหญิงพบวFา มี 4 บทบาท ไดUแกF 1) บทบาทภรรยา มี 3 ลักษณะ ไดUแกF ภรรยาที่เป_นรอง ภรรยาที่เป_นเบี้ยลFางของสามี และภรรยาแบบลับ ๆ ของสามี 2) บทบาทแมFบUาน 3) บทบาทวัตถุ ทางเพศ และ 4) บทบาทผูUหญิงกลUาประพฤติตนนอกกรอบ และเมื่อศึกษาความเป_นชายขอบของ เมียนUอยก็พบวFา ความเป_นชายขอบนั้นเกิดจาก 1) อำนาจกฎเกณฑ9ของรัฐและกฎจารีต 2) อำนาจ ศีลธรรมในพระพุทธศาสนา 3) สังคมประทับตราวFาเลวรUาย 4) การถูกลดทอนคุณคFาความเป_นคน และ 5) การถกู กดทบั จากอำนาจชายเปน_ ใหญF การศึกษาภาพแทนบทบาททางเพศ และความเป_นชายขอบของเมียนUอยทำใหUเกิดความเขUาใจ เมียนUอยในรูปแบบใหมF การใชUพื้นที่วรรณกรรมเพลงลูกทุFงในการตอบโตUและตFอรอง รวมถึงการสรUาง ความหมายของเมียนUอยที่แตกตFางจากความเชื่อเดิมทำใหUเห็นถึงอำนาจของวรรณกรรมเพลงลูกทุFงใน ฐานะวรรณกรรมสื่อสังคมที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังทำใหUเห็นความไมFเสมอภาคทางเพศที่ผูUหญิง ยังออF นดอU ยกวาF เพศชายไมวF FาจะอยูFในสถานภาพเมียหลวงหรือเมยี นUอย

108 108 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Phachanut Khuajaroen. 2014. “The Mistress” the Representation of Marginal Women Through Thai Folk Songs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The objectives of this study were: 1) to study the representation of the mistress; exist in Thai folk songs, and 2) to study gender role of the mistress which is the marginal person from Thai folk songs. The extent of the study is Thai folk songs which relate to the mistress; presented by female singer; since 1977 to 2012, for 64 songs. The findings were as follows: Firstly, There were 8 representations of the mistress from Stuart Hall concept (1977) which analyzed from the signifier existed in Thai folk songs as follows: 1) the suffer, pain, torment, and bitterness of the woman who is the mistress 2) the marginal woman that the social criticize to be bad, 3) the woman at substitution status, 4) the woman at the inferior position, no dignity, 5) the woman image as a sex object, 6) the woman which disadvantage to her husband, 7) the woman that her husband keep her as his secret, and 8) the woman who defy the main custom. Secondary, the findings from Pranee Vongtes concept (2001) by studying female role found that there were 4 roles, as follows: 1) Wife role; 3 types such as, wife as the substitution of her husband, wife who is disadvantage ous to her husband, and mistress, 2) the role as a sex object, 3) the housewife role, and 4) the woman who dare to do something outside the box. The study of the reasons to be the marginal of the mistress were : 1) the law and the custom power, 2) Buddhism moral power, 3) Social proscription, 4) Human value decrease from social, and 5) to trample from male which is more power than female. Lastly, the study of the representation, the gender role, and the marginal of the mistress, make a new understanding. Using the literature exist in Thai folk songs for strike and negotiation, including the creation of mistress meaning which different from the old belief, presents the power of Thai folk songs as the effective literature media of the social. Moreover, it presents the unequal gender that female is disadvantage even in a wife position or a mistress.

109 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 109 ฉิง หลี่. 2558. การใชbภาษาไทยในการตอบรับคำชมของคนจีนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ี่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ดร.ศภุ กติ บัวขาว บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9กลวิธีและป®ญหาการใชUภาษาไทยในการตอบรับคำชมของ คนจีนในประเทศไทย โดยเก็บขUอมูลจากผูUใหUขUอมูลที่เป_นคนจีนที่ใชUชีวิตอยูFที่ประเทศไทยเป_นเวลา 2 เดือนขึ้นไป จำนวน 30 คน การศึกษานี้เก็บขUอมูลโดยแบบทดสอบเติมเต็มบทสนทนา (Discourse Completion Test หรือ DCT) ซึ่งจำแนกตามหัวขUอคำชมตามแนวคิดของ Holmes (1986) เป_น 4 หัวขUอ คือ รูปรFางหนUาตาหรือการแตFงกาย (appearance) ความสามารถ (ability) สิ่งของครอบครอง (possessions) และบุคลกิ ภาพ (personality) ผลการศึกษาพบวFาผูUใหUขUอมูลมีการใชUกลวิธีหลักในการตอบรับคำชมทั้ง 3 กลวิธี ไดUแกF การ ยอมรับ การปฏิเสธ และการเลี่ยง โดยการยอมรับเป_นกลวิธีที่พบมากที่สุด รองลงมาเป_นการเลี่ยง กลวิธี การปฏิเสธเป_นกลวิธีที่ใชUนUอยที่สุด ในสFวนของกลวิธียFอยในการตอบรับคำชมมี 3 กลวิธีที่คนจีนใน ประเทศไทยเลือกใชUมากที่สุด คือ การแสดงความชื่นชมหรือการเห็นดUวย การใหUคำชมกลับ และการใหU รายละเอียด ผลการศึกษากลวิธีการตอบรับคำชมในหัวขUอคำชมรูปรFางหนUาตาหรือการแตFงกาย ความสามารถและบุคลิกภาพผูUตอบรับคำชมใชUกลวิธีหลักทั้ง 3 กลวิธี แตFในหัวขUอคำชมสิ่งของ ครอบครอง ผูUตอบรับคำชมใชUเพียง 2 กลวิธีหลัก คือ การยอมรับและการเลี่ยงเทFานั้น ในสFวนของ รูปแบบของถUอยคำที่ใชUในการตอบรับคำชมพบวFา ผูUตอบรับคำชมที่เป_นคนจีนที่ใชUชีวิตอยูFที่ประเทศไทย ตอบคำชมดUวย 1 กลวิธีมากที่สุด รองลงมาคือตอบดUวย 2 กลวิธี โดยใชUกลวิธีการยอมรับรFวมกับกลวิธี การเลี่ยง สำหรับป®ญหาในการใชUภาษาไทยในการตอบรับคำชมของคนจีนที่ใชUชีวิตอยูFที่ประเทศไทย พบ 4 ประเด็น คือป®ญหาในการสะกดคำ ป®ญหาการใชUคำผิดหรือไมFเหมาะสม ป®ญหาการเรียงคำใน ประโยค และป®ญหาการใชUภาษาไทย โดยแปลจากภาษาจีน ผลการศึกษาครั้งนี้ยังแสดงใหUเห็นวFา นอกจากคนจีนในประเทศไทยใชUกลวิธีการยอมรับคำชมในภาษาไทยคลUายกับการตอบรับคำชมของ คนไทยแลUว คนจีนในประเทศไทยยังใชUภาษาอินเทอร9เน็ตในการตอบรับคำชมซึ่งเป_นผลจากการสื่อสาร ในชวี ติ ประจำวันกับคนไทย

110 110 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Qing Li. 2015. The Use of Thai Language in Compliment Responses of Chinese People in Thailand. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT This study aims at investigating the compliment response strategies and the problems in using Thai language used by Chinese people in Thailand. The 3 0 Chinese participants, who lived in Thailand for more than 2 months, have been chosen to participate in this study. They were asked to answer the discourse completion test (DCT) which has 8 daily life situations in 4 topics according to Holmes (1986): appearance, ability, possessions and personality. It is found that there are three main strategies of compliment responses in Thai used by Chinese people in Thailand, which are acceptance, rejection and deflection/evasion. Participants mostly use the acceptance strategy, and the second and third strategies are deflection/evasion, and the rejection, respectively. For using sub- strategies, the appreciation/agreement token, return compliment, and informative comment are mostly used by Chinese people in Thailand. The result also shows that the participants use all the strategies on the 3 topics: appearance, ability and personality, but the participants only use the acceptance and deflection/evasion strategy on the topic of possessions. On the patterns of the compliment response utterances, participants mostly use only 1 strategy to respond the compliment, and they secondly use 2 strategies that are acceptance and deflection/evasion strategy. The problems in using Thai language have reached 4 problems in this study which are: problems in spelling Thai words, problems in using words and inappropriate word, problems in word order of sentences, and problems in using Thai language by translating from Chinese. The results of this study also indicated that Chinese people in Thailand use the compliment response strategies same as Thai people. Furthermore, Chinese people also use internet language in compliment responses, which is the result from the effect in the daily-life communication with Thai people.

111 บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 111 จุไรรัตน9 แอมนนท9. 2558. การนำเสนอภาพความเปùนชายในเรื่องสั้นรางวัลวรรณกรรมซีไรต:. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารยท: ่ีปรึกษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพยี ยุระ บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9เรื่องนี้เป_นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งศึกษาการนำเสนอภาพความเป_นชายในเรื่องส้ัน รางวัลวรรณกรรมซีไรต9โดยมีวัตถุประสงค9ในการศึกษา 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาการนำเสนอภาพ ความเป_นชายที่ปรากฏในเรื่องสั้นรางวัลวรรณกรรมซีไรต9ที่เขียนโดยนักเขียนผูUชาย 2) เพื่อศึกษาการ ประกอบสรUางภาพความเป_นชายในเรื่องสั้นรางวัลวรรณกรรมซีไรต9ที่เขียนโดยนักเขียนผูUชาย ขอบเขต ของการวิจัยใชUเนื้อหาของเรื่องสั้นรางวัลวรรณกรรมซีไรต9ทั้งหมด 10 เลFม ตั้งแตFปé 2524 จนถึงปé 2554 ไดUแกF ขุนทองเจUาจะกลับเมื่อฟ≥าสาง, ซอยเดียวกัน, กFอกองทราย, ครอบครัวกลางถนน, แผFนดินอื่น, สิ่งมีชีวิตที่เรียกวFาคน, ความนFาจะเป_น, เจUาหงิญ, เราหลงลืมอะไรบางอยFาง และแดดเชUารUอนเกินกวFาจะ นั่งจิบกาแฟ ใชUกรอบแนวคิดของ Abbott (1992) มาเป_นกรอบแนวคิดหลักในการวิเคราะห9 การ นำเสนอภาพความเป_นชายแบบเกFาและภาพความเป_นชายแบบใหมFงานวิจัยนี้ดำเนินการวิจัยโดยใชUวิธี วจิ ัยเอกสาร และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFา ดUานการนำเสนอภาพความเป_นชายแบบเกFา ประเด็นที่พบมากที่สุด คือ ความเขUมแข็งกUาวรUาวไมFอFอนไหว รองลงมา คือ ใชUอำนาจครอบครองผูUหญิง, คบเฉพาะในหมูFผูUชาย, เซ็กส9เป_นสิ่งสำคัญ และมองและแบFงผูUหญิงออกเป_นดีหรือเลว และประเด็นที่พบนUอยที่สุด คือ การ แตงF งานคอื ความจำเป_น ดUานการนำเสนอภาพความเป_นชายแบบใหมF ประเด็นที่พบมากที่สุด คือ แสดงอารมณ9อFอนไหว รองลงมา คือ ประสบความสำเร็จดUานธุรกิจ, มีความฉลาด, เป´ดเผยกับผูUหญิง, แตFงงานดUวยความรัก, มีความเสมอภาคทางเพศ, เซ็กส9ไมFใชFสิ่งสำคัญและประเด็นที่พบนUอยที่สุด คือ มีมนุษยสัมพันธ9ดี, ชอบคบคUากบั ผูหU ญิงและมองผหUู ญงิ วFาแตFละคนตาF งกัน ดUานการประกอบสรUางภาพความเป_นชายแบบเกFา ประเด็นที่พบมากที่สุด คือ ความเป_นผูUชาย มีอุดมการณ9, การใหUความสนใจกับกิจกรรมในพื้นที่สาธารณะ, การทำใหUผูUหญิงเสียใจหรือมีความสุขและ การเป_นผูUออกคำสั่งตFอผูUหญิงหรือกำหนดบทบาทของผูUหญิง สFวนประเด็นที่พบนUอยที่สุด คือ การใชU ภาษาหยาบคายหรือพูดเสียงดงั ดUานการประกอบสรUางภาพความเป_นชายแบบใหมF ประเด็นที่พบมากที่สุด คือ สนใจบรรยากาศ รอบตัว รองลงมา คือ แสดงความสนใจผูUหญิงอยFางเป´ดเผย และประเด็นที่พบนUอยที่สุด คือ การแสดง พฤติกรรมของผชUู ายที่สัมพันธ9กับส่งิ ท่เี คยเป_นของผUหู ญิง และใหคU วามสำคัญกบั วตั ถุและช่นื ชอบทุนนิยม

112 112 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Jurairat Amnon. 2015. The Representation of Masculinities in SEA Write Awarded Literature. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT “The Representation of Masculinities in SEA Write Awarded Literature” is a qualitative research. This research consisted of 2 objectives; 1) to study the presentation of male images in SEA Write Awarded Literature written by male authors, and 2) to study the illustration of Masculinities in the SEA Write Awarded Literature written by male authors. The research studied 10 Short Stories of the SEA Write Awarded Literature from 1981 to 2011 including \"Jao- koon-tong will come back at dawn,” “The Same Lane,” “Building the Sand Pile,” “The Family in the Mid of the Street,” “The Other Lands,” “What are called Human Beings,” “The Probability, Jao-ngin,” “We forget Something.” and \"The morning sun light is too hot for a cup of coffee” by using Abbott (1992)'s conceptual framework for the analysis. Descriptive Analysis was adopted for the presentation of the research findings. The study revealed that the most frequent issues being found in the presentation of the traditional man masculinities were “the strength,” and “the aggression with no sensitivity.” The less frequent issues were “the power to control women,” “male socializing.” “Sex is important thing,” and “judging women as good or bad, respectively” The least frequent issue being found was the marriage is necessary.” On the aspect of the representation of the new man masculinities, the most frequent issue being found, was “the sensitive emotional expression.” The less frequent issues were “the successful business,” “intelligence” “openness to women,” “married for love”, and “viewing sex as not an important thing”, respectively. The smallest group of frequent issues were “friendliness,” “like to socialize with women,” and “viewing women as individual differences.” On the aspect of masculinity construction, the most frequent issues being found in traditional masculinities were “ideological men” “public activities oriented,” “power to make women sad or happy”, and the “power to determine women's roles”, respectively. The least frequent issues being found was “the rudeness of verbal usage” and “being loud” On the side of construction of new man masculinities, the most frequent issue being found was “atmosphere attention”. The second order was “the expression of women interest”. The smallest numbers of frequency fell to the issues of “men's association with women's belongings” and “being materialist or value capitalism”.

113 บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 113 สุทธภา อินทรศิลป±. 2558. การเล7าเรื่องและอุดมการณ:ในนวนิยายเพื่ออาเซียนของนักเขียนไทย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารย:ท่ปี รึกษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคดั ยอ7 งานวิจัยน้ี ศึกษาการเลFาเรื่องและอุดมการณ9ในนวนิยายเพื่ออาเซียนของนักเขียนไทย โดยมี วัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การเลFาเรื่องและอุดมการณ9ที่ถูกนำเสนอในนวนิยายเพื่ออาเซียน โดยศึกษา เฉพาะนวนิยายที่มีจุดประสงค9ในการจัดทำขึ้นเพื่อสFงเสริมความตระหนักรูUแกFประชาชนไทย ไดUแกF นวนิยายในโครงการวรรณกรรมเพื่ออาเซียนทั้งหมด 5 เรื่อง และนวนิยายชุดบุพเพสันนิวาส ซึ่งจัดทำข้ึน เพ่อื ความเขาU ใจในประเทศอาเซียนท้งั หมด 5 เร่อื ง รวมท้ังหมดเป_น 10 เร่อื ง ผลการวิจัยพบวFา ผูUแตFงไดUสรUางองค9ประกอบของนวนิยายใหUมีความสัมพันธ9กับการนำเสนอ ขUอมูลเชิงสารคดี ในสFวนของโครงเรื่องผูUแตFงใหUความสำคัญตFอการไดUไปอยูFตFางประเทศของตัวละครเอก โดยกำหนดใหUสอดคลUองควบคูFไปกับการดำเนินเรื่อง และในตอนทUายของเรื่องแนวคิดหลักของนวนิยาย กลุFมนี้นำเสนอเกี่ยวกับความรัก ความเขUาใจ ในความเป_นอัตลักษณ9ของแตFละประเทศเป_นสำคัญ สามารถแบFงกลุFมนวนิยายตามแนวคิดของเรื่องไดUเป_น 2 กลุFม คือ นวนิยายเพื่ออาเซียนที่มุFงนำเสนอ ความรูUทางดUานประวัติศาสตร9และการเมือง และนวนิยายเพื่ออาเซียนที่มุFงนำเสนอความรูUเกี่ยวกับสภาพ สังคมและวัฒนธรรมในป®จจุบัน ตลอดจนสถานที่ทFองเที่ยวสำคัญ ซึ่งนวนิยายทั้ง 2 กลุFมนี้ ใชUความรัก เป_นสิ่งเชื่อมโยงความสัมพันธ9ของตัวละครเอกและเป_นสFวนสำคัญในการดำเนินเรื่อง ในดUานตัวละครเอก นั้นผูUแตFงสรUางขึ้นเพื่อใหUเป_นตัวแทนของประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนโดยใหUตัวละครเอกอีกฝûายเป_น คนไทยเสมอเพื่อนำเสนอใหUเห็นความสัมพันธ9ของไทยกับประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียน สFวนฉาก ของนวนิยายเพื่ออาเซียนเป_นองค9ประกอบที่มีความสำคัญมาก เพราะสFวนใหญFเป_นฉากที่มาจากสถานที่ จริงซึ่งผูUเขียนตUองการนำเสนอขUอมูลเชิงสารคดี เพื่อใหUผูUอFานสนใจสถานที่ทFองเที่ยวนั้น ๆ ในดUานของบท สนทนานอกจากจะมีหนUาที่ในการดำเนินเรื่องในสFวนของนวนิยายแลUว ก็ยังมีหนUาที่เฉพาะในการนำเสนอ ขUอมูลเชิงสารคดีอยFางเห็นไดUชัดอีกดUวย นอกจากนี้นวนิยายเพื่ออาเซียนยังสามารถแบFงมุมมองการเลFา เรื่องไดUทั้งหมด 3 ประเภท ไดUแกF การเลFาเรื่องแบบผูUรูU การเลFาเรื่องแบบใหUตัวละครเป_นผูUเลFาเรื่องและ การเลาF เรือ่ งแบบบนั ทึกความทรงจำ ในสFวนของอุดมการณ9ที่ปรากฏในนวนิยายเพื่ออาเซียน มีทั้งสิ้น 12 อุดมการณ9 พบอุดมการณ9 ทางการเมือง 2 อุดมการณ9 อุดมการณ9ทางเศรษฐกิจ 4 อุดมการณ9 และอุดมการณ9ทางสังคมและ วัฒนธรรม 6 อุดมการณ9 ดังนี้ อุดมการณ9ทางการเมือง ไดUแกF อุดมการณ9ชาตินิยม อุดมการณ9อำนาจ นยิ ม อดุ มการณท9 างเศรษฐกจิ ไดUแกF อดุ มการณท9 นุ นิยม อดุ มการณว9 ัตถนุ ยิ ม อุดมการณบ9 รโิ ภคนิยมและ

114 114 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย อุดมการณ9เงินตรานิยม อุดมการณ9ทางสังคมและวัฒนธรรม ไดUแกF อุดมการณ9ชนชั้น อุดมการณ9ศักดินา อดุ มการณส9 ตรีนิยม อุดมการณท9 Uองถิน่ นิยม อุดมการณไ9 สยศาสตร9 และอุดมการณค9 วามรัก จากการศึกษา พบวFา อุดมการณ9ที่ผูUแตFงมุFงนำเสนอใหUแกFผูUอFาน คือ อุดมการณ9ชาตินิยมและ อุดมการณ9ทUองถิ่นนิยม ซึ่งเป_นอุดมการณ9ที่สรUางขึ้นเพื่อตFอตUานอุดมการณ9ทุนนิยม อุดมการณ9วัตถุนิยม อุดมการณ9บริโภคนิยมและอุดมการณ9อำนาจนิยม อีกทั้ง อุดมการณ9ทุนนิยม อุดมการณ9วัตถุนิยม อุดมการณ9บริโภคนิยมและอุดมการณ9อำนาจนิยม เป_นอุดมการณ9ที่ถูกใชUเป_นสาเหตุของความขัดแยUง โดยมีอุดมการณ9ชาตินิยม อุดมการณ9ทUองถิ่นนิยมและอุดมการณ9ความรักเป_นตัวคอยคลี่คลายความ ขัดแยUงในที่สุด ซึ่งผูUแตFงตUองการสะทUอนใหUเป_นป®ญหาที่เกิดขึ้นกับประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนใน ป®จจุบัน จากการเป´ดประเทศใหUตFางชาติเขUามาลงทุนไดUอยFางเสรีนั้น สFงผลตFอวัฒนธรรมดั้งเดิมอันเป_น อตั ลกั ษณข9 องชาติ การมFงุ สFงเสริมแนวความคิดเกยี่ วกับชาตินยิ ม ทUองถ่ินนยิ มจึงเป_นสงิ่ สำคัญ

115 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 115 Sutthapha Intharasilp. 2015. Narration and Ideology in ASEAN Novel of Thai Novelists. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT This project aims to study Narration and Ideology in ASEAN Novel of Thai Novelists for 10 books. The author has created the novel elements correlating with the non-fiction presentation. For the plot, the author focused on living abroad of the main character. This was conformed to the continuity and at the end of the story. The major theme of this kind of novel mainly presented about love and understanding of the identity of each country. The novel was divided into 2 groups based on the concept of the story that were ASEAN novel aiming to present knowledge of the history and politics and ASEAN novel aiming to present knowledge about the current state of society and culture as well as major tourist attractions. These 2 groups of novels were used the love as the relation association of the main character and as an important part in the continuity. The author created the main character to represent the member countries of ASEAN and the other party of the main character was always Thai person to present the relation between Thailand and ASEAN member countries. The scene of the ASEAN novel was very important element because most of the settings were from the actual place where the author wanted to present the non-fiction information to make readers interesting in such tourist attractions. In terms of dialogue, it had not only the role in the continuity of the novel, but it also had a specific role in presenting non-fiction information obviously. In addition, ASEAN novels also divided the point of view into 3 types: the omniscient, the first-person narrator as a main character and the memoirs narration. There were 12 ideologies in the ASEAN novel: 2 of political ideology, 4 of economic ideology, and 6 of social and cultural ideology. The political ideology included nationalism ideology and authoritarianism ideology. The economic ideology included capitalism ideology, materialism ideology, consumerism ideology and moneyism ideology. The social and cultural ideology included class ideology, feudalism ideology, feminism ideology, localism ideology, occultism ideology and love ideology.

116 116 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย From the study, it was found that the ideologies that the author aimed to present to readers were nationalism ideology and localism ideology. These ideologies were created to resist capitalism ideology, materialism ideology, consumerism ideology and authoritarianism ideology. Moreover, the capitalism ideology, the materialism ideology, the consumerism ideology and the authoritarianism ideology were used as a cause of conflict and the nationalism ideology, localism ideology and love ideology were finally used to resolve the conflict. The author would like to reflect the current problems in the ASEAN member countries. From the free opening to the foreign investment, this could be affected the traditional culture which was a national identities. To promote the concept of nationalism and localism is important.

117 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 117 ธนพล เอกพจน9. 2558. อุปลักษณ:ความทุกข:ในภาษาไทย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.วิรัช วงศ9ภนิ ันทว9 ฒั นา บทคัดยอ7 งานวิจัยนี้มุFงศึกษารูปคำอุปลักษณ9และอุปลักษณ9มโนทัศน9ของคำวFา “ทุกข9” ในภาษาไทย ตามทฤษฎีการศึกษาอุปลักษณ9ที่ เลคอฟและจอห9นสัน (Lakoff and Johnson, 1980) เสนอไวU โดยเก็บ ขUอมูลจากงานเขียนทางวิชาการ งานเขียนกึ่งวิชาการ เรื่องแตFง หนังสือพิมพ9 กฎหมาย และเบ็ดเตล็ด ในคลังขUอมูลภาษาไทยแหFงชาติ (Thai National Corpus) ของภาควิชาภาษาศาสตร9 คณะอักษรศาสตร9 จุฬาลงกรณ9มหาวิทยาลัย และขUอมูลจากเว็บบล็อกของไทย 6 แหFง ท่ีเผยแพรFระหวFาง ปé พ.ศ. 2550 - 2556 ไดแU กF บลอ็ กแก็งค9 บล็อกกระปกุ โอเคเนชนั่ บลอ็ ก โกทูโนว9บล็อก เด็กดีบลอ็ ก และเอ็ดดโู ซนบล็อก ผลการศึกษาพบรูปคำอุปลักษณ9ความทุกข9จำนวน 548 รูปคำ และ รูปคำอุปลักษณ9ที่ปรากฏ สะทUอนมโนทัศน9เชิงเปรียบเทียบของผูUใชUภาษาไทยที่มีตFอความทุกข9ใน 13 มโนทัศน9 ไดUแกF [ความทุกข9 คือ มนุษย9] [ความทุกข9 คือ ธรรมชาติ] [ความทุกข9 คือ การตFอสUู] [ความทุกข9 คือ วัตถุสิ่งของ] [ความทุกข9 คือ โรค] [ความทุกข9 คือ พืช] [ความทุกข9 คือ สสารหรือสิ่งที่มีปริมาณวัดตวง] [ความทุกข9 คือ ไฟ] [ความทุกข9 คือ สิ่งปฏิกูล] [ความทุกข9 คือ สัตว9รUาย] [ความทุกข9 คือ อาหาร] [ความทุกข9 คือ การเดนิ ทาง] และ [ความทุกข9 คอื สถานทีห่ รอื สง่ิ ปลูกสรUาง] อุปลักษณ9มโนทัศน9เหลFานี้ สะทUอนใหUเห็นวFาผูUใชUภาษาเชื่อมโยงประสบการณ9ในชีวิตประจำวัน ไมFวFาจะเป_นประสบการณ9รับรูUทางรFางกาย ประสาทสัมผัส อารมณ9 และสังคมวัฒนธรรม มาทำความเขUาใจ ความทุกข9ซึ่งเป_นมโนทัศน9ที่ซับซUอนใหUเขUาใจและรับรูUงFายขึ้น นอกจากนี้ ยังพบวFาผูUใชUภาษาไทยมีมุมมอง ตFอความทุกข9วFาเป_นทัง้ สง่ิ ทด่ี แี ละไมดF ี

118 118 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Thanapon Eakapont. 2015. Metaphors on Suffering in Thai Language. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Wirat Wongpinunwatana ABSTRACT The objectives of this research were to study metaphorical expressions and conceptual metaphors of the word “suffering” in Thai language, according to metaphor thereorical study presented by Lakoff and Jonhson ( 1 9 8 0 ) . Data was collected from academic writing, non-academic writing, fiction, newspaper, law and miscellany of Thai National Corpus, Department of Linguistics, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. Also, the data was collected from six different Thai weblogs publicized from 2007 to 2013, such as Bloggang, BlogKapook, OknationBlog, GotoKnowBlog, Dek-D Blog, and EduzonesBlog. The results of the study found 548 metaphorical expressions of suffering metaphors. Moreover, there were 13 word forms of suffering conceptual metaphors found in this study, such as SUFFERING IS HUMAN BEINGS, SUFFERING IS NATURE, SUFFERING IS BATTLE, SUFFERING IS OBJECTS, SUFFERING IS ILLNESSES, SUFFERING IS PLANTS, SUFFERING IS MATTER OR MEASURABLE MATTER, SUFFERING IS FIRE, SUFFERING IS SEWAGE, SUFFERING IS FIERCE ANIMALS, SUFFERING IS FOODS, SUFFERING IS JOURNEY and SUFFERING IS PLACES OR CONSTRUCTIONS. Besides, all these conceptual metaphors also reflect that Thai language users bring their daily life experience such as bodily experience, sense - motors, emotional and social in order to understand and perceive the suffering concept better. In addition, they also view that suffering is not only bad thing but also good thing.

119 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 119 รุUงเพชร วรพงศาทิตย9. 2558. การใชbภาษาในการเขียนข7าวสั้นทางโทรศัพท:มือถือ. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรึกษาวิทยานพิ นธ: : ผศ.ดร.วิรัช วงศ9ภนิ นั ทว9 ฒั นา บทคดั ย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษารูปแบบและการใชUภาษาในการเขียนขFาวสั้นทาง โทรศัพท9มือถือ (SMS) จากสถานีโทรทัศน9ชFองฟรีทีวี 5 สถานี ไดUแกF สถานีโทรทัศน9ไทยทีวีสีชFอง 3 สถานีโทรทัศน9กองทัพบกชFอง 5 สถานีโทรทัศน9สีกองทัพบกชFอง 7 สถานีโทรทัศน9โมเดิร9นไนน9ทีวี และ สถานีโทรทัศน9ไทยพีบีเอส เลือกรับขUอความประเภทขFาวทั่วไป ศึกษาตั้งแตFวันที่ 1 สิงหาคม ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เป_นระยะเวลารวมทงั้ สิ้น 5 เดือน ผลการศึกษารูปแบบการเขียนขFาวสั้นทางโทรศัพท9มือถือ พบวFาสามารถจำแนกออกเป_น 2 ลักษณะ ไดUแกF รูปแบบการเขียนขFาวตามเนื้อหาของเรื่อง และรูปแบบการเขียนขFาวตามลีลาของ เรื่อง ซึ่งรูปแบบการเขียนขFาวตามเนื้อหาของเรื่องแบFงออกเป_น 1) การเขียนขFาวเนื้อหาเดียว (Singer Incident Story) และ 2) การเขียนขFาวหลายเนื้อหา (Several Incident Story) สFวนรูปแบบตามลีลา ของเรื่องแบFงออกเป_น 1) การเขียนขFาวจากขUอเท็จจริงทั่วไป (Fact Story) และ 2) การเขียนขFาวที่มีลีลา การเคลือ่ นไหว (Action Story) ผลการศึกษาการใชUภาษาในการเขียนขFาวสั้นทางโทรศัพท9มือถือ พบวFาสามารถจำแนกการใชU ภาษาออกเป_น 3 ลักษณะ ไดUแกF การใชUคำ การใชUเครื่องหมายวรรคตอน และการใชUประโยค 1) การใชU คำ พบวFาปรากฏลักษณะการใชUคำทั้งสิ้น 10 ชนิด ไดUแกF การใชUคำนาม การใชUคำกริยา การใชU คำวิเศษณ9 การใชUคำที่มีความหมายโดยนัย การใชUคำสมญานาม การใชUอักษรยFอ การใชUคำยFอ การใชU คำทับศัพท9 การใชUคำภาษาพูด และการใชUคำศัพท9เฉพาะวงการ 2) การใชUเครื่องหมายวรรคตอน พบวFา มีการใชUทั้งสิ้น 10 เครื่องหมาย ไดUแกF เครื่องหมายมหัพภาค เครื่องหมายจุลภาค เครื่องหมาย อัญประกาศคูF เครื่องหมายยัติภังค9 เครื่องหมายทับ เครื่องหมายอัศเจรีย9 เครื่องหมายไปยาลนUอย เครื่องหมายบวก เครื่องหมายทวิภาค และเครื่องหมายเปอร9เซ็นต9 3) การใชUประโยค สามารถแบFง ออกเป_นการวางตำแหนFงของคำและลักษณะของประโยคทป่ี รากฏในการเขียนขาF วสัน้

120 120 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Rungphet Varaphongsatit. 2015. Language Usage for Short Message Writing via Mobile Phone. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Wirat Wongpinunwatana ABSTRACT The Objectives of this research were to study forms and language usage in news writing via short message service ( SMS) of free television channels, such as Thai Television Channel 3, Royal Thai Army Radio and Television Channel 5, Bangkok Broadcasting Television Channel 7, Modern 9 TV, and Thai Public Broadcasting Service (Thai PBS) . SMS news was general news studied from 1st August to 31st December 2013 totally 5 months. The results found that there were two types of news writing via short message service ( SMS) : based on news body and based on news writing style. News writing via SMS based on news body was composed of 1) single incident story and 2) several incident story. News writing via SMS based on news writing style was composed of 1) fact story and 2) action story. The study found that language usage in news writing via SMS was divided into three types i.e., word usage, punctuation mark usage, and sentence usage. 1) Word usage found 9 types of the usage i.e. nouns, verbs, adverb, connotative word, alias, abbreviations, acronyms, transliterated words, spoken language, and technical terms. 2) There were 10 punctuation marks were usage i.e. period, comma, double quotation marks, hyphen, slash, exclamation mark, ฯ , plus sign, colon, and percent sign. And 3) Sentence usage was composed of word placement, and characteristics of sentence.

121 บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 121 ชนิกา จติ จกั ร. 2558. กลวธิ ีการใชภb าษาและลกั ษณะการนำเสนองานเขียนธรรมะในนติ ยสารซีเคร็ต. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารย:ทปี่ รึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทร9เทาว9 บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษากลวิธีการใชUภาษาและลักษณะการนำเสนองานเขียนธรรมะ ในนิตยสารซีเคร็ต ที่เผยแพรFระหวFางเดือนมกราคม - ธันวาคม พ.ศ. 2556 รวมทั้งสิ้น 144 เรื่อง งานวจิ ัยนเ้ี ปน_ งานวิจยั เชิงคณุ ภาพ และนำเสนอแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFา กลวิธีการใชUภาษาดUานคำ มีการซ้ำคำ การใชUคำแสดงภาพ การใชUคำสัมผัส และการใชUคำทับศัพท9ภาษาอังกฤษ กลวิธีการใชUภาษาดUานประโยค มีการใชUประโยคเปรียบเทียบ การใชU ประโยคแยUงความ และการใชUประโยคเงือ่ นไข และกลวธิ ีการใชภU าษาดาU นการสอนธรรมะ มกี ารใชUอปุ มา การใชUอปุ ลักษณ9 การใชUพุทธศาสนสภุ าษติ การอUางถงึ การยกตัวอยาF ง และการใชสU ำนวน - สภุ าษติ ลักษณะการนำเสนองานเขียนพบวFามี 4 สFวน ไดUแกF สFวนชื่อเรื่อง มีการใชUอุปลักษณ9การ ดัดแปลงสำนวน - สุภาษิต การใชUคำตรงขUาม การเลFนคำ และการใชUคำสัมผัส สFวนนำเรื่องมีการแยUงความ การสรุปใจความสำคัญ การสนทนากับผูUอFานและการเลFาประสบการณ9ของผูUเขียน สFวนเนื้อเรื่อง มีการ ยกเรื่องราว การบรรยายหลักธรรม การถาม-ตอบ และการนิยาม สFวนป´ดเรื่อง มีการตั้งคำถาม การใหU ขUอเสนอแนะ และการสรุปใจความสำคัญ คำสำคัญ: การใชUภาษา การนำเสนอเรือ่ ง งานเขยี นธรรมะ นิตยสารซีเครต็

122 122 ⬗ บทคัดยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Chanika Jitjak. 2015. Strategy of Language Usage and Presentation of Writings on Dharma in Secret Magazine. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao Abstract This research was to study the strategy of language usage and the presentation of writings on dharma in Secret Magazine issued from January to December 2013 totally 114 stories. This is a qualitative research using descriptive analysis. The study found that the strategy of language usage in terms of words consists of repetitive words, figures, rhyming words, and English loanwords. The strategy of language usage in terms of sentences comprises comparative sentences, contrasting sentences, and conditional sentences. The strategy of language usage in terms of teaching on dharma consists of similes, metaphors, Buddhist proverbs, allusions, exemplifications, and idioms and proverbs. There were four sections found in the presentation of writings. 1) Title consists of metaphor usage, idiom and proverb adaptation, opposite word usage, puns, and rhyming word usage. 2) Introduction consists of contrast, summarizing, conversation with readers, and experience sharing of writers. 3) Text consists of story presentation, dharma description, question-answer, and definition. 4) Conclusion consists of questioning, suggestions, and summarizing. Keywords: language usage, presentation of writings on dharma, Secret Magazine

123 บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 123 ธันยธรณ9 อFอนศรีไพร. 2558. การแปรของวรรณยุกต:ภาษาเลยใน 6 อำเภอ : วังสะพุง ภูกระดึง ภูหลวง เอราวัณ ผาขาว และหนองหิน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รึกษาวิทยานพิ นธ:: ดร.ศภุ กิต บัวขาว บทคัดยอ7 วทิ ยานพิ นธเ9 รื่องน้ีมวี ัตถปุ ระสงคเ9 พอ่ื ศึกษาระบบวรรณยกุ ต9ภาษาเลยใน 6 อำเภอ ไดแU กF อำเภอ วังสะพุง อำเภอภูกระดึง อำเภอภูหลวง อำเภอผาขาว อำเภอเอราวัณ และอำเภอหนองหิน และเพ่ือ ศึกษาการแปรของระบบวรรณยุกต9 และสัทลักษณะของวรรณยุกต9ภาษาเลยใน 6 อำเภอ ซ่งึ ผUูวจิ ัยไดUเก็บ ขUอมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ9ผูUบอกภาษาทั้ง 6 อำเภอ จำนวน 31 ตำบล และนำขUอมูลที่ไดUมา วเิ คราะหด9 วU ยวธิ ที างกลสทั ศาสตร9โดยใชโU ปรแกรม PRAAT Version 5.4.05 ผลการศึกษา พบวFา ระบบวรรณยุกต9ของภาษาเลยที่พูดอยูFใน 6 อำเภอทั้ง 31 ตำบล สามารถ จำแนกตามจำนวนหนFวยเสียงวรรณยุกต9ไดUเป_น 2 กลุFมคือ กลุFมที่ 1 มีจำนวนหนFวยเสียงวรรณยุกต9 5 หนFวยเสียง และกลุFมที่ 2 มีจำนวนหนFวยเสียงวรรณยุกต9 6 หนFวยเสียง หากแบFงกลุFมระบบวรรณยุกต9 ในแตFละกลุFมโดยใชUเกณฑ9การแยกเสียงรวมเสียงวรรณยุกต9ในชFอง A สามารถแบFงระบบวรรณยุกต9ที่พูด อยูFใน 6 อำเภอ 31 ตำบล ออกเป_น 3 รูปแบบ ไดUแกF รูปแบบที่ 1 (A1-234) รูปแบบที่ 2 (A123-4) และ รูปแบบท่ี 3 (A1-23-4) เมื่อใชUเกณฑ9เรื่องจำนวนหนFวยเสียงวรรณยุกต9ในการแบFงกลุFม หนFวยเสียงวรรณยุกต9จำนวน 5 หนFวยเสียง นั้นเป_นกลุFมที่ใหญFที่สุด มีจำนวนทั้งสิ้น 27 ตำบล และหนFวยเสียงวรรณยุกต9จำนวน 6 หนFวยเสียง มีเพียง 4 ตำบล และเมื่อใชUเกณฑ9การแยกเสียงรวมเสียงในชFอง A รูปแบบที่เป_นกลุFมใหญF ที่สุดคือรูปแบบที่ 1 A1-234 มีจำนวนตำบลทั้งสิ้น 24 ตำบล รองลงมาคือ รูปแบบที่ 2 A123-4 มี จำนวนตำบลทั้งสิ้น 4 ตำบล และสุดทUายคือรูปแบบที่ 3 A1-23-4 มีจำนวนตำบลทั้งสิ้น 3 ตำบล ทั้งน้ี การแยกเสียงรวมเสียงในแนวนอนของทั้ง 3 รูปแบบมีลักษณะรFวมที่เหมือนกัน คือ C1 = DL123 และ C234 = DL4

124 124 ⬗ บทคัดยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Thanyathorn Onsriprai. 2015. Tonal variation of Loei in 6 districts: Wangsaphung, Phukradueng, Phuluang, Arawan, Phakaw and Nonghin. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT This Thesis aims to study the tanal system of Loei in 6 districts including Wangsaphung, Phukradueng, Phuluang, Arawan, Phakaw and Nonghin and to study tonal variation of Loei in 6 districts. The daa were collected by using 60 monosyllabic words of tone box of William J. Gedney (Gedney, 1972). The 60 words were elicited from 31 female informants (31 sub-districts). The tonal data were analyzed by using PRAAT program Version 5.4.05. The finding reveals that tonal system of Loei in 6 districts all of 31 sub-districts is difference in term of tone: Group 1 is 5 tones and Group 2 is 6 tones. The tonal system of Loei in 6 districts all of 31 sub-districts is difference in term of column A. Pattern of Column A: Pattern 1 A1-234, Pattern 2 A123-4 and Pattern 3 A1-23-4. However, group 1 (5 tones) has 27 sub-districts and group 2 (6 tones) has 4 sub-districts. Pattern 1 (A1-234) has 24 sub-districts, Pattern 2 (A123-4) has 4 sub-districts and Pattern 3 (A123-4) has 3 sub-districts. The tonal merger and split all of 3 Patterns is same in C1=DL123 and C234=DL4.

125 บทคัดยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 125 ศิรินภา ณ ศรีสุข. 2558. ตัวบทและพิธีกรรมตัดเหมรยแกbบนอำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่และอำเภอ ทุ7งใหญ7 จังหวัดนครศรีธรรมราช: พลวัตและการสื่อความหมายทางวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ9 ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ:: ดร.อุมารนิ ทร9 ตลุ ารักษ9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9นี้มีวัตถุประสงค9 2 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษาตัวบทและพิธีตัดเหมรยแกUบนอำเภอ เขาพนม จังหวัดกระบี่และอำเภอทุFงใหญF จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อศึกษาพลวัตและการสื่อ ความหมายทางวัฒนธรรมผFานตัวบทและพิธีตัดเหมรยแกUบนอำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่และอำเภอ ทุFงใหญF จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใชUกรอบแนวคิดพลวัตและการสื่อความหมายทางวัฒนธรรม มาศึกษาวิเคราะห9ตัวบทและพิธีกรรมตัดเหมรยแกUบน นำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการวิจัยเรื่องนี้สามารถแบFงเนื้อหาออกเป_น 2 ประเด็น คือ 1. พื้นที่ พิธีกรรมและตัวบทในพิธีกรรม ตัดเหมรยแกUบน 2. พลวัตและการสื่อความหมายทางวัฒนธรรมในพิธีกรรมตัดเหมรยแกUบน ผลการวิจัย ดUานพื้นที่ พิธีกรรมและตัวบทในพิธีกรรมตัดเหมรยแกUบนนั้น พบวFา พื้นที่อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ และอำเภอทุFงใหญF จังหวัดนครศรีธรรมราชนั้น ยังคงมีการประกอบพิธีกรรมตัดเหมรยแกUบนอยูF มีวัตถุประสงค9ของพิธีกรรม 4 ประการ คือ 1. เพื่อครอบเทริด 2. เพื่อไหวUครูโนรา 3. เพื่อแกUบน 4. เพื่อเป_นการบอกกลFาวกับบรรพบุรุษของตนไดUรับรูUวFาหนุFมสาวไดUอยูFกินกันแลUว สFวนตัวบทในพิธีกรรม ตัดเหมรยแกUบนนั้นสหบทกัน ผลการศึกษาพลวัตและการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรมในพิธีกรรม ตัดเหมรยแกUบนแบFงไดU 2 ประเด็น คือ 1. พลวัตในพิธีกรรมตัดเหมรยแกUบน ไดUแกF เครื่องเซFนสังเวย องค9ประกอบ ขั้นตอน และตัวบท 2. การสื่อความหมายทางวัฒนธรรม ในพิธีกรรมตัดเหมรยแกUบน ไดUแกF การส่อื ความหมายทางวัฒนธรรมผFานเคร่ืองเซFนสงั เวย องคป9 ระกอบ วญิ ญาณสิง่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ และตวั บท การศึกษาตัวบทและพิธีกรรมตัดเหมรยแกUบนนั้น แสดงใหUเห็นวFา การรับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือ ซึ่งเป_นบรรพบุรุษของตนเองใหUมาเขUารFางทรง เพื่อรักษาอาการปûวยทางจิตและทางกาย มีพลวัตการส่ือ ความหมายทางวัฒนธรรมแฝงอยูFในการประกอบพิธีกรรมสะทUอนวัฒนธรรมและความคิดความเชื่อของ คนภาคใตU นอกจากนี้พิธีกรรมตัดเหมรยแกUบนยังมีความสำคัญตFอชุมชนในฐานะเป_นเครื่องปลอบ ประโลมใจมิใหUวิตกหวั่นไหวกับลางรUาย เป_นเครื่องมือในการสรUางความสามัคคีใหUกำลังใจซึ่งกันและกัน ในชุมชน และพิธกี รรมน้จี ะยงั คงมกี ารสบื ทอดและดำรงอยคูF ูFชมุ ชนตFอไป

126 126 ⬗ บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Sirinapa Nasrisuk. 2015. Text and Tudmoei Kaebon Ceremony in Khao Panom District, Krabi and Thungyai District, Nakonsritammarat: Dynamic and Cultural Interpretation. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT This thesis aimed to 1) study text and Tudmoei Kaebon Ceremony in Khao Panom District, Krabi and Thungyai District, Nakonsritammarat, 2) study dynamic and cultural interpretation by using the concept of dynamic and cultural interpretation to analyze the text and Tudmoei Kaebon Ceremony. Descriptive analysis was used to describe the study results. The results were divided into two points: 1) ceremony space and text of Tudmoei Kaebon Ceremony, and 2) dynamic and cultural interpretation of Tudmoei Kaebon Ceremony. In term of ceremony space and text of Tudmoei Kaebon Ceremony, it was found that Tudmoei Kaebon Ceremony was performed in Khao Panom District, Krabi and Thungyai District, Nakonsritammarat. The objectives of ceremony were 1) to cover Terd (a Nora headdress) over a head, 2) to worship guru of Nora 3) to make a votive offering, and 4) to notify ancestors that couples already lived together. However, text of Tudmoei Kaebon Ceremony was intertextual. Dynamic and cultural interpretation of Tudmoei Kaebon Ceremony were divided into two points: 1) dynamic of Tudmoei Kaebon Ceremony comprising oblation, initial component, and text, 2) cultural interpretation of Tudmoei Kaebon Ceremony comprising interpretation through oblation, component, spirit or holy thing, and text. The study on text and Tudmoei Kaebon Ceremony indicated that acceptance of ancestor spirit into a medium for mental and physical treatment had dynamic of cultural interpretation hidden in the ceremony that reflected culture and belief of people in Southern Thailand. Moreover, Tudmoei Kaebon Ceremony was important for community as a tool of consolation in anxious situations caused by bad omen, and building up unity including morale in the community. This ceremony has continually inherited and existed being with the community.

127 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 127 ฉีฮFาน หวาง. 2559. การเปรียบเทียบอุปลักษณ:ในสำนวนจีนและสำนวนไทยที่เกี่ยวกับผูbหญิง. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกนF . อาจารย:ทปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทร9เทาว9 บทคดั ย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อเปรียบเทียบสำนวนที่เกี่ยวกับผูUหญิงระหวFางสำนวนจีนกับสำนวน ไทย โดยวิเคราะห9สิ่งที่ถูกเปรียบและแบบเปรียบในสำนวนจีนและสำนวนไทยที่เกี่ยวกับผูUหญิงและ วิเคราะห9ความเชื่อมโยงระหวFางสิ่งที่ถูกเปรียบกับแบบเปรียบในสำนวนจีนและสำนวนไทยที่เกี่ยวกับ ผูUหญงิ ผUวู จิ ยั วิเคราะหจ9 ากสำนวนไทยจำนวน 132 สำนวนและสำนวนจนี 65 สำนวน ผลการศึกษาพบวFาแบบเปรียบ (Vehicles) ของสำนวนที่เกี่ยวกับผูUหญิงในภาษาไทยและ ภาษาจีนแบFงออกเป_น 3 กลุFม คือ สิ่งที่มีชีวิต สิ่งที่ไมFมีชีวิต ประวัติศาสตร9 ตำนานและวรรณคดี สFวนส่ิง ที่ถูกเปรียบสำนวนไทยและสำนวนจีนมีการเปรียบเทียบผูUหญิง 8 ประเด็น ไดUแกF ความงามของผูUหญิง นิสัยและคุณธรรม กิริยา อายุ หนUาท่ี ความมั่งคั่งและฐานะทางสังคม สติป®ญญา และความสามารถ อารมณ9 และโชคชะตา สำนวนที่เกี่ยวกับผูUหญิงระหวFางภาษาจีนและภาษาไทยมีความเหมือนกันในดUาน ลักษณะทั่วไป คือ พูดเป_นชั้นเชิงไมFตรงไปตรงมา มีทัศนคติเรื่องการใหUความสำคัญแกFผูUชายมากกวFา ผูUหญิง ระดับฐานะสังคมที่เขUมงวด และความสวยงามของผูUหญิงจากมุมมองของผูUชาย แตFเนื่องดUวย สภาพแวดลUอมทางภูมิศาสตร9และทางสังคมชาวจีนและชาวไทยมีความแตกตFางกัน สิ่งที่ถูกนำมาเป_น อปุ ลกั ษณเ9 ปรยี บเทียบกบั ผUหู ญิงในสำนวนจีนและสำนวนไทยจงึ มีความแตกตาF งกนั

128 128 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Qihan Wang. 2 0 1 6 . A Comparison of Metaphor in Chinese and Thai’s Idioms Concerning Women. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This study aims at making a comparison of metaphor in Chinese and Thai's idioms concerning woman. By analyzing the tenor and vehicles in Chinese and Thai's idioms concerning women, and mapping between tenor and vehicles. Using the concept of cognitive semantics by analyzing the Chinese idioms about women 132 and Thai idioms 65. It is found that the vehicles of Chinese and Thai's idioms about women can divided into 3 groups, living thing, inanimate things, history, myth and literature. Tenor of Chinese and Thai's idioms about women compared to themes, including the beauty of a women or women (code name), character and morality, politeness, age, duty, wealth and social status, wisdom and talent, feeling and destiny. Idioms about women in Thai and Chinese was compared similarities and differences, Comparison of the two languages reflects the cultural, social and environmental beliefs of the people in both countries.

129 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 129 จามจุรี นิศยันต9. 2559. นวนิยายไทยเกี่ยวกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: การเล7าเรื่อง และภาพแทน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ป่ี รึกษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทพิ ย9 บทคัดยอ7 งานวิจัยเรื่องนวนิยายไทยเกี่ยวกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: การเลFาเรื่องและ ภาพแทน มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9กลวิธีการเลFาเรื่องในนวนิยายไทยที่นำเสนอเกี่ยวกับสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว และเพื่อวิเคราะห9ภาพแทนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวท่ี ปรากฏผFานนวนิยาย ในการศึกษาครั้งนี้ผูUวิจัยคัดเลือกนวนิยายที่เขียนโดยคนไทยจำนวนทั้งสิ้น 10 เรื่อง และแบFงประเภทนวนิยายออกเป_น 2 ประเภท ไดUแกF นวนยิ ายอิงประวัตศิ าสตร9และนวนยิ ายทFองเทย่ี ว ผลการศึกษากลวิธีการเลFาเรื่องในนวนิยายไทยที่นำเสนอเกี่ยวกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวนั้น พบกลวิธีการเลFาเรื่องในนวนิยายอิงประวัติศาสตร9และนวนิยายทFองเที่ยวมีลักษณะ ตามองค9ประกอบของนวนิยายที่ดี ไดUแกF โครงเรื่อง แกFนเรื่อง การดำเนินเรื่อง ตัวละคร และฉาก ในการ สรUางฉากมีลักษณะเฉพาะที่แตกตFางจากนวนิยายไทยทั่วไป กลFาวคือมีการใชUฉากในประเทศลาว เป_นหลัก เป_นการสรUางชุดความหมายของผูUแตFงซึ่งมีมุมมองวFาประเทศลาว มีทรัพยากรทางธรรมชาติท่ี อุดมสมบูรณ9รวมถึงมีลักษณะการดำเนินชีวิตท่ีมีความเรียบงFาย นอกจากนี้ยังปรากฏความเชื่อเกี่ยวกับ กฎแหFงกรรมซึ่งเป_นสิ่งที่ไดUรับการปลูกฝ®งมาอยFางยาวนาน ความเชื่อดังกลFาวแสดงใหUเห็นวFาศาสนาเป_น สิ่งท่ยี ดึ เหนย่ี วจติ ใจของคนในสังคมลาว ใหทU ำความดีละเวนU ความชัว่ ภาพแทนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่นำเสนอผFานนวนิยายโดยนักเขียนไทยมี ดังนี้ ภาพแทนของคนลาว ภาพแทนของวัฒนธรรม และภาพแทนของชาติ ผลการศึกษาพบภาพแทน ของคนลาวในอดีตตFางยกยFองใหUกษัตริย9 คือ ผูUที่มีอำนาจสูงสุดในการปกครองบUานเมืองและยังเป_น ศูนย9รวมทางจิตใจของประชาชน จนมาถึงยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองดUวยอิทธิพลของตFางชาติท่ี เริ่มเขUามามีบทบาทตFอคนในสังคม ทำใหUมีการปรับตัวกับวัฒนธรรมแบบใหมF แตFคนในชาติยังคงยึดมั่น และสืบทอดวัฒนธรรมของตนเองเอาไวUไดUอยFางดีเยี่ยม ภาพแทนของวัฒนธรรมที่ปรากฏในนวนิยายไทย เป_นสFวนหนึ่งของการนำเสนอใหUเห็นถึงสิ่งที่ขาดหายไปจากสังคมของคนไทย ในขณะที่คนลาวยังคง รักษาวัฒนธรรมแบบดงั้ เดมิ มาจวบจนถึงปจ® จุบนั ไดU ซึง่ นกั เขยี นไดปU ระกอบสราU งชุดความคิดเหลFานขี้ ึ้นมา และนำมาสรUางสรรค9ขึ้นใหมF จากจินตนาการของผูUแตFงเองในรูปแบบของนวนิยาย นอกจากนี้ยังนำเสนอ ใหUเห็นถึงความสัมพันธ9ที่ดีตFอกันระหวFางประเทศไทยและประเทศลาว สFวนภาพแทนของชาติพบวFา นักเขียนไทยสามารถนำเหตุการณ9ทางประวัติศาสตร9ลาวมาเป_นสFวนหนึ่งของการดำเนินเรื่อง โดย นำเสนอผFานมุมมองของนักเขียนนวนิยายที่เป_นคนไทย ในนวนิยายแสดงใหUเห็นวFากวFาจะมาเป_นชาติลาว

130 130 ⬗ บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ไดUเหมือน ในป®จจุบันนั้น ในอดีตชาติลาวเริ่มตUนจากการกFอตั้งเมืองที่เป_นชุมชนมากFอนและพัฒนาเป_น อาณาจักร จนกระทั่งมีการแทรกแซงอำนาจการปกครองภายในอาณาจักรลาวโดยชาติมหาอำนาจอยFาง ประเทศฝรั่งเศส กFอใหUเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในประวัติศาสตร9ของประเทศลาวขึ้นจากบริบททาง สังคมในชFวงเวลาดังกลFาวนักเขียนนวนิยายไทยนำเสนอใหUเห็นวFาชาติลาว คือ ชาติที่ตUองผFานเรื่องราว ทางประวัติศาสตร9มาอยFางยาวนาน เป_นชาติที่ตUองฟ®นฝûาอุปสรรคตFาง ๆ จนสามารถประสบความสำเร็จ ไดUเทFาทุกวันนี้ ลักษณะดังกลFาวขUางตUนเป_นความโดดเดFนของนวนิยายไทยที่นำเสนอใหUเห็นเกี่ยวกับภาพ แทนของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

131 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 131 Jamjuree Nisayan. 2016. Thai Novels Relating to People’s Democratic Republic of Laos: Narrative and Representation. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT The aims of this research are to analyze narrative techniques in Thai novels relating to People’s Democratic Republic of Laos and to analyze the representation of People’s Democratic Republic of Laos appearing through the novels. In this research, the researcher chose 10 novels authored by Thai authors and sorted to 2 types which are historical novel and tourism novel. The result of the narrative techniques is found that the narrative techniques in historical and tourism novels have characteristic as the component of a good novel, which are plot, theme, continuity, character and scene. It has specific characteristic differing from common novels. In other word, there is using scenes in Laos as importance, which presents the aspect that Laos has abundant natural resources and shows the simple way of life of Lao people. Besides, it appears the belief of law of Karma (reciprocal deeds) which is implanted for long time in Thai and Lao society concerning to the belief of Buddhism which teaches people to do good and avoid evil deeds. The representation of People’s Democratic Republic of Laos presented through the novels authored by Thai authors consists of the representation of Lao people, culture and nation. The result is found that the representation of Lao people in the past worshiped the kings as influential persons to rule the kingdom and as the center of people’s mind till the change of regime. According to the influence of foreign nations playing the key role in the society, people have to adapt themselves to new culture. However, they still persist and inherit their own culture at best. The representation of culture is a part illustrating culture disappearing from Thai society while Lao people still maintain the original culture till these days, which the authors constructed these serial concepts and recreated them from their own imagination in form of novel. Besides, there is presenting the good relationship between Thailand and Laos. For the representation of nation, it is found that the Thai authors brought historical events of Laos to be as a

132 132 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย part of continuity by presenting through aspect of Thai authors. In the novels, the authors illustrated that in the past, Laos began as a community and developed to become a kingdom. Until France, the powerful nation interfered the administration of Lao kingdom, this caused change in Lao history. According to social context in that time, the Thai authors indicated that Lao nation the nation which has been through historical event for long time and has fought against many obstacles until become the successful nation like these days. The aforementioned characteristics are outstanding of Thai novels presenting the representation of People’s Democratic Republic of Laos.

133 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 133 พิมพ9กา ยอดนารี. 2559. การศึกษาวิเคราะห:ความเปùนหญิงในนวนิยายของ ว.วินิจฉัยกุล ดbวย ทฤษฎีสตรีนิยมพลังสมัยใหม7. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทป่ี รึกษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.อรทยั เพยี ยรุ ะ บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาลักษณะตัวละครหญิงในนวนิยายของ ว.วินิจฉัยกุลที่เขียนขึ้น ใน พ.ศ. 2544 - 2556 และเพื่อศึกษาวิเคราะห9การประกอบสรUางความเป_นหญิงในนวนิยายของ ว. วินิจฉัยกุล โดยใชUทฤษฎีสตรีนิยมพลังสมัยใหมF ผูUวิจัยไดUกำหนดขอบเขตในการศึกษาโดยใชUนวนิยายท่ี แตFงรวมทง้ั ส้นิ 10 เรอื่ ง ผลการศึกษาพบวFาลักษณะตัวละครหญิงในนวนิยายของ ว.วินิจฉัยกุล สามารถแบFงออกไดUเป_น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. ตัวละครหญิงที่เป_นผูUหญิงตามขนบ (Traditional Woman) คือ ตัวละครหญิงที่มี ลักษณะเปน_ ไปตามทค่ี นในสงั คมสFวนใหญเF หน็ วFาดี รกั นวลสงวนตวั เป_นสตรไี ทยท่ีนุมF นวล อFอนโยน สภุ าพ และมีความเมตตา 2. ตัวละครหญิงที่กำลังเปลี่ยนแปลง (Semi-controversial Woman) คือ มีลักษณะ นอกเหนือไปจากความคาดหวังของคนในสังคม เป´ดใจยอมรับ และปรับเปลี่ยนทัศนคติเพื่อใหUตัวเอง ดำเนินชีวิตในสังคมตFอไปไดUอยFางมีความสุข และ 3. ตัวละครหญิงที่มีลักษณะแหวกขนบ (Controversial Woman) คือ มคี วามคิดอสิ ระ มีความคดิ เหน็ เปน_ ของตวั เอง ไมFยึดติดกบั คFานยิ มเดิมของสงั คม การประกอบสรUางตัวละครหญิงของ ว.วินิจฉัยกุล ตามแนวคิดสตรีนิยมหลังสมัยใหมFสามารถ สรุปไดU 3 ประการ คือ 1. ประกอบสรUางโดยใชUกรอบคFานิยมเดิมของสังคม ยึดมั่นในขนบธรรมเนียม ประเพณี เชื่อฟ®งคำสั่งสอนของพFอแมFอยFางเครFงครัด หยิ่งในศักดิ์ศรี และกิริยามารยาทเรียบรUอย อFอนหวาน ใสFใจงานบUานงานเรือน 2. ประกอบสรUางโดยผสมผสานคFานิยมเก∫และคFานิยมใหมF สามารถ เรียนรูUและเขUาใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม พรUอมทั้งดำเนินชีวิตในสังคมไดUอยFางมีความสุข และ 3. การประกอบสรUางใหUออกจากจารีตเดิมของสังคม มีความคิดอิสระกลUาคิดและกระทำในสิ่งที่แตกตFาง จากขนบธรรมเนียมเดมิ

134 134 ⬗ บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Pimpaka Yodnaree. 2016. The Analysis of Femininity inWor. Winitchaikun’s Novels: Postmodern Feminist Approach. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT The objectives of the researcher to study the female characters in the novels of Wo Winitchaikun written between 2001 - 2013, and to analyze the construction of femininity in the novels of Wo Winitchaikun by using the postmodern feminist theories. The research framework is ten novels of Wo Winitchaiku. The results reveal that the female characters in the novels of Wo Winitchaikun can be divided into 3 types. Firstly, a character of social values, that is a character who behaves upon the way which the majority believe to be good, reserve herself, has a good manner, polite, and kindness. Secondly, a character of different values of the society, that is a character who has self-esteem, not limiting herself in the same area of her own home, wishing to develop herself. Thirdly, a character of modem women, who has creative mind, be sporting, and resolute. A construction of female characters of Wo Winitchaikun according to the postmodern feminist theory can be divided into 3 types. Type 1, a traditional woman, who persists in the tradition, behaves strictly on the parents 'teaching, pride, has a good and mind manner, and does her housework. Type 2, a semi-controversial woman, who embraces changes and social values, be able to learn and understand the social changes, as well as lives her life happily in the society. Type J. a controversial woman, who is independent, not persist in the old tradition, high self-confident, and respects to her own mind and capacity.

135 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 135 ศรายุทธ เจตรา. 2559. การศึกษาเทศน:มหาชาติแหล7อีสานตามแนวชาติพันธุ:วรรณนาแห7ง การสื่อสาร. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทีป่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.วริ ัช วงศภ9 นิ นั ท9วัฒนา บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9เรื่อง “การศึกษาเทศน9มหาชาติแหลFอีสานตามแนวชาติพันธุ9วรรณนาแหFงการ สื่อสาร” มีวัตถุประสงค9เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห9โครงสรUางและองค9ประกอบของสถานการณ9สื่อสารใน การเทศน9มหาชาติแหลFอีสาน และ 2) ศึกษารูปแบบและการใชUภาษาในกลอนเทศน9มหาชาติแหลFอีสาน โดยศึกษาจากการเก็บขUอมูล การแสดงเทศน9มหาชาติ ของพระครูสุตสารพิมล และคณะในงานบุญ มหาชาติตามสถานที่ตFาง ๆ ในเขตจังหวัดขอนแกFน จำนวน 5 ครั้ง ตั้งแตFเดือนกุมภาพันธ9ถึงเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ผลการศึกษาพบวFา โครงสรUางสถานการณ9สื่อสารการเทศน9มหาชาติของพระครูสุตสารพิมลและ คณะ ประกอบดUวยเหตุการณ9เหตุการณ9สื่อสารทั้งหมด 11 เหตุการณ9 ตามลำดับ ไดUแกF เหตุการณ9สื่อสาร การไหวUพระบูชาพระรัตนตรัย การรับศีล การอาราธนาเทศน9 การสมมุติบทบาท ผูUเทศน9 การบอกศักราช เทศนา การเทศน9มหาชาติตามเนื้อเรื่องในกลอนเทศน9 การแหลFอวยพรลา การกลFาวคำสาธุการเมื่อฟ®งเทศน9 จบ การถวายกัณฑ9เทศน9และเครื่องไทยทาน การใหUพรกรวดน้ำเป_นภาษาบาลี และการกลFาวคำลากลับบUาน ของพุทธศาสนิกชนที่มาฟ®งเทศน9 ซึ่งการแยกเหตุการณ9สื่อสารดังกลFาว ใชUวัตถุประสงค9เป_นเกณฑ9 และจาก การวิเคราะห9องค9ประกอบของสถานการณ9สื่อสารการเทศน9มหาชาติ พบวFามีองค9ประกอบครบถUวนสมบูรณ9 ทั้ง 10 ประการ ดังนี้ คือ ชนิดของเหตุการณ9 หัวเรื่องหรือหัวขUอ วัตถุประสงค9หรือหนUาที่ เวลา-สถานที่หรือ กาลเทศะ ผูUรFวมเหตุการณ9 รูปแบบการสื่อสาร เนื้อหาการสื่อสาร การลำดับวัจนกรรม กฎการปฏิสัมพันธ9 และบรรทัดฐานของการตีความ ซึ่งองค9ประกอบเหลFานี้มีทั้งความเหมือนและแตกตFางกันไป ตามแตFละ เหตกุ ารณส9 ่ือสาร ในสถานการณส9 ื่อสารการเทศนม9 หาชาติแหลFอสี าน สFวนโครงสรUางของกลอนเทศน9มหาชาติมีการเรียงลำดับตัวบทอยFางชัดเจน เริ่มจากบทไหวUครู บูชาพระรัตนตรัย การสมมุติบทบาทตัวแสดง เนื้อหาหลักของเรื่อง และการใหUพรลา โดยมีรูปแบบใน การประพันธ9ที่หลากหลาย เชFน รUอยแกUว กลอนสุภาพ กาพย9 และรFายยาว และเนื้อหาในกลอนเทศน9 มหาชาติ มีความคลUายคลึงกับมหาชาติสำนวนอื่น ๆ แตกตFางเพียงรายละเอียดปลีกยFอยเทFานั้น สFวนการ ใชUภาษาในกลอนเทศน9มหาชาติแหลFอีสานมีการเลือกใชUคำที่หลากหลาย เชFน การใชUคำภาษาถ่ิน คำขยาย คำซ้ำ คำซUอน และคำภาษาตFางประเทศ เป_นตUน และมีสFวนของการใชUเสียงเสนาะคำสัมผัส คลUองจอง ทั้งสัมผัสนอกและสัมผัสใน ตลอดจนการเลFนคำ เพื่อใหUเกิดเสียงที่ไพเราะ และมีการใชUโวหาร ภาพพจนเ9 พื่อสรUางจินตภาพอกี ดวU ย

136 136 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Sarayut Jettra. 2016. The Study of Mahachat Chanting, Isan Chapter in Ethnography of Communication Approach. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Wirat Wongpinunwatana ABSTRACT The objectives of this research were 1) to analyze the structure of communication situations in Mahachat chanting, and 2) to analyze the elements of communication situations in Mahachat chanting. Mahachat chanting, Isan chapter of Phra Khru Sutasaraphimon (PhraMahapimpa Dhammadinno) was taken place in Mahachat festival in different places of Khon Kaen Province area for 5 times from February to May 2015. The study found that communication situations in Mahachat chanting written by Phra Khru Sutasaraphimon and others were composed of 11 communication situations in order, such as praise to the Triple Gem, receiving the precepts, request for sermon, role playing of preacher, chanting for telling era, Mahachat chanting according to story, Isan chapter for farewell, exclamation of approval after finishing a sermon, giving offerings and gifts for a monk, blessing and libation in Pali, and saying farewell of Buddhists. Separation of these communication situations used the objective as the criteria. According to the analysis of 10 elements of communication situations in Mahachat chanting could be concluded that main participants in communication situations of Mahachat chanting were preacher team, leaders of religious ceremony, and Buddhists participating in listening to sermon. The forms and uses of language in the Isan Mahachatsung sermon composed by PhraKhruSutasaraphimon used for giving a sermon in the Mahachat religious ceremony. The study found that the forms of Mahachat sung sermon were clearly sorted out starting from prayer for worshiping guru and the Triple Gem, supposition of actors’ role, main content, and blessingprayer with several forms of composition, such as prose, Thai octameterpoem, Kap, and Raiyao. The content of Mahachat sung sermon was similar to other expressions of Mahachat but different onlyin detail. For the uses of language in the Isan Mahachat sung sermon, various types of words were used, such as dialect, modifiers, reduplication, synonymous compounds, foreign words, etc. Also, there were the uses of melodious sounds, internal and external rhymes, wordplay used for creating melodious sounds, and figure of speech used for creating images.

137 บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 137 สุดธดิ า สวนประดษิ ฐ9. 2559. ตำนานขbาวและบททำขวัญขbาวในทุง7 กลุ ารbองไหb. วิทยานพิ นธป9 ริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ:: ดร.อุมารินทร9 ตุลารกั ษ9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่อง “การศึกษาตำนานขUาวและบททำขวัญขUาวในทุFงกุลารอU งไหU” จุดมุFงหมายเพ่ือ เปรียบเทียบตำนานขUาวและบททำขวัญขUาวของกลุFมชาติพันธุ9ลาว กลุFมชาติพันธุ9เขมร กลุFมชาติพันธุ9กูย และกลุFมชาติพันธุ9เยอ และเพื่อศึกษาคติความเช่ือผFานตำนานขUาวและบททำขวัญขUาวของกลุFมชาติพันธุ9 ลาว กลุFมชาติพันธุ9เขมร กลุFมชาติพันธุ9กูย และกลุFมชาติพันธุ9เยอ ในทุFงกุลารUองไหU โดยไดUรวบรวมขUอมูล ภาคสนามใน 3 จังหวัด คือ จังหวัดรUอยเอ็ด จังหวัดสุรินทร9 และจังหวัดมหาสารคาม สามารถรวบรวม ตำนานขาU วไดทU ้งั สน้ิ 26 สำนวน และบททำขวญั ขUาว 14 สำนวน ผลการศึกษาแบบเรื่องของตำนานขUาวในทุFงกุลารUองไหUแบFงเป_น 5 แบบเรื่อง ไดUแกF 1. แบบเรื่อง ขUาวเม็ดใหญFบินมาเขUายุUงเอง 2. แบบเรื่องปลานำขUาวมาใหUคน 3. แบบเรื่องคนกินรำขUาว 4. แบบเรื่อง ปลานำขUาวมาใหUคนและคนกินรำขUาว และ 5. แบบเรื่องพFอโพสพเป_นสามีของแมFโพสพ สFวนการศึกษา โครงสรUางของบททำขวัญขUาวในทุFงกุลารUองไหUพบวFา บททำขวัญขUาวมีองคป9 ระกอบของโครงสรUางดังตFอไปน้ี 1. บทอญั เชญิ เทวดา 2. บทเกร่ินพรรณนา 3. บทเชิญขวญั แมFโพสพ และ 4. บทขอพรจากแมFโพสพ ดUานคติความเชื่อที่ปรากฏในตำนานขUาวในทุFงกุลารUองไหUพบวFา กลุFมชาติพันธุ9ลาว กลุFมชาติพันธุ9 เขมร และกลุFมชาติพันธุ9กูย มีความเชื่อวFาขUาวมีรูปลักษณ9ขนาดใหญFคลUายลูกมะพรUาวและสามารถบินมา เขUายุUงเองไดU แตFกลุFมชาติพันธุ9เขมรบางกลุFมก็เชื่อวFาขUาวเกิดจากแมFโพสพ พระ≈ษีเป_นผูUคUนพบขUาว และ ปลานำขUาวมาใหUคน ทั้งยังพบความเชื่อเรื่องสาเหตุที่ขUาวมีขนาดที่เล็กลงเนื่องจากมีคนทำรUายขUาว ดFาขUาว และขอใหUสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทำใหUขUาวมีขนาดเล็กลง สFวนความเชื่อเรื่องแมFโพสพเชื่อวFา แมFโพสพเป_น เทพผูUหญิงที่คอยดูแลรักษาขUาว ยกเวUนตำนานขUาวของกลุFมชาติพันธุ9เขมรบางสำนวนที่เชื่อวFาเคยมี พFอโพสพเป_นผูUดูแลขUาวกFอนที่จะมาเป_นแมFโพสพเชFนในป®จจุบัน นอกจากนั้นยังพบความเชื่อเรื่องที่มา ของพิธีกรรมทำขวัญขUาววFา มีสาเหตุจากขUาวไมFพอใจมนุษย9ที่ดFาหรือตี มนุษย9จึงตUองทำขวัญขUาวเพื่อ ระลึกถึงบุญคุณของขUาว สFวนคติความเชื่อที่ปรากฏในบททำขวัญขUาวพบวFา บททำขวัญขUาวของกลุFมชาติ พันธุ9ลาว กลFุมชาติพันธุ9เขมร กลุFมชาติพันธุ9กูย และกลุFมชาติพันธุ9เยอ มีความเชื่อเชFนเดียวกันวFาแมFโพสพ เป_นผูUไปขอขUาวมาจากพระ≈ษี และมีความศรัทธาในศาสนาพุทธเป_นอยFางยิ่ง นอกจากนั้นแลUวยังพบวFา มีคติความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชFน ผีตาแฮก และพญานาคเขUามาเกี่ยวขUองดUวย สFวนบททำขวัญขUาว ของกลุFมชาติพันธุ9เขมรบางสำนวนพบวFา มีความเชื่อวFาพระ≈ษีเป_นผูUคUนพบขUาว และมีความศรัทธาใน ศาสนาพุทธและพราหมณ9 และทุกกลุFมชาติพันธุ9ลUวนเชื่อวFาพิธีกรรมทำขวัญขUาวมีมาแตFชUานานและไดU สืบทอดมาจนถึงป®จจบุ นั

138 138 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย การศึกษาตำนานขUาวและบททำขวญั ขUาวในทุFงกุลารUองไหUพบวFา การดำรงอยูFทางวัฒนธรรมของ แตFละกลุFมชาติพันธุ9มีความสัมพันธ9กับพื้นที่ที่แตFละกลุFมชาติพันธุ9อาศัยอยูF โดยกลุFมวัฒนธรรมที่มีขนาด ใหญFที่สุดคือ กลุFมวัฒนธรรมลาว รองลงมาคือ กลุFมวัฒนธรรมเขมร สFวนวัฒนธรรมของกูยและเยอจะ เป_นการผสมผสานวัฒนธรรมของทั้งลาวและเขมรเขUากับวัฒนธรรมของตน เนื่องจากเป_นกลุFมชาติพันธุ9ที่ มีขนาดเล็ก กลFาวไดUวFากลุFมวัฒนธรรมที่อยูFใกลUเคียงกันจะมีการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมและรับเอา วัฒนธรรมของกลมุF ชาติพันธุ9ท่ีอยูFขUางเคียงมาประยุกตก9 บั วฒั นธรรมของตน

139 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 139 Sudtida Suanpradit. 2016. The Rice Myths and Tham Kwankao Chants in Thung Kula Ronghai. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The thesis titled “The rice myths and Tham Kwankao chants in Thung Kula Ronghai” has its aim to compare the rice myths and the Tham Kwankao chants among the ethnic groups of Lao, Khmer, Kuy, and Nyeu, and to study the beliefs through the rice myths among the ethnic groups of Lao, Khmer, Kui, and Nyeu in Thung Kula Ronghai. The field study was conducted in three provinces: RoiEt, Surin, and MahaSarakham. There were 26 rice myths and 14 Tham Kwankao chants. The rice myth tale types in Thung Kula Ronghai can be divided into 5 tale types: 1) large rice grains flew into the barn by themselves, 2) fish brought rice for people, 3) people ate rice bran, 4) fish brought rice for people and people ate rice bran, 5) Pho Phosop was Mae Phosop’s Husband. The study of Tham Kwankao chants in Thung Kula Ronghai reveals that the structures of the chants are as follows: 1) an invocation of deities, 2) an interlude, 3) an invocation of Mae Phosop, and 4) an invocation of a blessing from Mae Phosop. In an aspect of beliefs as appears in the rice myths in Thung Kula Ronghai, it is found that the ethnic groups of Lao, Khmer, and Kui believe that the rice grains were as large as a coconut fruit, and flew into the barn by themselves. But some groups in the Khmer ethnic group believe that rice was born from Me Phosop, a seer discovered rice and fish brought it to people. They also believe that the rice grains are smaller for the people hit and scolded at rice, and asked the blessing for the grains smaller. For the beliefs of Mae Phosop, it is found that Mae Phosop is a female deity who protects rice, except for the rice myth in some groups of Khmer, which believe that there was Pho Phosop, a male deity, who protects rice before appearance of Mae Phosop as in the present. Moreover, there is a believe that a cause of the Tham Kwankao ritual was from that rice was not satisfied with the people who scolded or hit them, then people had to do a ritual of Tham Kwankao to remind of the rice benefits. The beliefs as appeared in the Tham Kwankao chants are found that the Tham Kwankao chants of the ethnic

140 140 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย groups of Lao, Khmer, Kui, and Nyeu are similar: Mae Phosop asked for rice from a hermit, and had much faith in Buddhism. They also involved with beliefs in sacred powers such as Phi Ta Haek, and naga. In some chants of the ethnic group of Khmers, there was a belief that a hermit had discovered rice, and had faith in Buddhism and Brahmanism. Besides, all ethnic groups believe that the Tham Kwankao rituals had long been there and have succeeded until nowadays. It is found, from the study of the rice myths and Tham Kwankao chants in Thung Kula Ronghai, that the cultural sustention of each ethnic group related to each area in which they live. The largest group is Lao, the second is Khmer, while Kui and Nyeu are blending the cultures of Lao and Khmer into their own, for they are smaller groups. It can be said that nearby cultural groups tend to have cultural assimilation, adopting the culture of the neighbor ethnic groups for its own.

141 บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 141 หทัยชนก แสงเปéªยม. 2559. กลวิธีการเล7าเรื่องและอุดมการณ:ในวรรณกรรมเยาวชนที่ไดbรับรางวัล นายอินทร: อะวอร:ด. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ปี่ รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคดั ยอ7 กลวธิ กี ารเลาF เรอ่ื งเปน_ สง่ิ ทท่ี ำใหงU านเขยี นมคี วามนาF สนใจและมวี รรณศลิ ป± รวมทั้งเป_นส่ิงทส่ี ัมพันธ9 กับการนำเสนออุดมการณ9ในตัวบท งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษากลวิธีการเลFาเรื่องและ อดุ มการณ9ในงานวรรณกรรมท่ีไดรU ับรางวัลนายอินทร9 อะวอรด9 ท่ีจัดประกวดต้ังแตปF é พ.ศ. 2543 - 2555 ผลการศึกษากลวิธกี ารเลาF เรือ่ ง ประกอบไปดวU ย องค9ประกอบของนวนิยาย 6 สวF นดงั น้ี 1. โครงเรื่อง 2. แกFนเรื่อง 3. ตัวละคร 4. ฉาก 5. บทสนทนา 6. ผูUเลFาเรื่อง จากการศึกษาพบวFาวรรณกรรมเยาวชนมี กลวธิ กี ารเลFาเร่อื งท่ีโดดเดFนดUวยการเสริมสรUางจินตนาการของเด็ก ผลการศึกษาดUานอุดมการณ9ที่พบในงานวรรณกรรมที่ไดUรับรางวัลนายอินทร9 อะวอร9ด แบFงออกเป_น 6 ดUาน คือ 1. อุดมการณ9คุณธรรมจริยธรรม 2. อุดมการณ9อนุรักษ9ทรัพยากรธรรมชาติ 3. อุดมการณ9การเมืองการปกครอง 4. อุดมการณ9ความพอเพียง 5. อุดมการณ9ทUองถิ่นนิยม และ 6. อุดมการณ9ที่วิพากษ9สังคม จากอุดมการณ9ทั้ง 6 ดUาน พบวFามีทั้งอุดมการณ9กระแสหลักที่ผลิตซ้ำจาก ภาครัฐและเอกชน เพื่อใหUเป_นเด็กที่ดีตามกรอบหนUาที่ของเยาวชน และอุดมการณ9ทางเลือกที่ผูUแตFงสรUาง ขึ้นเพ่อื ปลูกฝ®งใหUเยาวชนมอี ุปนสิ ัยทีช่ FวยแกUไขป®ญหาของสังคมไดU จากการศึกษาครั้งนี้ผูUวิจัยพบวFาในงานวรรณกรรมเยาวชน ปรากฏอุดมการณ9เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมที่เป_นอุดมการณ9หลักของสังคมลดลง และถูกแทนที่ดUวยความคิดสมัยใหมFเกี่ยวกับเรื่อง การเมือง สิทธิมนุษยชน การไมFเทFาเทียมกันในสังคมมากขึ้น ซึ่งสอดคลUองกับมิติทางสังคมดUวยการ กลาF วถึงความแตกตาF งหลากหลายของการอยรูF Fวมกันในสงั คมแบบพหวุ ัฒนธรรม

142 142 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Hataichanok Sangpeam. 2 0 1 6 . Narrative Techniques and Ideology in Young-Adult Fictions Received the Naiin Award. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT Narrative techniques and ideology are correlative with each other, for the authors have to create the plot to all the youth, with easy and proper language usage, while they must contain ideas and advantage. The ideas were found in the form of ideologies cultivated paralleling with entertainment. Thus, the young adult fictions are created for the youth to have a basis for being a proper adult in the future. The narrative technique makes literature more interesting, including the art of literature and correlative of its ideologies in article. The objective of the research was to study the narrative techniques and ideology in the young adult fictions won Nalin Award during 2000-2012. The study showed that narrative techniques consisted for 6 factors of the fiction: 1. People 2. Theme 3. Dialogue 4. Character 5. Setting and 6. Narrators. The study found that the young adult fiction created the imagination for juvenile. The ideology found in the young adult fiction won Naiin Award could be divided into 6 kinds: 1. Ethical ideology. 2. Ideology of natural resource reservation, 3. Ideology of Politics and Governance, 4 . Ideology of sufficiency. 5 . Ideology of localism, 6 . Ideology of social commentary. Among these ideologies, some were the dominant ideologies reproduced from the private and government sectors for cultivating the youth along the desired duty conventions, and some were alternative ideologues and counter ideologies which the authors created for cultivating the habit of the youth to help solve the country problems. In this study, the researcher found that in young adult fiction won Naiin Award have less the ethical ideology than we were expecting. On the other hand, ethical ideology was replaced with modern ideas such as politics, human rights and the value of equality in society. These ideas accorded with social dimension, which is the different of living together in multicultural society.

143 บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 143 หลุFยหลุFย เจียง. 2559. การศึกษาชื่อภาษาไทยของนักศึกษาจีนที่อยู7ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ท่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 งานวิจัยเรื่องการศึกษาชื่อภาษาไทยของนักศึกษาจีนที่อยูFในประเทศไทย มีวัตถุประสงค9เพ่ือ ศึกษาโครงสรUางชื่อ ภาษาในการตั้งชื่อ ความหมายของชื่อ และความสัมพันธ9ระหวFางชื่อภาษาไทย และชื่อภาษาจีนขUอมูลที่ใชUในการวิจัยน้ี คือ รายชื่อนักศึกษาจีนในระดับอุดมศึกษาที่ศึกษาใน สถาบันการศึกษาของไทยระหวFางปé พ.ศ. 2554 - 2558 จำนวน 1,000 รายชื่อ แบFงเป_นเพศชายจำนวน 212 ช่ือ และเพศหญงิ จำนวน 783 ชือ่ รวบรวมขUอมลู ดUวยแบบสอบถามการสัมภาษณ9ผูUบอกขUอมูลหลัก ผลการศึกษาพบวFา 1) ดUานโครงสรUางชื่อแบFงตามเกณฑ9จำนวนพยางค9ของชื่อ จัดแบFงไดUเป_น 5 ประเภท คือ ชื่อที่มีพยางค9เดียว ชื่อที่มีสองพยางค9 ชื่อที่มีสามพยางค9 ชื่อที่มีสี่พยางค9 และชื่อที่มีหUา พยางค9 โดยชื่อที่มีจำนวนสามพยางค9พบมากที่สุด รองลงมาคือชื่อที่มีจำนวนสองพยางค9 และชื่อที่มี จำนวนหUาพยางค9พบนUอยที่สุด 2) ดUานภาษาที่ตั้งชื่อพบวFามีสองรูปแบบ ไดUแกF ชื่อที่มาจากภาษาเดียว และชื่อที่มาจากหลายภาษา โดยชื่อที่มาจากภาษาเดียว พบวFา มีการตั้งชื่อดUวยภาษาบาลีสันสกฤต จำนวนมากที่สุด รองลงมาเป_นชื่อที่มาจากภาษาไทย สFวนชื่อที่มาจากหลายภาษา พบวFา มีการตั้งชื่อ ที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤตกับภาษาไทยมากที่สุด 3) ดUานความหมายของชื่อพบวFามี 16 กลFุม ความหมาย ไดUแกF ความเป_นสิริมงคล คุณลักษณะและคุณสมบัติ ทรัพย9สินและความร่ำรวย ธรรมชาติ และสิ่งแวดลUอม อำนาจ-ความกลUาหาญและชัยชนะ พืช ความเชื่อและศาสนา ชื่อเสียงและ ความกUาวหนUา อาชีพ สถานที่ สัตว9 บุคคล-เพศและวัย เชื้อสายวงศ9ตระกูล สิ่งของ กาลเวลาและทิศทาง และอวัยวะ กลุFมความหมายที่พบมากที่สุด คือ คุณลักษณะและคุณสมบัติ และ 4) ดUานความสัมพันธ9 ของชื่อภาษาไทยและภาษาจีน พบวFามี 2 รูปแบบ คือ ชื่อที่มีความสัมพันธ9กับชื่อเดิมของตนเองใน ภาษาจีน ไดUแกF ความสัมพันธ9ดUานเสียงและความหมายชื่อที่ไมFมีความสัมพันธ9กับชื่อภาษาจีนของตน โดยช่ือภาษาไทยของคนจนี นส้ี วF นใหญFไมมF ีความสัมพนั ธก9 ับชื่อเดมิ ในภาษาจนี ของตนเอง ผลการศึกษานี้ยังสะทUอนใหUเห็นคFานิยมในการตงั้ ชื่อภาษาไทยของนักศึกษาจีนที่เขUามาศึกษาใน ประเทศไทยวFามีทัศนคติที่ดีตFอชื่อภาษาไทยของตนเอง โดยแนะนำตนเองกับคนไทยดUวยการใชUช่ือ ภาษาไทยหรือชื่อใหมFที่ตั้งขึ้น เพื่อใชUติดตFอสื่อสารกับเพื่อน อาจารย9 และคนไทย นักศึกษาจีนสFวนใหญF ทราบความหมายของชื่อตนเอง และสFวนใหญFไมFไดUตั้งชื่อดUวยตนเองแตFจะใหUคนไทยที่ตนเองรูUจักหรือ เพอ่ื น อาจารย9 เจาU หนUาท่ี ในสถาบันการศึกษาต้งั ช่ือภาษาไทยใหU

144 144 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย LV LV Jiang. 2016. A Study of Thai-Naming Chinese Students in Thailand. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The purpose of the “A Study of Thai-Naming of Chinese Students in Thailand” to study the structures of the names, the language wed to make them, the meaning of the name the relationship between the Thailand and Chinese same. The data used in this study is a list of Chinese students studying in higher education institutions in Thailand during the year 2011 - 2015, totally 1000 name. There are 212 male names and 788 female names, collected by questionnaire and interviewing. The results of this study revealed that 1 ) the structure of tables divided by the member of names Classified into five categories ne syllable, two syllables, three syllables, four syllables and five-syllable. Most names we twee syllables and two, five syllables respectively. 2 ) The names could be divided into two categories according to the languages used to make the same, the name comes from one language and the name comes from several languages. The name comes from one language that has been named by Pali- Sanskrit greatest number. Subordinate the name was derived from Thai Language, and the name comes from several Languages, found the name comes from Pali-Sanskrit Thai Language most. 3 ) The naming summer hand 1 6 general meaning: auspiciousness, characteristics and qualities, assets and wealthiest, nature and environment, power brave and victory. plants, beliefs and religions, fame and advancement, occupations, places, creatures, individuals, gender and age, genealogy and families, stuff, time and directions, and directions, and organs, and the meanings of the characteristics and qualities most. 4 ) The names could be divided into two categories according to the relationship between the Thai name and Chinese name, the name relationship between the same name in their own language and the name have no relationship between the same name in their own language. The results of this study revealed that most name have no relationship between the same name in their own language. The results of this study also revealed that in the present the Chinese students who come to study in Thailand, they prefer to have the

145 บทคัดยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 145 Thai name and would like to know it meaning. When they knew the other Chinese students having Thai name, they also prefer to have the same. Some of students have given Thai name by themselves and introduce with Thai name. Having the Thai names made easily to communicate with Thai people teacher, stuff in the university The Thai name they can use in document for classroom too. In addition, having the Thai names is the identity of Chinese students in Thailand.

146 146 ⬗ บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย นวพล กรรณมณีเลิศ. 2559. ทัศนคติต7อภาษาและการเลือกใชbภาษาของชาวไทพวน อำเภอบbานผือ จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทร9เทาว9 บทคดั ย7อ ชาวพวน เป_นกลุFมชาติพันธุ9ที่อาศัยอยูFในภูมิภาคตFาง ๆ ของประเทศไทย รวมทั้งภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดหนองคายและจังหวัดอุดรธานีรวมกลุFมกันในระดับหมูFบUานและยังพูด ภาษาพวนในชีวิตประจำวัน วิทยานิพนธ9เรื่องนี้มีวัตถุประสงค9อธิบายทัศนคติตFอภาษาและการเลือกใชU ภาษาพวน ภาษาถิ่นอีสานและภาษาไทยมาตรฐานของชาวพวนในพื้นที่อำเภอบUานผือ จังหวัดอุดรธานี โดยมีกลมFุ ตัวอยFางวัยรFนุ อายุระหวFาง 15 - 25 ปé จำนวน 60 คน กลมFุ วัยกลางคนอายุระหวาF ง 35 - 45 ปé จำนวน 60 คน และกลุFมวัยสูงอายุอายุระหวFาง 55 - 65 ปé จำนวน 60 คน งานวิจัยนี้ใชUแนวคิดทาง ภาษาศาสตร9สังคมและเป_นงานวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ เก็บรวบรวมขUอมูลโดยใชUแบบสอบถาม ผล การศึกษาแสดงใหUเห็นวFาชาวไทพวนมีทัศนคติทางบวกตFอทั้งสามภาษา และมีทัศนคติทางบวกตFอภาษา พวนเทFากับภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาอีสานมีทัศนคติทางบวกนUอยที่สุด ชาวไทพวนยิ่งอายุนUอยยิ่งมี ทัศนคตทิ างบวกตFอแตFละภาษามากท่สี ุด ในดUานการเลือกใชUภาษา พบวFา ในแวดวงการใชUภาษาในชุมชนกลุFมตัวอยFางเลือกใชUภาษา ไทพวนมากที่สุด รองลงมาคือภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาอีสานตามลำดับ ในแวดวงการใชUภาษานอก ชุมชนพบวFา สถานที่ราชการกลุFมตัวอยFางจะเลือกใชUภาษาไทยมาตรฐานมากที่สุด รองลงมาคือภาษา พวนและภาษาอีสานตามลำดับ สFวนแวดวงสถานที่อื่น ๆ ที่ไมFใชFสถานที่ราชการและจัดอยูFในแวดวงการ ใชUภาษานอกชุมชน กลุFมตัวอยFางจะเลือกใชUภาษาพวนมากที่สุด รองลงมาคือภาษาไทยมาตรฐาน และ ภาษาอีสาน ชาวไทพวนยิ่งมีอายุนUอยยิ่งมีคFาเฉลี่ยการเลือกภาษาพวนเป_นภาษาหลักมากกวFากลุFมที่มี อายุมาก

147 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 147 Nawaphon Kunmaneelert. 2016. Language Attitude and Language Choice of Phuan, Ban Phue District, Udonthani Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT Phuan is an ethnic group that is living in different regions of Thailand, including the Northeastern at Nong Khai and Udonthani provinces. The objective of this research are to explain the attitude toward languages and the language choice among Phuan, Isan, and Standard Thai in daily life of Phuan, Ban Phue District, Udonthani Province. The samples were divided into 3 aged-groups with 60 people in each group, which are young (15 - 25 years old), middle (35 - 45 years old), and older (55 - 65 years old). This is a sociolinguistics study in terms of language attitude. The qualitative and quantitative mix- methods have been used in this research. Data were collected by questionnaire and sampling group interviewing. The results showed that Phuan has positive attitude toward 3 languages but the attitude toward Isan language is less than the others. The young group has positive attitude toward languages in higher level than the other two groups. In regard to language choice, it is found that for the inside community domains the sample groups chose Phuan language the most, followed by Standard Thai and Isan language. For the outside community domains such as formal places, Phuan people chose Standard Thai language the most, followed by Phuan and Isan language respectively. For informal places outside community, Phuan people chose Phuan language the most. Particularly, the young group often uses Phuan language more than the other two groups.

148 148 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย นุชนาฏ สระกาศ. 2559. เพศวิถีของตัวละครผีในนวนินายซีรี่ส:ของภาคินัย. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกFน. อาจารยท: ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทยั เพยี ยุระ บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่องเพศวิถีของตัวละครผีในนวนิยายซีรี่ส9ของภาคินัย มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาเพศ วิถีและการประกอบสรUางเพศวิถีของตัวละครผีศึกษาจากตัวบทนวนิยายชุดซีรี่ส9จำนวน 3 ชุด ไดUแกF ชุดเจ็ดวันจองเวรจำนวน 7 เรื่อง, ชุด 4 ทิศตาย จำนวน 4 เรื่อง และชุดเบญจมรณา จำนวน 1 เรื่อง รวม 12 เรื่อง วิเคราะห9ภายใตUกรอบแนวคิดเพศวิถีของ Jackson and Cook (1999) และกรอบแนวคิด เรอื่ งการประกอบสรUางของ Stuart Hall (1997) นำเสนอขอU มลู ในเชงิ พรรณนาวเิ คราะห9 ผลการศึกษาเพศวิถีของตัวละครผีในนวนิยายซีรี่ส9ของภาคินัย พบวFาเพศวิถีของตัวละครผี แบFงเป_น 2 หัวขUอใหญF ไดUแกF 1. เพศวิถีตามขนบ ไดUแกF ความสัมพันธ9แบบผัวเดียวเมียเดียว เป_น ความสัมพันธ9แบบหญิงหนึ่งตFอชายหนึ่ง และความสัมพันธ9เชิงซUอนแบบหญิงหนึ่งคนชายหลายคน และ แบบชายหนึ่งคนตFอหญิงหลายคน 2. เพศวิถีนอกขนบ เป_นความสัมพันธ9ทางเพศกับเพศเดียวกันและ ความสัมพันธ9ทางเพศระหวFางมนุษย9กับอมนุษย9 (สัตว9อมนุษย9) สำหรับผลการศึกษาการประกอบสรUาง เพศวิถีของตัวละครผีแบFงเป_น 4 ลักษณะ ไดUแกF 1) ตัวละครผีที่มีความมั่นคงในความรัก 2) ตัวละครผีที่มี ความสำสFอนทางเพศ 3) ตัวละครผีที่มีรสนิยมทางเพศนอกขนบ และ 4) ตัวละครผีที่มีความปรารถนา ทางเพศสูง สรุปไดUวFาเพศวิถีของตัวละครผีในนวนิยายซีรี่ส9ของภาคินัยมีลักษณะเป_นไปตามขนบและ นอกขนบ การประกอบสรUางเพศวิถีของตัวละครผีเป_นผลมาจากรูปแบบความสัมพันธ9ทางเพศที่มาจาก คFานิยมทางเพศของสังคมเป_นแรงผลักดันใหUตัวละครผีแสดงเพศวิถี โดยพบวFาตัวละครผีผูUหญิง มักนำเสนอในลักษณะการพยายามตFอสูUกับอำนาจเพศชาย และตัวละครผีมีความหลากหลายทางเพศ ถูกประกอบสรUางขึ้นเพื่อตFอสูUกับเพศวิถีกระแสหลัก อีกทั้งยังทำใหUเห็นเพศวิถีที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปใน สังคมไทย

149 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 149 Nutchanart Srakart. 2 0 1 6 . Sexualities of the Ghost Characters in Pakhinai's Series. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This research aimed to study the sexualities of the ghost characters and the construction of sexualities of the ghost characters in Pakhinai's novels. The selected texts comprised 1 2 novels from the 3 series namely; Jet wan jorngwen, Siithittai and Benjamorana. The theoretical frameworks for this study were gender and sexuality by Jackson and Cook (1999) and the concept of construction by Stuart Hall (1997). The study found that there were two kinds of sexualities being found in Pakhinai's novels; the conventional and unconventional sexualities. The conventional sexuality was the monogamy relationship of the characters. The unconventional sexuality was the polygamy one. The unconventional sexualities were the same sex relationship and the sexual relationship between human and nonhuman creature. On the aspect of the construction of sexuality, the study found four kinds of construction in the ghost characters; 1 ) faithful ghost characters 2 ) promiscuous ghost characters 3 ) ghost characters with unconventional sexual preference and 4 ) ghost characters with high sexual desire. The study concluded that the conventional and unconventional sexualities of the ghost characters in Pakhinai's novels as well as the construction of sexualities were influenced by the sexual value in Thai patriarchal society. The female ghost characters were presented to against the power of men in the society. Sexual varieties of the characters were presented in order to challenge the sexual mainstream and illustrated the dynamic of sexualities in Thai society.

150 150 ⬗ บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย หนอง หยีฉอง. 2559. การเปรียบเทียบตำนานขbาวของภาคอีสานในประเทศไทยกับจbวงมลฑลกวางสี ในสาธารณรัฐประชาชนจีน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ดร.อุมารนิ ทร9 ตุลารักษ9 บทคัดย7อ ตำนานขUาวเป_นเรื่องเลFาเกี่ยวกับความเป_นมาของขUาว เทวดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์และศาสนารวมทั้ง พิธีกรรมที่เกี่ยวขUองกับขUาว วิทยานิพนธ9นี้มีวัตถุประสงค9 2 ประการคือ 1) เพื่อวิเคราะห9แบบเรื่องและ อนุภาคของตำนานขUาวของภาคอีสานในประเทศไทยกับจUวงมณฑลกวางสีในสาธารณรัฐประชาชนจีน 2) เพื่อเปรียบเทียบวัฒนธรรมและความเชื่อของตำนานขUาวภาคอีสานในประเทศไทยกับจUวงมณฑล กวางสีในสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยศึกษาจากตัวบท 2 ประเภท คือ ลายลักษณ9และมุขปาฐะ รวมทั้งหมด 78 สำนวน ภาคอีสาน 41 สำนวน และจUวงในมณฑลกวางสี 37 สำนวน ศึกษาโดยใชU แนวคดิ แบบเรอ่ื ง (tale type) และอนภุ าค (Motif) ผลการศึกษาพบวFา แบบเรื่องของตำนานขUาวทั้งภาคอีสานและจUวง มณฑลกวางสีสามารถแบFง ออกเป_น 10 แบบคือ 1) แบบเรื่องเทพบนฟ≥าเป_นผูUใหUขUาว 2) แบบเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป_นผูUใหUขUาว 3) แบบ เรื่องเทพเทวีอุทิศเนื้อหนังมังสาเป_นขUาวชFวยมนุษย9 4) แบบเรื่องนกเป_นผูUนำขUาวมาใหUมนุษย9 5) แบบ เรื่องหมาเอาขUาวลงมายังโลกมนุษย9 6) แบบเรื่องปลาเป_นผูUนำขUาวมาใหUมนุษย9 7) แบบเรื่องขUาวลอยมา เอง 8) แบบเรื่องมนุษย9ทำใหUขUาวเม็ดเล็กลง 9) แบบเรื่องคนกินรำขUาวและ 10) แบบเรื่องขUาวถูกทำใหU เกิดใหมFไมFไดU จากการศึกษา 10 แบบเรื่องนี้พบวFา อนุภาคในตำนานขUาวของภาคอีสานและจUวงใน มณฑลกวางสีมีอนุภาคที่คลUายคลึงกันมากคือ 1) อนุภาคตัวละคร ไดUแกF สิ่งศักดิ์สิทธิ์ สัตว9 และผูUหญิง 2) อนุภาคเหตุการณ9และพฤติกรรม เชFน เทวดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เอาพันธุ9ขUาวมาใหUมนุษย9 สัตว9เอาพันธุ9 ขUาวมาใหUมนุษย9 มนุษย9ทำใหUขUาวเม็ดเล็กลง ขUาวถูกทำใหUเกิดใหมFไมFไดU และ 3) อนุภาควัตถุสิ่งของ ไดแU กF ขาU วมีเมด็ ใหญF ขาU วมกี ล่นิ หอม เปน_ ตนU การศึกษาวัฒนธรรมความเชื่อในพื้นที่ทั้งสองพื้นที่ทำใหUเห็นวFา คนทั้งสองพื้นที่มีวัฒนธรรม ความเชื่อที่คลUายคลึงกัน คือ ความเชื่อเรื่องเทวดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และผี ความเชื่อเรื่องขUาวและความเชื่อ เรื่องสัตว9มีบุญคุณตFอมนุษย9 สFวนวัฒนธรรมความเชื่อที่แตกตFางกัน คือ ความเชื่อเรื่องเทวดาสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ภาคอีสานมีความเชื่อเรื่องแมFโพสพ พFอโพสพ พระอินทร9 พระวิรูป®กษ9 พระนารายณ9 และ≈ษี สFวนจUวง ในมณฑลกวางสีมีความเชื่อเรื่องปูûโลFโถ หมูFเลFอเจีย เสินหนง เง็กเซียนฮFองเตU และหวังหมูF และความเชื่อ เรื่องศาสนาที่แตกตFางกัน ภาคอีสานมีความเชื่อเรื่องศาสนาพุทธ ความเชื่อเรื่องพราหมณ9 สFวนจUวงใน มณฑลกวางสีมีความเชื่อเรื่องศาสนาซกกงซึ่งเป_นศาสนาดั้งเดิมของจUวง และลัทธิเต∫า วัฒนธรรมความ เชื่อที่เหมือนกันสะทUอนใหUเห็นถึงรากรวF มเดียวกันของชาติพันธุ9ไทเชFนเดียวกันของภาคอีสานในประเทศ

151 บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 151 ไทยกับจUวงในมณฑลกวางสี และความแตกตFางนั้นทำใหUเห็นวFา กลุFมชาติพันธุ9เดียวกันเมื่อไดUรับอิทธิพล วัฒนธรรมที่แตกตFางกันเขUามาเกี่ยวขUองวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนก็จะไดUรับการปรับเปลี่ยนใหUเพื่อเขUากับ วฒั นธรรมอนื่ ไดU

152 152 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Nong Yiqiong. 2016. A Comparison of the Rice Myths Between Northeastern Thailand and Zhuang-Guangxi Province in China. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The Rice Myths are narratives about the origin of rice fairy, holy things, religion and the rituals related to rice. The objective of the thesis are: 1) to analyze the tale type and the Motif of Rice Myths between Northeastern Thailand And Zhuang-Guangxi Province China 2) to compare culture and beliefs of Rice Myths between Northeastern Thailand And Zhuang-Guangxi Province China. The texts studied were classified in 2 categories: writing tradition and oral tradition. The texts in total have 77 stories, Northeastern Thailand has 41 stories and Zhuang-Guangxi Province China has 36 stories. The principal concepts for this thesis were tale type concept and motif concept. The researcher found that the tale type of Rice Myths between Northeastern Thailand And Zhuang-Guangxi Province China could be divided into 10 types: 1) God send rice to the human-beings 2) Holy thing send rice to the human-beings 3) Fairy devoted body as rice to help human beings 4) Bird brings the rice to the human-beings 5) The dog took rice down to earth 6) Fish brings the rice to the human-beings 7) Rice flew by itself 8) Human beings make the rice small 9) Human beings eat rice bran and 10) Rice cannot grow again. The study found that Rice Myths between Northeastern Thailand and Zhuang- Guangxi Province China have similar motifs: 1) Character including holy thing animals and women 2) Events and behaviors, such as God and holy thing send rice to human beings, Animal took rice to the humans-beings, Human-beings make the rice small and Rice cannot grow again, and 3) Objects, including big rice and fragrant rice, etc. The study of culture and beliefs between Northeastern Thailand and Zhuang- Guangxi Province China found that the two areas have similar culture and believes: belief in holy things, fairy and devil, belief in rice, belief in animal helping human beings. The culture beliefs are different in the belief of holy things, Northeastern Thailand believe in Rice Goddess Indra Narayana and Rsi, however, Zhuang-Guangxi Province China believe in Bu Luo Tuo, Mu Le Jia, Shen Nong, The Jade Emperor, The Queen Mother of the West,

153 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 153 In addition, the Religion belief also different. Northeastern Thailand believes in Buddhism Brahmin; however, Zhuang-Guangxi Province China believe in traditional Daoism. The same culture beliefs reflect the same cultural roots of ethnicity Tai of Northeastern Thailand and Zhuang-Guangxi Province China, and the difference reflect that when the same ethnic group are influenced by another different cultures, their traditional culture will adjust themselves to other cultures.

154 154 ⬗ บทคัดย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย สุจิตรา ประชามิ่ง. 2559. บทบาทหญิงชายและเพศวิถีในนิทานกbอมอีสาน. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพียยรุ ะ บทคดั ยอ7 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาบทบาทชายหญิงจากตัวบท ในนิทานกUอมอีสานและ เพื่อศึกษาเพศวิถีในนิทานกUอมอีสาน โดยศึกษาจากนิทานกUอมอีสาน 36 เรื่อง ซึ่งใชUกรอบแนวคิดเพศวิถี ในการวเิ คราะห9ตวั ละครหญิงและชายในนิทานกUอมอีสาน ผลการศึกษาพบวFา บทบาทหญิงชายในนิทานกUอมอีสาน ภายใตUบริบทของสังคมและวัฒนธรรม อีสานมีความแตกตFางกันทั้งดUานรFางกายและทั้งดUานสังคม โดยบทบาทหญิงทางครอบครัวในนิทานกUอม อีสานถูกกำหนดใหUเป_นภรรยาที่ดูแลทำงานบUานทุกอยFางในครอบครัว เป_นทั้งแรงงานหลักในการ ประกอบอาชีพ และเป_นมารดาในการอบรมสั่งสอนลูกเพื่อใหUลูกเป_นคนดีของสังคม สFวนในบทบาททาง สังคมหญิงจะมีบทบาทการเป_นผูUชFวยของสามีที่เป_นผูUนำชุมชน ซึ่งมีความแตกตFางกันกับบทบาทชายทาง ครอบครัวที่ถูกกำหนดใหUชายตUองเป_นหัวหนUาครอบครัวทำหนUาที่หลักในการออกไปทำงานนอกบUาน เพื่อ หารายไดUและเป_นทั้งบทบาทบิดาในการอบรมสั่งสอนลูก และบทบาทลูกเขยในการชFวยงานทุกอยFางของ พFอตาแมยF ายในครอบครัว ในบทบาททางสงั คมชายจะถูกกำหนดใหเU ป_นผูUนำชมุ ชนในการพัฒนาหมFูบาU น สFวนการศึกษาประเด็นเพศวิถีในนิทานกUอมอีสาน พบวFาหญิงกับชายมีความสัมพันธ9ทางเพศท่ี ถูกนำเสนอผFานการคิด อารมณ9ความรูUสึก การกระทำ และพฤติกรรมที่แสดงออกทางเพศที่ประกอบไป ดUวย ความเชื่อเรื่องเพศ ความตUองการทางเพศ และปฏิบัติการทางเพศ ความเชื่อเรื่องเพศที่ปรากฏใน นิทานกUอมเป_นความเชื่อที่แฝงนัยยะความขบขันมากกวFาจะเป_นความเชื่อที่แทUจริง สFวนดUานความ ตUองการทางเพศพบวFานิทานกUอมอีสานมีการนำเสนอความตUองการทางเพศของทั้งชายหนุFมและ ชายสูงอายุ หญิงสาวและหญิงสูงอายุและในดUานปฏิบัติการทางเพศพบวFาสังคมกับวัฒนธรรมมีสFวนใน การควบคุมพฤติกรรมของตัวละครหญิงกับชายใหUอยูFในกรอบจารีตประเพณีโดยตัวละครหญิงกับชาย ในนิทานกUอมอีสานไดUมีปฏิบัติการทางเพศใน 2 ลักษณะ คือ ปฏิบัติการทางเพศที่อยูFในกรอบจารีต ประเพณแี ละท่ีไมFอยFใู นกรอบจารตี ประเพณี

155 บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 155 Sujittra Prachaming. 2016. Gender Roles and Sexualities in Isan Short Folktales. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT The purposes of this research were to study the roles of male and female characters and their sexualities in Isan short folktales. There were 36 Isan short folktales being selected by purposive sampling for this study. The analytical framework was gender and sexuality. The study found that the gender roles of the characters in Isan short folktales were physically and socially different. The female characters were prescribed the roles of a wife, a labor and a mother in their family. They also have to take the role of the community leader's wife on the aspect of social role. The male characters in Isan short folktales were prescribed the roles of a family leader, income maker, a father and a son in law. Their role on the society was a community leader. On the aspect of sexuality, the study found that male and female sexualities were presented via the sexual belief, sexual practice of the characters. The sexual belief being presented was rather for the purpose of amusement than reflecting the genuine sexual belief. On the side of sexual desire, there were the presentations of young men and old men as well as young women and old women sexual desire. On the sexual practice aspect, the study revealed conventional sexual practice and unconventional sexual practice. Isan society and culture played an important role to control sexual behaviors of the characters.

156 156 ⬗ บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย อภิสิทธิ์ มีป®ญญา. 2559. เพศวิถีในกลอนลำอีสาน: กรณีศึกษาหมอลำเคน ดาเหลา บุญเพ็ง ไฝผิวชัย และราตรี ศรีวิไล. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพียยรุ ะ บทคัดยอ7 การศึกษาครั้งนี้ มีจุดประสงค9เพื่อศึกษาเพศวิถีและการประกอบสรUางวาทกรรมทางเพศใน ตัวบทกลอนลำของหมอลำเคน ดาเหลา หมอลำบุญเพ็ง ไฝผิวชัย และหมอลำราตรี ศรีวิไล โดยใชUกรอบ แนวคิดของ Jackson & Cook (1992) ศึกษาประเด็นเพศวิถีดUานความเชื่อเรื่องเพศ ความปรารถนาทาง เพศ และปฏบิ ัตกิ ารทางเพศ ผลการวิจัย เพศวิถีในกลอนลำของหมอลำทั้ง 3 ทFาน พบวFา การนำเสนอความเชื่อเรื่องเพศใน กลอนลำของหมอลำเคน ดาเหลาจะมีการอธิบายลักษณะทางกายภาพของผูUหญิงเป_นสFวนใหญF พฤติกรรม ฐานะและอาชีพรองลงมาเป_นลำดับ ซึ่งเป_นความเชื่อที่เกิดจากการทำนายลักษณะสรีระ รูปรFางที่คนอีสานที่เชื่อกันมาตั้งแตFโบราณ ขณะที่หมอลำบุญเพ็ง ไฝผิวชัยก็ไดUเสนอประเด็นความเช่ือ เรื่องเพศ โดยเนUนไปที่พฤติกรรมและนิสัยของผูUชายในสังคมที่แสดงออกในทางไมFดีเป_นสFวนใหญF สFวน ประเด็นความปรารถนาทางเพศในกลอนลำของหมอลำทั้ง 3 ทFาน พบวFา หมอลำเคน คาเหลา นำเสนอ ความปรารถนาทางเพศในการอยากมีเพศสัมพันธ9ของผูUชายสูงอายุ ความปรารถนาในอวัยวะเพศผูUหญิง และจินตนาการของผูUชายที่มีตFออวัยวะเพศหญิง ขณะที่การนำเสนอความปรารถนาทางเพศของหมอลำ บุญเพ็ง ไฝผิวชัย พบความปรารถนาทางเพศของผูUหญิงที่ปรารถนาอยากมีเพศสัมพันธ9กับผูUชายที่มีสรีระ รูปรFางงาม สFวนการนำเสนอความปรารถนาทางเพศของหมอลำราตรี ศรีวิไล พบความปรารถนาทางเพศ ของผูUชายและผูUหญิงที่ตFางฝûายตFางแสดงความปรารถนาในเพศตรงขUาม ทั้งการอยากเป_นสามีและภรรยา รวมไปถึงความปรารถนาในการอยากมีเพศสัมพันธ9ดUวย สFวนประเด็นปฏิบัติการทางเพศในกลอนลำของ หมอลำทั้ง 3 ทFาน พบปฏิบัติการทางเพศในกลอนลำของหมอลำ 2 ทFาน คือหมอลำเคน ดาเหลา และ หมอลำราตรี ศรีวิไล โดยสFวนของหมอลำเคน ดาเหลาไดUนำเสนอปฏิบัติการทางเพศคือ การใชUความ รุนแรงของผูUชายตFอผูUหญิงในการมีเพศสัมพันธ9 การมีเพศสัมพันธ9ในวัยสูงอายุ การตอบสนองอารมณ9ทาง เพศของผูUหญิง และการที่ผูUหญิงเป_นฝûายปฏิบัติการทางเพศกับผูUชาย สFวนปฏิบัติการทางเพศของหมอลำ ราตรี ศรีวิไล พบปฏิบัตกิ ารทางเพศของผูUชายในรูปแบบกามวติ ถาร คอื การมเี พศสมั พันธ9กับสัตว9 ผลการศึกษาการประกอบสรUางวาทกรรมทางเพศในกลอนลำของหมอลำทั้ง 3 ทFาน พบวFา กลอนลำของหมอลำเคน ดาเหลา มีการประกอบสรUางวาทกรรมทางเพศที่แสดงการยกยFองผูUชาย วาทกรรมทางเพศที่แสดงการตำหนิผูUหญิง วาทกรรมทางเพศที่เกี่ยวกับสรีระรFางกายของผูUหญิง วาทกรรมทางเพศที่เกี่ยวกับคำสอนผูUหญิง สFวนของหมอลำบุญเพ็ง ไฝผิวชัย พบวาทกรรมทางเพศที่

157 บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 157 แสดงการยกยFองผูUหญิง วาทกรรมทางเพศที่แสดงการตำหนิผูUชาย วาทกรรมที่แสดงถึงความเทFาเทียม ทางเพศ และวาทกรรมทางเพศที่เกี่ยวกับคำสอนเรื่องผูUชาย สำหรับหมอลำราตรี ศรีวิไล พบวาทกรรม ความเทาF เทยี มทางเพศ วาทกรรมการสนบั สนนุ ผUูหญงิ และวาทกรรมทางเพศทีเ่ กีย่ วกับคำสอนผูUหญิง

158 158 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Apisit Meepanya. 2016. Sexuality in Isan Folk Songs: The Case Studies of Khen Dalao, Bunpeng Faipiwchai and Ratree Sriwilai. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This research aimed to study sexualities and the construction of sexual discourses in the text of Isan folk songs of Khen Dalao, Bunpeng Faipiwchai and Ratree Sriwilai using Jackson & Cook (1992) 's theoretical framework. The issues of sexualities being focused on were sexual belief, sexual desire and sexual practice. The study found that, on the aspect of sexual belief, Khen Dalao focused on the details of female bodies, behavior, financial status and careers, respectively. His explanation about woman bodies was based on Isan's traditional belief. Bunpeng Faipiwchai also mentioned sexual beliefs in her songs but mainly on the negative behavior of men in Isan society. On the aspect of sexual desire, Khen Dalao presented the sexual desire of old men, men's desire for women's vagina and men's imagination about women's vagina. Bunpeng Faipiwchai focused on women's desire for good looking men. Ratree Sriwilai presented the mutual desire of men and women, the desire for sex in a marriage. On the aspect of sexual practice, there were only Khen Dalao and Ratree Sriwilai mentioned about this issue. Khen Dalao presented male violence in sexual intercourse, sexual activity of old men, women's sexual response and women being active on sexual activity. Ratree Sriwilai presented male sexual intercourse with an animal. The study on the construction of sexual discourses revealed that Khen Dalao composed the songs to praise men and criticize women. His folk songs also contained sexual didactic for women and sexual discourse of female bodies. Contrasting to Khen Dalao, Bunpeng Faipiwchai constructed sexual discourse to praise woman and blame men, together with the issues of gender equality and didactic for men. Ratree Sriwilai also presented the discourse of gender equality to support and teach women.

159 บทคัดยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 159 รัชนีฉาย เฉยรอด. 2559. การแปรและการเปลี่ยนแปลงคำศัพท:ในภาษาไทยพวน อำเภอบbานผือ จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ท่ปี รึกษาวิทยานพิ นธ:: ดร.ศุภกติ บัวขาว บทคดั ย7อ วิทยานิพนธ9นี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การแปรคำศัพท9ตามระดับอายุของผูUพูด และ วิเคราะห9แนวโนUมการเปลี่ยนแปลงคำศัพท9ในภาษาไทยพวน อำเภอบUานผือ จังหวัดอุดรธานี การวิจัยนี้ ใชUคำศัพท9ภาษาไทยพวนทั้งหมด 173 คำ โดยเก็บขUอมูลจากผูUบอกภาษาทั้งหมด 18 คน แบFงผูUบอก ภาษาออกเป_น 3 กลุFมอายุ ไดUแกF ผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 1 อายุ 65 ปéขึ้นไป แบFงเป_นชาย 3 คน และ หญิง 3 คน ผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 2 อายุระหวFาง 40 - 50 ปé แบFงเป_นชาย 3 คน และหญิง 3 คน และ ผบูU อกภาษากลFุมอายุท่ี 3 อายรุ ะหวาF ง 15 - 25 ปé แบFงเปน_ ชาย 3 คน และหญงิ 3 คน ผลการวจิ ยั พบวาF การใชศU ัพท9เดิมผูUบอกภาษากลมุF อายุที่ 1 มีการใชUมากที่สุด จำนวน 44 คำ คดิ เป_นรUอยละ 25.43 และผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 3 มีการใชUนUอยที่สุด จำนวน 8 คำ คิดเป_นรUอยละ 4.63 การใชUศัพท9เดิมรFวมกับศัพท9อื่นผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 1 มีการใชUมากที่สุด จำนวน 66 คำ คิดเป_นรUอยละ 38.15 และผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 3 มีการใชUนUอยที่สุด จำนวน 28 คำ คิดเป_นรUอยละ 16.18 การใชU ศัพท9อื่นผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 3 มีการใชUมากที่สุด จำนวน 137 คำ คิดเป_นรUอยละ 79.19 และผูUบอก ภาษากลมFุ อายทุ ี่ 1 มกี ารใชนU Uอยทสี่ ดุ จำนวน 63 คำ คดิ เป_นรอU ยละ 36.42 นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบวFาผูUบอกภาษาทั้งสามกลุFมอายุสFวนใหญFใชUคำศัพท9ภาษาไทย มาตรฐานหรือคำศัพท9ภาษาไทยถิ่นอีสานมากกวFารUอยละ 90 ผลการศึกษาแสดงใหUเห็นวFาในอนาคตหาก ผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 2 เลื่อนมาแทนเป_นผูUบอกภาษากลุFมอายุที่ 1 คำศัพท9ภาษาไทยพวน อำเภอ บUานผอื จังหวัดอดุ รธานี อาจจะเกิดการสูญคำศัพทไ9 ปจากทอU งถ่ิน

160 160 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Ratchaneechay Choeirod. 2016. Lexical Variation and Change in Thai Phuan Spoken at Ban Phue District, Udon Thani Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT This thesis aims to analyze lexical variation across different age groups of speakers and to conduct a change analysis of lexical usage in the Thai Phuan language spoken at Ban Phue District, Udon Thani Province. The researcher used 173 lexical items from the Thai Phuan language and collected data from 18 informants. The informants were divided into three age groups: older generation informants (G1) were 65 years old or older; middle generation informants (G2) were 40 - 50 years old; and younger generation informants (G3) were 15 - 25 years old. Each age group (G1, G2, and G3) included three males and three females. The results of the study showed that members of G1 used the most lexical items from Thai Phuan, including 44 lexical items (25.43%), and members of G3 used the least, with 8 lexical items (4.63%). Members of G1 used Thai Phuan lexical items mixed with lexical items outside of Thai Phuan the most, including 66 lexical items (38.15%), and members of G3 used them the least, with 28 such lexical items (16.18%). Members of G3 used lexical items outside of Thai Phuan the most, including 137 lexical items (79.19%), and members from G1 used them the least, with 63 lexical items (36.42%). Furthermore, results of this research showed that the majority of members from all three age groups used lexical items from Standard Thai or Isan (the local dialect in northeastern Thailand) 90% of the time. This shows that in the future, when members of G2 become members of G1, the Thai Phuan language spoken at Ban Phue District, Udon Thani Province may lose Thai Phuan lexical items, resulting in local language loss.

161 บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 161 ศิริชัย หอมดวง. 2559. ระบบเสียงและการแปรทางเสียงในภาษาไทยพวน อำเภอบbานผือ จังหวัด อุดรธานี. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ี่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ดร.ศภุ กิต บัวขาว บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9นี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาระบบเสียงและวิเคราะห9การแปรทางเสียงในภาษา ไทยพวน อำเภอบUานผือ จังหวัดอุดรธานี ตามป®จจัยดUานอายุของผูUพูด เก็บขUอมูลดUวยการสัมภาษณ9ผูUบอก ภาษาเพศหญิงและชาย จำนวน 6 คน โดยแบFงออกเป_น 3 รุFนอายุ รุFนอายุละ 2 คน คือ รุFนอายุที่ 1 อายุ 65 ปéขึ้นไป รุFนอายุที่ 2 อายุ 40 - 50 ปé และรุFนอายุที่ 3 อายุ 15 - 25 ปé ผลการศึกษาระบบเสียงพบวFา ภาษาไทยพวนมีพยัญชนะตUนเดี่ยว 20 หนFวยเสียง ปรากฏเป_นพยัญชนะทUายไดU 9 หนFวยเสียง ไมFปรากฏ พยัญชนะควบ สระเดี่ยวมี 18 หนFวยเสียง สระประสมมี 3 หนFวยเสียง และวรรณยุกต9มี 6 หนFวยเสียง สFวนการแปรทางเสียงพบวFาพยัญชนะตUนมีการแปร 7 หนFวยเสียง ไดUแกF /b-, k-, kh-, m-, ɲ-, s-/ และ /h-/ สวF นพยัญชนะทUายพบการแปร 2 หนFวยเสียง ไดแU กF /-ʔ/ และ /-j/ การแปรของเสยี งสระเดี่ยวพบวาF มีการแปร 12 หนFวยเสียง ไดUแกF /i, i:, ɨ, u:, e:, ǝ, ǝ:, o:, ɛ:, a, a:/ และ /ɔ:/ สFวนสระประสมพบการ แปรเพียงหนFวยเสียงเดียว คือ /ua/ โดยการแปรที่เกิดขึ้นผูUพูดรุFนอายุที่ 3 มีการใชUรูปแปรมากกวFาผูUพูด รุFนอายุที่ 1 และผูUพูดรุFนอายุที่ 2 เพราะไดUรับอิทธิพลจากภาษาอีสานซึ่งเป_นภาษาแวดลUอมกลุFมใหญFและ ภาษาไทยมาตรฐานซึ่งเปน_ ภาษาราชการ

162 162 ⬗ บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Sirichai Homduang. 2016. Phonology and Phonological Variation in Thai Phuan Spoken at Ban Phue District, Udon Thani Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT This research aims to study the phonology system of Thai Phuan spoken at Ban Phue, Udon Thani Province and to analyze consonant variation of the local language in relation to speakers’ age groups. The data was collected using interviews and transcribed using the International Phonetic Alphabet. Six informants, both male and female, were divided into three generations with two informants per group. The groups were first generation (aged more than 65 years old), second generation (aged between 40-50 years old), and third generation (aged between 15-25 years old). Results of this study confirmed usage of 20 initial consonant phonemes, 9 final consonant phonemes, 18 vowels, 3 diphthongs, and 6 tones in the local Thai Phuan dialect. The Thai Phuan consonant variation analysis revealed that 7 of the initial consonant phonemes varied according to age group; they were /b-, m-, s-, k-, kh-, ɲ-/ and /h-/. Of the final consonant phonemes, 2 varied, which were /-ʔ/ and /-j/. Variation occurred in 12 of the vowels, including e /a, a:, e:, ǝ, ǝ:, ɔ:, ɛ:, u:, i, i:, ɨ/ and /o:/. Finally, 1 diphthong varied, which was /ua/. Consonant variation mostly occurred in the third generation (aged between 15-25 years old). Therefore, it can be concluded that Esan dialects and Standard Thai are likely to influence Thai Phuan consonant variation.

163 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 163 ฟาม แทงห9 ฮ∫าย. 2559. ความสามารถในการใชbภาษาและการเลือกใชbภาษาของคนไทยเชื้อสาย เวียดนามในจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ปี่ รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาความสามารถในการใชUภาษาตามตัวแปรอายุ และศึกษาการ เลือกภาษาตามตัวแปร 3 ประการ ไดUแกF อายุ คูFสนทนา และสถานที่ของการสนทนาของคนไทยเชื้อสาย เวียดนาม ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี กลุFมตัวอยFางคือคนไทยเชื้อสายเวียดนามในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จำนวน 70 คน แบFงเป_น 3 กลุFมอายุ ไดUแกF กลุFมอายุนUอย อายุ 15 - 35 ปé กลุFมวัย กลางคน อายุ 40 - 60 ปé และกลุFมสูงอายุ อายุ 65 - 85 ปé เครื่องมือที่ใชUในการเก็บขUอมูล คือ แบบสอบถาม การสังเกตการณ9 และการสัมภาษณ9เชิงลึก การวิจัยนี้เป_นการวิจัยแบบประสมระหวFาง การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ แนวคิดในการวิเคราะห9ขUอมูล คือ ความสามารถในการใชU ภาษาและการเลือกใชUภาษา ซึ่งเป_นแนวทางภาษาศาสตร9สังคม นำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนา วิเคราะห9 โดยมีการใชUตารางและแผนภูมิประกอบการอธิบาย ผลการศึกษาดUานความสามารถในการใชU ภาษา พบวFา กลุFมสูงอายุและกลุFมวัยกลางคนมีความสามารถพูดไดU 3 ภาษามากที่สุด และกลุFมอายุนUอย สFวนมากมีความสามารถพูดไดU 2 ภาษา โดยกลุFมสูงอายุทุกคนสามารถใชUภาษาไทยกลาง ภาษาอีสาน และภาษาเวียดนามไดUในระดับดี กลุFมวัยกลางคนและกลุFมอายุนUอยสามารถพูดภาษาไทยกลางและภาษา อีสานไดUในระดับดี แตFกลุFมวัยกลางคนสFวนมากสามารถพูดภาษาเวียดนามไดU แตFกลุFมอายุพูดนUอยไมF สามารถพูดภาษาเวียดนามไดU สFวนผลการวิจัย การเลือกภาษา พบวFา ป®จจัยทางอายุ คูFสนทนา และ สถานที่มีผลตFอการเลือกภาษาของคนไทยเชื้อสายเวียดนามโดยพบวFา 1) ภาษาเวียดนามถูกเลือกใชUโดย กลุFมสูงอายุมากที่สุด ที่บUานกับคูFสมรส กลุFมวัยกลางคนใชUภาษาเวียดนามมากที่สุด ที่รUานอาหารกับ เพื่อนที่เป_นคนไทยเชื้อสายเวียดนาม และกลุFมอายุนUอยไมFพบวFามีการใชUภาษาเวียดนามอยFางเดียว แตFมี การใชUปนกับภาษาไทยกลางหรือภาษาอีสาน 2) ภาษาอีสาน พบวFา กลุFมสูงอายุเลือกใชUมากที่สุดเมื่อ สนทนากับเพื่อนบUาน รองลงมาคือกลุFมวัยกลางคนใชUสนทนากับเพื่อนบUาน และกลุFมอายุนUอย ใชUภาษา อีสานนUอยที่สุด 3) ภาษาไทยกลาง พบวFา กลุFมอายุนUอยมีการเลือกใชUภาษาไทยกลางมากที่สุด เมื่อพูดใน สถานที่ราชการและกับคูFสนทนาที่เป_นคนที่ไมFรูUจัก รองลงมาคือกลุFมวัยกลางคน สFวนกลุFมสูงอายุเลือกใชU นUอยที่สุด ผลการวิจัยนี้แสดงใหUเห็นวFาคนไทยเชื้อสายเวียดนามจะเลือกใชUภาษาตามความสัมพันธ9ของ คูFสนทนา และสถานที่ที่เป_นทางการหรือไมFเป_นทางการ และยังสะทUอนใหUเห็นวFาการใชUภาษาเวียดนาม กำลงั ลดลงในกลFุมอายุนอU ย ซึง่ สมั พันธ9กับการธำรงรกั ษาภาษาเวียดนามในอนาคต คำสำคัญ: ความสามารถในการใชUภาษา การเลอื กภาษา คนไทยเช้ือสายเวียดนาม

164 164 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Pham Thanh Hai. 2016. Language competence and choice of Vietnamese-Thais in Udonthani Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This was a qualitative and quantitative mixed research study that aimed to study the language competence and choice of Vietnamese-Thai people in Udonthani Province. The sample included 70 participants that were divided into 3 age groups. Data was gathered through questionnaires, in-depth interviews, and observations. Analysis was performed by the utilization of sociolinguistic concepts. We found that the majority of older and middle-aged adults were competent speaking 3 languages: Central Thai, Isan and Vietnamese. However, the young adult age group could only speak 2 languages: Central Thai and Isan. In regards to language choice, the study revealed that age, interlocutor and place were the 3 factors that greatly influenced the language choice of Vietnamese-Thais in Udonthani Province. The older adult age group reported using Vietnamese language the most, particularly when they are at home and speaking with their spouses. This was followed by middle-aged adults who reported speaking Vietnamese when spending time with their Vietnamese-Thai friends at restaurants. Finally, the young adult age group in our study reported rarely speaking Vietnamese. Older and middle-aged adults reported using Isan language the most when speaking with their neighbors, notably at local markets. Although young adults reported rarely speaking Isan, they were the group that used Central Thai language the most, especially in governmental places and when speaking with strangers. Older adults were the age group that spoke Central Thai the least. In conclusion, our study demonstrated that Vietnamese-Thais choose languages according to their relationship with interlocutors and their surrounding environment or location. In addition, our finding revealed that the use of Vietnamese language is being diminished among Vietnamese-Thai young adults in Thailand, which relates to the Vietnamese language maintenance in the future. Keywords: Language competence, Language choice, Vietnamese-Thais

165 บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 165 ภริ พร พิสสาพมิ พ9. 2560. นทิ านอาเซียน: ประเภทของนิทานและอัตลักษณร: ว7 ม. วิทยานิพนธป9 ริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ดร.อมุ ารนิ ทร9 ตุลารกั ษ9 บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9ฉบับนี้เป_นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มุFงวิเคราะห9นิทานอาเซียนโดยมีวัตถุประสงค9 2 ประการ คือ 1) เพอ่ื ศึกษาประเภทของนิทานอาเซียน 10 ประเทศ และ 2) เพ่อื ศึกษาอัตลกั ษณ9รFวมใน นิทานอาเซียน 10 ประเทศ โดยศึกษาตัวบทจากหนังสือนิทานอาเซียน 3 ชุด ที่ไดUรับการแปลเป_น ภาษาไทยแลUวรวมทั้งหมด จำนวน 263 เรื่อง ไดUแกF 1) ชุดนิทานในประชาคมอาเซียน 2) ชุดนิทานใน ประเทศประชาคมอาเซียน 3) ชดุ นิทานพื้นบาU นอาเซียน และหนงั สือนิทานอาเซยี นอีก 4 เลมF คอื หนังสอื คติล้ำคFานิทานอาเซียน หนังสือตลกเฮฮานิทานอาเซียนหนังสือกาลครั้งหนึ่งในอาเซียน Once upon a time in ASEAN และหนังสือนิทานพื้นบUานของประชาคมอาเซียนโดยจำแนกประเภทนิทานตาม แนวคิดของสตธิ ทอมปส± นั และแสดงผลการศกึ ษาดUวยวธิ กี ารพรรณนาวเิ คราะห9 ผลการศึกษาประเภทของนิทานอาเซียนพบวFามี 12 ประเภท ไดUแกF นิทานมหัศจรรย9 จำนวน 52 เรื่อง นิทานคติ จำนวน 44 เรื่อง นิทานมุกตลก จำนวน 39 เรื่อง นิทานอธิบายเหตุ จำนวน 36 เรื่อง นิทานเทวปกรณ9 จำนวน 33 เรื่องนิทานประจำถิ่น จำนวน 25 เรื่อง นิทานสัตว9 จำนวน 21 เรื่อง นิทาน เขUาแบบ จำนวน 4 เรื่อง นิทานผี จำนวน 3 เรื่อง นิทานศาสนา จำนวน 3 เรื่อง นิทานวีรบุรุษ จำนวน 2 เรื่อง และนทิ านชวี ิต จำนวน 1 เรือ่ ง การศึกษาอัตลักษณ9รFวมในนิทานอาเซียนพบวFามีอัตลักษณ9รFวม 4 ดUาน คือ 1) อัตลักษณ9รFวม ดUานตัวละคร ไดUแกF ตัวละครที่เป_นตัวแทนของความดีความชั่ว อำนาจความฉลาด ความโงFเขลาและ อFอนแอ 2) อัตลักษณ9รFวมดUานภูมิศาสตร9 ไดUแกF ภูมิศาสตร9ที่เป_นหมูFเกาะและทะเล พื้นที่ราบสูงและ แมFน้ำ 3) อัตลักษณ9รFวมดUานวัฒนธรรม ไดUแกF ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่เหนือธรรมชาติ ดวงชะตา ฤกษ9ยาม โชคลาง พิธีกรรม และคFานิยม 4) อัตลักษณ9รFวมดUานสังคม ไดUแกF โครงสรUางทางสังคม การแบFงชนช้ัน และสถาบันทางสงั คม จากผลการศึกษาประเภทของนิทานพบวFานิทานมหัศจรรย9เป_นนิทานที่พบจำนวนมากที่สุด รองลงมาคือนิทานคติ ทั้งนี้เนื่องจากนิทานเป_นวรรณกรรมที่นำเสนอเรื่องราวของจินตนาการและไดU สอดแทรกความเป_นจริงของชีวิต รวมทั้งคติคำสอนตFาง ๆ นอกจากนี้ยังทำใหUทราบถึงเรื่องราวชีวิต ความเป_นอยูFของทั้ง 10 ประเทศ ในดUานภูมิศาสตร9 วัฒนธรรม และสังคม ไมFวFาจะเป_นเรื่องของความเชื่อ เกี่ยวกับสิ่งที่อยูFเหนือธรรมชาติ โชคชะตา และการใหUความสำคัญเกี่ยวกับการสรUางคุณธรรมจริยธรรม กลFาวไดUวFาเป_นสิ่งสำคัญที่คนในประชาคมอาเซียนตUองการและยกยFองผูUที่มีความประพฤติดี รวมทั้งการมี สติป®ญญาเฉลียวฉลาดสามารถแกUป®ญหาตFาง ๆ ผFานตัวละครเอกในเรื่อง นิทานอาเซียนจึงเป_นเครื่องมือ

166 166 ⬗ บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย สำคัญที่สะทUอนใหUเห็นความเชื่อ คFานิยม และลักษณะทางสังคมของแตFละประเทศ และเป_นสFวนหนึ่งของ กระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ที่เชื่อมโยงไปถึงการแสดงใหUเห็นอัตลักษณ9รFวมที่ปรากฏ ในนิทานอาเซียนซึ่งสอดคลUองกับคำขวัญของอาเซียนที่วFา หนึ่งวิสัยทัศน9 (One vision) หนึ่งอัตลักษณ9 (One Identity) หน่งึ ประชาคม (One community)

167 บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 167 Piraporn Pissapim. 2017. Asean Tale: Tale Type And Collective Identity. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT This Qualitative thesis is aimed to analyse ASEAN tales having two objectives namely : 1) To study the type of 10 countries’ tales and 2) To Study the collective identity in 10 country’ tales by means of studying script from 3 sets of ASEAN tales translated into Thai consisting of totally 263 Title namely 1) the tale sets in ASEAN community 2) the tale sets Countries in ASEAN community 3) the sets of ASEAN folk tale and 4 more ASEAN tales namely the Precious ASEAN Tale, ASEAN Jest , Once upon a time in ASEAN and the folk tale in ASEAN community by means of classifying the type in accordance with the theory of Stith Thompson and displaying the study resulted by the method of descriptive analysis. The results are found that the type of ASEAN tale is consisted of 12 types namely 52 fairy tale, 44 fables, 39 jests, 36 explanatory, 33 myths, 25 local folk tales, 21 animal tales, 4 formula tales, 3 ghost tales 3 religious tales, 2 hero tales and 1 novella. To study Collective identity in ASEAN story, it is found that there are 4 aspects of collective identities namely 1) characters collective identity including the character representing goodness, badness power, intelligence, stupidity and weakness. 2) Geographic collective identity which includes island, sea, plateau and river. 3) Cultural collective identity including belief in supernature, destiny, auspicious time, prophetic sign, rite and value. 4) Social collective identity including social structure, discrimination and social institute. From studying the type story, it is found that fairy tale is the one most found, the second one is the moral one which is the literature story presenting the story of imagination and depict the reality of life as well as different moralities. Besides, they depict the story of life, way of life of the whole 10 countries in the aspects of geography, culture and society including the theme of belief in supernature, destiny and giving priority to the building of morality and ethics. It can be said that it is the significance in ASEAN communities that need and ones together with intelligence leading to the

168 168 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย solution through the protagonist in the story. So ASEAN tale is the important tool that reflects belief, value and social characteristics of each country and it is also the part of socialization connecting to depicting the collective identity appearing in ASEAN story which is complied to one of ASEAN slogan saying: One Vision, One Identity, and One Community.

169 บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 169 ฐนพรรณ ธูปหอม. 2560. การแปรของวรรณยุกต:ตามตัวแปรอายุในภาษาไทพวน อ.เชียงคาน จ.เลย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ดร.ศภุ กติ บวั ขาว บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่อง “การแปรของวรรณยุกต9ตามตัวแปรอายุในภาษาไทพวน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย” มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การแปรของวรรณยุกต9ตามตัวแปรอายุในภาษาไทพวนใน หมูFบUานบUานกลาง ตำบลปากตม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เก็บขUอมูลจากผูUบอกภาษาเพศหญิงและ ผูUบอกภาษาเพศชาย 3 กลุFม คือ กลุFมวัยรุFน (15-25 ปé) กลุFมวัยกลางคน (35-45 ปé) และกลุFมผูUสูงอายุ (55 ปéขึ้นไป) รวมผูUบอกภาษาทั้งหมด 18 คน โดยใชUกลFองทดสอบเสียงวรรณยุกต9ภาษาถิ่นตระกูลไท ของ Gedney (1972) ดUวยการฟ®ง และใชUบัตรรายการคำชุดเทียบเสียงคลUายจากงานวิจัยของ พิณรัตน9 อัครวัฒนากุล (2546) จำนวน 20 คำในการเก็บขUอมูลเสียงเพื่อวิเคราะห9สัทลักษณะของเสียงวรรณยุกต9 โดยวธิ ีทางกลสัทศาสตรด9 วU ยโปรแกรม Pratt version 5.3.59 ผลการศึกษาพบวFา ระบบเสียงวรรณยุกต9ภาษาไทพวนในหมูFบUานบUานกลาง ตำบลปากตม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย มีหนFวยเสียงวรรณยุกต9ทั้งหมด 6 หนFวยเสียง มีการแยกเสียงวรรณยุกต9 ออกเป_น 2ทาง คือ AC1-234 BDLDS123-4 สFวนการรวมเสียงวรรณยุกต9 คือ DLDS123 กับ DLDS4 รวมเสียงกับวรรณยุกต9 C1 และ C234 ตามลำดับ ผลการศึกษาพบวFามีการแปรของเสียงวรรณยุกต9 เกิดขึ้นในเสียงวรรณยุกต9ท่ี 1 A1, เสียงวรรณยุกต9ที่ 4 B4, เสียงวรรณยุกต9ที่ 5 พยางค9ตายสระเสียงยาว DL123 เสียงวรรณยุกต9ที่ 6 พยางค9เป_น C234 และเสียงวรรณยุกต9ที่ 6 พยางค9ตายสระเสียงยาวและ เสียงสั้น DLDS4 ซึ่งการแปรของสัทลักษณะเสียงวรรณยุกต9ภาษาไทพวนที่เกิดขึ้นนั้น ตัวแปรอายุมี ความสำคัญตFอการเปลี่ยนแปลงของเสียงวรรณยุกต9 และสFงผลตFอการเปลี่ยนแปลงสัทลักษณะของ เสียงวรรณยุกต9ภาษาไทพวนในอนาคต โดยเฉพาะการแปรที่พบในผูUบอกภาษากลุFมวัยกลางคนและ กลุFมวัยรFนุ

170 170 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Thanaphan Toophom. 2017. Tonal Variation of Tai Phuan by Age Groups in Chiangkhan District, Loei Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT The thesis titled “Tonal Variation of Tai Phuan in Chiangkhan District, Loei Province” has its aim to analyses tonal variation of Tai Phuan by age groups in Ban Klang village, Paktom sub-district, Chiang Khan district, Loei Province. Data collection was conducted from the female and male informants in 3 groups, each of which has 6 persons, totaling 18 informants: a young age group (15 - 25 years old), a middle age group (35 - 45 years old), and an old age group (more than 55 years old). A checklist for determining tone in Tai dialects by William J. Gedney was used. The Praat program version 5.3.59 was used to analyze the tones by means of acoustic phonetics. The study result revealed that tonal system in Tai Phuan language in Ban Klang village, Paktom sub-district, Chiang Khan district and Loei Province consisted of 6 tone divided as 2 ways including AC1-234 BDLDS123-4. Meanwhile, the coalescence of tone was DLDS123 and DLDS4 merged with C1 and C234 respectively. In addition, the findings also indicated that tone variation happened in tone 1 A1, tone 4 B4, tone 5 with dead syllable and long vowel DL1 2 3 , tone 6 with live syllable C234 and tone 6 with dead syllable and long and short vowel DLDS4. This phonetic variation of tones in Tai Phuan language was discovered that age substantially influenced alteration of tones and affected phonetic variation of tones in Tai Phuan Language in the future especially major varition highly found in middle-age people and young people.

171 บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 171 ยู โบ. 2560. การเปรียบเทียบนิทานพื้นบbานไทลื้อที่ภาคเหนือ ประเทศไทย และสิบสองป©นนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ:: ดร.อมุ ารนิ ทร9 ตุลารกั ษ9 บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9เรื่อง “การเปรียบเทียบนิทานพื้นบUานไทลื้อที่ภาคเหนือ ประเทศไทย และสิบสอง ป®นนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน” เป_นการศึกษานิทานพื้นบUานจากนิทานไทลื้อที่เป_นลายลักษณ9 ทั้งหมด 169 เรื่อง วัตถุประสงค9ในการศึกษามี 2 ประการคือ 1) เพื่อวิเคราะห9เปรียบเทียบประเภทและ ลักษณะรFวมของนิทานพื้นบUานไทลื้อที่ภาคเหนือประเทศไทยกับสิบสองป®นนาประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และ 2) เพื่อวิเคราะห9เปรียบเทียบวัฒนธรรมและความเชื่อในนิทานพื้นบUานไทล้ือ ภาคเหนือ ประเทศไทย กับสิบสองป®นนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน การวิจัยครั้งนี้เป_นการวิจัย เชิงคุณภาพใชUแนวคิดการจำแนกประเภทของนิทานของ Stith Thompsonและประคอง นิมมานเหมินท9 และนำเสนอขอU มลู แบบพรรณนาวเิ คราะห9 ผลการศึกษาประเภทของนิทานพบวFา นิทานไทลื้อภาคเหนือไทยจำนวน 112 เรื่องสามารถ จำแนกเป_น 10 ประเภท ไดUแกF 1) นิทานมหัศจรรย9 26 เรื่อง 2) นิทานประจำถิ่น 4 เรื่อง 3) นิทาน อธิบายเหตุ 27 เรื่อง 4) นิทานปรัมปรา 5 เรื่อง 5) นิทานสัตว9 9 เรื่อง 6) นิทานมุกตลก 13 เรื่อง 7) นิทานศาสนา 9 เรื่อง 8) นิทานผี 4 เรื่อง 9) นิทานเขUาแบบ 1 เรื่อง 10) นิทานคติ 14 เรื่อง สFวน นิทานไทลื้อที่สิบสองป®นนา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนจำนวน 57 เรื่องสามารถจำแนกเป_น 10 ประเภท ไดUแกF 1) นิทานมหัศจรรย9 10 เรื่อง 2) นิทานชีวิต 1 เรื่อง 3) นิทานวีรบุรุษ 1 เรื่อง 4) นิทานประจำถิ่น 3 เรื่อง 5) นิทานอธิบายเหตุ 1 เรื่อง 6) นิทานปรัมปรา 4 เรื่อง 7) นิทานสัตว9 6 เรื่อง 8) นิทานมุกตลก 18 เรื่อง 9) นิทานผี 1 เรื่อง 10) นิทานคติ 12 เรื่อง การศึกษานิทานพื้นบUาน ทั้งสองพื้นท่ี พบวFา มีบางประเภทที่ตFางกัน คือ นิทานศาสนาและเขUาแบบที่มีในนิทานไทลื้อที่ประเทศ ไทย สFวนไทลื้อที่สิบสองป®นนาพบนิทานประเภทวีรบุรุษและชีวิต นอกจากนี้นิทานไทลื้อทั้งสองประเทศ ยงั มีลกั ษณะรวF มในดUานกลวิธกี ารเลFาเร่ืองและเนอ้ื หา การศึกษาวัฒนธรรมและความเชื่อในนิทานพื้นบUานทั้งสองพื้นท่ี ทำใหUเห็นวFาวัฒนธรรมความ เชื่อที่คลUายคลึงกัน คือ ความเชื่อเกี่ยวกับผีสางเทวดาและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ประเพณีและพิธีกรรม การปรากฏการณ9ธรรมชาติและคุณธรรมจริยธรรม สFวนวัฒนธรรมและความเชื่อที่แตกตFางกัน คือ ความเชื่อผีสางเทวดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ความแตกตFางนั้น ทำใหUเห็นความเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมของกลุFมชาติพันธุ9เดียวกัน เมื่ออยูFคนละพื้นที่และไดUรับอิทธิพลของทางสังคมวัฒนธรรมอื่นจะ ทำใหวU ฒั นธรรมไดUรบั การปรับเปลย่ี นไปดวU ย เพื่อใหUเขาU กับสงั คมและวัฒนธรรมอนื่ ไดU

172 172 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Yu Bo. 2017. A Comparison on Folktales of Tai Lue in Northern Thailand and Xi Shuang Ban Na, China. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT This study investigated folktales of TaiLue, an ethnic group of Northern Thailand and Xi Shuang Ban Na, China. Two main objectives of the study are: 1) to compare genres of folktales found in both Tailue of Northern Thailand and Xi Shuang Ban Na, China, 2) to analyze culture and beliefs hidden in folktales of TaiLue of both countries. Regarding data analysis, the study employed adapted folktale categorization of Stith Thompson and Prakong Nimmanhaemin to categorize obtained data. The results were then presented in descriptive analysis. The results indicated 112 folktales of TaiLue in Northern Thailand and 57 folktales of TaiLue in Xi Shuang Ban Na, China. In Thailand, 112 folktales were classified into 10 genres which consist of 1) 26 stories of Fairy Tales2) 4 stories of Sage 3) 27 stories of Explanatory 4) 5 stories of Myth 5) 9 stories of Animal Tale 6) 13 stories of Merry 7) 9 stories of Religion 8) 4 stories of Ghost 9) 1 story of Formular Tale and 10) 14 stories of Parable. In China, 57 folktales were classified into 10 genres which are composed of 1) 10 stories of Fairy Tale 2) 1 story of Novella 3) 1 story of Hero 4) 3 stories of Sage 5) 1 story of Explanatory 6) 4 stories of Myth 7) 6 stories of Animal Tale 8) 18 stories of Merry 9) 1 story of Ghost 10) 12 stories of Parable. Moreover, the results marked similarities and differences of folktales from two different regions. Regarding the differences, folktales of Religion and Formular Tale were found in TaiLue of Northern Thailand, but those were not found in Xi Shuang Ban Na, China. Folktales of Hero and Novella were found in Xi Shuang Ban Na, China, but were not found in TaiLue of Northeastern Thailand. Besides, folktales of two countries also share co-characteristics in terms of content and a technique of storytelling. In terms of culture and belief, the results also showed both similarities and differences. TaiLue of Northern Thailand and Xi Shuang Ban Na, China share common culture and belief in ghost and sacred items, traditions and rituals, natural phenomena,

173 บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 173 ethics. TaiLue from two regions, also have different cultures and beliefs in following stories. Those similarities and differences of cultures and beliefs highlight transformation of TaiLue ethnic group living in Thailand and China. As found in the results, the study suggests that although TaiLue of Thailand and China shared the same origin, they could have been influenced by the country where they lived in since they had to adjust to a current environment.

174 174 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย คอง เตอ ผิง. 2560. การตั้งชื่อที่พักอาศัยในอำเภอเมืองจังหวัดขอนแก7น. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ่ีปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รัตนา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 การตั้งชื่อเป_นสิ่งที่สำคัญในสังคมไทย รวมถึงการตั้งชื่อสถานที่หรือที่พักอาศัย งานวิจัยนี้ใชU แนวทางภาษาศาสตร9ภาษาไทย มุFงเนUนศึกษาภาษาและที่มาของชื่อที่พักอาศัยประเภทใหUเชFารายเดือน โดยมีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาภาษาและลักษณะภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อที่พักอาศัยประเภทอะพาร9ตเมนต9 ในเขตพื้นที่เทศบาลเมือง 3 แหFง ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกFน โดยการสำรวจภาคสนาม รวบรวมชื่อทั้งหมด 715 ชื่อ พรUอมทั้งการสัมภาษณ9เจUาของที่พักอาศัย ผลการศึกษาออกเป_น 2 ประเด็น คือ 1) ที่มาของชื่อที่พักอาศัย 2) โครงสรUางชื่อที่พักอาศัย ผลการศึกษาพบวFา ภาษาที่ใชUในการตั้งช่ือท่ี พักอาศัยในอำเภอเมืองจังหวัดขอนแกFน มีทั้งหมด 4 ภาษา ไดUแกF ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุûน โดยพบวFามีการใชUภาษาไทยและภาษาอังกฤษมากที่สุด ที่มาภาษาที่นำมาตั้งชื่อพบวFา 4 ลักษณะ ไดUแกF 1) การตั้งชื่อดUวยภาษาไทย 2) การตั้งชื่อดUวยภาษาอังกฤษ 3) การตั้งชื่อดUวยภาษาไทย ปนกับภาษาอังกฤษ 4) การตั้งชื่อดUวยภาษาอื่น ๆ ซึ่งพบวFามีการตั้งชื่อดUวยภาษาไทยปนภาษาอังกฤษ มากที่สุด สFวนแหลFงที่มาของชื่อที่พักอาศัยในอำเภอเมืองจังหวัดขอนแกFน พบวFา มีการตั้งชื่อจากช่ือ บุคคลมากที่สุด เป_นช่ือจริงชื่อนามสกุลของเจUาของ หรือชื่อบุคคลในครอบครัว โดยนำมาประกอบกับ คำบFงชี้ที่แสดงใหUทราบวFาเป_นที่พักอาศัยประเภทใหUเชFารายเดือนจำนวน 18 คำ ไดUแกF หอ หอพัก หUองเชFา บUาน เรือน อะพาร9ตเมนต9 เพลส แมนชั่น เฮUาส9 โฮม คอนโดมิเนียม เรสซิเดนซ9คอร9ท บูติก เซอร9วิส เรนเทล วิลเลจ แกรนด9 กลFาวนำมาวิเคราะห9โครงสราU งชอื่ ท่พี กั อาศยั พบวFามี 9 โครงสราU ง ไดUแกF 1) ช่อื บุคคล + คำบงF ชี้ 2) คำบFงชี้ + ชื่อบุคคล 3) คำขยาย + คำบFงชี้ 4) คำบFงชี้ + คำขยาย 5) ชื่อบุคคล + คำขยาย 6) ชื่อบุคคล 7) คำบFงชี้ 8) คำบอกที่ตั้ง + คำขยาย 9) คำขยาย ผลการศึกษานี้แสดงใหUเห็นลักษณะ ภาษาที่นิยมนำมาตั้งชื่อที่พักอาศัยประเภทใหUเชFารายเดือน ซึ่งเป_นปรากฏการณ9ทางภาษาที่สามารถ นำไปเปรียบเทยี บกับการต้งั ชอ่ื ท่อี ยปูF ระเภทอ่ืน ๆ ไดU

175 บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 175 Deping Kong. 2017. Residence Naming in Mueang District Khonkaen. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT In Thai culture naming is very important. Giving good names of villages, houses or dormitories are popular culture of language in Thailand. Therefore, this research aimes to study which language is used for the residences 'names in Khonkaen city and what is the root of language in naming and their structure. This research is linguistics perspective focusing on the naming concept. The 715 names used as data were grouped by survey on internet and interview the residences' owners. The research finding was that there are four languages used to name the residence that are in Thai, English, Chinese and Japanese, and having three categories. The first category, Thai and English mixed is the most popular names. The second category is used only in Thai language and the third category is used only in English, the last category is used in another languages except Thai and English. The key of names mostly was found that they are using the person's name. Especially the owner's name or people in their family. female names are mostly used. The person's names appear in five categories; 1) people's name + markers 2) markers + people's name 3) expand words + markers 4) markers + expand words 5) people's name + expand words 6) people's name 7) markers 8) direction word + expand words 9) expand words. There are 18 marker words showing in residence names; /ho:5/ho:5pak4/hong3chao3/ban3/ /len/apartment, palce, mantion, house, home, condominium, residence, court boutique Service rental, village and grand.

176 176 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย เกอะ หนาน หลิน. 2560. การตั้งชื่อเกาะในประเทศไทย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทีป่ รึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9น้ี ศึกษาการตั้งชื่อเกาะในประเทศไทยจำนวนทั้งสิ้น 936 เกาะใน 19 จังหวัด ในภาคตะวันออกและภาคใตUของประเทศ เพื่อศึกษาภาษาและความหมายของชื่อเกาะ โครงสรUางชื่อ เกาะพบวFามีโครงสรUางคำตั้งแตF 1 ถึง 3 คำ โดยจะปรากฏคำวFา “เกาะ” นำหนUาชื่อเสมอ ภาษาที่ใชU ในการตั้งชื่อเกาะจะพบคำที่มาจากภาษา 7 ภาษา ไดUแกF ภาษาไทย ภาษาไทยถิ่น ภาษาเขมร ภาษา ชวา-มลายู ภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาจีน และภาษาอาหรับ โครงสรUางของชื่อพบวFามีการใชUคำตั้งแตF 1 ถึง 3 คำ โดยจะปรากฏคำวFา “เกาะ” นำหนUาชื่อเชFนกัน สFวนภาษาที่ใชUในการตั้งชื่อเกาะพบคำที่มา จาก 7 ภาษา ไดUแกF ภาษาไทย ภาษาไทยถิน่ ภาษาเขมร ภาษาชวา-มลายู ภาษาบาล-ี สนั สกฤต ภาษาจีน และภาษาอาหรับ โดยภาษาชวา มลายู พบในชื่อเกาะทางภาคใตUมากกวFาภาคตะวันออก ความหมาย ของชื่อเกาะสามารถแบFงไดUเป_น 7 กลุFม ที่สัมพันธ9กับสัตว9พืช ประวัติศาสตร9ชุมชน/บุคคลที่คUนพบ/ผูUต้ัง ชื่อใหU ลักษณะภูมิศาสตร9 ศาสนา จำนวนหรือตัวเลข และชื่อที่ไมFสามารถจัดกลุFมไดU ยังพบวFาชื่อเกาะ บางช่อื ออกเสียงเพ้ยี นไปจากอดีตทำใหมU สี ำเนยี งที่แตกตาF งกับป®จจบุ ัน

177 บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 177 Nanlin Ge. 2017. Island Naming in Thailand. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims at studying island naming in Thailand, 936 islands names are used from 19 provinces of east Thailand and south Thailand, studying which language is used in naming and what does it mean the research finding shows the word structure, there is 1 to 3 words in the names of island, there is always a word ‘Koh' (island) in front of name. The language used most is Thai and the language borrowed from another language, there are 7 languages used to name island; Thai, Dialects, Khmer, Java-Malay, Pali-Sanskritt, Chinese and Arabic. The name used Java-Malay language was found in southern Thai more than eastern Thai. The meaning of island names shows that there are seven categories; animals, plant, human history / the person's name who found the island / the person's name who give a name to the island, geography, religion, number, and they cannot be classified the meaning. The finding shows that an island has two or more names, some names are wrong after time passed because of the different pronunciation, this makes a difference in naming island from past time and the present time.

178 178 ⬗ บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ณัฏฐ9นรี เตชะแกUว. 2560. ตัวบทและพิธีกรรมของชาวไทดำ บbานนาปsาหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัด เลย: จักรวาลวิทยาและอำนาจเหนือธรรมชาติ. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ี่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ:: ดร.อมุ ารนิ ทร9 ตลุ ารักษ9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่อง “ตัวบทและพิธีกรรมของชาวไทดำ บUานนาปûาหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัด เลย : จักรวาลวิทยาและอำนาจเหนือธรรมชาติ มีจุดมุFงหมาย คือ 1) เพื่อศึกษาจักรวาลวิทยาในตัวบท และพิธีกรรมของชาวไทดำ บUานนาปûาหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 2) เพื่อศึกษาอำนาจเหนือ ธรรมชาติในตัวบทและพิธีกรรมของชาวไทดำ บUานนาปûาหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย โดยไดUเก็บ รวบรวมขUอมลู ท้ังหมด 3 พิธีกรรม คือ พธิ ีกรรมเสน-หลอF เฮือน พิธีกรรมปา… ดตงπ และพธิ ีกรรมทำขวญั ผลการศึกษาพบวFา จักรวาลวิทยาในตัวบทและพิธีกรรมของชาวไทดำ บUานนาปûาหนาด ประกอบดUวย เมือง 3 ระดับ คือ เมืองฟ≥า เมืองลอ และเมืองลุFม เมืองฟ≥าคือที่อยูFของแถน ผีเจUานาย และ ผีชนชั้นสามัญ เมืองลอเป_นสถานที่เชื่อมตFอระหวFางฟ≥ากับดินหรือเมืองฟ≥ากับเมืองมนุษย9 สFวนเมืองลุFม คือ ที่อยูFของมนุษย9และสิ่งมีชีวิตตFาง ๆ ชาวไทดำนับถือแถนและเชื่อวFาแถนเป_นผูUมีอิทธิฤทธิ์ มีอำนาจ สูงสุด สามารถควบคุมจักรวาลทั้งหมดไดU อีกทั้งยังมีอำนาจควบคุมผีและมนุษย9 สFวนผีบรรพบุรุษท่ี เสียชีวิตแลUวจะเดินทางไปมาระหวFางเมืองฟ≥ากับเมืองลุFม ชาวไทดำเชื่อวFาผีบรรพบุรุษมีสFวนในการใหU ความชFวยเหลือ และปกป≥องคุUมครอง ทำใหUคนในครอบครัวไดUรับความสุข อุดมสมบูรณ9 ความเชื่อนี้ไดU นำเสนอผFานตัวบทและพิธีกรรมที่ยังคงแสดงใหUเห็นถึงอำนาจและความสัมพันธ9ระหวFางผีกับมนุษย9ของ ชาวไทดำ บาU นนาปûาหนาด สบื เนอ่ื งจนถงึ ปจ® จบุ ัน สFวนการศึกษาอำนาจเหนือธรรมชาติในตัวบทและพิธีกรรมของชาวไทดำ บUานนาปûาหนาด แสดงใหUเห็นอำนาจเหนือธรรมชาติในดUานตFาง ๆ ซึ่งแสดงใหUเห็นถึงความเชื่อของกลุFมชาติพันธุ9 ดังน้ี คือ 1) ความเชื่อเรื่องผีและวิญญาณ ประกอบไปดUวย ความเชื่อเรื่องแถนหรือผีฟ≥า ผีบรรพบุรุษ ผีประจำ สถานที่ และผีปûา ผีขวงอื่น ๆ 2) ความเชื่อเรื่องขวัญ 3) ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร9 4) ความเชื่อเรื่อง โชคลาง และ 5) ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร9 ความเชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติของชาวไทดำนั้นมีมา ตั้งแตFบรรพบุรุษ สืบทอดกันมาจนถึงป®จจุบัน ขUอมูลบางอยFางก็เลือนหายไปกับกาลเวลา แตFบางสิ่งก็ ยังคงยึดถือปฏิบัติกันอยูFอยFางเครFงครัด โดยเฉพาะอยFางยิ่งคือความเชื่อเรื่องผี ขวัญ ไสยศาสตร9 โชคลาง และโหราศาสตร9 การศึกษาตัวบทและพิธีกรรมทั้ง 3 นี้ จึงแสดงใหUเห็นวFา ชาวไทดำยังคงสืบทอด วฒั นธรรม ความเช่ือ ประเพณีดงั้ เดมิ ของชาวไทดำไวUเรื่อยมาตง้ั แตFอดีตมาจนถึงป®จจบุ นั

179 บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 179 Natnaree Techakaew. 2017. Texts and Rites of Taidam Ethnic group at Naphanad Villagers, Chiangkhan District, Loei Province: Cosmology and Supernatural Power. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The research has been conducted to serve the following objectives, 1) to analyze the TEXTS and rites of the Taidam ethnic group living at Naphanad Village, Chaingkhan District, Loei Province according to the cosmology theory ; 2) to explore supernatural power in the TEXTS and rites of that ethnic group. The research focuses primarily on three essential rites, namely Sen-Lor Huen, Pad-thong, Tam-Kwan The exploration has been done using observation and interviews key person of the village. The data, as analyses based on cosmology theory, shows that Taidam universe comprises Muang Fah (heaven), Muang Lor and Muang Lum (earth). Muang Fah lives Tan (God), forefather spirits, and ordinary spirits. Human and other livings stay in Muang Lum. Taidamers believe in the existence of Tan, who is perceived to have the ultimate over the universe, the spirit, and the human. The forefather spirits could stay in both Muang Fah and Muang Lum. Taidamers also believes in a kind of guardian power of forefather spirits which help protect and comfort the lifes of descendants. The TEXTS and the rites strongly reveal the power of spirit and the relation between those spirits and the human. The beliefs has been respected until these days The second part of the study focuses on supernatural power; which could be clearly presented in the TEXTS and rites. Those beliefs include 1) the beliefs in spirits, such as Tan, forefather spirits, guardian spirits in forests and other places, as well as other evil spirits; 2) the belief of souls; 3) black-magic; 4) Oman (portent) and 5) astrology. Such beliefs carry on from generation to generation until the present. Although some of the rites vanish, others have been strictly followed, especially the ones related to souls, astrology, magic, and omen. The findings imply that even though some of the beliefs and rituals could not be proven by science, they may serve certain society and therefore remain respected from time to time.

180 180 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ยFุย สุFย. 2560. การศึกษาเปรียบเทียบเสียงวรรณยุกต:ของภาษาไทใตbคงและภาษาไทใหญ7. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารย:ท่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ดร.ศภุ กิต บัวขาว บทคดั ยอ7 งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาระบบวรรณยุกต9และสัทลักษณะวรรณยุกต9ของภาษา ไทใตUคงที่อำเภอเหลียงเหอ เขตปกครองตนเองไทและจิ่งโพ มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงวรรณยุกต9และสัทลักษณะวรรณยุกต9ของภาษาไทใตU คงกับภาษาไทใหญF งานวิจัยนี้เลือกพื้นที่เก็บขUอมูลใน 3 หมูFบUาน ที่อำเภอเหลียงเหอ ซึ่งเป_นหมูFบUาน ตUาซูไF จU หมบFู าU นหนาหม่งึ และหมFูบUานหลีจFาง และไดเU ลอื กผูUบอกภาษาทงั้ อายุ 50 ปขé น้ึ ไป จำนวนท้งั หมด 18 คน โดยมีเพศชาย 3 คนและเพศหญิง 3 คน ผลการวิจัยนี้พบวFาเสียงวรรณยุกต9ภาษาไทใตUคงใน 3 หมูFบUาน มีเสียงวรรณยุกต9 6 หนFวยเสียง ซึ่งสัทลักษณะของภาษาไทใตUคง คือ ว.1 เสียงกลางคFอนขUาง ต่ำ-ขึ้น [23/24] พบในวรรณยุกต9ชFอง A1 และ DS123 ว.2 เสียงกลางระดับ [33] พบในวรรณยุกต9 ชFอง A23 และ B4 ว.3 เสียงกลางขึ้น-ตก [341/342] พบในวรรณยุกต9ชFอง A4 ว.4 เสียงกลางคFอนขUาง ต่ำ ระดับ [22] พบในวรรณยุกต9ชFอง B123 และ DL123 ว.5 เสียงกลาง-ตก [31/32] พบในวรรณยุกต9 ชFอง C123 และ ว.6 เสียงกลางคFอนขUางสูงระดับ [44] พบในวรรณยุกต9ชFอง C4, DL4 และ DS4 การเปรียบเทียบเสียงวรรณยุกต9ของภาษาไทใตUคงและภาษาไทใหญF พบวFาภาษาไทใตUคงที่อำเภอ เหลียงเหอกบั ภาษาไทใหญF ท่ีอำเภอน้ำคำ ประเทศพมาF มีความใกลUเคียงกัน

181 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 181 Yu Xu. 2017. A Comparative Study of Shan and Tai Nüa Tones. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT The purpose of this thesis has two objectives: (1) to analyze phonology and the acoustics of Tai Nüa tones of the Tai dialect spoken in Liang He of Yunnan province in China, and (2) to compare phonology and the acoustics of Tai Nüa and Tai Yai tones. The thesis study focuses on tones of the Tai Nüa dialect spoken in 3 villages which are Da Shuzhai village, Na Meng village, and Li Zhang village. Data collected on 3 females and 3 males from each village, who are less than 50 years of age. The results show that the tonal patterns split and the coalescence of Tai Nüa spoken in 3 village of Liang He district have 6 tones which are as follows: Tone 1 is Rising tone [23/24] in Al and DS123; Tone 2 is Mid-level tone [33] in A23 and B4; Tone 3 is Mid-rising falling tone [341/342] in A4; Tone 4 is Low-level tone [22] in B123 and DL123; Tone 5 is Mid falling tone [31/32] in C123; Tone 6 is High-level tone [44] in C4, DL4 and DS4. Further more, the results compared the phonology and acoustics of the Tai Nüa and Tai Yai tones had shown that the Tai Nüa Tone of the Liang He district and the Tai Yai Tones in the of Nam Kham, Burma were the most similar.

182 182 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย คณินวรธันญ9 ไชยรบ. 2560. ภาพแทนโสเภณีชายในวรรณกรรมไทย. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพียยรุ ะ บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9เรื่อง “ภาพแทนโสเภณีชายในวรรณกรรม” มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9ภาพแทน โสเภณีชายที่ปรากฏในวรรณกรรมไทย และศึกษาทัศนคติของคนในสังคมที่มีตFอโสเภณีชาย รวมท้ัง ทัศนคติที่โสเภณีชายมีตFอตนเอง โดยพิจารณาผFานงานวรรณกรรมตั้งแตF ปé พ.ศ. 2547 - 2558 ทง้ั นมี้ ีท้งั วรรณกรรมทีไ่ ดUรบั การตพี มิ พแ9 ละวรรณกรรมออนไลน9 เป_นจำนวนท้ังส้นิ 14 เรือ่ ง ผลการศึกษาพบวFา นักเขียนประกอบสรUาง “ความเป_นโสเภณีชาย” โดยนำเสนอผFานชื่อเรื่อง ตัวละคร และเนื้อเรื่องที่เป_นปมป®ญหาของโสเภณีชาย ทั้งนี้จึงนำมาใชUเป_นขUอมูลพิจารณาและวิเคราะห9 ภาพแทนโสเภณีชายในวรรณกรรมไทย ซึ่งปรากฏการณ9ประกอบสรUางความหมายของ “ความเป_น โสเภณีชาย” 3 ประการ ไดUแกF การเป_น “สินคUาแหFงความปรารถนา” เนื่องดUวยการขายบริการทางเพศ สื่อความไดUถึงการเป_นสินคUาของตัวละครโสเภณีชาย ไมFเพียงเทFานี้ ภาพแทนโสเภณีชายยังถูกประกอบ สรUางจากการเป_น “ผลผลิตทางสังคมแบบทุนนิยม” อีกดUวย นอกจากนี้ “ความเป_นอื่นในสังคม” ยังเป_น อีกความหมายหนึ่ง ที่ถูกสรUางขึ้นเพื่อประกอบความหมายของการเป_นโสเภณีชาย เหตุดUวย โสเภณีชาย เป_นอาชพี ที่คนสFวนใหญFในสงั คมไมยF อมรบั จึงตUองผลักไสใหUกลายเป_นคนอ่นื ทีไ่ มFใชพF วกพUองของตน สFวนการศึกษาทัศนคติที่มีตFอโสเภณีชาย พบวFา วรรณกรรมไทยสFวนใหญFมักปรากฏมุมมองทั้ง จากผูUอื่นและมุมมองจากตนเอง โดยมีทัศนคติที่เห็นพUองกันวFา การขายบริการทางเพศ มีความหมายใน เชิงลบ นอกจากนี้ยังมีทัศนคติที่เป_นกลาง คือ การไมFรังเกียจแตFก็ไมFไดUสนับสนุน อยFางไรก็ตาม สามารถ พบวFามีวรรณกรรมไทยที่ปรากฏทัศนคติตFอโสเภณีชายในเชิงบวก โดยปรากฏแตFเพียงนUอย ทั้งนี้เป_น ทศั นคติอันเกิดในมุมมองที่ตัวละครโสเภณชี ายมตี อF ตนเองเทาF นน้ั

183 บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 183 Kaninnaworathan Chairob. 2017 . The Representation of Male Prostitutes in Thai Literature. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT The study of The Representation of Male Prostitutes in Thai Literature aims to analyze the representation of male prostitutes shown in the Thai literature, the study aims to analyze the attitude of society towards male prostitutes and the attitude of male prostitute on themselves; Based on literatures. The scope of this study covers 14 Thai literatures with contents related to male prostitutes was composed in 2004 – 2015. The results found that the writer presented meaning of “male prostitutes” through the name of stories, characters, the problem of male prostitutes. The representation of male prostitutes was constructed to be “The goods of desire” because the prostitution had clued about selling goods. At the same time the representation of male prostitutes was constructed to be “ the product of social capitalism” . Moreover, the representation of male prostitutes was constructed to be “the otherness” by reason of people do not accept the male prostitutes, so they relegate to be the other from another group. The part of attitude study can found that both viewpoint by the other in society and male prostitute on themselves have opinion that prostitution is the meaning negative. Moreover, for neutrally attitude; never mind but don’t support. The attitude in positive was appeared at least; this from prostitution characters look at themselves.

184 184 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ฑัตจยศพล ธนธุวานันท9. 2560. สัมพันธบทของรามเกียรติ์กับไพ7พยากรณ:. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9นี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาตัวละครและฉากเหตุการณ9จากรามเกียรติ์ที่ปรากฏ ในไพFพยากรณ9 และวิเคราะห9ลักษณะสัมพันธบทของรามเกียรติ์กับคำทำนายไพFพยากรณ9 ตาม แนวคิดสัมพันธบท (Intertextuality) โดยวิจัยจากบทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ บทพระราชนิพนธ9ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา≥ จุฬาโลกกับไพยF ิปซีไทย ชดุ ภาพรามเกียรติ์ ของ คฑา ชินบัญชร ผลการวิจัยขUอที่หนึ่ง ตัวละครและฉากเหตุการณ9จากรามเกียรติ์ที่ปรากฏในไพFพยากรณ9 พบวFา มีตัวละครและฉากเหตุการณ9ที่มีความสัมพันธ9กับรามเกียรติ์ที่เป_นฝûายพระราม ฝûายทศกัณฐ9 และฝûายที่ เป_นกลาง ความสัมพันธ9ของรามเกียรติ์กับคำอธิบายไพFพยากรณ9ปรากฏสัมพันธบทในลักษณะที่ “ผูUแตFง ตั้งใจวFาจะหยิบองค9ประกอบจากตัวบทแรกมาผลิตซ้ำ” คือ ผูUแตFงตัวบทปลายทางใชUวิธีการเลFาเรื่อง ตัวละครและฉากเหตุการณ9 โดย “มีการนำเอาของเกFามาดัดแปลงแกUไข” ดUวยวิธีการดัดแปลง (Modification) จากรUอยกรองมาเป_นรUอยแกUว สFงผลใหUภาษาและวัจนลีลาของผูUแตFงตัวบทตUนทาง ไมFคงอยูF ทั้งยังมีการตัดทอน (Reduction) เนื้อเรื่องใหUกระชับตามท่ีผูUแตFงตUองการในคำอธิบายไพF พยากรณ9 และพบไพFพยากรณท9 ี่ไมFมคี วามสมั พนั ธ9กบั รามเกยี รติป์ รากฏดUวย ผลการวิจัยขUอที่สอง สัมพันธบทของรามเกียรติ์กับคำทำนายไพFพยากรณ9 ไดUพบวFาผูUแตFงใชU วิธีการตีความ ในการนำตัวละครและเรื่องราวรามเกียรติ์มาสรUางคำทำนายไพFพยากรณ9 ดังปรากฏ เสUนทางการเชื่อมโยงระหวFางตัวบทตUนทางกับตัวบทปลายทาง ในลักษณะที่ “ผูUแตFงมีการตีความใหมF อยFางตั้งใจ” และพบวFาผูUแตFงมีการขยายความ (Extension) โดยที่ตัวบทปลายทางที่ขยายขึ้นมาไมFมีการ เชื่อมโยงกับตัวบทตUนทาง เพราะผูUแตFงคิดขึ้นใหมFโดยไมFไดUอาศัยตัวบทเดิมอยูFอีกจำนวนมากพอสมควร ซึ่งอาจมาจากผูUแตFงไดUสรUางสรรค9ตัวบทใหมFขึ้นมาจากองค9ความรูUและความเชี่ยวชาญในศาสตร9การ พยากรณไ9 พFยปิ ซที ่ีมีอยFกู อF นแลUว จากผลการวิจัยพบวFาการดำรงอยูFของวรรณกรรมในดUานความเชื่อทางดUานโหราศาสตร9 เป_น การดำรงอยูFของตัวละครและฉากเหตุการณ9ของเรื่องบางสFวน ตามที่ผูUแตFงตUองการนำมาประยุกต9ใชUกับ ไพFพยากรณ9ที่ไดUคิดคUนขึ้นมา ในแงFของการสืบสานหากผูUที่สนใจในดUานการพยากรณ9เขUารับการบริการ จากนักพยากรณ9ที่ใชUไพFพยากรณ9สำรับนี้ก็ยFอมจะไดUรับความรูUเกี่ยวกับตัวละครและฉากเหตุการณ9ของ รามเกียรตผ์ิ าF นการอธิบายของนักพยากรณ9ไปดวU ย

185 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 185 Thadchayodsapol Tanatuwanan. 2017. The Intertextuality of Thai Ramayana in Predict Cards. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT The purposes of this study were to investigate characters and scenes of event of Thai Ramayana that appeared in tarot cards as well as to analyze the Intertextuality characteristics between Thai Ramayana content and tarot divination according to the principles of intertextuality. This study based its exploration on Thai Ramayana content, a royal composition of His Majesty Phra Buddha Yodfa Chulaloke or King Rama I, and Thai Ramayana edition Thai Tarot cards by Khata Chinnabanchorn. The first finding revealed that characters and scenes of event of Thai Ramayana that appeared in tarot cards were related to characters and scenes of Rama, Ravana side, and the neutral side in Thai Ramayana. The relationship between Thai Ramayana and the description in the tarot cards revealed Intertextuality characteristics in a manner that “ the writer intended to reproduce the elements of the original content. The author of the target content employed a narration approach to tell the story, character, and event through “making change and editing the original piece” using modification approach to transform from poem to prose. As a result, the language and style of the author of the original content was eliminated. In addition, the content was concisely reduced as desired by the target- content author to put the modified content into each tarot card. In fact, some of the cards were found to have contents unrelated to Thai Ramayana. The second finding revealed that in terms of intertextuality, between Thai Ramayana and tarot divination, the author used interpretation to incorporate characters and stories in Thai Ramayana into tarot divination development The link between the original content and the modified content indicated that “ the author intentionally created new interpretations” and a certain level of extension was created. In fact, many of the extended parts of the target content were found to have no connection with the original content since the author invented new ideas and neglected to rely on the original one. Such occurrence could be because the author invented the ideas from the pre- existing astrological knowledge and expertise.

186 186 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย The findings concluded that the existence of literature through astrological belief was an intention to retain part of the characters and scenes of event of the story, as desired by the new author, purposely for the divination of the invented tarot cards. In terms of inheritance, tarot enthusiasts who use the services from the tarot masters who employ this deck of cards would certainly be exposed to characters and scenes of event of Thai Ramayana through narrations of these masters.

187 บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 187 ณัฐพร จันทร9เติม. 2560. การศึกษาการใชbศัพท:ภาษาผูbไทของคนสามระดับอายุ : การแปรและป©จจัย การเปลี่ยนแปลง. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารยท: ี่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จันทรเ9 ทาว9 บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9นี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การแปรและการเปลี่ยนแปลงการใชUศัพท9ภาษาผูUไท ตามระดับอายุ และวิเคราะห9ป®จจัยที่ทำใหUเกิดการแปรและการเปลี่ยนแปลงในภาษาผูUไทของคนสาม ระดับอายุในตำบลคุUมเกFา อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ9 โดยมีตัวแปรคือ “อายุ” ของผูUพูด เก็บขUอมูล คำศัพท9ภาษาผูUไท จำนวน 261 คำ จากการสัมภาษณ9ผูUบอกภาษา จำนวน 30 คน แบFงเป_น 3 ระดับอายุ ไดUแกF ระดับอายุที่ 1 คือ อายุตั้งแตF 55 ปé ขึ้นไป จำนวน 10 คน ระดับอายุที่ 2 คือ อายุตั้งแตF 35 - 45 ปé จำนวน 10 คน และ ระดบั อายุท่ี 3 อายุต้งั แตF 15 - 25 ปé จำนวน 10 คน ผลการศึกษา มีดงั น้ี ดUานการแปรและการเปลี่ยนแปลงการใชUศัพท9ภาษาผูUไทของคนสามระดับอายุ แบFงออกเป_น 2 ประเด็น คือ 1) การใชUศัพท9 พบวFา ผูUบอกภาษาระดับอายุที่ 1 ใชUศัพท9ภาษาผูUไทมากที่สุด จำนวน 214 คำ คิดเป_นรUอยละ 81.99 รองลงมาเป_นผูUบอกภาษาระดับอายุที่ 2 จำนวน 171 คำ คิดเป_น รUอยละ 65.52 ลำดับสุดทUายเป_นผูUบอกภาษาระดับอายุที่ 3 จำนวน 153 คำ คิดเป_นรUอยละ 58.62 การใชUศัพท9ภาษาผูUไทรFวมกับศัพท9ภาษาอื่น พบวFา ผูUบอกภาษาระดับอายุที่ 2 ใชUศัพท9ภาษาผูUไทรFวมกับ ศัพท9ภาษาอื่นมากที่สุด จำนวน 68 คำ คิดเป_นรUอยละ 26.05 รองลงมาเป_นผูUบอกภาษาระดับอายุที่ 3 จำนวน 63 คำ คิดเป_นรUอยละ 24.14 ลำดับสุดทUายเป_นผูUบอกภาษาระดับอายุ ท่ี 1 จำนวน 35 คำ คิดเป_นรUอยละ 13.41 และการใชUศัพท9ภาษาอื่น ผูUบอกภาษาระดับอายุที่ 3 ใชUศัพท9ภาษาอื่นมากที่สุด จำนวน 45 คำ คิดเป_นรUอยละ 17.24 รองลงมาเป_นผูUบอกภาษาระดับอายุที่ 2 จำนวน 22 คำ คิดเป_น รUอยละ 8.43 ลำดับสุดทUายเป_นผูUบอกภาษาระดับอายุ 1 จำนวน 12 คำ คิดเป_นรUอยละ 4.60 ในดUาน การแปรศัพท9ภาษาผูUไท เกิดการแปรเสียงพยัญชนะตUน พยัญชนะทUาย และสระ เกิดการแปรรูปศัพท9ใน ลักษณะการเพิ่มคำ ตัดคำ และการสรUางคำใหมF การแปรความหมายมีลักษณะของความหมายแคบเขUา และความหมายกวUางออก 2) การเปลี่ยนแปลงคำศัพท9ภาษาผูUไทของคนสามระดับอายุ พบ “การสูญศัพท9” ในภาษาผูUไท จำนวน 12 คำ คิดเป_น รUอยละ 4.60 ดUานป®จจัยที่ทำใหUเกิดการเปลี่ยนแปลงในภาษาผูUไท ของคนสามระดับอายุในตำบลคุUมเกFา อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ9 แบFงออกเป_น 2 ประเภท คือ 1) ป®จจัยภายใน (Internal factor) ไดUแกF การละหรือลดพยางค9 การทำใหUเสียงสระสั้นลง และการออก เสียงควบกล้ำใหUงFายขึ้น 2) ป®จจัยภายนอก (External factor) ไดUแกF การสัมผัสภาษา ป®จจัยทางสังคม จติ วทิ ยาของผบูU อกภาษา วัฒนธรรม และความเจริญกาU วหนUาทางวทิ ยาการและสังคม คำสำคญั : ภาษาศาสตร9สงั คม, การแปรและการเปล่ียนแปลงภาษา, ป®จจยั การเปลี่ยนแปลงภาษา, ภาษาผูUไท

188 188 ⬗ บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Natthaporn Chanterm. 2017. A Study of Lexical Use of Phu Tai in Three Age Groups: Variation and Factors Leading to Change. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao Abstract The objectives of this thesis were to analyze variation and change in lexical use patterns of the Phu tai language by three age groups and to analyze the factors causing Phu tai language variation and change in those groups. The study was conducted in Khum Kao District, Khao Wong Sub-district, Kalasin Province. The “age” of the language users was set as the independent variable, and data were collected on 261 lexical items by interviewing 30 informants divided into 3 age groups: Group 1 consisted of 10 informants who were 55 years of age or older, Group 2 of 10 informants who were 35 - 45 years of age, and Group 3 of 10 informants who were 15 - 25 years of age. The findings on lexical use variation and change of the Phu tai language in the 3 age groups were divided into 2 categories, lexical use and lexical change. 1) Regarding lexical use, the informants in Group 1 used Phu tai the most, for 214 of the lexical items (81.99%); followed by Group 2, who used Phu tai for 171 of the lexical items (65.52%); and finally, Group 3 used Phu tai the least, for only 153 of the lexical items (58.62%). Informants in Group 2 showed the highest occurrence of lexical use of Phu tai mixed with other languages, for 68 of the lexical items (26.05%); followed by Group 3, with 63 of the lexical items (24.14%); and finally, Group 1 mixed Phu tai with other languages for only 35 of the lexical items (13.41%). Informants in Group 3 used lexical items from other languages the most frequently, for 45 of the lexical items (17.24%); followed by Group 2, with 22 of the lexical items (8.43%); and finally, Group 1 used other languages for only 12 of the lexical items (4.60%). Regarding lexical variation of Phu tai, there were instances of variation in initial consonants, the final consonants, and vowel sounds; there were instances of lexical form variation, including adding onto words, shortening words, and creating new lexical items; and there were instances of variation in lexical meaning, including cases where the word’s definition was narrowed and other cases where it was widened. 2) Regarding lexical change, Phu tai in all 3 age groups are facing some amount

189 บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 189 of “lexical loss” in the Phu tai language, with a loss of 12 of the lexical items under study (4.60%). There are both internal and external factors leading to Phu tai language change for the 3 age groups in Khum Kao District, Khao Wong Sub-district, Kalasin Province: 1) Internal factors include syllable deletion or reduction, vowel reduction, and changes in diphthong pronunciation in order to require less effort; 2) External factors include language contact, social factors, the psychology of the language users, culture, and scientific and social development and progress. Keywords: Sociolinguistics, Language variation and change, Factors of language change, Phu tai Language

190 190 ⬗ บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย อนันต9 ลากุล. 2560. ตำนานเมืองล7มในภาคอีสาน : ความสัมพันธ:ระหว7างวรรณกรรมความเชื่อกับ ทbองถิ่น. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ท่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ดร.อุมารนิ ทร9 ตุลารกั ษ9 บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9มีวัตถุประสงค9 เพื่อศึกษาอนุภาคและแบบเรื่องในตำนานเมืองลFมภาคอีสาน และ เพื่อศึกษาความสัมพันธ9ของตำนานกับวรรณกรรม ความเชื่อ และการประนีประนอมความเชื่อในตำนาน เมืองลFมภาคอีสาน โดยศึกษาจากตำนานประเภทลายลักษณ9และมุขปาฐะ รวบรวมตัวบทไดUทั้งหมด 62 เร่ือง จาก 102 สำนวน ปรากฏผล ดังน้ี ตำนานเมืองลFมภาคอีสานสามารถแบFงแบบเรื่องไดU 2 แบบ คือ 1. แบบเรื่องเมืองลFมที่ แปรสภาพเป_นบึงน้ำ พบวFามีทั้งหมด 12 เรื่อง จาก 33 สำนวน จัดอนุภาคไดU 5 ประเภท คือ อนุภาค การกินปลาไหลเผือก อนุภาคการกินกระรอกเผือก อนุภาคการจับปลาดุกเผือก อนุภาคการกินเกUงเผือก และอนุภาคการกินปลาฝาเผือก โดยสาเหตุของเมืองลFมทั้งหมดนั้นเกิดจากการกระทำของสัตว9เผือกและ เหลFานาค กลFาวไดUวFา สัตว9สีเผือกมีลักษณะแทนสัญญะของ “นาค” และ “การทำลาย” อยFางไรก็ตาม ตำนานเมืองพานนั้นใหUพังพอนเผือกหรือสัตว9เผือกแทนสัตว9ที่คอยคุUมครองบUานเมือง ซึ่งตFางจากตำนาน เมืองลFมฉบับอื่น โดยตำนานเหลFานี้มีการเลFาเรื่องกระจายอยูFในพื้นที่ภาคอีสานตอนบนและตอนกลาง เทFานั้น 2. แบบเรื่องเมืองลFมที่แปรสภาพเมืองรUาง พบวFามีทั้งหมด 50 เรื่อง จาก 69 สำนวน จัดอนุภาค ไดU 3 ประเภท คือ อนุภาคสงคราม อนุภาคคำสาป และอนุภาคโรคระบาด โดยสาเหตุที่เมืองลFมนั้น เกิดจากอนุภาคของเหตุการณ9 คือ สงคราม คำสาป โรคระบาด และบางสFวนเกิดจากอนุภาคตัวละคร เจUาเมือง ซึ่งตำนานเมืองกลุFมนี้มักสัมพันธ9กับพงศาวดารเมืองหรือบันทึกตFาง ๆ ทางประวัติศาสตร9 โดย เปน_ การอธิบายโบราณสถานเชือ่ มโยงกบั ตำนาน จากการศึกษาอนุภาคและแบบเรื่องตำนานเมืองลFมภาคอีสาน พบวFา ตำนานไดUแสดงถึงความ เชื่อและการประนีประนอมความเชื่อของคนอีสานไวUในหลายมิติ โดยปรากฏความเชื่อ 4 ประเภท คือ 1. ความเชื่อกับอำนาจเหนือธรรมชาติ 2. ความเชื่อกับโชคลางไสยศาสตร9 3. ความเชื่อกับประเพณีวิถี ชีวิต และ 4. ความเชื่อกับธรรมชาติ ทั้งนี้ตำนานยังสะทUอนภาพของการประนีประนอมความเชื่อใน สังคมอีสาน โดยแบFงความสัมพันธ9ไดU 3 ประเภท คือ ความสัมพันธ9แบบขัดแยUง ความสัมพันธ9แบบ ประนีประนอม และความสัมพันธ9แบบผสมผสาน นอกจากนั้นตำนานยังแสดงถึงความสัมพันธ9ระหวFาง ตำนานกับวรรณกรรมทUองถิ่นอีสาน ซ่งึ เป_นความสัมพนั ธ9ระหวFางตำนานกบั วรรณกรรมนทิ าน ตำนานกับ วรรณกรรมประวัติศาสตร9 และตำนานกับวรรณกรรมพระพทุ ธศาสนา

191 บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 191 ดังนั้น กลFาวไดUวFา ตำนานเมืองลFมภาคอีสานไดUแสดงใหUเห็นความสัมพันธ9ระหวFางคนกับตำนาน รวมถึงคติความเชื่อในทUองถิ่นที่มีความหลากหลาย ทFามกลางการอยูFรFวมกันแบบประนีประนอมในสังคม พหุวัฒนธรรม ผFานเรื่องเลFาที่สืบทอดมาจากรุFนสูFรุFน ซึ่งสFงผลตFอการรับรูUและขนบการเลFาเรื่องของ ทUองถิน่ ไดUเป_นอยาF งดี คำสำคัญ: อนภุ าค แบบเรือ่ ง สตั ว9สเี ผือก ตำนานเมืองลFมภาคอสี าน

192 192 ⬗ บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Anan Lakul. 2017. Isan ruined city’s legends: The Relationship between Literature, Beliefs and Locality. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT The study of ruined city legends: the relationship between literature, beliefs, and local had 2 objectives were: 1. To compare legends of a ruined city in North Eastern region, 2. To examine beliefs and compromise of beliefs in the legends, by a study of existing local legends and oral literature categorized in total 62 stories from 102 chapters as follows: North Eastern region legends were categorized into 2 tale types: 1. North Eastern Ruined City legends (transformed to Lake) were found out 13 stories from 33 chapters which able to categorize into 5 motifs by the consumption of White eels ,White Squirrel, White Catch fish, White muntjac, and White soft-shelled turtle. The main reason of ruined city is caused by power of the white animals which considered as a representative of “Naga” and the wrath of Naga. On the contrary, Pan City legend was raised white mongoose to be the guardian of the city, different from other. These legends are widely spread among Northern and Central of North Eastern areas only. 2. Ruined city (transformed to the abandoned city) tale types were found 50 stories from 69 chapters divided into 3 main motifs: Ruined city from War, Ruined from Curse, and Ruined from an epidemic. These ruined cities were caused from phenomenon motifs, i.e., War, Curse, Epidemic, and influence person (the ruler motif). These legends were mostly linked to historical chronicle’s city, records, and explanation in legendary areas. The study result showed that the legends and belief compromise of the North Eastern region were expressed in variety view as 4 aspects of beliefs contained: 1. Regionalism beliefs, 2. Superstitionism beliefs 3. Traditionalism beliefs and 4. Nationalsim beliefs. Yet, the legends still reflect conflict and compromise in North Eastern society in 3 terms i.e., 1. Conflict relationship, 2. Compromise relationship, and 3. Intregated relationship. The integration is turned to harmonious and unity of the

193 บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 193 beliefs. Besides, the legends also clearly present relationship between legends and Isan local literature as the relationship between legends and tale literature, legends and historical literature, and legends and religious literature. Therefore, the legends of ruined city in North Eastern region were presumptively expressed the relationship between human and legends, included the diversity of local beliefs and plural cultural compromising by told stories from generations to generations with the neat technique of local stories telling method. Key word: Motif, Tale Type, City Legend, Ruined City Legend

194 194 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย เจษฎา ขัดเขียว. 2561. เพศวิถีในวรรณกรรมเกย:ออนไลน:. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ่ปี รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทัย เพียยรุ ะ บทคัดยอ7 การศึกษาเรื่องเพศวิถีในวรรณกรรมเกย9ออนไลน9 มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาองค9ประกอบของ วรรณกรรมเกย9ออนไลน9 มุFงวิเคราะห9องค9ประกอบของวรรณกรรมตามทฤษฎีการศึกษาวรรณกรรมและ เพื่อศึกษาเพศวิถีของตัวละครเกย9ในวรรณกรรมเกย9ออนไลน9ตามทฤษฎีเพศวิถี กลุFมตัวอยFางที่เลือกมา ศึกษาเป_นวรรณกรรมเกย9ออนไลน9จากเว็บไซต9 www.thaiboyslove.com หมวดหมูFนิยายที่โพสต9 จบแลUวจำนวน 10 เรื่อง ผลการวิจัยพบวFา วรรณกรรมเกย9ออนไลน9มีองค9ประกอบของวรรณกรรม ครบถUวน ประกอบดUวยโครงเรื่อง คือ มีการเป´ดเรื่อง ดำเนินเรื่อง และป´ดเรื่อง การเป´ดเรื่องที่พบมาก ที่สุด คือ การเป´ดเรื่องแบบการบรรยายและการเป´ดเรื่องแบบการใชUนาฏการหรือการกระทำของ ตัวละคร พบในนิยายจำนวน 3 เรื่องเทFากัน การดำเนินเรื่องพบวFาผูUแตFงใชUการดำเนินเรื่องแบบลำดับ เวลาตามวัน เวลา ในปฏิทินทุกเรื่อง และการป´ดเรื่อง พบวFาผูUแตFงใชUการป´ดเรื่องแบบสุขนาฏกรรม (happy ending) ทุกเรื่องเชFนกัน ดUานตัวละคร พบวFา ตัวละครในเรื่องเป_นตัวละครเกย9แบFงไดUเป_น 2 ประเภท คือ (1) เกย9ที่เป´ดเผยตัวตนในพื้นที่สาธารณะ (2) เกย9ที่ไมFมีการเป´ดเผยตัวตนในที่พื้นท่ี สาธารณะ ดUานแกFนเรื่องของวรรณกรรมเกย9 คือ “ความรักไมFมีแบFงเพศ” ดUานฉากและสถานที่พบวFา ฉากที่โดดเดFนที่สุดในวรรณกรรมเกย9ออนไลน9 คือ ฉากบรรยายการมีเพศสัมพันธ9ของคูFเกย9 ดUานกลวิธีใน การเลFาเรื่องหรือมุมมอง พบ (1) มุมมองของผูUเลFาเรื่องที่ปรากฏตัวในฐานะตัวละครในเรื่องผูUเลFาเรื่องที่ใชU มุมมองนี้จะปรากฏตัวในเรื่องในฐานะตัวละครผูUมีบทบาทและมีสFวนรFวมกับเหตุการณ9ตFาง ๆ (2) มุมมอง ของผูUเลFาเรื่องที่ไมFปรากฏตัวในฐานะตัวละครในเรื่อง การเลFาเรื่องโดยใชUมุมมองแบบนี้คือผูUเลFาเรื่องจะไมF ปรากฏตัวในเรื่องในฐานะตัวละครตัวใดตัวหนึ่งมีลักษณะคลUายเป_น “เสียงพูดบนหนUากระดาษ” ดUานลีลาและทFาทีของผูUแตFงหรือการใชUภาษา พบวFาในวรรณกรรมเกย9ออนไลน9ผูUแตFงมีการใชU (1) ภาษา กันเอง (2) คำทแี่ สดงความเป_นชาย (3) ความเปรยี บ เพศวิถีของตัวละครในวรรณกรรมเกย9ออนไลน9ทุกเรื่องที่ศึกษา พบวFา ตัวละครมีเพศวิถีแบบ ชายรักชาย ดUานความตUองการทางเพศตัวละครมีการแสดงออกถึงความตUองการและแรงปรารถนาทาง เพศอยFางชัดเจนโดยมีการ (1) ใชUคำพูดที่แสดงถึงความตUองการทางเพศ (2) มีการใชUภาษากายคือการ สัมผัสรFางกายกFอนการมีเพศสัมพันธ9 ดUานปฏิบัติการทางเพศพบวFา (1) มีปฏิบัติการทางเพศคือการมี เพศสัมพันธ9ในคูFรักเกย9ปรากฏในเรื่อง 7 เรื่องจาก 10 เรื่อง (2) ความรุนแรงในการมีเพศสัมพันธ9 พบวFามี ภาพการใชUความรุนแรงกFอนการมีเพศสัมพันธ9ในเรื่องถึง 3 เรื่องจาก 10 เรื่อง และดUานอัตลักษณ9ทาง เพศพบวFาตัวละครเกย9ในวรรณกรรมเกย9ออนไลน9มีบทบาททางเพศแบFงเป_น (1) คนที่มีบทบาททางเพศ

195 บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 195 เป_นฝûายกระทำ (รุก) (2) คนทีม่ บี ทบาททางเพศเป_นฝûายถูกกระทำ (รับ) (3) คนที่สามารถมคี วามสัมพันธ9 ไดกU บั ท้ังชายและหญงิ หรอื ไบ (bisexual) ลักษณะโดดเดFนของวรรณกรรมเกย9ออนไลน9ที่พบ คือ การบรรยายฉากการมีเพศสัมพันธ9ของ ตัวละครเกย9 โดยใชUภาษาสื่อความอยFางตรงไปตรงมา การใชUภาษาในวรรณกรรมเกย9ออนไลน9 พบวFาใชU ภาษาระดับกันเอง ตัวละครมีเพศวิถีเป_นชายรักชายหรือเกย9ทั้งหมดและเนื้อหาในวรรณกรรมเกย9 ออนไลนท9 ีศ่ ึกษา พบวาF เปน_ การเลFาเรอื่ งราวของครูF กั เกย9

196 196 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Jedsada Khatkheaw. 2018. Sexuality in Gay Online Literature. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This research was conducted to study the elements of gay online literature focusing on analyzing its plot based on the theory of Thai literature studies. Also, sexuality of gay characters was analyzed using the theory of sexuality. The sample of gay online literature consists of 1 0 fictions in completed fiction category at http://www.thaiboyslove.com. The findings show that a plot created by the fictionists is composed of three parts i.e. beginning, middle, and ending. Narrative and dramatization are the most prominent technique used for the beginning, and both of them are found in three fictions. Similarly, all fictions use chronological order technique for the middle and use happy ending for the ending. In terms of character, there are two types of gays found in the fictions i.e., (1) extrovert and (2) introvert. The theme in literature is “love knows no gender.” The greatest scene and setting of gay online literature are narrative gay sex scene. The aspect of storytelling technique or viewpoint indicates (1) viewpoint of a storyteller who appears in a story as a character playing a role or getting involved in several events, and (2 ) viewpoint of a storyteller who does not appear in a story as a character; but in the form like “speaking voice on fiction pages.” In terms of style or language use, there are two kinds of language used in gay online literature: (1 ) using words to show masculine trait, and (2) using imagery. Sexuality aspect demonstrates homosexual men of the characters in all fictions while in sexual desire aspect, the characters obviously show their desire or craving by (1) using wordings to express their sexual desire, and (2) using body language i.e., touching body before having sex. Considering sexual intercourse, it shows that (1 ) having sexual relations of gay couples can be seen in 7 out of 10 fictions, and (2) rough sex pictures can be seen in 3 out of 1 0 fictions. In terms of sexual identity of gay characters in the literature, it can be classified into 3 roles: (1) active or Gay King, (2) passive or Gay Queen, and (3) bisexual.

197 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 197 The discovered prominent features of gay online literature are sexual intercourse scene of gay couples narrated by using simple and direct words including informal language generally used in the literature. Also, the sexuality of all characters is gay, so the stories are totally about gay.

198 198 ⬗ บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย หวัง เชาวน9. 2561. ภาษากับความเปùนจีนในหนังสือแนะนำการท7องเที่ยวจีน. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.ทินวัฒน9 สรอU ยกดุ เรือ บทคัดย'อ งานวิจัยนี้ศึกษาความเป_นจีนในหนังสือแนะนำการทFองเที่ยวจีน ซึ่งเป_นหนังสือภาษาไทยและ แตFงโดยคนไทย ใชUแนวคิดวาทกรรมวิเคราะห9เชิงวิพากษ9 (Critical Discourse Analysis) งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค9เพื่อศึกษาความสัมพันธ9ระหวFางภาษากับความเป_นจีนและความเป_นจีนที่ถูกประกอบสรUาง ในหนังสือแนะนำการทFองเที่ยวประเทศจีน ผลการวิจัยพบกลวิธีทางภาษาที่ใชUเพื่อประกอบสรUางความ เป_นจีน 6 กลวิธี ไดUแกF การขยายความ การกลFาวอUาง การปฏิเสธ การใชUภาษาอังกฤษ การใชUเรื่องเลFา กับการใชUมูลบท และความเป_นจีนที่ถูกประกอบสรUาง 14 เรื่อง ไดUแกF 1) การมีความใหญF 2) การมี ประชากรจำนวนมาก 3) การมีการแขFงขัน 4) การมีประวัติศาสตร9ที่ยาวนาน 5) การมีความทันสมัย 6) การผสมผสานความทันสมัยกับความดั้งเดิม 7) การมีความหรูหรา 8) การมีความสวยงาม 9) การใชU งบประมาณนUอยในการทFองเที่ยว 10) การมีสินคUาเลียนแบบและของปลอม 11) การใสFใจเรื่องสุขภาพ 12) ความเชื่อเรื่องโชคลาภ 13) การเชื่อถือเรื่องฮวงจุUย และ 14) คนจีนมีมารยาทในที่สาธารณะที่ ไมFเหมาะสม วิถีปฏิบัติทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลตFอการผลิตตัวบท ไดUแกF ธรรมชาติกำหนดประเทศ จีนเป_นอารยธรรมแบบเกษตร อารยธรรมจีนไดUการสืบทอดและการพัฒนามาหลายปé นโยบาย “ปฏิรูป และเปด´ ประเทศ” และ “ลกู คนเดยี ว” การเตบิ โตของเศรษฐกจิ จีน อิทธิพลของศาสนาลัทธเิ ต∫า

199 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 199 Wang Chao. 2018. Language and Chinese-Ness in China Travel Guide Book. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Thinnawat Sroikudrua ABSTRACT This thesis aims to study Chinese-ness in China Travel Guide Books, which are Thai books and written by Thai writers. By applying Critical Discourse Analysis concept, this thesis examines relationship between language and Chinese-ness and reveals what kinds of Chinese-ness there are shaped in China Travel Guide Books. Results of research show that there are 6 linguistic strategies applied in shaping Chinese-ness, they are: modification, quotation, negation, language choices (English), narrative and presupposition. Those linguistic strategies reveal 14 Chinese-ness, they are: 1) China is a big country and Chinese people are fond of idea “Big”. 2) China has huge population. 3) Chinese people have sense of competition. 4) China is a country with long history. 5) China is a modern country. 6) China is a country merging of the past and the present. 7) Luxury is a part of Chinese culture. 8) China has beautiful scenery. 9) Budget of travel in China can be low. 10) China has fake and imitation brand goods. 11) Chinese people pay attention to health care. 12) Chinese people are fond of good fortune. 13) Chinese people believe in Feng Shui. 14) Chinese people are lack of public manners. The sociocultural practices which influence the production of Text are: Chinese agriculture civilization is determined by nature; Traditional Chinese culture has been inherited and developed for many years; “The Reform and Opening-up Policy” and “One Child Policy”; Rapid development of Chinese economic growth; Influence of Daoism.

200 200 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย พิกุล ภูชมศรี. 2561. ภาษากับอัตลักษณ:ผูbหญิงลาวในวาทกรรมเพลงไทย : การศึกษาตามแนวทาง วาทกรรมวิเคราะห:เชิงวิพากษ:. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ท่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.ทนิ วฒั น9 สรUอยกดุ เรือ บทคัดย7อ งานวิจัยนี้ศึกษาภาษากับอัตลักษณ9ผูUหญิงลาวในวาทกรรมเพลงไทย ตามแนวทางวาทกรรม วิเคราะห9เชิงวิพากษ9 โดยมีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาในการประกอบสรUางอัตลักษณ9ผูUหญิง ลาว และเพื่อศึกษาอัตลักษณ9ผูUหญิงลาวในวาทกรรมเพลงไทย รวบรวมขUอมูลเพลงไทยที่มีเนื้อหา เกี่ยวกับผUหู ญิงลาว และเปน_ เพลงที่ประพนั ธเ9 น้ือรอU งโดยคนไทย จำนวน 88 เพลง ผลการศึกษาพบวFา กลวิธีทางภาษาที่ใชUเพื่อประกอบสรUางอัตลักษณ9ผูUหญิงลาวมีจำนวน 6 กลวิธี ไดUแกF การใชUคำเรียก การใชUนามวลีบอกสถานที่ การใชUคำกริยา การขยายความ การใชUถUอยคำ อุปลักษณ9 และการใชUคำถามเชิงวาทศิลป± ถFายทอดอัตลักษณ9ผูUหญิงลาว 2 บริบท ไดUแกF อัตลักษณ9ผูUหญิง ลาวในประเทศลาว และอตั ลกั ษณผ9 ูหU ญิงลาวในประเทศไทย อัตลักษณ9ผูUหญิงลาวในประเทศลาวถูกประกอบสรUางจำนวน 5 อัตลักษณ9 ไดUแกF การเป_นผูUมี ความงามทั้งภายนอกและภายใน การเป_นผูUหญิงที่มีคุณคFา การเป_นผูUอนุรักษ9ศิลปวัฒนธรรมและจารีต ประเพณีอันดีงามของชาติ การเป_นผูUมีวิถีชีวิตที่ใกลUชิดกับแมFน้ำและธรรมชาติ และการเป_นผูUมี ความมั่นคงตFอคนรัก สFวนอัตลักษณ9ผูUหญิงลาวในประเทศไทยถูกประกอบสรUางจำนวน 6 อัตลักษณ9 ไดUแกF การเป_นผูUมีรูปลักษณ9ภายนอกที่งดงาม การเป_นแรงงานพลัดถิ่นในประเทศไทย การมีอาชีพท่ี เกี่ยวขUองกับรUานอาหารและสถานบันเทิงยามค่ำคืน การมีชีวิตที่ยากลำบาก การเป_นลูกที่กตัญ¿ู และ การไมFมีความมั่นคงตFอคนรักชาวไทย วิถีปฏิบัติทางสังคมและวัฒนธรรมที่สFงผลตFอการผลิตตัวบทไดUแกF ชุดความคิดวFาดUวยเรื่องความ เป_นหญิง โดยเฉพาะอยFางยิ่ง “ผูUหญิงกับความงาม” และ “ผูUหญิงกับบทบาททางเพศ” และชุดความคิด วFาดUวยเรื่องแรงงานหญิงลาวขUามพรมแดน ชุดความคิดเหลFานี้มีอิทธิพลตFอการรับรูUเกี่ยวกับผูUหญิงลาว ในบรบิ ทสงั คมไทย

201 บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 201 Pikul Phuchomsri. 2018. Language and Identity of Lao Women in Thai Musical Discourse: A Critical Discourse Analysis. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Thinnawat Sroikudrua ABSTRACT This research uses the tool of critical discourse analysis to investigate language and Lao women’s identity in Thai musical discourse. The objective of the research is to study the language devices used to construct Lao women’s identity and to analyze its representation in Thai musical discourse. The researcher collected data from 88 Thai songs, the lyrics of which were composed by Thai songwriters and the content of which was related to Lao women. The study found that there were 6 language devices used to construct Lao women’s identity, including: terms of address; noun phrases to indicate places; verbs; metaphorical expressions; phrases of modification; and rhetorical questions. The aforementioned language devices relay Lao women’s identity in 2 different contexts: that of Lao women in Lao and that of Lao women in Thailand. Lao women’s identity in the Lao context is constructed in Thai musical discourse along 5 facets, as follows: Lao women are constructed as creatures of beauty, both outwardly and inwardly; as valuable women; as conservators of the country’s good and beautiful arts, cultures, and traditions; as people whose way of life is closely tied to the river and nature; and as people who have long-term, stable romantic relationships. Lao women’s identity in the Thai context is constructed along 6 facets, including: as creatures of outward beauty; as migrant laborers in Thailand; as workers in the food and night life entertainment industries; as people who have difficult and challenging lives; as grateful daughters; and as people who have unstable romantic relationships with Thai men. Social and cultural practices that influenced the production of the Thai songs in this study relate to ideologies of “femininity,” especially in terms of “women and beauty” and “women and gender roles.” They are also related to ideologies concerning “Lao female labor across borders.” These ideologies influence Thai society’s understanding of Lao women.

202 202 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย วาเนสซFา มอลล9. 2561. เพศภาวะและแอลกอฮอล:ในเพลงไทย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อรทยั เพยี ยุระ บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่องเพศภาวะและแอลกอฮอล9ในเพลงไทย มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาวาทกรรมเพศภาวะ ที่เกี่ยวขUองกับแอลกอฮอล9ในวรรณกรรมเพลงไทยระหวFางปé พ.ศ. 2547 ถึง 2559 และเพื่อวิเคราะห9 วาทกรรมผูUชายกับแอลกอฮอล9และวาทกรรมผูUหญิงกับแอลกอฮอล9 เก็บขUอมูลจากกลุFมประชากรเพลงไทยท่ี ถูกเผยแพรFทางเว็บไซต9 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (GMM Grammy) และเลือกกลุFมตัวอยFางแบบเจาะจงโดยการ คUนหาเพลงท่ีปรากฏคำเกยี่ วกับการด่มื แอลกอฮอล9ในเนือ้ หาเพลง และคัดเลอื กเพลงจำนวน 29 เพลง ทสี่ ่ือถงึ บริบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย (ภาคอีสาน) ผูUศึกษาประยุกต9ใชUกรอบแนวคิดของ James Paul Gee (2011) ในการวิเคราะห9ขUอมูลเพื่อเป´ดเผย วาทกรรมผูUชายกับแอลกอฮอล9และวาทกรรมผูUหญิงกับ แอลกอฮอล9ในวาทกรรมเพลงไทย อันนำไปสูFความเขUาใจเรื่องเพศภาวะและแอลกอฮอล9ในบริบทสังคมไทย และอภิปรายผลการวิเคราะห9ผFานมมุ มองสตรีนยิ ม ผลการศึกษาพบวFาเพลงไทยประกอบสรUางวาทกรรมเพศภาวะและแอลกอฮอล9ใหUเครื่องดื่ม แอลกอฮอล9เป_นเครื่องมือในการประกอบสรUางบทบาททางเพศและแยกผูUชายจากผูUหญิง ดังนี้ เพลงที่กลFาวถึง การไมFสมหวังในความรักประกอบสรUางวาทกรรมการเชื่อมโยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล9กับความทุกข9ของผูUชาย เพื่อใหUผูUชายไดUระบายความรูUสึก และประกอบสรUางอัตลักษณ9ทางเพศภาวะวFาผูUหญิงเป_นผูUทำรUายและผูUชาย เป_นผูUถูกทำรUาย สFวนเพลงที่กลFาวถึงความสัมพันธ9แบบคูFรักประกอบสรUางบทบาทของผูUหญิงใหUอยูFในพื้นที่บUาน ดูแลลูก ดูแลบUาน ดูแลสามี และเชื่อมโยงการดื่มแอลกอฮอล9วFาไมFใชFสิ่งปกติของผูUหญิง สFวนผูUชายถูกประกอบ สรUางวFาเป_นผูUนำครอบครัวที่ตUองรับผิดชอบเลี้ยงดูครอบครัว และเชื่อมโยงการดื่มแอลกอฮอล9กับผูUชายวFาเป_น เรื่องปกติ อยFางไรก็ตามผูUชายและผูUหญิงใชUเครื่องดื่มแอลกอฮอล9เป_นกลไกในการเจรจาตFอรองทางอำนาจใน ชีวิตคูF สFวนผลการวิเคราะห9วาทกรรมผูUชายกับแอลกอฮอล9และวาทกรรมผูUหญิงกับแอลกอฮอล9พบวFาวาทกรรม ของผูUชายกับแอลกอฮอล9เชื่อมโยงการดื่มแอลกอฮอล9กับความเป_นชายและการบรรเทาทุกข9 ทั้งในดUานความรัก และการเป_นคนชายขอบในสังคม และการเรียกรUองอิสรภาพในกรณีที่อยูFในบทบาทของสามี สFวนวาทกรรม ผหUู ญิงกับแอลกอฮอล9เชอ่ื มโยงการดื่มแอลกอฮอล9กับการเรยี กรUองอิสรภาพและความเทFาเทยี มทางเพศ อภิปรายผลการวิเคราะห9ผFานมุมมองสตรีนิยม พบวFากรอบแนวคิดของ Gee ชFวยเป´ดเผยวาทกรรม ทางเพศภาวะที่แฝงอยูFในเนื้อเพลงซึ่งสFวนใหญFนำเสนอผFานมุมมองของผูUชาย และเชื่อมโยงการดื่มแอลกอฮอล9 กับระบบสังคมชายเป_นใหญF อำนาจทางสังคมและเศรษฐกิจในสังคมไทย ทั้งนี้หากตUองการแกUป®ญหาท่ี เกี่ยวขUองกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล9ในสังคมไทยจำเป_นตUองศึกษาและประยุกต9ใชUกลยุทธ9ที่สามารถ บรรเทาผลกระทบดUานลบท่เี กิดจากระบบดังกลFาว

203 บทคดั ย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 203 Vanessa Moll. 2018. Gender and Alcohol in Thai Songs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This thesis investigates gender discourses related to alcohol in Thai songs produced between 2004 and 2016 and analyzes discourses surrounding men, women, and alcohol as presented in Thai songs. Data was collected from songs published on Thailand’s GMM Grammy website, and purposive sampling was used to select 29 songs that included references to alcohol in their lyrics and were relevant to the context of Northeast Thailand. The study applied the methodological framework of James Paul Gee (2011) to uncover the discourses relevant to gender and alcohol in the songs. Findings from the analysis are discussed through a feminist lens. The findings show that alcohol in Thai songs serves as a tool to construct gender roles and separate men from women. Songs about heartbreak build a discourse that links alcohol with men’s suffering, enabling male characters to process their feelings while simultaneously constructing their own identity as victims and their female counterparts as villains. Songs about romantic relationships construct women’s place as caretakers in the home and women who drink alcohol as an abnormality. Men are represented as the leaders and breadwinners of the household and alcohol drinking by men is normalized. The male and female characters use alcohol as a mechanism to negotiate power in their relationships. The study found that the discourse on men and alcohol links alcohol with masculinity, relieving suffering from an ended romantic relationship and social marginalization, and demanding freedom from familial or social roles. The discourse on women and alcohol links alcohol with demanding freedom and gender equality. In short, a feminist lens using Gee’s framework uncovers a gender discourse which overrepresents men. This discourse relates alcohol drinking to patriarchal and socioeconomic power structures within Thai society. The analysis sheds light on why successfully addressing alcohol abuse and its effects in Thailand requires a more intersectional understanding of these power structures while adopting strategies to alleviate the power structures’ harmful effects on society’s members.

204 204 ⬗ บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย อธิวัฒน9 บุดดานาง. 2561. การใชbภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาบาลีในการแสดง ธรรมของพระอาจารย:สมภพ โชติป∞ฺโญ. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ทีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จันทรเ9 ทาว9 บทคดั ย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การใชUภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาบาลี ในการแสดงธรรมของพระอาจารย9สมภพ โชติป¿ฺโญ ขUอมูลการวิจัย คือ การแสดงธรรมเทศนาของ พระอาจารย9สมภพ โชติป®ญโญ เผยแพรFทางสื่อออนไลน9 ระหวFาง พ.ศ. 2536 - 2551 เป_นเวลา 15 ปé รวม 570 เรื่อง นำมาแบFงตามประเภทเนื้อหาของการแสดงธรรมออกเป_น 7 เนื้อหา คัดเลือกขUอมูลแบบ เฉพาะเจาะจง คือ เป_นการแสดงธรรมที่มีการใชUภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาบาลี ปรากฏสลับกันไปมาชัดเจน เน้อื หาละ 3 เรื่อง รวม 21 เรื่อง และวเิ คราะห9ลักษณะการใชUแตลF ะภาษา ผลการวิจัยพบวFา การใชUภาษาไทยกลาง แบFงออกเป_น 4 ลักษณะ ไดUแกF การอธิบาย การแสดง ความรูUสึก การเนUนย้ำ และ การยกถUอยคำ การใชUภาษาไทยถิ่นอีสาน พบ 7 ลักษณะ ไดUแกF การอธิบาย การแสดงความรูUสึก การยกถUอยคำ การเนUนย้ำ การแสดงความขบขัน การเจาะจงผูUรับสาร และการ ใชUผญาหรือสุภาษิตอีสาน สFวนการใชUภาษาบาลี พบ 3 ลักษณะ ไดUแกF การแสดงความศรัทธานFาเชื่อถือ ในการแสดงธรรม การยกพุทธพจน9เป_นคำสอน และการยกบทสวดคาถาแสดงความศักดส์ิ ทิ ธิ์ ลักษณะการใชUภาษาทั้งสามภาษาในการแสดงธรรมของพระสงฆ9ในงานวิจัยนี้แสดงใหUเห็นถึง ความพยายามจะอธิบายธรรมะหรือหลักธรรมซึ่งเขUาใจยากใหUมีความงFาย ดUวยการใชUภาษาทUองถิ่นของ ผูUฟ®งและผูUแสดงธรรม ซึ่งนFาจะเกิดประโยชน9ตFอการเผยแผFธรรมในกลุFมผูUฟ®งที่พูดภาษาแตกตFางกัน ดงั น้นั ควรมกี ารวจิ ยั ประเด็นการแสดงธรรมทใี่ ชภU าษาไทยกลางและภาษาไทยถน่ิ อ่ืนดUวย

205 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 205 Athiwat Buddanang. 2018. Usage of central Thai dialect, northeastern Thai dialect, and Pali in preachment by Ven. PhraSomphop Jotipañño. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims to analyze the usage of central Thai dialect, northeastern Thai dialect and, Pali languages in PhraSomphop Jotipañño’s preachment. The research data are grouped from preachments in online published from 1993 to 2008 for 15 years totally 570 times, divided into 7 contents. The data were specifically collected of preachment appearing the 3 languages in his preachments, central Thai dialect, northeastern Thai dialect or Isan dialect and Pali language having 21 preachment times as the research data for analyzing the usage in each language. The research was indicated that the use of central Thai is divided into four styles: description, expression, emphasize, and refer. The using of northeastern Thai dialect was seven styles: description: expression, emphasize, refer, humor, audient specific, and proverb. There are three styles of Pali language using: to faith in preachment, The Buddha’s sermons, and Buddha’s pray. The use of the three languages in preachment demonstrates an attempt to explain Dharma or principles that are difficult to easily and clearly understand by using the dialect of both the listener and the monk. Therefore, research should be conducted on central Thai dialect and other Thai dialects in preachment.

206 206 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย สญชัย อนั ภกั ดี. 2561. ความหลากหลายดาb นเพศวิถใี นบทละครเรอ่ื งรามเกยี รต์ิ พระราชนิพนธ:ใน รชั กาลท่ี 1. วทิ ยานิพนธ9ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.อรทยั เพียยรุ ะ บทคดั ย7อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาความหลากหลายดUานเพศวิถีของตัวละครในบทละคร เรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ9ในรัชกาลที่ 1 และเพื่อศึกษาการรับรูUของสังคมตFอความหลากหลายทาง เพศวิถีผาF นตวั บทวรรณคดี โดยใชUกรอบแนวคดิ เพศวิถีในการวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFาตัวละครในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ9ในพระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ≥าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 มีความหลากหลายดUานเพศวิถีมาก โดยความหลากหลายดUาน เพศวิถีที่ปรากฏสามารถแบFงออกเป_น 2 ลักษณะ คือ 1) ความหลากหลายของปฏิบัติการทางเพศ และ 2) ความหลากหลายของการแสดงความปรารถนาทางเพศ ซึ่งความหลากหลายของปฏิบัติการทางเพศ ของตัวละครที่เกิดขึ้นระหวFางเผFาพันธุ9สามารถจำแนกไดUถึง 8 ลักษณะ ไดUแกF กลุFมยักษ9กับสัตว9 มนุษย9กับ เทวดา/นางฟ≥า มนุษย9กับสัตว9 มนุษย9กับยักษ9สัตว9กับเทวดา/นางฟ≥า ยักษ9กับเทวดา/นางฟ≥า มนุษย9กับ ลูกผสมขUามสายพันธุ9 และสัตว9กับสัตว9ตFางสายพันธุ9 ตัวละครกลุFมยักษ9เป_นกลุFมที่มีความหลากหลาย ดUานเพศวิถีมากที่สุดและความหลากหลายของการแสดงความปรารถนาทางเพศ สามารถจำแนกไดU 2 ลักษณะ ไดUแกF การจินตนาการ และการลงมือกระทำ โดยที่คูFความสัมพันธ9นั้นจะเป_นคนละเผFาพันธ9ุ กัน และมที ั้งตFางเพศและเป_นเพศเดยี วกัน ในสFวนของการรับรูUของสังคมตFอเรื่องเพศและเพศวิถีที่หลากหลายพบวFา สังคมไดUแสดงออกถึง การรับรูUเรื่องราวของเพศวิถีแบบตFาง ๆ โดยสะทUอนผFานความคิดของตัวละครทำใหUเห็นวFาผูUคนในสังคมมี การรับรูUเรื่องราวเกี่ยวกับเพศและเพศวิถีทั้งส้ิน 5 ลักษณะ ไดUแกF 1) การรับรูUถึงเพศวิถีระหวFางเผFาพันธ9ุ และขUามชนชั้น 2) การรับรูUถึงพลังอำนาจของเรื่องเพศซึ่งมีทั้งการทำลายลUางและการแสดงความเป_น บุคคลพิเศษ 3) การรับรูUถึงเรื่องการแสดงออกทางเพศ 4) การรับรูUวFาเรื่องเพศเป_นเรื่องธรรมชาติ และ 5) การรับรูUถึงโทษของการลFวงละเมิดทางเพศ โดยป®จจัยที่ทำใหUคนในสังคมเกิดการยอมรับหรือไมFยอมรับ ในเพศวิถีแบบตFาง ๆ ไดUแกF 1) คFานิยมตFอหญิงที่เป_นมFายและผFานการมีสามีมาแลUว และ 2) ความเชื่อ อันเนอ่ื งมาจากพระพุทธศาสนา จากผลการวิจัยทำใหUพบวFาตัวละครกลุFมยักษ9ที่ถูกสรUางใหUเป_นฝûายอธรรม กำลังถูกประกอบ สรUางใหUเป_นผูUที่มีความชั่วรUายทั้งในเรื่องศีลธรรม รูปรFางหนUาตา ตลอดจนรสนิยมทางเพศ นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังสะทUอนใหUเห็นถึงเพศวิถีแบบขUามเผFาพันธุ9และขUามชนชั้นที่อาจเกิดข้ึนจริงในสังคมที่มี โครงสรUางแบบชนชั้น ที่มนุษย9ถูกจัดวFาเป_นชนชั้นสูงที่มีอำนาจในการปกครองและพยายามควบคุมและ

207 บทคัดยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 207 กีดกันเพศวิถีของชนชั้นอื่นที่ต่ำกวFาตนเอง โดยที่เพศวิถีแบบขUามเผFาพันธุ9เป_นสิ่งที่ยอมรับไดUมากกวFา เพศวิถีแบบขUามชนชั้น และยังสะทUอนใหUเห็นถึงความไมFเทFาเทียมกันระหวFางเพศชายและเพศหญิงท่ี เพศหญิงถูกจำกัดและควบคุมดUานเพศวิถีจากเพศชาย โดยหญิงที่ปฏิบัติตามจารีตที่สังคมกำหนดจะถูก ยกยFองเป_นผูUหญิงที่ดี สFวนผูUหญิงที่ประพฤติในทางตรงกันขUามจะถูกตราหนUาวFาเป_นหญิงชั่วและสมควร ไดรU บั การลงโทษ ซึ่งตรงกันขUามกับเพศชายท่ดี ูเหมือนจะมอี ภสิ ิทธใิ์ นเร่ืองเพศวิถีมากกวาF เพศหญงิ

208 208 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Sayachai Anphakdi. 2018. Varieties of Sexualities in Ramayana of King Rama I. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This study aimed to study about the diversity of sexualities of the characters in Ramayana, the King Rama I Edition and to study about the social recognition of the diversity of sexualities through the literature by using the sexuality thinking framework to analyze. Results of the study showed that the characters in Ramayana, the King Rama I Edition had a lot of diversity of sexualities which could be divided into 2 categories which were 1) the diversity of sex practices, and 2) the diversity of showing lust. The diversity of sex practices of the characters which happened interracially could be categorized into 8 types including ogres and animals, humans and angels, humans and animals, humans and ogres, animals and angels, ogres and angels, humans and hybrids, and animals and animals. Ogres had the most diversity of sexualities. The diversity of showing lust could be categorized into 2 types including imagination and doing which happened interracially with a different sex and the same sex. In part of the social recognition of the diversity of sexualities, found that the society showed its recognition of sexualities by reflecting through the characters’ minds which indicated that the people in the society recognized sex and sexualities by 5 types including 1) recognition of sexualities between races and classes 2) recognition of the power of sex including destruction and showing one’s specialty 3) recognition of sex expression 4) recognition of sex as it is natural and 5) recognition of demerits of sexual abuse. The factors that made the people in the society to accept or to deny the sexualities were 1) the value to a widow and 2) beliefs in Buddhism. From the results, found that the ogres who were made to be villains were made to be vicious in morals, looks, and sexual orientations. In addition, the results reflected interracial sexualities or inter-class sexualities which could happen in a class-structured society that aristocratic with authority tried to control and discourage the sexualities of lower class. Interracial sexualities were more acceptable than inter-class sexualities. The results also reflected inequality of genders that was men could limit and control women sexualities. Women who lived strictly to tradition would be praised as good women, otherwise they would be branded as bad women and got punished. In contrast, men seemed to have more privilege than women.

209 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 209 วิชชุฎา คำนนท9. 2561. ลักษณะการใชbภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสานในเพลงลูกทุ7งหมอลำ. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารยท: ี่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.รัตนา จันทรเ9 ทาว9 บทคัดย7อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การใชUภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสานในเพลง ลูกทุFงหมอลำ ดUานรูปแบบและหนUาที่ของภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสาน ขUอมูลในการวิจัยน้ี รวบรวมจากเพลงลูกทุFงหมอลำ จำนวน 70 เพลง โดยในเพลงตUองปรากฏการใชUทั้งภาษาไทยกลางและ ภาษาอีสาน เนื่องจากเพลงลูกทุFงหมอลำเป_นรูปแบบเพลงแนวประสมระหวFางเพลงลูกทุFงอีสานกับการ รUองหมอลำ ดังนั้น ผลการศึกษานี้จึงทำใหUเห็นถึงลักษณะการใชUภาษาทั้งสองภาษาในรูปแบบและหนUาที่ ในเพลงลูกทFุงหมอลำ ผลการศึกษาพบวFาภาษาอีสานและภาษาไทยกลางมีการใชUเมื่อขึ้นตUนเพลงและจบเพลง โดย ภาษาไทยถิ่นอีสานพบการใชUกลอนลำ และการใชUคำพูด จำนวนมาก สFวนภาษาไทยกลางพบวFาการใชU การในลักษณะขUอความ ดUานหนUาที่ภาษาไทยถิ่นอีสานในเพลงพบ 5 หนUาที่ ไดUแกF การนำเขUาสูFบทเพลง การสรUางจุดเดFน การเนUนย้ำประเด็นหลัก การสะทUอนวัฒนธรรมความเชื่อ และการคงอัตลักษณ9ของ เพลงหมอลำ หนUาที่ของภาษาไทยกลาง พบหนUาที่ 3 หนUาที่ ไดUแกF เพื่อนำเขUาสูFบทเพลง และเพื่อเนUนย้ำ ประเด็นหลักของเพลง และการอธิบายภาษาอีสาน ทั้งนี้ผลการศึกษานี้นอกจากจะสะทUอนใหUเห็น ปรากฏการณ9การใชUภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสานแลUว ยังแสดงใหUเห็นถึงอิทธิพลของภาษาไทย กลางในเพลงพื้นบUาน และการปนภาษาในเพลงพื้นบUานอีสาน ซึ่งเพลงลูกทุFงหมอลำสามารถเป_นตัวแทน อีกรปู แบบหนึง่ ของการใชภU าษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นอีสานในสังคมไทย คำสำคัญ ภาษาไทยถ่ินอสี าน ภาษาไทยกลาง เพลงลูกทงFุ หมอลำ การปนภาษา

210 210 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Witchuda Khamnon. 2018. The use of Central Thai and Northeastern Thai dialect in Luktung - Morlam songs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao Abstract The purpose of this study was to analyze the use of the Central Thai and Northeastern Thai dialects in Luk Tung Mor-Lam songs involving with the Central Thai and Northeastern Thai dialects’ styles and functions. The data were collected from 70 Luk Tung Mor-Lam songs in which both the Central Thai and Northeastern Thai dialects occurred. Luk Tung Mor-Lam songs were the combination of Northeastern folk song and Mor-Lam song, therefore, the result would show the characteristics of these two dialects in terms of styles and functions in Luk Tung Mor-Lam songs. The results of this study showed that the Central Thai and Northeastern Thai dialects were used at the beginning and the end of the songs. The Northeastern Thai dialect was mostly used in the Northeastern poem or Lam Kon and the saying while the Central Thai dialect was used in a long explanation. Five functions were involved in the Northeastern Thai dialect including introducing to the songs, making highlights, emphasizing main points, reflecting the belief cultures, keeping Mor-Lam songs’ identities, while there are three functions of the Central Thai dialect involving with introducing to the songs, emphasizing main points, and explaining the Northeastern Thai dialect. This study not only showed the use of the Central Thai and Northeastern Thai dialects, but also showed the influence of the Central Thai dialect in folk music along with the language mixing in the Northeastern Thai songs. Luk Tung Mor-Lam songs were another style of using the Central Thai and Northeastern Thai dialects in Thai society. Keywords: Northeastern Thai dialect, Central Thai dialect, Luk Tung Mor-Lam Song, Language mixing

211 บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 211 ปพิชญา สุริยะ. 2562. การแปรของวรรณยุกต:ภาษาไทยถ่ินกลาง อำเภอพรานกระต7าย จังหวัด กำแพงเพชร. วิทยานิพนธป9 ริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนF . อาจารยท: ่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ดร.ศภุ กิต บัวขาว บทคดั ยอ7 งานวิจัยนี้มีจุดประสงค9เพื่อศึกษาวรรณยุกต9ภาษาไทยถิ่นกลาง อำเภอพรานกระตFาย จังหวัด กำแพงเพชร จำนวน 10 ตำบล โดยเก็บขUอมูลจากผูUบอกภาษาเพศหญิงชFวงอายุ 55 - 65 ปé และผูUบอก ภาษาชFวงอายุ 15 - 25 ปé ชFวงอายุละ 1 คน ตFอ 1 ตำบล รวมเป_น 20 คน (2 คน x 10 ตำบล) โดยใชU แนวคิดกลFองวรรณยุกต9ของ William J. Gedney (1972) และวิเคราะห9ขUอมูลดUวยวิธีทางกลสัทศาสตร9 โดยใชUโปรแกรม Praat (6.0.05) ผลการศึกษาพบวFาระบบวรรณยุกต9ภาษาไทยถิ่นกลาง อำเภอพรานกระตFาย จังหวัดกำแพงเพชร มีเสียงวรรณยุกต9จำนวน 4 หนFวยเสียง การแยกเสียงรวมเสียงในแนวตั้งเป_นแบบ A1234 B1234 C123-4 DL123-4 และ DS1234 และการแยกเสียงรวมเสียงในแนวนอนเป_นแบบ A1234 = DL123 และ B1234 = DL4, DS1234 หนFวยเสียงวรรณยุกต9มีสัทลักษณะดังนี้ วรรณยุกต9ที่ 1 กลางคFอนขUางต่ำ - ระดับ [22] วรรณยุกตท9 ี่ 2 กลางคอF นขาU งตำ่ - ขึ้น [23] วรรณยุกต9ที่ 3 กลาง - ตก [31] และวรรณยกุ ต9 ที่ 4 กลางคFอนขUางสูง - ระดับ - ตก [443] และพบวFาสัทลักษณะของวรรณยุกต9ที่ปรากฏในชFอง A1234 เกิดการแปรมากที่สุด โดยผูUบอกภาษาชFวงอายุ 15 - 25 ปé เป_นชFวงอายุที่มีแนวโนUมที่จะใชUระบบ วรรณยุกต9ท่มี ีการแยกเสยี งรวมเสียงในวรรณยุกตช9 Fอง A แบบ A1-234 คำสำคญั : การแปรของวรรณยุกต9, ภาษาไทยถ่นิ พรานกระตFาย, ภาษาไทยถ่ินกลาง

212 212 ⬗ บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Papitchaya Suriya. 2019. Tonal Variation in Central Thai Dialect of Phran-Kratai District Kampangphet Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Supakit Buakaw Abstract This research aims to study tones of central Thai dialect used in 10 sub-districts within Phran-Kratai district of Kampangphet province. Data were collected from 10 informants aged between 55 and 65 years old as well as other 10 aged between 15 and 25 years old. All of them are female and two of them lives in each of the 10 sub-districts (2 informants X 10 sub-districts), equivalent to a total of 20. The study used a tone box concept introduced by William J. Gedney (1972) and the data were analyzed by the acoustic phonetics methodology with the aid of the Praat (6.0.05) program. The study found that the tonal system of central Thai dialect used in Phran-Kratai district of Kampangphet province features a tone of 4 phonemes. Vertical tone split and coalescence belong to the A1234, B1234, C123-4, DL123-4 and DS1234 models, and horizontal one is of the A1234 = DL123 and B1234 = DL4, DS1234 models. In terms of tonal phonemes, phonetic characteristic is as follows: the 1st lower - mid level tone [22], the 2nd lower - mid rising tone [23], the 3rd mid - falling tone [31] and the 4th higher - mid level falling tone [443]. Also, phonetic characteristic of the tones in the A1234 box highlights the most variation. The informants aged between 15 and 25 years old tend to use the tonal system which divides a total of sound indicated by the A1-234 in the tone box A. Keywords: Tonal Variation, Phran-Kratai Dialect, Central Thai Dialect

213 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 213 ธารารัตน9 เป≥ดทิพย9. 2562. กลวิธีการเล7าเรื่องและภาพแทนของครูในวรรณกรรมเพลงไทย. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9กลวิธีการเลFาเรื่องและภาพแทนของครูใน วรรณกรรมเพลงไทยเกี่ยวกับครู ตั้งแตFปé พ.ศ. 2500-2560 โดยอาศัยกรอบแนวคิดกลวิธีการเลFาเรื่อง (Narrative Techniques) และแนวคิดภาพแทน (Representation) เพื่อใชUในการศึกษาและการ วิเคราะห9ตัวบทวรรณกรรมเพลงไทยที่นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับครู ตั้งแตFปé พ.ศ. 2500 - 2560 จำนวน ทงั้ สิน้ 193 เพลง ผลการศึกษากลวิธีการเลFาเรื่องของครูในวรรณกรรมเพลงไทย พบวFา จากการศึกษากลวิธีการ เลFาเรื่องของครูในวรรณกรรมเพลงไทยนี้ แบFงไดUเป_น 7 ประเด็น คือ (1) การตั้งชื่อเพลง พบการตั้งชื่อ เพลงที่ใชUคำแสดงความรูUสึกและอารมณ9 การใชUคำเรียกขานและชื่อเฉพาะ การใชUคำแสดงฉาก การใชUคำ จำแนกกลุFมและสถานภาพ การใชUคำเรียกวัตถุสิ่งของ การใชUคำเกี่ยวกับระบบการศึกษา การใชUคำนิยาม หรือใหUความหมาย การใชUคำที่แสดงการกระทำ การใชUคำที่เป_นความเปรียบ การใชUคำที่แสดงถึงปณิธาน หรืออุดมการณ9 การใชUคำแสดงป®ญหาอุปสรรค การใชUคำแสดงความเจริญทางสังคมและเทคโนโลยี การ ใชUสัญญะที่สื่อถึงครู และชื่อเพลงที่ไมFปรากฏคำที่เกี่ยวกับครู (2) แกFนเรื่อง พบการนำเสนอแกFนเรื่องการ ยกยFองเชิดชูครู และแกFนเรื่องการเผชิญป®ญหาและตFอสูUกับอุปสรรคในการทำงาน (3) ตัวละคร พบตัว ละครหลัก คือ ครู และตัวละครรอง คือ นักเรียน ผูUอำนวยการโรงเรียน และศึกษานิเทศก9 (4) ฉาก พบ เป_นสถานที่ เชนF โรงเรยี น บาU นพกั ครู ฉากท่เี ป_นพ้ืนท่ชี นบทและในเมอื ง (5) ผูUเลาF เรอ่ื ง พบผเUู ลFาเรอื่ งเปน_ ครู ผูUเลFาเรื่องเป_นนักเรียน และผูUเลFาเรื่องเป_นผูUอื่น (6) น้ำเสียง พบน้ำเสียงยกยFองชื่นชม น้ำเสียงตำหนิ และประชดประชนั นำ้ เสยี งปลกุ เรUาใจ (7) ความเปรยี บ ความเปรยี บเป_นครู ความเปรียบเปน_ การกระทำ ของครู ความเปรียบเป_นนามธรรมเกี่ยวกับครู ซ่ึงผลการศึกษากลวิธีการเลFาเรื่องผFานองค9ประกอบตFาง ๆ ของตัวบทวรรณกรรมเพลงไทย ทำใหUพบวFาผูUแตFงสFวนมากจะแตFงเพลงที่มีเนื้อหาไปในทิศทางที่ดีตFอครู เพือ่ การระลกึ ถึงพระคณุ ครู ผลการศึกษาภาพแทนของครูในวรรณกรรมเพลงไทย พบวFา ภาพแทนของครูที่ผูUแตFงไดUนำเสนอ ผFานตัวบทวรรณกรรมเพลงไทยนั้นมี 3 ลักษณะ คือ (1) ภาพแทนของครูในอุดมคติ ซึ่งปรากฏภาพแทน ของตัวละครในสถานภาพที่แตกตFางกัน (2) ภาพแทนของครูที่ตFอรองกับอุดมคติ ปรากฏในลักษณะของ การตFอสูUเพื่อพยายามใหUเป_นครูไดUตามอุดมคติ และ (3) ภาพแทนของครูที่ไมFเป_นไปตามอุดมคติ เป_น ภาพแทนทปี่ รากฏโดยขัดแยUงตFอหลกั อุดมคติ

214 214 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย จากผลการศึกษากลวิธีการเลFาเรื่องและภาพแทนของครูในวรรณกรรมเพลงไทย พบวFา การ นำเสนอตัวละครครูผFานตัวบทวรรณกรรมเพลงไทยนั้น ผูUแตFงสFวนมากนำเสนอภาพความเป_นครูไปใน ทิศทางที่เป_นดUานดีตามอุดมคติและมีการผลิตซ้ำความเป_นครูตามอุดมคติจนถึงป®จจุบัน และเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงบริบททางสังคมและวัฒนธรรม บทเพลงในชFวงหลังนี้จึงปรากฏลักษณะของครูที่ขัดแยUงไป จากอดุ มคตนิ บั เป_นการชFวงชงิ ความหมายภาพของครไู ปจากขนบเดมิ

215 บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 215 Thararat Petthip. 2019. Narrative Techniques and Representation of Teacher in Thai Songs. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT The purpose of this thesis is to analyze the Narrative Techniques and Representation of teachers in Thai lyrics that about teachers since 1957 - 2017 using Narrative Techniques and Representation Framework. This is for analysis text of Thai songs literatures that was presented; 193 songs since year 1957 - 2017. The result of the study of the narrative techniques of teachers in Thai songs literatures was divided into 7 topics: (1) Naming of songs; using words to express feelings and emotions, using colloquial names and unique names, using words to present the setting, using words to classify groups and statuses, using words to call objects, using words about education terms, using words for define or giving meaning, using words that express actions, using metonymy, using words that show determination or ideology, using words about problems and obstacles, using words to show prosperity social and technological prosperity, using the signs that convey teachers, and song names that do not appear words related to teachers, (2) Theme; presentation of the theme of praising teachers and themes, and the theme of confronting and fighting obstacles in work, (3) Characters; the main character is teacher, and the secondary character is student, school director, and educational supervisor, (4) Setting: Places such as schools, teachers' residences, rural and urban setting, (5) Narrators; teacher, student or others, (6) Tones; to admire, criticism and sarcasm, encouragement, (7) Figure of speech; as a teacher, as a teacher's action, as an abstract about a teacher. The result of the study of narration’s strategies through various elements of the Thai songs found that most composers would write songs that were in good direction to the teachers for the remembrance of the teachers’ favor. The results of the representation of teachers in Thai songs literatures found that the representations of the teachers have 3 characteristics: (1) Representation of the ideal teachers which appear the representation of the of the characters in different statuses, (2) Representation of teachers which negotiate with ideals appear in the form of fighting

216 216 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย to try to be teachers as ideal, and (3) Representation of teachers which do not conform to ideals, represent what conflict with ideals. The results of the study of Narrative Techniques and Representation of teachers in Thai songs literatures, most writers presented the images as the teachers in good direction of the ideal. In addition, there are still the reproductions ( re-present) of the ideal teachers as nowadays. And more than that, when the social and cultural context has changed, the songs in latter period, appear to have the characteristics of conflicting teachers from the ideal which are considered to be the contention of meaning of the teacher’s representation from the traditions.

217 บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 217 สตรีญาภรณ9 มีสุข. 2562. นามสกุลของกลุ7มชาติพันธุ:แสกในจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 งานวิจัยเรื่อง นามสกุลของกลุFมชาติพันธุ9แสกจังหวัดนครพนม มีวัตถุประสงค9 3 ประเด็น ไดUแกF เพื่อวิเคราะห9โครงสรUางและที่มาภาษาในการตั้งนามสกุล และเพื่อวิเคราะห9ความหมายของนามสกุล พื้นที่วิจัย คือ หมูFบUานชาวแสก จำนวน 4 หมFูบUาน ใน 3 อำเภอของจังหวัดนครพนม ไดUแกF อำเภอเมือง อำเภอนาหวUา และอำเภอศรีสงคราม โดยรวบรวมนามสกุลจากระบบทะเบียนราษฎร9ในแตFละหมูFบUาน จากหนFวยงานระดับอำเภอและการสัมภาษณ9ผูUบอกภาษาหลักชาวแสกในหมูFบUานอาจสามารถ อำเภอ เมือง ไดUจำนวนนามสกุลชาวแสกทั้งหมดโดยไมFนับซ้ำจำนวน 438 นามสกุล งานวิจัยนี้เป_นงานวิจัย เชิงคุณภาพ วิเคราะห9ขUอมูลนามสกุลตามกรอบแนวคิดภาษาศาสตร9 ดUานคำที่มาของภาษา และ ความหมายของคำนำเสนอผลการวิจัยดUวยวิธีพรรณนาวเิ คราะห9 ผลการวิจัยพบวFา ดUานโครงสรUางนามสกุลมีนามสกุลที่โครงสรUาง 2 คำมากที่สุด รองลงมาคือ โครงสรUาง 3 คำ โครงสรUาง 4 คำ และโครงสรUาง 1 คำ ตามลำดับ ดUานที่มาของภาษาพบวFา ที่มาจาก ภาษา คือ ภาษาแสก ภาษาบาลีสันสกฤต ภาษาไทย ภาษาเขมร ภาษาจีน และภาษาเวียดนาม โดยมี นามสกุลที่มาจาก 1 ภาษามากที่สุด รองลงมาคือนามสกุลที่มาจาก 2 ภาษา โดยภาษาบาลีสันสกฤตพบ มากท่ีสุด ดUานความหมายของนามสกุล พบวFา นามสกุลที่มีความหมายเกี่ยวกับบุคคลมากที่สุดอยFาง มีนัยสำคัญ รองลงมาคือความหมายเกี่ยวกับธรรมชาติ ความเป_นสิริมงคล ศาสนาและความเชื่อ สิ่งของมี คFา ตามลำดับนามสกุลชาวแสกจำนวน 24 นามสกุล ไมFสามารถสืบคUนที่มาของภาษาและความหมายไดU เนื่องจากมีการเขียนสะกดที่แตกตFางไปจากมาตรฐานของภาษาตFาง ๆ นามสกุลชาวแสกมีคำสำคัญท่ี นำมาตั้งนามสกุลสะทUอนวFาเป_นชาวแสกอยFางชัดเจน ไดUแกF อาจสามารถ / คา / ทอง / จันทร9 / แกUว / ไชย, ชัย

218 218 ⬗ บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Satreeyaporn Meesuk. 2019. The Surnames of Saek ethnicity in Nakhon Panom Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The research on Saek’s Surnames in Nakhon Phanom province there are 3 objectives that are to analyze the surname structure, language sources, and meaning. The research fields are in 3 districts; Mueng, Na-wa, and Srisongkram at Nakhon Phanom province. The surnames were collected by the government’s registration and by interviewing the key informants who have lived in At-Samad village, Mueng district that having totally 438 surnames. This research is qualitative research and supported by quantitative data. The surnames were analyzed by linguistic perspective in terms of word, language root, and word meaning. The finding has present by descriptive analysis method. The research finding in terms of surname's structure was found that most of surnames is in the two-words structure. The three-words structure, fourth-words structure, and one-word structure were found less respectively. In terms of language root there are six languages; Saek, Pali-Sanskrit, Thai, Khmer, Chinese, and Vietnamese. Most the surnames come from one language more than two languages and Pali-Sanskrit language is the most popular to naming. In terms of meaning was found that the most surname meaning involves mostly on people. The next meaning is nature, goodness, religion and belief, and valuable things, respectively. There are 24 surnames could not find the meaning because of the non-standard of the spelling or it has no meaning in Saek language or other languages. This research finding investigates that there are keywords in Saek's surnames that are At-Samad, Kham, Thong, Chan, Keow, and Chai of which are often appeared in their surnames.

219 บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 219 ศิริสุกาญจน9 สุจริตพิทักษ9กุล. 2562. อัตลักษณ:และพื้นที่ทางสังคมของกลุ7มชายรักชายในละครชุด ที่เผยแพร7ระหวา7 ง พ.ศ. 2557 - 2560. วิทยานิพนธป9 ริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ที่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ดร.อมุ ารนิ ทร9 ตลุ ารกั ษ9 บทคัดย7อ การศึกษาเรื่องอัตลักษณ9และพื้นที่ทางสังคมของกลุFมชายรักชายในละครชุดที่เผยแพรFระหวFาง พ.ศ. 2557 - 2560 มีวัตถุประสงค9 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาอัตลักษณ9 (Identity) ของตัวละครกลุFมชาย รักชายในละครชุดเรื่อง Lovesick the Series (รักวุFนวัยรุFนแสบ) เรื่อง SOTUS The Series พี่วUากตัวรUาย กับนายปéหนึ่งและเรื่องไดอารี่ตุπดซี่ส9เดอะซีรีส9ที่เผยแพรFระหวFาง พ.ศ. 2557 – 2560 2) เพื่อศึกษาพื้นท่ี ทางสังคม (Social Space) ของตัวละครกลุFมชายรักชายในละครชุดดังกลFาว ใชUแนวคิดอัตลักษณ9และ แนวคิดพ้นื ทีท่ างสงั คม นำเสนอผลการศึกษาดวU ยวธิ กี ารพรรณนาวิเคราะหผ9 ลการศกึ ษามีดังนี้ 1) อัตลักษณ9ของตัวละครชายรักชายในละครชุด ผลการศึกษานั้นไดUแสดงใหUเห็นวFาชFวงวัยมัธยม ชFวงวัยอุดมศึกษาและวัยทำงาน ตัวละครชายมีรูปรFางดี มีกลUามเนื้อ ซึ่งเกิดจากการดูแลรFางกายอยFางดี หนUาตาดี ซึ่งปรากฏใน 2 ลักษณะ คือ ตามธรรมชาติและมีการศัลยกรรมใบหนUา ลักษณะนิสัยมีภาวะ ผูUนำ มีบทบาทสำคัญในสถาบันการศึกษา มีศักยภาพที่ดีในการทำงาน แตFในเรื่องการเป_นชายรักชาย มักจะไมFไดUรับการยอมรับจากครอบครัว ชFวงวัยมัธยมและชFวงวัยอุดมศึกษาจะนำเสนออัตลักษณ9ของ ความเปน_ ชาย ในขณะท่ีชFวงวยั ทำงานมกี ารนำเสนออตั ลักษณ9ทมี่ ีความลน่ื ไหลทางเพศวิถี 2) พื้นที่ทางสังคมกับเพศวิถีของตัวละครชายรักชายในละครชุดแบFงผลการศึกษาออกเป_น 3 สFวน ไดUแกF พื้นที่สFวนตัว พื้นที่กึ่งสาธารณะและพื้นที่สาธารณะพบวFา การสานสัมพันธ9ทางเพศของตัว ละครชายรักชายจะมีดUวยกัน 2 ระดับ คือ 1. ระดับการแสดงความพึงพอใจหรือการสัมผัสรFางกาย และ 2. ระดับการสานสัมพันธ9ทางเพศอยFางลึกซึ้งโดยการมีเพศสัมพันธ9 ผลการศึกษาพบวFา พื้นที่สFวนตัวเป_น พื้นที่เดียวที่ปรากฏการสานสัมพันธ9อยFางลึกซึ้งโดยการมีเพศสัมพันธ9 ในขณะที่พื้นที่อื่นเป_นเพียงการ สมั ผสั รFางกาย การกอด และการจบู เทาF นนั้ อัตลักษณ9และพื้นท่ีทางสังคมของกลุFมชายรักชายในละครชุดดังกลFาว เป_นการนำเสนอ อัตลักษณ9ในเชิงบวก นอกจากนี้ยังแสดงใหUเห็นวFาสื่อมวลชนไดUเป´ดโอกาสใหUชายรักชายไดUนำเสนอ อัตลักษณ9ของตนเองไดUมากขึ้น แตFอยFางไรก็ตาม การนำเสนออัตลักษณ9และพื้นที่ทางสังคมก็ยังคงอยูFใน ขนบและตUองคำนงึ ถึงความเหมาะสมตามบรรทดั ฐานของสังคมเชนF กัน คำสำคญั : อตั ลักษณ;9 พน้ื ท่ที างสงั คม; ชายรักชาย; เพศวิถี

220 220 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Sirisukarn Sujaritpitukkul. 2019. Identity and social space of homosexual male in the series propagation during 2014 – 2017. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT A study of Identity and social space of homosexual male in the series propagation during 2014 – 2017 purposed to 1) study the homosexual male characters’ identity in Thai drama series titled ‘Lovesick the Series (known as RakWunhWai Run Saeb),’ ‘SOTUS The Series ( known as Pi WakTuaRaiKabNai Pee Nueng) ,’ and ‘ Diary of Tootsies the Series’propagation during 2014 – 2017, and 2) research social space of the homosexual male characters in the three series using the concepts of identity and social space. The study results were presented by applying analytical description method as follows. 1) The identity of the homosexual male presented in the series was that at their school- age both secondary school and higher education also at their working- age they were in a good shape with strong muscles as they took a great care of themselves. Besides, they had attractive faces either by nature or plastic surgery. Moreover, they had leadership skills, so they took important roles in school and had good capabilitiesfor work. However, being the homosexual male was likely to be unaccepted by their families. So at the school- age both secondary school and higher education they presented themselves through the identity of masculinity while at the working-age they expressed themselves through a variety of gender identities they belonged. 2) In terms of social space and sexuality of the homosexual male characters in the tree series, the results can be divided into three parts, including private area, semi- public area, and public area. There were two levels of sexual relations of the homosexual male characters, namely, (1) the level of satisfaction with physical contact, and (2) the level of having sexual intercourse. The study results revealed that sexual intercoursecould be found only in a private area, whereasphysical contactssuch as hugs and kisses could be found in other areas. Identity and social space of the homosexual male characters in the above- mentioned series were positively presented. The series also pointed that mass media

221 บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 221 has given the homosexual male opportunities to present their genderidentities more. However, expression of gender identity and social space of the homosexual male was still conformingtosocial tradition and must be taking into consideration of its appropriateness to social norm as well. Keywords: identity; social space; homosexual male; sexuality

222 222 ⬗ บทคัดยอ่ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ภูวกร พันธุพาน. 2562. พลวัตและการสรbางสรรค:เรื่องเล7าและประเพณีการบูชาพระธาตุในจังหวัด นครพนม ในบริบทสังคมไทยร7วมสมัย. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ดร.อุมารินทร9 ตลุ ารกั ษ9 บทคดั ยอ7 ประเพณีและเรื่องเลFาเกี่ยวกับพระธาตุในจังหวัดนครพนมเป_นสิ่งที่แสดงใหUเห็นวัฒนธรรมและ การสรUางสรรค9ประเพณีที่สืบตFอกันมายาวนาน วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มีวัตถุประสงค9คือ 1) เพื่อศึกษาเรื่อง เลFาและประเพณีการบูชาพระธาตุในจังหวัดนครพนมและ 2) เพื่อศึกษาพลวัตและการสรUางสรรค9เรื่อง เลFาและประเพณีการบูชาพระธาตุในจังหวัดนครพนมในบริบทสังคมไทยรFวมสมัย โดยใชUแนวคิดพลวัต วฒั นธรรม และแนวคิดคตชิ นสราU งสรรค9 ผลการศึกษาพลวัตและการสรUางสรรค9เรื่องเลFาการบูชาพระธาตุในจังหวัดนครพนม พบวFา สามารถแบFงไดU 3 ลักษณะ ไดUแกF 1) ลักษณะเรื่องเลFาการบูชาพระธาตุในจังหวัดนครพนม พบเรื่องเลFาท่ี เป_นตำนาน เรื่องประวัติศาสตร9และเรื่องเลFาที่แสดงความศักดิ์สิทธิ์ 2) พลวัตของเรื่องเลFาและความเชื่อ ในเรื่องเลFาการบูชาพระธาตุ พบวFา เรื่องเลFามีการปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม และมีความหลากหลาย สFวน ความเชื่อในเรื่องเลFาพบวFามีความเชื่อเรื่องผี นาค ศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ9 และการเป_นพระ ธาตุประจำวันเกิดจากการผสมผสานความเชื่อเรื่องโหราศาสตร9 3) การสรUางสรรค9รูปแบบการนำเสนอ เรื่องเลFาการบูชาพระธาตุในจังหวัดนครพนม พบวFามีการนำเสนอเรื่องเลFาการบูชาพระธาตุผFานบทเพลง และสื่อสมัยใหมF และการนำเสนอเรื่องเลFาการบูชาพระธาตุผFานสัญลักษณ9ในบริบทสังคมไทยรFวมสมัย คือ การนำเสนอสญั ลกั ษณ9ที่เช่อื มโยงกบั ความเปน_ ทUองถ่ิน และการประยุกต9ใชUในบรบิ ทการทFองเที่ยว สFวนพลวัตและการสรUางสรรค9ประเพณีการบูชาพระธาตุในจังหวัดนครพนมในบริบทสังคมไทย รFวมสมัย แบFงการศึกษาเป_น 2 ลักษณะ ไดUแกF 1) พลวัตประเพณีการบูชาพระธาตุในจังหวัดนครพนม พบวFา ประเพณีการบูชาพระธาตุแบFงไดUเป_น 2 ยุค คือ ยุคดั้งเดิม ยุคนี้เป_นการบูชาแบบชาวบUานตาม จารีตของคนอีสาน และยุคป®จจุบัน ภาครัฐเขUามาจัดประเพณีทำใหUรูปแบบงานมีความเป_นพิธีการและ ย่ิงใหญFขึ้นเพื่อตอบสนองนโยบายการทFองเที่ยวของรัฐ 2) การสรUางสรรค9ประเพณีการบูชาพระธาตุ พบการตั้งชื่อประเพณีใหUสื่อในวงกวUางเพื่อการทFองเที่ยว มีการเพิ่มเติมพิธีการและรูปแบบในประเพณี ใหUสอดคลอU งกับเศรษฐกิจสราU งสรรคใ9 นบรบิ ทสังคมไทยรFวมสมัย

223 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 223 Bhuvakorn Phanthuphan. 2019. Dynamics and Creation of Narratives and the Worshipping Pagoda Tradition in Nakhon Phanom Province in the Context of Contemporary Thai Society. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Dr. Umarin Tularak ABSTRACT Tradition and narratives about pagodas in Nakhon Phanom province indicate culture and creation of a long tradition. This thesis aimed to 1) study narratives and the worshipping pagoda tradition in Nakhon Phanom province, and 2) research dynamics and creation of narratives and the worshipping pagoda tradition in Nakhon Phanom province in the context of contemporary Thai society. The concepts of cultural dynamics and creative folklore were applied in this study. According to the study on dynamics and creation of the narratives of worshipping pagodas in Nakhon Phanom province the results can be divided into three aspects as follows. 1) The stories of worshipping pagodas in Nakhon Phanom province were found in three characteristics, namely myth, historical narrative, and sacred narrative that showed holiness. 2) Dynamics of the narratives and beliefs in the narratives of worshipping pagodas were found that the narratives have been changed, added, and diversified. For the beliefs in the narratives of worshipping pagodas, there were the beliefs of ghosts, naga, Buddhism, Brahmanism, and birthday relic pagodas as a combination of astrological beliefs. 3) Creation of presentation styles for the narratives of worshipping pagodas in Nakhon Panom province was found that the narratives of relic worship have been presented through songs and modern media. Besides, the narratives of worshipping pagodas have also been presented through symbols in the context of contemporary Thai society; in other words, the symbols have been presented by linking to locality and applied to tourism. In terms of dynamics and creation of the worshipping pagoda tradition in Nakhon Phanom province in the context of contemporary Thai society, the study results were divided into two aspects as follows. 1) Dynamics of the worshipping pagoda tradition in Nakhon Phanom province, it was found that the worshipping pagoda tradition can be

224 224 ⬗ บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย divided into two eras, namely the traditional era and the present age. During the traditional era worshipping pagodas was performed by the locals, Isaan people, following local traditions, while at the present age worshipping pagodas is managed by the government which makes the ceremony being more official and superior in response to government's tourism policies. 2) Creation of the worshipping pagoda tradition, it was found that the tradition was named broadly for tourism purpose. More rites and formalities have been added to the worshipping pagoda tradition in conformity with the creative economy in the context of contemporary Thai society.

225 บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 225 ยุพยง ทัศคร. 2562. ธรรมชาติและสิ่งแวดลbอมลุ7มแม7น้ำโขงในนวนิยายของวุฐิศานติ์ จันทร:วิบูล. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกFน. อาจารย:ท่ีปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทิพย9 บทคดั ย7อ การวิจัยครั้งนี้ผUูวิจัยเลือกวิเคราะห9นวนิยายของวุฐิศานติ์ จันทร9วิบูล จำนวน 2 เรื่องคือ สายน้ำ และชายชรา: เรื่องเลFาจากคอนผีหลง และการกลับมาของนกนางนวล โดยมีวัตถุประสงค9 2 ประการ ไดUแกF 1) เพื่อวิเคราะห9กลวิธีการเลFาเรื่องในนวนิยายของ วุฐิศานติ์ จันทร9วิบูล 2) เพื่อวิเคราะห9สำนึก นิเวศเกี่ยวกับลุFมน้ำโขงที่ปรากฏในนวนิยายของ วุฐิศานติ์ จันทร9วิบูล ตามแนวคิดทฤษฎีนิเวศวิทยาแนว ลกึ ของ อาร9เน แนสส9 จากนั้นไดUนำเสนอแบบพรรณนาวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFา 1) ธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมลุFมแมFน้ำโขงที่นำเสนอผFานกลวิธีการเลFาเรื่องในนวนิยายของ วุฐิศานติ์ จันทร9วิบูล ปรากฏภาพความสวยงามของธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม ภาพธรรมชาติกับวิถีชีวิต ดั้งเดิม ธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมในฐานะความทรงจำและความจริง ธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมในฐาน ของผูUใหUชีวิต ความอFอนโยนและความนFากลัวของธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมธรรมชาติ และสิ่งแวดลUอมท่ี เป_นสFวนหนึ่งของสังคมเมือง การใชUพฤติกรรมความเป_นมนุษย9ทั้งปฏิกิริยา สีหนUาทFาทาง การพูด ใหU ปรากฏในสิ่งมีชีวิตอื่นที่ใชFมนุษย9 การแบFงแยกมนุษย9ออกจากธรรมชาติ นอกจากนั้นยังพบการตFอตUาน และการประนีประนอมโครงการพัฒนา การยกยFองเชิดชูธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมและน้ำเสียงที่แสดง ความเศรUาเสียใจเพื่อนำไปสูFการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและจิตสำนึกใหUอยูFรFวมกันอยFางสมดุล โดยนวนิยาย ทั้งสองเรื่องมีแกFนเรื่องเกี่ยวกับการรุกรานธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมลุFมแมFน้ำโขงที่เกิดจากการพัฒนา ประเทศสูFความเจริญจนเกิดความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศลุFมแมFน้ำโขง พังทลาย เกิดการทับถมของ ตะกอนดิน จำนวนพืชพรรณ และพันธุ9ปลาลดลง และสFงผลกระทบตFอการดำรงชีวิตของมนุษย9 นวนิยาย ของวุฐิศานติ์ จันทร9วิบูล ไดUนำเสนอผFานเร่ืองราวของตัวละครและสอดแทรกอารมณ9 ความรูUสึกเขUาไปใน เนื้อหา ดำเนินเรื่องโดยการผูกปมป®ญหาความขัดแยUงระหวFางแนวคิดสองขั้วที่แตกตFางกัน คือ แนวคิด แบบมนุษย9เป_นศูนย9กลางกับแนวคิดแบบธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมเป_นศูนย9กลาง ซึ่งผูUเขียนไดUนำเสนอ ภาพมนุษย9เป_นผูUทำลายและธรรมชาติเป_นผูUถูกทำลาย นอกจากนั้นยังใชUปลาบึกตัวเชื่อมเรื่องราวใน นวนิยายทั้งสองเรื่อง และการป´ดเรื่องผูUเขียนจบแบบสมจริงโดยนำเสนอแนวคิดแบบองค9รวมที่มีมุมมอง แบบธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมเป_นศูนย9กลางเพื่อใหUมนุษย9กับธรรมชาติเกิดความปรองดองและ ประนีประนอมทั้งสองฝûาย จุดเดFนของนวนิยายทั้งสองเรื่องน้ี คือ มุFงนำเสนอป®ญหาธรรมชาติและ สิ่งแวดลUอมลุFมแมFน้ำโขงผFานประสบการณ9ของตัวละครทั้งมนุษย9และนกนางนวล พรUอมทั้งนำเสนอ

226 226 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ทางออกเพื่อใหUมนุษย9สามารถอยูFรFวมกับธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมไดUอยFางสมดุลดUวยสำนึกนิเวศที่ ประจกั ษแ9 จUงถงึ คณุ คาF ของตนเองและสรรพสง่ิ ทัง้ หลาย 2) สำนึกนิเวศในนวนินิยายของวุฐิศานติ์ จันทร9วิบูล ปรากฏสำนึกนิเวศ 2 ลักษณะ ไดUแกF 2.1) สำนึกนิเวศที่เป_นภัยตFอธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม คือ การเป_นนายเหนือธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม และการพัฒนาสูFความเจริญกUาวหนUาดUานวิทยาศาสตร9และเทคโนโลยี และดUานเศรษฐกิจ 2.2) สำนึก นิเวศที่เป_นมิตรตFอธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมคือการมองเห็นคุณคFาของชีวิตและสรรพสิ่งทั้งหลายและ การประจักษ9แจUงตัวตนที่แทUจริงที่มองเห็นวFามนุษย9เป_นเพียงสFวนหนึ่งของธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม เทFาน้นั ธรรมชาติและสิ่งแวดลUอมลุFมแมFน้ำโขงที่ปรากฏในนวนิยายของวุฐิศานติ์ จันทร9วิบูล สะทUอนใหU เห็นถึงมุมมองของมนุษย9ที่มีตFอธรรมชาติที่ถูกนำเสนอผFานเรื่องราวในนวนิยายที่สะทUอนถึงวิกฤตป®ญหา ที่เกิดขึ้นอันเป_นผลมาจากการตUองพัฒนาประเทศสูFความเจริญรุFงเรือง แตFกลับกลายเป_นการทำลาย ธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม ผูUเขียนจึงพยายามเรียกรUองความเป_นธรรมใหUแกFธรรมชาติและสิ่งแวดลUอม ผFานกลวิธีการเลFาเรื่องที่ผูกเรื่องราวของนวนิยายทั้งสองเรื่องกับสถานการณ9ป®จจุบันเพื่อกระตุUนใหUสังคม ปรบั เปลีย่ นมมุ มองและวถิ ีชวี ติ ใหสU มดุลกับธรรมชาติและสิง่ แวดลUอม

227 บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 227 Yupayong Thatsakorn. 2019. Nature and the Environment of the Mekong River Basin in the Novels of Wutisan Janwiboon. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT Two novels of Wutisan Janwiboon were analyzed for this research, including ‘the river and an old man: the story from Khorn Pee Long’ and ‘the return of the seagull.’ This study aimed to 1) analyze the narrative strategies used in the novels of Wutisan Janwiboon based on the ecocriticism approach, and 2) analyze ecological conscience regarding the Mekong River basin as appeared in Wutisan Janwiboon’s novels in reference to the deep ecology concept of Arne Naess. The study results were presented by using analytical description method as follows. 1) Nature and the environment of the Mekong river basin as presented in the novels of Wutisan Janwiboon through storytelling included beautiful pictures of nature and the environment; nature and traditional ways of life; nature and the environment as memory and truth; nature and the environment as a life-giver; tenderness and fearfulness of nature and the environment; nature and the environment as a part of urban society; the use of human behaviors including reactions and both body and verbal languages of other non-human creatures; the separation of humans from nature; opposition and compromise on development project; admiration of nature and the environment; as well as sadness tone used to persuade human beings to change their ways of life and consciousness for the balance co-existence of human and other living things. The synopses of both the novels were about the invasion of nature and the environment of the Mekong River basin caused by country development program. As a result, the Mekong River basin’s ecosystem was altered, for example, the occurrence of soil erosion and sediment deposition; and the numbers of plants and fish species decreased which impacted on human’s livelihood. The novels of Wutisan Janwiboon presented through the characters’ stories. It also put emotions and feelings into the contents. The stories ran through a conflict between the two different concepts, including (i) a concept of human center and (ii) a concept of nature and the environment center. The author

228 228 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย pointed that human being was the destroyer while nature was being destroyed by human. In addition, the Mekong giant catfish, known as ‘Pla Buek’ was used to connect these two novels together. The end of the stories was realistically presented through holistic view with the belief that nature and the environment was center so that human being and nature can live together in harmony. The distinctive points of these two novels were to present nature and the environment of the Mekong River basin through the characters’ experiences both human and seagull, also provided solutions for human, nature and the environment to be mutually dependent and living together with balance by having a sense of self-respect as well as respect for others. 2) There were two types of ecological conscience found in the novels of Wutisan Janwiboon, including 2.1) the harmful ecological conscience to nature and the environment was man being a master of nature and the environment and the development of science and technologies as well as economy, and 2.2) the friendly ecological conscience to nature and the environment was seeing values of lives and all things as well as realizing that human was only a part of nature and the environment. The Mekong River basin’s nature and environment in the novels of Wutisan Janwiboon reflected human’s perspectives on nature through the stories of emerging crucial problems of damaged nature and the environment as a result of country development toward prosperity. The author therefore sought justice for nature and the environment through storytelling strategies that bound the stories of both the novels and current situations so as to encourage people in the society to adjust their attitudes and ways of life to balance with nature and the environment.

229 บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 229 ปé¶ลยุF หยัง. 2562. กลวิธกี ารแปลและการใชภb าษาไทยในชดุ หนงั สือความรbูทั่วไปเก่ยี วกับประเทศจนี . วทิ ยานิพนธ9ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารย:ทีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.วิรัช วงศ9ภนิ ันท9วัฒนา บทคดั ย7อ วิทยานิพนธ9ฉบับนี้มีวัตถุประสงค9ในการศึกษา 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษากลวิธีการแปลภาษา จีนเป_นภาษาไทย และ 2) เพื่อศึกษาการใชUภาษาไทยในชุดหนังสือความรูUทั่วไปเกี่ยวกับประเทศจีน ชุดหนังสือนี้เป_นหนังสือสองภาษาโดยภาษาจีนเป_นภาษาตUนฉบับและภาษาไทยเป_นภาษาฉบับแปล มีหนังสือ 3 เลFม ไดUแกF ความรูUทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน ความรูUทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร9 ประเทศจีน และความรูUทั่วไปเกี่ยวกับภูมิศาสตร9ประเทศจีน จัดพิมพ9โดยสำนักพิมพ9อุดมศึกษา เมื่อปé ค.ศ. 2007 วิทยานิพนธ9ฉบับนี้ใชUทฤษฎีการแปลของ ปéเตอร9 นิวมารค9 (1988) ในการวิเคราะห9 กลวิธีการแปล แนวคิดของกำชัย ทองหลFอ (2547) ในการวิเคราะห9การใชUประพันธสรรพนาม และ แนวคิดของ วารุณี พลบูรณ9 (2550) ในการวิเคราะหก9 ารใชภU าพพจน9 ผลการวิจัยพบวFา กลวิธีการแปลที่ใชUในการแปลภาษาจีนเป_นภาษาไทยมีจำนวน 9 กลวิธี ไดUแกF 1. การแปลคำตFอคำ 2. การแปลตรงตัว 3. การแปลตามตUนฉบับ 4. การแปลเชิงอรรถศาสตร9 5. การ แปลแบบเอาความ 6. การแปลแบบสำนวน 7. การแปลเชิงสื่อสาร 8. การแปลแบบการตัด และ 9. การ ทับศัพท9 สFวนการใชUภาษาไทยที่ใชUในการแปลมี 3 ลักษณะ คือ การใชUคำ การใชUประพันธสรรพนาม และการใชUภาพพจน9 กลFาวคือ 1. การใชUคำมีการใชUคำทับศัพท9 คำภาษาจีน คำภาษาอังกฤษ และคำ ประสม 2. การใชUประพันธสรรพนามมี 5 คำ คือ ที่ ซึ่ง อัน ผูU และผูUซึ่ง โดยประพันธสรรพนาม “ที่” ใชU และทำหนUาที่ไดUมากที่สุด ซึ่งสามารถแทนประธาน กรรม ทั้งประธานและกรรม กรรมรอง สFวนขยาย กรรมของประโยคหลัก และกรรมของประโยครอง ในขณะที่ยังทำหนUาที่เป_นประธานของประโยครองท่ี ติดตามดUวย 3. การใชUภาพพจน9มี 7 ประเภท คือ 1) อุปมา 2) บุคคลวัต 3) ปฏิพากย9 4) การอUางถึง 5) การซ้ำคำ 6) ปฏิปุจฉา และ 7) สัทพจน9 อนึ่ง การใชUภาษาไทยในการแปลสามารถรักษาความหมาย ของตUนฉบบั ไดUเปน_ อยFางดี

230 230 ⬗ บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Bilyu Yang. 2019. Translation Strategies and Thai Usage in the Book Sets of Common Knowledge about China. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Wirat Wongpinunwatana ABSTRACT The thesis had two purposes, namely 1) to study the strategies for translating Chinese into Thai; 2) to study Thai usage in the book sets of common knowledge about China. Thai book sets are bilingual books which have Chinese as source language and Thai as target language, including 3 books: Common Knowledge about Chinese Culture, Common Knowledge about Chinese History and Common Knowledge about Chinese Geography, published by the Higher Education Press in 2007. This thesis analyzed translation strategies-based Peter Newmark’s translation theories (1988), analyzed relative pronouns based on Kamchai Thonglor’s comcepts (2004), amd analyzed figure of speech based on Warunee Pollabook’s concepts (2007) The results found that, there were 9 strategies used to translate Chinese into Thai, namely 1. Word-for-word translation 2. Literal translation 3. Faithful translation 4. Semantic translation 5. Free translation 6. Idiomatic translation 7. Communicative translation 8. Delete translation 9. Transliteration. On the other hand, 3 characteristics of Thai usage were found, which were word usage, relative pronoun usage and figure of speech usage. In more detail, 1. Word usage including transliteration words, Chinese words, English words and compound words. 2. Relative pronoun usage found 5 words: “thi” “sung” “un” “phu” and “phusung”. “Thi” used most often and it can replace subject, object, both subjects and object, indirect object, adverbial of matrix cluse, as well as object of subordinate clause, while it worked as the subject of each subordinate clauses followed by. 3. It found 7 types of figures of speech: 1) Simile 2) Personification 3) Paradox 4) Allusion 5) Reduplication 6) Rhetorical question 7) Onomatopoeia. Furthermore, the usage of Thai in translation can preserve the meaning of the manuscript well.

231 บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 231 เชรษฐรัฐ กองรัตน9. 2562. การรูbศัพท:และการใชbศัพท:วัฒนธรรมอีสานของวัยรุ7นในจังหวัดขอนแก7น. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกนF . อาจารย:ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.รตั นา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ย7อ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาการรูUศัพท9และการใชUศัพท9วัฒนธรรมอีสานของวัยรุFนใน จังหวัดขอนแกFน ซึ่งใชUกรอบแนวคิดทางภาษาศาสตร9 เรื่องการสูญศัพท9 (lexical loss) ดำเนินการวิจัย โดยใชUวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) กลุFมตัวอยFาง ไดUแกF วัยรุFนที่พูดภาษาไทย ถิ่นอีสานเป_นภาษาแมFอายุระหวFาง 20 - 25 ปé ที่อาศัยอยูFในเขตเมืองและเขตชนบท รวม 100 คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามและการสัมภาษณ9 โดยคัดเลือกคำศัพท9วัฒนธรรมอีสาน จำนวน 200 คำ จากพจนานุกรมภาษาอีสาน และจากผูUเชี่ยวชาญดUานภาษาและวัฒนธรรมอีสาน นำมาแบFงตาม ความหมายเป_น 6 หมวด ไดUแกF บุคคล เสื้อผUาเครื่องแตFงกาย เครื่องมือเครื่องใชU ความเชื่อและประเพณี ของเลFนและการละเลFน และสิ่งกFอสรUางและที่พักอาศัย ผลการวิจัยนำเสนอในรูปแบบตารางแสดง จำนวน และอัตราสFวนรUอยละ (percentage) และใชUวิธีพรรณนาวิเคราะห9 (description analysis) เพ่อื อธบิ ายผลการวิจยั ผลการวจิ ัยพบว7า การรูUศัพท9วัฒนธรรมอีสาน พบวFา มีคำศัพท9จำนวน 151 คำ คิดเป_นรUอยละ 75.50 จากศัพท9 ทั้งหมด 200 คำ ที่วัยรุFนยังคงรูUจักความหมายของคำ และมีคำศัพท9จำนวน 49 คำ คิดเป_นรUอยละ 24.50 ของคำศัพทท9 ง้ั หมดที่วัยรนุF ไมรF ูจU กั ความหมาย ดUานการใชUศัพท9วัฒนธรรมอีสาน พบวFา คำศัพท9ที่วัยรุFนรูUจักความหมายทั้ง 151 คำนั้น มีคำศัพท9 จำนวน 23 คำ คิดเป_นรUอยละ 15.23 ที่ไมFถูกนำไปใชUในชีวิตประจำวัน ดังนั้นหากรวมคำศัพท9ที่วัยรุFน ไมFรูUจักความหมายและคำศัพท9ที่รูUความหมายแตFไมFนำมาใชUในชีวิตประจำวัน ทั้งสิ้นจำนวน 72 คำ คดิ เป_นรUอยละ 36.00 คำศพั ท9เหลาF นจ้ี งึ นFาจะอยใFู นภาวะของการสญู ศพั ท9ไดUในอนาคต ป®จจัยทางสังคมดUานที่อยูFอาศัยที่แตกตFางกันของวัยรุFนในเขตเมืองและในเขตชนบทสFงผลตFอ การรูUศัพท9และการใชUศัพท9 โดยวัยรุFนในเขตชนบทมีระดับการรูUศัพท9และการใชUศัพท9มากกวFาวัยรุFนที่อยFู ในเขตเมือง ซึ่งนFาจะสัมพันธ9กับวิถีชีวิตและกิจกรรมในครอบครัว ชุมชน ที่แตกตFางกันระหวFางเขตเมือง และเขตชนบทของจังหวดั ขอนแกFน

232 232 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Chedtharat Kongrat. 2019. The Knowledge and The Usage of Isan Cultural Words Among Teenagers at Khon Kaen Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims to study vocabularies and traditional Isan words spoken in teenage groups in Khon Kaen province. The researcher conducted by using linguistics conceptual framework about lexical loss. The research was a mixed methods research. The sample was 100 teenagers who speak Isan as their mother tongues age between 20 - 25 years old and they live in both rural and urban areas. The research instruments were questionnaire and interview containing 200 Isan words from Isan dictionary and Isan language and culture experts. They were categorized into 6 different categories: persons, apparels and accessories, tools and instruments, beliefs and customs, traditional toys and games and construction and accommodation. The results were presented in forms of numeric tables, percentage as well as description analysis. The researcher found out that in term of knowing Isan cultural words, teenagers knew 151 Isan words or 75.50 percents out of 200 words. In the aspect of Isan cultural word usage, among 151 Isan words they knew, 23 Isan words or 15.23 percents were not used in their daily lives. If we count Isan words they did not know and the words they knew the meanings but not using nowadays, they would be 72 words or 36.00 percents in total. It can be concluded that those words are likely to be lexical loss in the future. The differences between rural teenagers and urban teenagers’ living has an effect on the knowledge and the usage of Isan words. Teenagers who live in rural areas has higher perception of the knowledge and the usage than teenagers who live in urban areas. It is in accordance with the differences between the life style in rural and urban areas.

233 บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 233 จาง ยุUน. 2563. ภาพแทนผูbหญิงในเรื่องมงกุฎดอกสbมและ Raise the Red Lantern. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ี่ปรึกษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.มารศรี สอทพิ ย9 บทคดั ยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่อง ภาพแทนผูUหญิงในเรื่องมงกุฎดอกสUม และ Raise the Red Lantern มี วัตถุประสงค9 คือ 1. เพื่อศึกษาภาพแทนของผูUหญิงในเรื่องมงกุฎดอกสUม และ Raise the Red Lantern 2. เพื่อศึกษาการเปรียบเทียบภาพแทนผูUหญิงที่สะทUอนในเรื่องมงกุฎดอกสUม และ Raise the Red Lantern โดยใชUระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และในการศึกษานี้มีแนวคิด ทฤษฎีที่ใชUเป_นกรอบในการวิเคราะห9 คือ แนวคิดเรื่องภาพตัวแทน (Representation) และทฤษฎี สตรีนิยม (Feminist Theory) ผูUวิจัยไดUกำหนดขอบเขตการวิจัยเป_นตัวบทไทย 2 ฉบับ ไดUแกFมงกุฎ ดอกสUม (ละครโทรทัศน9 พ.ศ. 2539) มงกุฎดอกสUม (ละครโทรทัศน9 พ.ศ. 2553) และตัวบทจีน 3 ฉบับ ไดUแกF 大红灯笼高高挂 Raise the Red Lantern (ละครโทรทัศน9จีน พ.ศ. 2535) 大红灯笼高高挂 Raise the Red Lantern (ละครโทรทัศน9จีน พ.ศ. 2557) 大红灯笼高高挂 Raise the Red Lantern (ภาพยนตร9 พ.ศ. 2534) ผลการวิจัยมีดังน้ี 1. ภาพแทนผูUหญิงในเรื่องมงกุฎดอกสUม และ Raise the Red Lantern จากการศึกษาภาพแทนผูUหญิงในตัวบทไทย เรื่องมงกุฎดอกสUม ผูUวิจัยไดUพบวFา ภาพแทน ผูUหญิงมี 5 ลักษณะ ดังตFอไปนี้ 1) ภาพแทนผูUหญิงในฐานะของการเป_นเพศหญิง ตUอง ตอบสนองความ ตUองการทางเพศของผูUชาย 2) ภาพแทนผูUหญิงในฐานะการเป_นภรรยา ภรรยาตUองเชื่อฟ®งคำสั่งของสามี 3) ภาพแทนผูUหญิงในฐานะแมF มีหนUาที่สั่งสอนลูกเป_นลูกที่ดีกับครอบครัวศักดินา 4) ภาพแทนผูUหญิงใน ฐานะการเป_นลูกสาว ตUองปฏิบัติตามกฎของครอบครัวศักดินา 5) ภาพแทนผูUหญิงในฐานะ ผูUมีสถานะ ยากจน ไมFมีสิทธิและเสรีภาพ เชื่อฟ®งผูUปกครอง จากการศึกษาภาพแทนผูUหญิงในตัวบทจีน เรื่อง Raise the Red Lantern 3 ตัวบท ผูUวิจัยพบวFา ภาพแทนผูUหญิงมี 6 ลักษณะ ดังตFอไปนี้ 1) ภาพแทนผูUหญิงใน ฐานะของการเป_นเพศหญิง ผUูหญิงตUองตอบสนองความตUองการทางเพศของผูUชาย 2) ภาพแทนผูUหญิงใน ฐานะการเป_นภรรยา ภรรยาตUองเชื่อฟ®งคำสั่งของสามี 3) ภาพแทนผูUหญิงในฐานะแมF แมFมีหนUาที่สั่งสอน ลูกเป_นลูกที่ดีกับครอบครัวศักดินา 4) ภาพแทนผูUหญิงในฐานะการเป_นลูกสาว ลูกสาวตUองปฏิบัติตามกฎ ของครอบครัวศักดินา 5) ภาพแทนผูUหญิง ในฐานะผูUมีสถานะยากจน ไมFมีสิทธิและเสรีภาพ เชื่อฟ®ง ผูUปกครอง 6) ภาพแทนผูUหญิงที่กลUาตFอสูUกับระบบศักดินา ปรับตัวใหUเขUากับยุคใหมF 2. การเปรียบเทียบ ภาพแทนผูUหญิงในตัวบทไทยและตัวบทจีน เรื่องมงกุฎดอกสUม และ Raise the Red Lantern ผูUวิจัยไดU แบFงประเด็นเป_น 2 ขUอ คือ 2.1 ความเหมือนของภาพแทนผูUหญิงในตัวบทไทยและตัวบทจีน เรื่องมงกุฎ ดอกสUม และ Raise the Red Lantern ผูUวิจัยไดUสรุปความเหมือนของภาพแทนผูUหญิงมี 5 ลักษณะ ไดUแกF 1) ผูUหญิงเป_นวัตถุทางเพศของผูUชาย ตUองตอบสนองความตUองการทางเพศของผูUชาย 2) ผูUหญิงเป_น

234 234 ⬗ บทคดั ย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย แมFที่ตUองการดูแลสั่งสอนลูก 3) ผูUหญิงเป_นภรรยาตUองเชื่อฟ®งและดูแลสามี 4) ผูUหญิงเป_นลูกสาวที่ตUองเชื่อ ฟ®งพFอแมF 5) ผูUหญิงเป_นผูUรับใชUที่มีฐานะต่ำ และไมFมีเสรีภาพ 2.2 ความแตกตFางของภาพแทนผูUหญิง ใน ตัวบทไทยและตัวบทจีนเรื่องมงกุฎดอกสUม และ Raise the Red Lantern ผูUวิจัยไดUสรุปความแตกตFาง ของภาพแทนผูUหญิง คือ 1) ตัวบทไทยผูUหญิงตกอยูFภายใตUการควบคุมของสามี ในตัวบทจีนผูUหญิง สามารถตอบโตUระบบศักดินา 2) ตัวบทไทยผูUหญิงมี อิสรภาพมากกวFาตัวบทจีน เนื่องจากบริบททาง สังคม สถานภาพหญงิ และประวตั ศิ าสตร9ตFางกันของประเทศจนี และประเทศไทย จากการศึกษา ผูUวิจัยไดUพบป®จจัยที่ทำใหUภาพแทนผูUหญิงแตกตFางกันในตัวบทไทยและตัวบทจีน เรอื่ งมงกฎุ ดอกสมU และ Raise the Red Lantern มี 2 ป®จจยั คือ 1) บรบิ ททางสงั คมและประวัตศิ าสตร9 แตกตFางกนั 2) สถานภาพของผUูหญิงในสังคมแตกตาF งกัน

235 บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 235 Zhang Yun. 2020. The Representation of Women in Mongkut Dok Som and Raise the Red Lantern. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Marasri Sorthip ABSTRACT The thesis titled the Representation of Women in Mongkut Dok Som and Raise the Red Lantern, had objectives to 1) study the Representation of Women in Mongkut Dok Som and Raise the Red Lantern, 2) conduct comparative study of the Representation of Women in Mongkut Dok Som and Raise the Red Lantern, by using qualitative method. The Concept of Representation and Femist Theory were used as the framework for the analysis. The analysis was conducted on the scope of Thai characters from two screen version; Mongkut Dok Dom [Thai television drama B.E. 2539 (1996)], and Mongkut Dok Som [Thai television drama B.E. 2553 (2010)], and Chinese characters from three screen version; 大红灯笼高高挂 or Raise the Red Lantern [Chinese television drama B.E. 2553 (1992)], 大红灯笼高高挂 or Raise the Red Lantern [Chinese television drama B.E. 2557 (1992)], and 大红灯笼高高挂 or Raise the Red Lantern [Movie B.E. 2534 (1991)]. The study results were as follows. 1. From the investigation on Representation of Women of Thai characters in Mongkut Dok Som, there were six women representations found, including 1) representation as a woman who had to satisfy a man’s sexual desire, 2) representation as a wife who had to obey her husband, 3) representation as a mother who was responsible for teaching children to treat feudal family well, 4) representation as a daughter who had to follow the rules of the feudal family, 5) representation as a maid who was poor and had no rights and freedom, and had to obey the guardian, and 6) representation as a poor woman who had to marry avaricious rich man that loved comfort life. While the representation of woman of three Chinese characters in Raise the Red Lantern, six women representations were found, including 1) representation as a woman who had to satisfy male’s sexual desire, 2) representation as a wife who had to obey her

236 236 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย husband, 3) representation as a mother who was responsible for teaching children to treat feudal family well, 4) representation as a daughter who had to follow the rules of feudal family, 5) representation as the poor who had no rights and freedom, and had to obey their guardian, and 6) women representation who had courage to oppose to feudalism and adapt to modern. 2. In comparison of Representation of Women in Thai and Chinese characters from Mongkut Dok Som and Red Lantern, it could be divided into two main points, which were similarities and differences. 2.1 There were five similarities in Representation of Women of Thai and Chinese characters, including 1) woman was a sexual object of man, and had to satisfy man’s sexual desire, 2) woman was a mother who desired to teach her children, 3) woman was a wife who had to obey and take care of her husband, 4) woman was a daughter who had to obey her parents, and 5) woman was a mind who had lower social status and no freedom. 2.2 The differences in female representation between the Thai and Chinese characters were 1) in Thai characters, women were under control of husbands, while in the Chinese characters, women were able to oppose feudalism, and 2) Thai women characters had more freedom than Chinese women characters due to social context, female status, and differences in Chinese and Thai history. From the study, there were two factors that differentiated women representation between Thai characters and Chinese characters in mongkut Dok Som and Raise the Red Lanter, which were 1) the differences in social context and history, and 2) the difference in women status.

237 บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 237 วรัญญา ประพันธ9. 2563. การแสดงความหมายของการใชbถbอยคำเขียนคำฟ≥องและคำใหbการในคดี ทางการแพทย:. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ทปี่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อศิ เรศ ดลเพญ็ บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9นี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9การแสดงความหมายของการใชUถUอยคำเขียนคำฟ≥อง ของโจทก9และคำใหUการของจำเลยในคดีทางการแพทย9ตามแนวทางทฤษฎีการประเมินคFา (Appraisal Theory) ขUอมูลที่ใชUในการวิจัยครั้งนี้ ผูUวิจัยเก็บรวบรวมขUอมูลจากหนังสือคดีทางการแพทย9 (ขวัญชัย โชติพันธ9ุ, 2558) ที่ไดUรวบรวมตัวอยFางคดีที่ศาลปกครองมีคำวินิจฉัยเสร็จสิ้น ซึ่งผูUวิจัยเลือกศึกษาเฉพาะ คำฟ≥องของโจทก9และคำใหUการของจำเลยในคดีเดียวกันเฉพาะคดีผูUบริโภคเทFานั้น ซึ่งลUวนเป_นคดีที่มีการ ฟ≥องรUองจริงทั้งสิ้น ผูUเขียนหนังสือเรื่องนี้ไดUใชUชื่อสมมติแทนชื่อจริงของบุคคลตFาง ๆ ที่เกี่ยวขUองใน แตFละคดี เพื่อไมFใหUกระทบตFอชื่อเสียงของผูUใด ผูUวิจัยเก็บรวบรวมขUอมูลจากคำฟ≥อง 5 คดี รวมจำนวน 20 หนUา และคำใหUการ 5 คดี รวมจำนวน 22 หนUา รวมขอU มลู ท้ังคำฟ≥องและคำใหUการทงั้ ส้ิน 42 หนาU ผลการศึกษาพบวFา การแสดงความหมายของการใชUถUอยคำเขียนคำฟ≥องของโจทก9และคำใหUการ ของจำเลยในคดีทางการแพทย9 มีการแสดงความหมายหลัก 3 ประเด็น ไดUแกF การแสดงความหมายของ ทัศนคติ การแสดงความหมายของการบอกระดับ และการแสดงความหมายของการผูกมัด การศึกษา ครั้งนี้พบวFา 1) การแสดงความหมายของทัศนคติ โจทก9และจำเลยจะใชUถUอยคำแสดงทัศนคติทั้งทางบวก และทางลบในการเขียนคำฟ≥องและคำใหUการในคดีทางการแพทย9 2) การแสดงความหมายของการบอก ระดับ มี 2 สFวนประกอบ คือ สFวนที่ชFวยปรับระดับของความหมายในบริบทของการเขียนคำฟ≥องของ โจทก9และคำใหUการของจำเลยใหUเพิ่มขึ้น และสFวนที่ชFวยปรับระดับของความหมายใหUลดลง 3) การแสดง ความหมายของการผูกมัด มีการใชUถUอยคำแสดงการอUางอิงถึงแหลFงที่มาขUอมูลที่แสดงความหมายของ การจำกัดความและการขยายความ นอกจากนี้ ผลการศึกษายังพบวFา โจทก9และจำเลยมีการใชUถUอยคำแสดงความหมายของทัศนคติ ในดUานผลกระทบมากท่สี ดุ ซ่ึงจะครอบคลมุ ท้งั ทศั นคตเิ รอ่ื งความทกุ ข9/ความสุข ความไมFปลอดภัย/ความ ปลอดภัย และความไมFพอใจ/ความพอใจ อีกทั้งพบวFา มีถUอยคำที่แสดงทัศนคติดUานลบมากกวFาถUอยคำที่ แสดงทัศนคติดUานบวก

238 238 ⬗ บทคดั ยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Waranya Prapan. 2020. Meaning Expression of Writing Plaint and Plea on Medical Cases. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Itsarate Dolphen ABSTRACT This study aimed to analyze the meaning expression of plaintiffs’ plaint writings and defendants’ pleas on medical cases according to the Appraisal Theory. The data used in this research were collected from a medical case book (Kwanchai Chotiphan, 2015), a compilation of sample cases which the administrative court has completed the ruling. The researcher chose to study only the plaintiffs’ plaint writings and the defendants’ pleas in the same cases, all of which are solely consumer cases really administered in the court. Fictional names instead of real names were used for the people involved in each case in order to avoid possible consequences for their reputation. The researcher has collected plaints from five cases with the total of 20 pages and five pleas with the total of 22 pages; the entire data was thus comprised of 42 pages. The results of the study show that the meaning expression of the plaintiffs’ plaint writings and the defendants’ pleas on medical cases can be divided into three main meanings, including the meaning of attitudes, the meaning of levels, and the meaning of engagement. It is found that 1) for the meaning of attitudes, the plaintiffs and the defendants use both positive and negative attitudes in writing plaints and pleas on medical cases, 2) regarding the meaning of levels, there are two components including parts that help to increase the level of meaning in the context of the plaintiffs’ plaint writings and the defendants’ pleas and parts that help to reduce the level of the meaning, and 3) concerning the meaning of engagement, there are word uses in referring to the sources of information which indicate the meanings of word contraction and word expansion. In addition, the study found that the plaintiffs and the defendants use the words to describe the meaning of attitudes in the impact aspect the most, covering attitudes about suffering/happiness, insecurity/safety, and dissatisfaction/satisfaction. Moreover, it was found that there are more words which show negative attitudes than words showing positive attitudes.

239 บทคัดยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 239 เบญจสิริ จันทะวงษ9. 2563. การเปรียบเทียบคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษาอังกฤษใน ภาษาไทยตามวัจนลีลา. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.อศิ เรศ ดลเพญ็ บทคัดย7อ วิทยานิพนธ9เรื่องการเปรียบเทียบคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤตและภาษาอังกฤษในภาษาไทย ตามวัจนลีลา มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9หนUาที่ทางไวยากรณ9ของคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษาอังกฤษในภาษาไทยตามวัจนลีลาแตFละแบบและเปรียบเทียบคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษาอังกฤษในภาษาไทยตามวัจนลีลาแตFละแบบ โดยรวบรวมขUอมูลจากวัจนลีลาภาษาตายตัว (Frozen Style) วัจนลีลาภาษาที่เป_นทางการ (Formal Style) วัจนลีลาหารือ (Consultative Style) วัจนลลี าภาษาทเี่ ป_นกนั เอง (Casual Style) ในชวF ง พ.ศ. 2557 - 2561 ผลการวิจัยพบวFา หนUาที่หนUาที่ของคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤตสัมพันธ9กับวัจนลีลาแตFละแบบ ในขณะที่คำยืมภาษาอังกฤษผกผันกับวัจนลีลาแตFละแบบ ทั้งนี้ คำยืมทั้งสองมีผลตFอเลือกใชUคำศัพท9ของ แตFละวัจนลลี า หนUาที่ทางไวยากรณ9ของคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤตโดดเดFนในวัจนลีลาภาษาตายตัว (Frozen Style) ในขณะที่หนUาที่ทางไวยากรณ9ของคำยืมภาษาอังกฤษโดดเดFนในวัจนลีลาภาษาที่เป_นกันเอง (Casual Style) และวัจนลีลาภาษาแบบสนิทสนม (Intimate Style) ขึ้นอยูFกับความเหมาะสมในระดับ ภาษาทีแ่ ตกตาF งกัน

240 240 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Benchasiri Chantavong. 2021. A Comparison of Pali-Sanskrit and English Loanwords in Thai toward Speech Styles. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Itsarate Dolphen ABSTRACT A comparison of Pali-Sanskrit and English Loanwords in Thai toward Speech Styles is purposed to analyze parts of speech of Pali-Sanskrit and English loanwords in Thai toward various speech styles and to compare Pali-Sanskrit and English loanwords in Thai toward different speech styles. This study is based on Frozen Style, Formal Style, Consultative Style and Casual Styles during 2014 to 2018. The study showcased that the parts of speech of Pali-Sanskrit loacwords related to each of the styles while English loanwords veered around each of the styles. The parts of speech of Pali-Sanskrit loanwords outstand in Frozen Style while English ones outstand in Casual Style and Intimate Style depending on the appropriateness of different levels of politeness.

241 บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 241 ณัฐพล ชารรี กั ษ.9 2563. การเลือกใชbภาษาของนกั เรยี นกลุม7 ชาตพิ ันธ:ุผูไb ทในโรงเรียนธาตุพนม อำเภอ ธาตุพนม จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ9ปริญญาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ่ปี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.วิรัช วงศ9ภนิ ันทว9 ัฒนา บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9นี้มีวัตถุประสงค9เพื่อ 1) ศึกษาภาวะหลายภาษา และความสัมพันธ9ระหวFางตัวแปร ทางสังคมกับภาวะหลายภาษา และ 2) ศึกษาการเลือกใชUภาษากับผูUรFวมสนทนาตามแวดวงการใชUภาษา และความสัมพันธ9ระหวFางตัวแปรทางสังคมกับการเลือกใชUภาษากับผูUรFวมสนทนาตามแวดวงการใชUภาษา ของนักเรียนกลุFมชาติพันธุ9ผูUไทในโรงเรียนธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เป_นการวิจัย เชิงปริมาณ โดยมีเครื่องมือการวิจัยเป_นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะหลายภาษาและการเลือกใชUภาษา จำนวน 1 ชุด กลุFมตัวอยFางที่ใชUในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนกลุFมชาติพันธุ9ผูUไทที่กำลังศึกษาในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปéที่ 1 ถึง 6 จำนวน 161 คน ไดUมาโดยวิธีสุFมตัวอยFางแบบหลายขั้น วิเคราะห9ขUอมูลโดยใชU ความถี่ รUอยละ และไคสแควร9 ผลการศึกษาพบวFา 1) นักเรียนกลุFมชาติพันธุ9ผูUไทมีภาวะหลายภาษา เพราะมีความสามารถในการฟ®งและการพูด ภาษาไดUมากถึง 3 ภาษา ไดUแกF ภาษาผูUไท ภาษาลาวอีสาน และภาษาไทย และระดับการศึกษาไมFมี ความสัมพันธ9ตFอความสามารถในการพูดและการฟ®ง ขณะที่กลุFมชาติพันธุ9ของบิดามารดาก็ไมFมี ความสัมพันธ9ตFอความสามารถในการฟ®งเชFนกัน แตFมีความสัมพันธ9ตFอความสามารถในการพูดของ นักเรียนกลFมุ ชาตพิ นั ธ9ผุ ไUู ท 2) นักเรียนกลุFมชาติพันธุ9ผูUไทสFวนใหญFจะเลือกใชUภาษาตามกลุFมชาติพันธุ9ของผูUรFวมสนทนา ท้ัง แวดวงการใชUภาษาในชุมชนและนอกชุมชน และมีแนวโนUมที่จะเลือกใชUภาษาไทยมากขึ้นในแวดวงการใชU ภาษานอกชุมชน และทั้งกลุFมชาติพันธุ9ของบิดามารดาและระดับการศึกษาเป_นตัวแปรทางสังคมที่มี ความสัมพันธ9ตFอการเลือกใชUภาษาของนักเรียนกลุFมชาติพันธุ9ผูUไท ทั้งนี้อาจขึ้นอยูFกับป®จจัยอื่นรFวมดUวย ไดแU กF ผUรู Fวมสนทนา กลุFมชาติพนั ธุ9ของผูรU Fวมสนทนา และสถานท่ีในการสนทนา

242 242 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Natthaphon Chareerak. 2020. Language Choice of Phuthai’s Student in Thatphanom School, That Phanom District, Nakhon Phanom Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Wirat Wongpinunwatana ABSTRACT This thesis paper aims to 1) study multilingualism and the relation between social variables and multilingualism and 2) study the language choice with participants in domain of language use and the relation between social variables and language choice of Phuthai’s student in Thatphanom School, That Phanom district, Nakhon Phanom Province. This thesis is a quantitative research. The research instrument was a questionnaire about Multilingualism and Language Choice. The samples are 161 Phuthai’s student in Thatphanom school from the multistage random sampling. The data were analyzed by using frequency, percentage and chi-square statistic. Results of studying were as follow: 1) Phuthai’s student are multilingual, there can speak and understand 3 languages. Consist of language: Phu thai, Lao Isan and Thai. And education level has no relation with speaking and listening abilities. While ethnic’s parents has no relation with listening ability but ethnic’s parents relate to speaking ability. 2) Most phuthai’s student choose to use the language according to the ethnic groups of the participants, both domain of language use in and outside the community. And tend to choose more Thai in the domain of language use outside of the community. Both ethnic’s parents and educational levels are social variables that are related to language choice of Phuthai’s students. This may also depend on other factors, including: participants, ethnic group of the participants and place.

243 บทคัดยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 243 ดวงฤทัย ประดับศรี. 2563. การแปรเสียงวรรณยุกต:ภาษาไทยถิ่นอีสานจังหวัดหนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแกนF . อาจารย:ทป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.ศภุ กิต บัวขาว บทคัดยอ7 วิทยานิพนธ9เรื่องนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาระบบวรรณยุกต9ในภาษาไทยถิ่นอีสานจังหวัด หนองบัวลำภู และเพื่อศึกษาการแปรของระบบวรรณยุกต9และสัทลักษณะของวรรณยุกต9ภาษาไทย ถิ่นอีสานจังหวัดหนองบัวลำภูทั้ง 6 อำเภอ ไดUแกF อำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง อำเภอ นากลาง อำเภอนาวงั อำเภอสุวรรณคูหา และอำเภอโนนสัง ผวUู ิจัยเก็บขUอมูลภาคสนามโดยการสมั ภาษณ9 ผูUบอกภาษาทั้ง 6 อำเภอ จำนวน 59 ตำบล โดยเก็บขUอมูลตำบลละ 1 คน รวมทั้งหมด 59 คน และนำ ขUอมูลมาวเิ คราะหด9 Uวยวธิ ีทางกลสัทศาสตรโ9 ดยใชU โปรแกรม PRAAT Version 6.0.39 ผลการศึกษาพบวFา ภาษาไทยถิ่นอีสานจังหวัดหนองบัวลำภูของแตFละกลุFมพื้นที่มีความแตกตFาง และมีความหลากหลายของระบบวรรณยุกต9 ระบบวรรณยุกต9มีเสียงวรรณยุกต9จำนวน 5 หนFวยเสียง และจำนวน 6 หนFวยเสียง การแยกเสียงรวมเสียงในคอลัมน9 A มี 4 รูปแบบ คือ 1) A1-23-4 2) A123-4 3) A1-234 และ 4) A12-34 ผลการศึกษาแสดงใหUเห็นวFา รูปแบบที่ 1 A1-23-4 เป_นรูปแบบหลักของ ภาษาไทยถิ่นอีสานจังหวัดหนองบัวลำภู โดยพบมากที่สุดจำนวน 46 ตำบล รองลงมาคือรูปแบบที่ 2 A123-4 มีจำนวน 8 ตำบล ซึ่งสFวนใหญFเป_นตำบลที่กระจายอยูFตามเขตพื้นที่ที่ติดกับจังหวัดขอนแกFน จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดเลย รูปแบบที่ 3 A1-234 พบเพียง 4 ตำบลเทFานั้น ซึ่งเป_นอำเภอที่เชื่อม ติดกับจังหวัดอุดรธานีและจังหวัดเลย สFวนรูปแบบที่ 4 A12-34 ปรากฏเพียง 1 ตำบล คือ ตำบลสุวรรณ คหู า อำเภอสุวรรณคูหา

244 244 ⬗ บทคัดย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Duangruethai Pradabsri. 2020. Tonal variation of Thai dialect of Nong Bua Lam Phu Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Supakit Buakaw Abstract This thesis aims to study tonal system in Northeastern Thai dialect in Nong bua lam phu Province and to examine variation in tonal and phonetic system of tones in Northeastern Thai in Nong bua lam phu Province including 6 Districts: Mueang Nong bua lam phu District, Si Boonrueang District, Naklang District, Nawang District, Suwan Khuha District, and Nonsang District. The researcher collected field data by interviewing informants from 6 Districts and 59 Sub-districts. Data was collected from an informant in each sub-district, totaling 59 persons. The obtained data were analyzed with acoustic phonetic method with PRAAT Version 6.0.39 Program. The findings revealed that Northeastern Thai Dialect in Nong bua lam phu Province in each area was different and various in aspect of tonal system. Its tonal system consisted of 5 tones and 6 tones with separation and combination in column A for 4 patterns including 1) A1-23-4, 2) A123-4, 3) A1-234 and 4) A12-34. The result indicated that the pattern 1: A1-23-4 was the pattern of Northeastern Thai dialect in Nong bua lam phu Province, which was most common in 46 Sub-districts, followed by pattern 2: A123-4, found in 8 sub-districts, that most of which are located in areas adjoining to Khon Kaen Province, Udonthani Province and Loei Province, pattern 3: A1-234, in 4 sub-districts, dispersing in areas adjoining to Udonthani Province and Loei Province, and pattern 4: A12-34, detected in only a sub-district, which is Suwan Khuha Sub-district, Suwan Khuha District.

245 บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 245 พรUอมสิริ นามมุงคุณ. 2563. การแปรของวรรณยุกต:ภาษาไทยถิ่นอีสาน อำเภอภูเวียง จังหวัด ขอนแก7น. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ:: ผศ.ดร.ศุภกิต บัวขาว บทคัดย7อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9ระบบวรรณยุกต9และการแปรของวรรณยุกต9ภาษาไทยถ่ิน อีสาน อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกFน เก็บขUอมูลโดยการสัมภาษณ9ผูUบอกภาษาจำนวน 22 คน ในพื้นท่ี 11 ตำบล ของอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกFน จากผูUบอกภาษาชFวงอายุ 15 - 20 ปé และชFวงอายุ 55 - 60 ปé โดยใชUรายการคำทดสอบเสียงวรรณยุกต9ของเก็ดนีย9 และวิเคราะห9ขUอมูลดUวยกลวิธีทางกลสัทศาสตร9โดย ใชUโปรแกรม PRAAT เวอร9ชั่น 6.0.33 ผลการศึกษาพบวFาภาษาไทยถิ่นอีสาน อำเภอภูเวียง จังหวัด ขอนแกFน สามารถจัดแบFงกลุFมตามจำนวนหนFวยเสียงวรรณยุกต9ไดUเป_น 2 กลุFม คือ กลุFมที่ 1 วรรณยุกต9 จำนวน 5 หนFวยเสียง พบในพื้นที่ 6 ตำบล ไดUแกF ต.หวUาทอง ต.นาชุมแสง ต.บUานเรือ ต.สงเปÃอย ต.หนองกุงธนสาร และ ต.ดินดำ ในกลุFมที่ 1 เมื่อพิจารณาโดยใชUเกณฑ9การแยกเสียงรวมเสียงของ วรรณยุกต9พยางค9เป_นชFอง A สามารถแบFงออกไดUเป_น 2 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบ A123-4 และ 2) รูปแบบ A1-234 กลมุF ท่ี 2 วรรณยกุ ต9จำนวน 6 หนวF ยเสยี ง พบในพ้นื ที่ 6 ตำบล ไดUแกF ต.กดุ ขอนแกนF ต.ทุFงชมพู ต.ภูเวียง ต.นาหวUา ต.หนองกุงเซิน และ ต.ดินดำ ในกลุFมที่ 2 พบรูปแบบวรรณยุกต9โดยใชU เกณฑ9การพิจารณาการแยกเสียงรวมเสียงวรรณยุกต9พยางค9เป_นชFอง A รูปแบบเดียว คือ A1-23-4 นอกจากระบบวรรณยุกต9มีการแปรที่แตกตFางกันตามพื้นที่แลUว ผลการศึกษายังแสดงใหUเห็นวFามีการแปร ตามชวF งอายุดUวย กลFาวคือ ในพนื้ ท่ี ต. ดนิ ดำ พบระบบวรรณยุกต9รปู แบบ A123-4 เฉพาะในผUบู อกภาษา อายุ 15 - 20 ปé และพบระบบวรรณยุกต9รปู แบบ A1-23-4 เฉพาะในผูUบอกภาษาอายุ 55 - 60 ปé

246 246 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Phromsiri Nammungkhun. 2020. Tonal Variation in Northeast Thai Dialect of Phu Wiang, Khon Kaen Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT The purpose of this research is to analyze the tonal system and tonal variation in northeast Thai dialect of Phu Wiang, Khon Kaen province. The study is conducted by interview on 22 informants between 15 - 20 years old and 55-60 years old in 11 sub-districts of Phu Wiang district, Khon Kaen province. and Gedney's wordlist was used as the tool. The data was analyzed in the form of acoustic phonetic strategies by using PRAAT program, version 6.0.33. The study reveals that northeast Thai dialect in Phu Wiang district, Khon Kaen province are categorized into two groups according to the number of tones. The first group, the dialects with five tones, is found in six sub-districts: Wa Thong, Na Chum Saeng, Baan Ruea, Song Pueai, Nong Kung Thanasan, and Din Dam. Using the method of mergers and splits for column A, there are two types of dialects in this group: A123-4 and A1-234. The second group, the dialects with six tones, is found in six sub-districts: Kut Khon Kaen, Thung Chom Phoo, Phu Wiang, Na Wa, Nong Kung Soen, and Din Dam. According to the method of mergers and splits for column A, the only type of tones in this group of dialects is A1-23-4. Apart from differences in the tonal variation by each area, the study also reveals that there also exist differences by age intervals. In other words, in Din Dam, the type of tones found in informant between 15 - 20 years old is A123-4, while in those between 55-60 years old, the A1-23-4 type is found instead.

247 บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 247 ทิฆัมพร ทองแถม ณ อยุธยา. 2563. เควียร:ในนิทานสุนทรภู7. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารย:ทปี่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: รศ.ดร.อรทัย เพียยุระ บทคัดยอ7 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาเพศวิถีของตัวละครเควียร9ในนิทานของสุนทรภูF และเพ่ือ วิเคราะห9ป®จจัยที่สFงผลตFอเพศวิถีของตัวละครเควียร9ในนิทานของสุนทรภูF โดยผูUวิจัยศึกษาจากกลอน นิทานของสุนทรภูF 4 เรื่อง ไดUแกF โคบุตร ลักษณวงศ9 สิงหไกรภพ และพระอภัยมณี ซึ่งใชUกรอบแนวคิด เพศวิถีในการวิเคราะห9 ผลการศึกษาพบวFา เพศวิถีที่ปรากฏในนิทานของสุนทรภูFนั้นมี 2 รูปแบบ คือ เพศวิถีแบบรักรFวมเพศ ประกอบดUวย หญิงรักหญิงและชายรักชาย และเพศวิถีแบบรักตFางเพศซึ่งพบ 2 รูปแบบ คือ เพศวิถีแบบปกติ และเพศวิถีแบบอปกติ ขUอคUนพบดUานป®จจัยที่สFงผลตFอเพศวิถีของ ตัวละครเควียร9ในนิทานของสุนทรภูF พบวFาป®จจัยที่สFงผลตFอเพศวิถีทั้งแบบรักรFวมเพศและรักตFางเพศนั้นมี 2 ป®จจัยดUวยกัน คือ ป®จจัยทางกายภาพ ไดUแกF สังคมและสภาพแวดลUอม ป®จจัยทางชีวภาพ ไดUแกF รูปลักษณ9 และความตUองการตามธรรมชาติของตัวละคร จากขUอคUนพบดังกลFาวทำใหUทราบวFาเพศวิถี แบบเควียร9แทรกแฝงอยูFในวรรณกรรมนิทานตั้งแตFในสมัยรัตนโกสินทร9ตอนตUน อันทำใหUเห็นวFาเพศวิถี แบบเควียร9นัน้ มมี าในสงั คมไทยทกุ ยคุ ทุกสมัย

248 248 ⬗ บทคัดยอ่ : หนง่ึ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Tikhamporn Thongtham Na Ayutthaya. 2020. Queer in Sunthornphu’s Tales. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Assoc. Prof. Dr. Orathai Piayura Abstract The objectives of this research are to explore the sexualities of queer characters in Sunthorn Phu’s literary tales and to analyze factors that affect the sexual orientation of queer characters in Sunthorn Phu’ s literary tales. The researcher studied 4 literary tales written by Sunthorn Phu; Kobut, Lucksanawong, Singha Kraiphob and Phra Abhai Mani. Research result found that sexual orientations in the literatures have two types, namely homosexual such as lesbianism in Phra Abhai Mani, Lucksanawong, and Singha Kraiphob, also gay in Kobut. The nature of sexual orientations are the naturally external identity of Thipkasorn and Suwarn Ampha in Laksanawong and the naturally internal identity in Phra Abhai Mani. Besides, the research found the factors affect queer characters have two factors such as society and the environment. Biological factors such as appearance and natural need of the characters. The discovered factors led to know that the sexual orientations of queer were in the early Rattanakosin era literatures: therefore, it indicated that queer has been in every age of Thai society.

249 บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 249 ไพลิน ทองสอดแสง. 2563. วัจนลีลาของ ธนาธร จึงรุ7งเรืองกิจ ในการหาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภา ผูbแทนราษฎร พ.ศ. 2562. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ปี่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: รศ.ดร.รัตนา จันทร9เทาว9 บทคัดยอ7 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9วัจนลีลาการหาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผูUแทนราษฎร ของ ธนาธร จึงรุFงเรืองกิจ ในดUานภาษาและการนำเสนอเนื้อหา โดยเก็บขUอมูลจากแฟนเพจเฟซบุπกของ ธนาธร จึงรุFงเรืองกิจ ที่เผยแพรFตั้งแตFวันที่ 23 มกราคม ถึง 23 มีนาคม 2562 จำนวน 120 โพสต9 โดยใชU แนวคดิ วัจนลลี าศาสตร9 (Stylistics) ของ Wales (1989) ผลการศึกษาพบวัจนลีลาที่มีลักษณะเดFนในดUาน การใชUคำ การใชUประโยค และการนำเสนอ เนื้อหา 1) การใชUคำ พบวFาเขาจะใชUสรรพนามคำวFา เรา พวกเรา ชาวอนาคตใหมFและพรรคอนาคตใหมF ตลอดเนื้อหา นอกจากนี้ยังใชUวิธีการซ้ำคำ และซ้ำความเพื่อการเนUนย้ำอยFางตFอเนื่อง 2) การใชUประโยค มุFงเนUนเพื่อแจUงใหUทราบ ถามใหUตอบ และบอกใหUทำ ประโยคมีขนาดสั้น การใชUประโยคที่มีเน้ือความ ขัดแยUง รวมถึงการใชUประโยคซ้ำความและประโยคใหUเลือก 3) สFวนการนำเสนอเนื้อหา เนื้อหาสFวนมาก เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ9พรรค การแสดงความคิดเห็นดUานการเมือง สังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี การศึกษาและวัฒนธรรมตามลำดับ ผลการศึกษานี้ แสดงใหUเห็นวัจนลีลาภาษาการเมืองของธนาธร จึงรุFงเรืองกิจ ที่มีลักษณะเฉพาะบุคคล ดังนั้น ในการศึกษาครั้งตFอไปควรมีการวิเคราะห9ภาษาของ นักการเมืองที่เปน_ คนรุนF ใหมคF นอืน่ ๆ ตFอไป

250 250 ⬗ บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย Phailin Thongsodsang. 2020. The style of Thanathorn Juangroongruangkit of Election Campaign in Thai Election 2019. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Assoc. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aims to analyze the verbal style in Thai election campaign to be a member of the House of Representative of Thanathorn Juangrungruangkit in terms of language and content presentation that has been propagated from 120 posts on his Facebook Fanpage given definition by using the stylistic following the linguistics framework of Wales (1989) since the 23th of January – the 23th of March in 2019. The results of this study provided dominant verbal style, words choice and content presentation. 1) In term of words choice, it was found that the words “we, Anakot Mai (New Future) and New Future party members” were mostly used. Moreover, it comprised word repetition to emphasize continuously. 2) Sentence usage focused on declaration, asking for answers, and imperative sentences in short form, contradictory content including repetitive sentences and alternative sentences. 3) Content presentation which was mostly about public relations of the party, expressing opinion about politics, society, economy, technology, education and culture respectively. The results revealed his verbal style in politics that was individually unique. Thus, another new generation of politician’s verbal language analysis should be added in the next case of study.

251 บทคดั ย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 251 พรสุดา ประมายะยัง. 2563. ทัศนคติต7อภาษาและการธำรงภาษาส7วยของชาวส7วยอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย:. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนF . อาจารยท: ่ปี รึกษาวทิ ยานพิ นธ:: รศ.ดร.รัตนา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ย7อ ชาวสFวยเป_นกลุFมชาติพันธุ9กลุFมแรกที่เขUามาตั้งถิ่นฐานอยูFทางตอนเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของดินแดนในกัมพูชาในอดีต มีการอพยพเขUามาประเทศไทยในตอนลFางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ จังหวัดสุรินทร9 จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดบุรีรัมย9 มีการใชUภาษาของกลุFมชาติพันธุ9ของตนเอง ในชีวิตประจำวัน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาทัศนคติตFอภาษาสFวยของชาวสFวย และทัศนคติตFอ การธำรงภาษาสFวย ในอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย9 กลุFมตัวอยFาง คือ ชาวสFวยอายุตั้งแตF 40 ปé ขึ้นไป ใชUภาษาสFวยในชีวิตประจำวัน จำนวน 58 คน แบFงเป_นกลFุมอายุ 40 - 49 ปé กลุFมอายุ 50 - 59 ปé กลุFมอายุ 60 - 69 ปé และกลุFมอายุ 70 ปé ขึ้นไป งานวิจัยนี้ใชUระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม โดยใชUสถิติใน การวิจัยและวิเคราะห9ขอU มลู เชงิ คุณภาพจากการสัมภาษณแ9 ละอภิปรายผลดวU ยการพรรณนาวเิ คราะห9 ผลการศึกษาพบวFาชาวสFวยมีทัศนคติเชิงบวกตFอภาษาของตนเอง โดยขUอความบอกลักษณะ เชิงบวกมีคFาเฉลี่ยทัศนคติเทFากับ 4.54 และขUอความบอกลักษณะเชิงลบมีคFาเฉลี่ยทัศนคติเทFากับ 2.69 นอกจากนี้ชาวสFวยยังมีทัศนคติตFอการธำรงภาษาสFวยตFอคำถามเชิงบวก โดยมีคFาเฉลี่ยเทFากับ 4.27 และ คำถามเชิงลบมีคFาเฉลี่ยเทFากับ 2.45 ผลการศึกษานี้สะทUอนใหUเห็นความภาคภูมิใจในภาษาของตนเอง และตUองการจะสบื ทอดการใชภU าษาสFวยใหUกบั รนFุ หลัง

252 252 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Pornsuda Pramayayang. 2020. Language Attitude and Language Retention of Suay People in Lamplaimat District Buriram Province. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Assoc. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT The Suay is the first ethnic group to settle in the northern and northeastern regions of Cambodia in the past time who immigrated to Thailand in the lower northeast region such as Surin, Sisaket and Buriram provinces. They use their own language in daily life. The aims of this research are 1. To study the attitude towards the suay language of Suay people. 2. To study the attitude towards language maintenance in Lamplaimat District, Buriram Province. This research is provided important data by 58 numbers of Suay people (aged over 40 years old) Who consider themselves Suay people, use Suay language in daily life and live in Ban Khoksung, BanKhoktangern in Phathirin Subdistrict. They are divided into 4 groups according to their age range (40 - 49 years, 50 - 59 years, 60 - 69 years and over 70 years). This research is a Mixed Method Research based on statistics and get the qualitative data analyzed by having the interview and discussed by the descriptive analysis. The results of the study revealed that the Suay people have positive attitude towards their language. The positive viewpoint has the mean of 4.54 and the negative attitude has the mean of 2.69. In addition, the Suay people have the positive attitude towards Suay language maintenance which has positive average of 4.27 and the negative one is 2.45 indicating that the Suay people have a positive attitude towards language maintenance on their language to their next generation.

253 บทคดั ยอ่ : หนึ่งทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 253 สุภัคธัช สุธนภิญโญ. 2563. ปริจเฉทสุนทรพจน:อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร. วิทยานิพนธ9ปริญญา ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารย:ทปี่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ:: ผศ.ดร.วิรัช วงศภ9 ินนั ทว9 ัฒนา บทคดั ยอ7 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อศึกษาโครงสรUางและกลวิธีทางภาษาที่ใชUเพื่อเฉลิมพระเกียรติใน ปริจเฉทสุนทรพจน9อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติฯ โดยใชUขUอมูลจากบทสุนทรพจน9ที่ไดUรับรางวัลในรอบ ชิงชนะเลิศจากการประกวดสุนทรพจน9อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติ “ถวายงานผFานภาษา”ตามรอย พระยุคลบาท ชFวยชาติไดUอยFางไร จัดโดยสมาคมนิสิตเกFาจุฬาลงกรณ9มหาวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ9 ตั้งแตFครั้งที่ 1 - 18 ระหวFางปé พุทธศักราช 2543 - 2560 ซึ่งเป_นตัวบทในรอบเตรียมตัวมาลFวงหนUา จำนวน 65 ตวั บท และใชแU นวคิดปรจิ เฉทวเิ คราะห9 (discourse analysis) มาเป_นกรอบในการศกึ ษา ผลการศึกษาดUานโครงสรUางปริจเฉทสุนทรพจน9อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติฯ พบวFามีโครงสรUาง 3 รูปแบบ ไดUแกFรูปแบบท่ี 1 ประกอบดUวยโครงสรUาง 4 สFวน คือ คำปฏิสันถาร + เป´ดเรื่อง + เนื้อเรื่อง + ป´ดเรื่อง รูปแบบที่ 2 ประกอบดUวยโครงสรUาง 4 สFวน คือ เป´ดเรื่อง + คำปฏิสันถาร + เนื้อเรื่อง + ป´ดเรื่อง และรูปแบบที่ 3 ประกอบดUวยโครงสรUาง 3 สFวน คือ เป´ดเรื่อง + เนื้อเรื่อง + ป´ดเรื่อง ซึ่งโครงสรUางดังกลFาวจัดเป_นระดับโครงสรUางผิว (surface structure) และโครงสรUางแตFละสFวนจะมี องค9ประกอบยFอย ทั้งนี้โครงสรUางแตFละสFวนมีความสัมพันธ9กันโดยการเชื่อมโยงความดUวยรูปภาษา ที่อาศัยความสัมพันธ9ทางดUานเนื้อหาและความหมาย สFวนผลการศึกษาดUานกลวิธีทางภาษาที่ใชUเพ่ือ เฉลิมพระเกียรติพบวFา ผูUเขUาประกวดเลือกใชUกลวิธีทางภาษาเพื่อเฉลิมพระเกียรติ 6 กลวิธี ไดUแกF 1) การใชUคำศัพท9 2) การเปรียบเทียบ 3) การอUางถึง 4) การใชUคำบอกเวลา 5) การใชUบทประพันธ9 และ 6) การใชUประโยคขนานความ กลวิธีทางภาษาดังกลFาวปรากฏเป_นสFวนใดสFวนหนึ่งในโครงสรUางหรือ องค9ประกอบยFอยซึ่งสามารถปรากฏรFวมกันไดUมากกวFา 1 กลวิธีซึ่งเป_นการผสมผสานระหวFางกลวิธีทาง ศัพท9และกลวิธีทางวาทศิลป± และกลวิธีทางภาษาเหลFานั้นทำหนUาที่เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย9รัชกาลที่ 9 แหFงพระบรมราชจกั รีวงศ9

254 254 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Suphakkhathat Suthanaphinyo. 2020. Discourse of Tertiary Education Speech Contest in Honor of His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Wirat Wongpinunwatana ABSTRACT This research was performed to study structure and language strategies used in honor of His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great. Data used for analysis were from 65 manuscripts awarded in the final round from the 1st to the 18th speech contests in honor of His Majesty on the topic “How can ‘Serving His Majesty’ help the country by following His Majesty's footsteps” organized during 2000 – 2017 by the Chulalongkorn University Alumni Association under the Patronage of His Majesty the King. The manuscripts used for this research were also written by the speakers in advance before delivering the speech. The discourse analysis was used as a framework for data analysis. In terms of structure, the result revealed 3 patterns of it, 1) four-part structure of greeting + introduction + body + conclusion, 2) four-part structure of introduction + greeting + body + conclusion, and 3) three-part structure of introduction + body + conclusion. The structure was considered as surface structure. Each part of the structure had sub-elements and was related to each other with a connection using language forms that relied on a relationship between content and meaning. In terms of language strategies, the result revealed that there were 6 strategies used by the speech contestants: 1) wording, 2) comparison, 3) mentioning, 4) using time markers, 5) using poetry, and 6) using parallel sentences. A part of the structure or the sub-elements could be found more than one strategy. It was a combination between lexical strategy and rhetorical strategy. Those language strategies were used for the purpose of honoring His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great, the ninth monarch of the Chakri Dynasty.

255 บทคดั ย่อ : หน่ึงทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 255 วรพงศ9 คุยบุตร. 2563. กลวิธีทางภาษาในการนำเสนออุดมการณ:ความเปùนอีสานในข7าวออนไลน: เดอะอีสาน เรคคอร:ด. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธ:: ผศ.ดร.ศุภกติ บวั ขาว บทคัดย7อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9อุดมการณ9ความเป_นอีสานและกลวิธีทางภาษา ในการนำเสนออุดมการณ9ความเป_นอีสานในขFาวออนไลน9 เดอะอีสาน เรคคอร9ด ซึ่งรวบรวมขFาวออนไลน9 เดอะอสี าน เรคคอร9ด ต้งั แตF เดอื นมถิ นุ ายน 2561 – พฤษภาคม 2562 มีจำนวนทง้ั หมด 149 ขFาว ผลการศึกษาขFาวออนไลน9 เดอะอีสาน เรคคอร9ด พบอุดมการณ9ความเป_นอีสาน 3 ประเด็น คือ 1) คนอีสานมีบทบาทและรูUเทFาทันการเมือง 2) คนอีสานเป_นฝûายถูกกระทำจากผูUมีอำนาจ 3) คนอีสาน ตระหนักในสิทธิเสรีภาพ โดยอุดมการณ9ความเป_นอีสานทั้ง 3 ประเด็นมีความเชื่อมโยงกัน กลFาวคือ คนอีสานเป_นฝûายถูกกระทำจากผูUมีอำนาจ จึงสFงผลใหUคนอีสานมีบทบาทและรูUเทFาทันการเมือง และ ตระหนักในสิทธิเสรีภาพ กลวิธีทางภาษาที่ใชUนำเสนออุดมการณ9ความเป_นอีสาน ทั้งหมด 9 กลวิธี ไดUแกF การใชUชื่อและการเรียกชื่อ (Name and Naming) การใชUคำถามวาทศิลป± (Rhetorical Question) การประชดประชัน (Irony) การใชอU ปุ ลักษณ9 (Metaphor) การใชสU หบท (Intertextuality) การเชอ่ื มโยง ความ (Cohesion) การใชUกริยาแบบกรรมวาจก (Passive Voice) การใชUกริยาแบบกรรตุวาจก (Active Voice) และการปฏิเสธ (Negation) จากผลการศึกษาทำใหUทราบวFาอุดมการณ9ความเป_นอีสานที่ปรากฏ ในการนำเสนอขFาวออนไลน9 ของเดอะอีสาน เรคคอร9ด เป_นอุดมการณ9ทางการเมือง ซึ่งสัมพันธ9กับ เหตุการณ9ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในชFวงเวลาดังกลFาว และเป_นการนำเสนออุดมการณ9ความเป_นอีสาน แบบใหมF คือ คนอีสานมบี ทบาทและรเUู ทาF ทนั การเมอื ง และคนอีสานตระหนักในสทิ ธิเสรภี าพ

256 256 ⬗ บทคัดย่อ : หนงึ่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย Worapong Khuibut. 2020. Linguistic strategies used in the presentation of Isan-ness ideology in online news: The Isaan Record. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Asst. Prof. Dr. Supakit Buakaw ABSTRACT The purpose of this research was to analyze of the ideology of Isan-ness and presentation of language strategy in the Isaan record online news that collected from June 2018 – May 2019 in the total of 149 news. The result found that the Isaan record have the ideology of Isan-ness 3 matter including 1) northeastern people have a role and knowledge of politics 2) northeastern people are treated by influential person and 3) northeastern people are aware of their liberty and rights. The 3 matters are related that the northeastern people treated by influential person which make northeastern people have a role and knowledge of politics and aware of their liberty and rights. Presentation of language strategy have 9 strategies including Name and Naming, Rhetorical Question, Irony, Metaphor, Intertextuality, Cohesion, Passive Voice, Active Voice, and Negation. From the result found that the northeastern ideology which appear in the Isaan record online news is political ideology that related with political event occurred during that time and is a new presentation of northeastern ideology as the northeastern people have a role and knowledge of politics and aware of their liberty and rights.

257 บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 257 นุชารัตน9 มุงคุณ. 2563. ผูbหญิงกับธรรมชาติในนวนิยายไทยร7วมสมัย: ทฤษฎีสตรีนิยมเชิงนิเวศ วิทยานิพนธ9ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกFน. อาจารยท: ป่ี รึกษาวิทยานพิ นธ:: รศ.ดร.อรทัย เพียยุระ บทคัดยอ7 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9ความสัมพันธ9ระหวFางผูUหญิงกับธรรมชาติ ในนวนิยายไทย รFวมสมัย โดยใชUทฤษฎีสตรีนิยมเชิงนิเวศ และเพื่อศึกษาอิทธิพลของทฤษฎีตFอการนำเสนอภาพผูUหญิง ในนวนิยายไทยรวF มสมัย โดยศึกษาจากวรรณกรรมทแี่ ตงF โดยผูปU ระพนั ธ9หญิงท่มี ีช่อื เสยี ง และไดUรับรางวัล ที่เกี่ยวขUองกับภาษา และวรรณกรรม และเป_นวรรณกรรมที่ไดUรับรางวัลในการประกวด จากหนFวยงานท่ี ไดUรับการยอมรับหรือตีพิมพ9อยูFในชFวงเวลาที่กำหนด คือ ในชFวงเวลาตั้งแตFปé พ.ศ. 2513 ซึ่งเป_นชFวงที่ ทฤษฎีสตรีนิยมเชิงนิเวศไดUกFอตัวขึ้น จนถึงป®จจุบัน ศึกษาชFวง 10 ปé โดยจำแนกไวUเป_น 5 ชFวงเวลา ไดUแกF ชFวงแรก ปé พ.ศ. 2513 - 2523 เรื่อง มฤตยูเขียว ของ จินตวีร9 วิวัธน9 ชFวงที่สอง ปé พ.ศ. 2524 - 2534 เรื่อง ปูนป´ดทอง ของ กฤษณา อโศกสิน ชFวงที่สาม ปé พ.ศ. 2535 - 2545 เรื่อง ผUาทอง ของแกUวเกUา ชFวงที่ส่ี ปé พ.ศ. 2546 - 2556 เรื่อง ความสุขของกะทิ ของ งามพรรณ เวชชาชีวะ และชFวงที่หUา ปé พ.ศ. 2557 ถึงป®จจุบัน เรื่อง ไสUเดือนตาบอดในเขาวงกต ของ วีรพร นิติประภา ผลการศึกษาพบวFา ผูUประพันธ9หญิงทุกคนนำเสนอภาพธรรมชาติในการเชื่อมโยงกับผูUหญิงตามกรอบแนวคิดทฤษฎีสตรีนิยม เชิงนิเวศ 8 ประเด็น คือ 1) การเชื่อมโยงโดยประวัติศาสตร9 2) การเชื่อมโยงโดยมโนทัศน9แบบชายเป_น ใหญF 3) การเชื่อมโยงโดยหลักฐานเชิงประจักษ9 4) การเชื่อมโยงโดยสัญลักษณ9 5) การเชื่อมโยง โดยการเมือง 6) การเชื่อมโยงโดยจริยธรรม 7) การเชื่อมโยงโดยวิทยาศาสตร9 และ 8) การเชื่อมโยงโดย การขUามวัฒนธรรม ซึ่งปรากฏใน 2 ประเด็น ที่ครอบคลุมเกี่ยวกับความสัมพันธ9ระหวFางผูUหญิงในฐานะที่ เป_นป®จเจกชนกับธรรมชาติ และประเด็นเกี่ยวกับเพศวิถี และความสัมพันธ9เชิงอำนาจระหวFางธรรมชาติ ผUหู ญิง ผUชู าย ประเด็นความสัมพันธ9ระหวFางผูUหญิงในฐานะที่เป_นป®จเจกชนกับธรรมชาติในนวนิยายไทยรFวม สมัยพบวFา มีการนำเสนอภาพของธรรมชาติและปฏิสัมพันธ9ระหวFางผูUหญิงกับธรรมชาติ ผFานการ ประกอบสรUางบทบรรยายธรรมชาติ การเชื่อมโยงผูUหญิงกับธรรมชาติโดยใชUสัญญะ และการเชื่อมโยง ผูUหญิงกับภาพแทนของสัตว9 ซึ่งเป_นกลวิธีการประพันธ9ที่เป_นลักษณะเฉพาะของผูUประพันธ9หญิงแตFละคน นอกจากนี้พบวFา มีการนำเสนอความสัมพันธ9ดังกลFาว ผFานตัวละครสำคัญหญิงในนวนิยาย โดยแสดงใหU เห็นทั้งความเป_นสFวนหนง่ึ ของผูUหญิงกับธรรมชาติ ในดUานความเป_นแมFตามความคาดหวังที่สังคมชายเป_น ใหญFกำหนด การแสดงออกทางอารมณ9ที่มีลักษณะแปรปรวนตามกัน และความเป_นอื่นกับธรรมชาติ

258 258 ⬗ บทคัดย่อ : หนึง่ ทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย เกี่ยวกับความเป_นแมFที่ไมFเป_นไปตามการรับรูUของคนทั่วไป และมีความสัมพันธ9กับมิติในดUานรUายของ ธรรมชาตทิ ่แี สดงถงึ ความดิบเถอ่ื น และมีฐานะเป_นวัตถแุ หFงความปรารถนา ประเด็นเพศวิถี และความสัมพันธ9เชิงอำนาจระหวFางธรรมชาติ ผูUหญิง ผูUชายในนวนิยายไทย รFวมสมัยพบวFา ผูUประพันธ9หญิงนำเสนอใหUเห็นประเด็นเกี่ยวกับเพศวิถี และความสัมพันธ9เชิงอำนาจ ระหวFางหญิง-ชาย กับความเป_นธรรมชาติของผูUหญิงที่อยูFภายใตUระบบคิดของกระบวนทัศน9เชิงสังคม ดUานศาสนา ดUานวัฒนธรรม ดUานเศรษฐกิจ การปกครอง ชนชั้น และถูกนำเสนอผFานกรอบคิดเกี่ยวกับ บทบาท สถานภาพของผูUหญิงในฐานะแมF ภรรยา และในฐานะลูกสาว โดยธรรมชาติในประเด็นนี้จะถูก กลFาวถึงในวาทกรรมที่เกี่ยวขUองกับเพศวิถี และความเป_นหญิง เพื่อสื่อถึงนัยของ “ธรรมชาติ” ที่เป_น ธรรมชาติแทU ๆ เปรียบเทียบกับ “ธรรมชาติ” ที่ถูกประกอบสรUางขึ้นภายใตUสังคมชายเป_นใหญFผFาน สถาบันทางสังคมตFาง ๆ ซึ่งกำหนดแนวทางการใหUคุณคFาตFอธรรมชาติของผูUหญิง โดยมนุษย9 (ผูUชาย) สรุปไดUวFา ทฤษฎีสตรีนิยมเชิงนิเวศ โดยเฉพาะอยFางยิ่งกระแสสตรีนิยมเชิงนิเวศแนวจารีตไดUเขUามามี อิทธิพลตFอการสรUางผลงานของผูUประพันธ9หญิง นับตั้งแตFที่มีการเขUามาของทฤษฎีนี้ในแวดวงการศึกษา วรรณกรรม โดยมีรากฐานมาจากระบบคิดของกระบวนทัศน9จิตสำนึกเชิงนิเวศ ของทฤษฎีวรรณกรรม วิจารณ9เชิงนิเวศ และเป_นฐานคิดสำคัญที่สFงผลตFอการสรUางผลงานของผูUประพันธ9หญิงในนวนิยายไทย รวF มสมัยมาอยาF งยาวนานทุกชวF งเวลา ทาF มกลางความเปลี่ยนแปลงทางสงั คม

259 บทคดั ย่อ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 259 Nucharat Mungkun. 2020. Women and Nature in Contemporary Thai Novels: Ecofeminist Approach. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Assoc. Prof. Dr. Orathai Piayura ABSTRACT This research aims to analyze the relativity between women and nature in contemporary Thai novels using an ecofeminist approach and to study the influence of theory on the presentation of women in contemporary Thai novels by studying literature written by well-known female authors who are given awards related to language and literature and the literature awarded in the competition by recognized organizations or published in the specified period of time since 1970, when the ecofeminist theory was formed up to these days. The study period was 10 years, classified into 5 periods, such as; the first (1970 - 1980), the story of Jintawee Wiwat's Death Green. The second period is from 1981 - 1991: Krisana Asoksin's Gilded Mortar, the third period, 1992 - 2002, about the Golden Cloth of Kaew Kaw, the fourth year 2003 - 2013, on The Happiness of Kathi (Coconut milk) of Ngarmpun Vejjajiva and the fifth year 2014 to the present about The Blind Earthworm in the Maze of Veeraporn Nitiprapha. The study results showed that all female authors present nature images in connection with women according to the framework of the 8 concepts of ecofeminist theory: 1) Historical connection 2) Patriarchal connection 3) Empirical connection 4) Symbolic connection 5) Political connection 6) Ethical connection 7) Scientific connection and 8) Cross-cultural connection, which appear in two comprehensive areas of the relationship between women as individuals and nature and issues about sexuality, power relations between nature, women and men. Issues of relationships between women as individuals and nature in contemporary Thai novels were found that images of nature and the interaction between women and nature are presented through the creation of a natural narration, connecting women to nature using the symbolism and associating women with animal avatar which is a unique writing strategy of each female author. It is also found that such relationships are presented through the key female characters in the novel by showing both being a part of women and nature in motherhood according to the expectations set by the patriarchy

260 260 ⬗ บทคัดย่อ : หนง่ึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย society, expressions of emotional variations with each other and otherness with nature about motherhood that does not meet the perception of common people and correlated with the dimensions of the bad nature that represent the savage and as an object of desire. Sexuality issues and power relations between nature, women and men in contemporary Thai novels were found that female authors present issues of sexuality and the power relationship between women and men, and the nature of women under the conceptual system of social, religious, cultural, economic, class governmance presented through a conceptual role, the status of a women as mothers, wives and daughters. Naturally, this issue will be discussed in discourses concerning sexuality and femininity to convey the implications of \"nature\" that is true nature, compared to \"nature\" that was created under the patriarchy society through various social institutions which establish guidelines for the value of the nature of women by man (men). It can be concluded that ecofeminist theory In particular, traditional ecofeminism influences the work of female authors since the advent of this theory in the field of literary education. It is rooted in the mindset of the ecological conscious paradigm of ecocriticism theory and is a critical thinking base that influences the creation of works of female authors in contemporary Thai novels for a long time every time in the midst of social change.

261 บทคดั ยอ่ : หน่ึงทศวรรษของการวจิ ัยภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 261 อานนท9 ลีสีคำ. 2564. ลีลาภาษาของเกตุเสพย:สวัสดิ์ ปาลกะวงศ: ณ อยุธยา ในรายการอย7าหาว7า นbาสอน. วิทยานิพนธ9ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกFน. อาจารยท: ี่ปรึกษาวิทยานิพนธ:: รศ.ดร.รตั นา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ย7อ งานวิจัยนี้อยูFในสาขาภาษาไทย เป_นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9ลีลา ภาษาของเกตุเสพย9สวัสดิ์ ปาลกะวงศ9 ณ อยุธยา หรือ นUาเน็ก ในรายการอยFาหาวFานUาสอน เผยแพรFทาง ชFองยูทูบ ซึ่งเป_นรายการแนะนำการดำเนินชีวิตและใหUคำปรึกษาแกFผูUฟ®งที่โทรศัพท9เขUามาในรายการ ชื่อชFอง Nanake555 ใชUกรอบแนวคิดลีลาภาษา เพื่อวิเคราะห9ภาษาพูด เก็บรวบรวมขUอมูลจากคลิปยูทูบ ที่เผยแพรFระหวFาง วันที่ 11 พฤษภาคม 2562 ถึง 11 พฤษภาคม 2563 โดยวิธีสุFมตัวอยFางแบบเจาะจง คลปิ ที่มจี ำนวนการเขUาชมมากกวFา 100,000 คร้ัง รวมขอU มลู ท้งั ส้นิ จำนวน 50 คลปิ ผลการวิจัยแสดงใหUเห็นลีลาภาษาใน 2 ประเด็น ไดUแกF การใชUวัจนภาษา การใชUอวัจนภาษา ประเด็นแรกดUานวัจนภาษา แบFงเป_น 5 ประเด็นยFอย 1) ดUานถUอยคำ ไดUแกF คำสรรพนาม คำสแลง คำภาษาปาก คำระดับ คำลงทUาย การสรUางคำหรือถUอยคำใหมF การซ้ำคำ และการปนคำยืมหรือถUอยคำ ภาษาอังกฤษ 2) การใชUสำนวนสุภาษิต ไดUแกF การใชUสำนวนเดิม การใชUสำนวนดัดแปลง และการใชU สำนวนใหมF 3) ดUานประโยค พบลักษณะเดFน ไดUแกF ประโยคคำถาม ประโยคคำสั่งและขอรUอง และ ประโยคขัดแยUง 4) การใชUภาษาภาพพจน9 โดยพบวFา มีการใชUอุปมาและอุปลักษณ9จำนวนมาก 5) ลีลา ภาษาระดับขUอความ ไดUแกF การแสดงความสนิทสนมกับผูUฟ®ง การชื่นชมผูUฟ®ง การเนUนย้ำประเด็น การใหU กำลังใจผูUฟ®ง การสรUางความเชื่อมั่นใหUผูUฟ®ง การกลFาวติดตลก การใหUผูUฟ®งยอมรับความจริง การแสดง ความรูUสึก การอธิบายความและแสดงความคิดเห็น การกลFาวเสยี ดสีประชดประชัน การแนะนำแบบตรง แบบอUอม และการอUางถึง การใชUอวัจนภาษา พบลักษณะเดFน ไดUแกF การใชUวัตถุภาษาหรือเครื่องแตFงกาย ฉากหรือเทศ ภาษา ปริภาษาหรือการใชUน้ำเสียง การเคลื่อนไหวรFางกายหรืออาการภาษา เนตรภาษาหรือนัยน9ภาษา และกาลภาษา ซึ่งตามแนวคิดลีลาภาษาของ Joos (1961) เกตุเสพสวัสดิ์ ใชUลีลาภาษาแบบสนิทสนมกับ ผูUฟ®งในรายการซึ่งสFงผลตFอการสนทนาที่ราบรื่นและการใหUคำแนะนำของเขา ดังนั้น ผลการวิจัยลีลา ภาษาของเกตุเสพย9สวัสดิ์ แสดงใหUเห็นถึงการสื่อสารผFานสื่อสังคมออนไลน9 ซึ่งลีลาภาษามีบทบาทสำคัญ ตอF การสรUางภาพจำของผฟูU ง® รายการ

262 262 ⬗ บทคัดย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Anon Leesikham. 2021. The Language Style of Ketsaepsawas Palakawong Na Ayudhya on the Yah Ha Waa Nah Sohn Channel. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Assoc. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research is Thai language subject in qualitative. The aim is to analyze the language style of Ketsaepsawas Palakawong Na Ayudhya or Na- Nake in Yah Ha Wa Na Sohn on the YouTube channel. The aim of this channel suggests an audience phone on the channel. The name of the channel is Nanake555. The language style concept was used to analyze the speaking language. The 50 YouTube clips were collected by Purposive sampling, which on- air from 11 May 2019 - 11 May 2020, each clip has more than 100,000 views. The research finding was divided into two language style categories; verbal language and non-verbal language. Firstly, verbal language consists of five sub-categories that is 1) word using has pronoun, slang, jargon, prestige, final words, new word- formation, reduplicated word, and English words. 2) In terms of proverbs, three sub- categories use original proverbs, adapted proverbs, and new proverbs, 3) Using sentence shown that using sentences shown the prominent using in interrogative, command or request, and conflict. 4) The figure of speech outstanding using is simile and metaphor. Furthermore, 5) the discourse level reveals the language style, which is intimacy style, audience appreciation, issue highlighting, audience confidence building, joking, genuinely accepting, expression showing, explanation and attitude, ironic, direct suggestion, indirect suggestion, and referencing. The distinctive non-verbal language was dressing, scene, voice, body movement, eye contact, and time. According to the language style by Joos ( 1961) shown that Ketsaepsawas often use the intimacy style. This style impact to smoothly conversation between him and his audience for his suggestion. Therefore, the research finding discloses the language style of Ketsaepsawas on social media online that it plays an essential role in the audience's reorganization.

263 บทคดั ย่อ : หนึ่งทศวรรษของการวจิ ยั ภาษาและวรรณกรรมไทย ⬗ 263 วษาร9 บุดดีคำ. 2564. ลีลาภาษาของพุทธอภิวรรณ องค:พระบารมี ในรายการทุบโตµะข7าว. วิทยานิพนธ9 ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนF . อาจารย:ท่ปี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ:: รศ.ดร.รัตนา จนั ทรเ9 ทาว9 บทคดั ยอ7 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค9เพื่อวิเคราะห9ลีลาภาษาของ พุทธอภิวรรรณ องค9พระบารมี ในรายการทุบ โตπะขFาว ทั้งดUานวัจนภาษา และดUานอวัจนภาษา ผูUวิจัยเก็บรวบรวบขUอมูลจากรายการทุบโตπะขFาว ทางสถานีโทรทัศน9อมรินทร9ทีวี ชFอง 34 โดยเก็บขUอมูลยUอนหลังทางเว็บไซต9ยูทูบ ตั้งแตFเดือนมกราคม - ธันวาคม พ.ศ. 2562 เป_นระยะเวลา 1 ปé ซึ่งเป_นคลิปที่มีผูUเขUาชมมากกวFา 500,000 ครั้ง ใชUวิธีการสุFม ตัวอยFางแบบเจาะจง จำนวน 60 คลปิ นำมาวเิ คราะหโ9 ดยกรอบแนวคดิ เร่อื งลีลาภาษาในทางภาษาศาสตร9 ผลการวิจัยแบFงออกเป_นลีลาภาษา 2 ประเด็น ไดUแกF วัจนภาษา และอวัจนภาษา ประเด็นแรก ดUานวัจนภาษาพบวFามีลักษณะที่เดFนชัด แบFงออกเป_น 3 ดUาน 1) ดUานการใชUคำ ไดUแกF คำอุทาน คำสรรพ นาม ถUอยคำเนUนย้ำ คำยFอ คำลงทUาย คำเสริม และภาษาระดับสนทนา 2) ดUานการใชUประโยค ไดUแกF ประโยคคำถาม ประโยคคำสั่ง ประโยคเสนอแนะ และประโยคขอรUอง 3) ดUานการเป´ดและป´ดเรื่อง ดUานการเป´ดเรื่อง ไดUแกF การใหUขUอมูลเกี่ยวกับที่มาของขFาว และการตั้งคำถาม ดUานการป´ดเรื่อง ไดUแกF การสรุปความ และการแสดงความคิดเห็น สFวนดUานอวัจนภาษาพบวFามีลักษณะเดFน ไดUแกF การแตFงกาย การใชUน้ำเสียง การหยุดพูดชั่วขณะ การใชUสายตา - ใบหนาU และการเคลอ่ื นไหวมอื ผลการวจิ ยั นแ้ี สดงใหU เห็นวFาพุทธอภิวรรณใชUลีลาภาษาแบบเป_นกันเอง ซึ่งพบวFาการใชUวัจนภาษา และอวัจนภาษารFวมกันใน การเลFาขFาว ทำใหUการเลFาขFาวมีความนFาสนใจยิ่งขึ้น และเกิดอารมณ9รFวมในการรับชมขFาว ดังนั้น ลักษณะการใชUภาษาทัง้ หมดน้นี ำไปสFูการสรUางลลี าภาษา หรือภาษาเฉพาะบคุ คลของเขา

264 264 ⬗ บทคัดยอ่ : หน่งึ ทศวรรษของการวิจยั ภาษาและวรรณกรรมไทย Wasa Butdeekham. 2021. Language style of Puttha Aphiwan Ongphabaramee in Tub To Khao TV Program. Master of Arts Thesis in Thai, Graduate School, Khon Kaen University. Thesis Advisor: Assoc. Prof. Dr. Rattana Chanthao ABSTRACT This research aimed to analyze the language style of PutthaAphiwan Ongprabaramee in Tub To Khao TV Program in both verbal and non- verbal language. The researcher collected the data in the news reporting on aired at the Amarin TV channel 34 from January to December 2019 for one year from the YouTube website, which has more than 500,000 views using a specific sampling of 60 clips to analyze under a conceptual language style linguistic framework. The research results divided language style into two issues: verbal and nonverbal language. For the first issue of verbal language, it was found that there were three outstanding characteristics: 1) word usage: interjections, pronouns, reiteration, abbreviations, endings, supplementary words, and spoken language. 2) sentence usage: interrogative sentences, imperative sentences, suggested sentences, and request sentences. 3) On the opening and closing story. On the opening section, such as details of the original news and asking questions. And on the closing section, such as summary and comments. For the outstanding characteristics of nonverbal language, such as dress, tone of voice, speaking pause, eye-face contact and hand movement. This research showed that PutthaAphiwan used an informal style of language by using the co-verbal and nonverbal language together with news reporting, which made the news reporting more interesting and emotional when watching news. Therefore, all these language styles led to the language styles formation or his language.

265 265 อาจารยป: ระจำหลกั สูตร ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร:และสงั คมศาสตร: มหาวทิ ยาลัยขอนแกน7 รองศาสตราจารย์ ดร.รตั นา จนั ทรเ์ ทาว์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรทยั เพยี ยรุ ะ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กลั ยรตั น์ อุน่ ทานนท์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทนิ วฒั น์ สรอ้ ยกุดเรอื ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มารศรี สอทพิ ย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วาลี ปรชี าปัญญากุล ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วริ ชั วงศภ์ นิ นั ทว์ ฒั นา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศุภกติ บวั ขาว ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อศิ เรศ ดลเพญ็ ดร.แกว้ ตา จนั ทรานุสรณ์ ดร.อุมารนิ ทร์ ตุลารกั ษ์