ข อม ลพ นฐานในการพ ฒนาหล กส ตร ม อะไรบ าง

ซึ่งด้านที่เพิ่มเข้ามาก็คือด้าน “การอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน” ด้วยความมุ่งหวังให้เด็กไทยมีสมรรถนะทางด้านวิทยาศาสตร์ รู้เท่าทันเทคโนโลยีในยุคใหม่ และในขณะเดียวกันก็สามารถที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างยั่งยืน

2. แผนหลักสูตรสมรรถนะ 6 ด้านจะเริ่มใช้เมื่อไหร่และกับโรงเรียนใดบ้าง?

กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) วางแผนนำหลักสูตรฐานสมรรถนะมาใช้ในกรอบเวลา 3 ปี คือ

  1. ปีการศึกษา 2565 – เริ่มใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ สำหรับระดับประถมศึกษา เฉพาะในโรงเรียนที่มีความพร้อม
  2. ปีการศึกษา 2566 – เริ่มใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ ระดับมัธยมศึกษา เฉพาะในโรงเรียนที่มีความพร้อม และทุกโรงเรียนในระดับประถมศึกษา
  3. ปีการศึกษา 2567 – เริ่มใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในทุกโรงเรียนทั่วประเทศ

โดยแผนกรอบเวลา 3 ปีนี้ เป็นแผนที่ได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับสถานการณ์โรคระบาดในปัจจุบันแล้ว คือขยายระยะเวลาการทดลองให้กับโรงเรียนมากกว่าเดิม ให้เวลาคุณครูในการเรียนรู้ ทำความเข้าใจ และเตรียมสอนมากขึ้น ตลอดจนให้เวลานักเรียนในการค่อย ๆ โดยเมื่อเริ่มนำร่องทดลองใช้หลักสูตรแล้ว ทางศธ. จะทยอยเผยแพร่คู่มือ หลักสูตรที่มีตัวอย่างสถานการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปรับใช้ในพื้นที่ และในรูปแบบการสอนออนไลน์ได้

โดยจากการดำเนินการรับสมัครโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่มีความสมัครใจพบว่ามีโรงเรียนที่พร้อมเข้าร่วมการทดลองใช้หลักสูตรรวมทั้งสิ้น 265 โรงเรียน ใน 8 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ กาญจนบุรี ศรีสะเกษ ระยอง สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จำนวน 226 โรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จำนวน 17 โรงเรียน และ สังกัดสำนักงานการปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จำนวน 22 โรงเรียน

3. หลักสูตรฐานสมรรถนะใหม่แตกต่างจากเดิมอย่างไรอีก?

นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงจากระบบการเน้นเนื้อหา (content) มาเป็นเน้นสมรรถนะ (competency) แล้ว แน่นอนว่าอีกหนึ่งสิ่งสำคัญที่เป็นหัวใจกลางของหลักสูตรฐานสมรรถนะก็คือเรื่องของการลดเวลาการเรียน โดยในหลักสูตรฐานสมรรถนะใหม่นี้ ระยะเวลาการเรียนในแต่ละระดับชั้นจะแตกต่างจากเดิม เช่น ช่วงชั้นประถมศึกษาตอนต้น หรือชั้น ป.1-ป.3 เวลาเรียนลดลงจาก 1,000 ชั่วโมงเป็น 800 ชั่วโมง และจาก 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ก็จะกลายเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นต้น

4. แนวทางการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ

ข้อมูลจากศธ. สรุปโดยสังเขปว่าแนวทางการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ 6 ด้าน จะเน้นแนวทาง ดังนี้

(ขอบคุณรูปภาพจาก ศธ. 360 องศา)

  1. ต่อยอดเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ
  2. ใช้ทักษะและตัวชี้วัดมาออกแบบการสอนร่วมกัน
  3. ใช้ความรู้และทักษะได้ในสถานการณ์จริง
  4. ผสมหลายสมรรถนะให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิชา
  5. วิเคราะห์เชื่อมโยงให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
  6. นำสมรรถนะมาใช้ในชีวิตประจำวัน

5. บุคคลธรรมดาหรือบุคลากรของโรงเรียน หากอยากมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลง

สามารถทำได้ โดยในกรอบการพัฒนาปัจจุบัน ศธ. ได้เปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องผ่าน 4 ช่องทางหลัก คือ

  1. การจัดเวทีระดมสมอง ในประเด็นที่สำคัญและกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง โดยจะจัดรวมทั้งสิ้น 12 ครั้ง ซึ่งปัจจุบันมีดำเนินการไปแล้วจำนวนโดยรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง
  2. การจัดเวทีตามประเด็น ได้แก่ เป้าหมายของหลักสูตร แนวทางการจัดการเรียนรู้ การผลิตและพัฒนาครูให้พร้อมสำหรับหลักสูตรฐานสมรรถนะ เป็นต้น
  3. การจัดเวทีตามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครอง กลุ่มภาคเอกชน กลุ่มครู กลุ่มผู้บริหารโรงเรียน กลุ่มอาจารย์ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
  4. การเปิดรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผ่านเว็บไซต์หลักสูตรฐานสมรรถนะ CBE Thailand

โดยสำหรับการเข้าร่วมเวทีการนำเสนอ, รับฟัง, และแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรใหม่ ผู้ที่สนใจสามารถติดตามข่าวสาร วันเวลา และรายละเอียดการเข้าร่วมได้ที่แฟนเพจ Facebook CBE Thailand

6. ยังไม่ใช่บุคลากรในโรงเรียนที่เริ่มนำร่อง แต่อยากเริ่มทำความเข้าใจและเรียนรู้หลักสูตรฐานสมรรถนะ ควรทำอย่างไร?

บทที่ 4 การพัฒนาหลักสตู ร

การพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการที่ทาให้หลักสูตรมีความเหมาะสม เนื่องจาก หลักสูตรจะต้องมีการปรับเปล่ียนไปตามสภาพสังคมที่เปล่ียนไป อันเนื่องมาจากความ เปล่ียนแปลงทางด้านวัฒนธรรม ค่านิยม เทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ ดังน้ันการจัดการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกบั สงั คมที่เปลย่ี นไป จาเป็นต้องเปล่ียนแปลงหลกั สูตร ให้มีความเหมาะสมกบั ความต้องการของสงั คมตลอดเวลาด้วยกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร

ความหมายของการพฒั นาหลักสตู ร

การพัฒ นาห ลักสูตรเป็นกระบ วนการที่ทาให้หลักสูตรเกิดการปรับป รุง เปล่ียนแปลง หรือการสร้างหลักสูตรขึ้นมาใหม่ ให้เกิดความเหมาะสมสอดคล้องกับความ ต้องการ ในส่วนของความหมายของการพัฒนาหลักสูตรน้ัน มีนักการศึกษาไดใ้ ห้ความหมาย การพัฒนาหลักสูตร ซึ่งได้แก่ ทาบา (Taba, 1962) ได้กล่าวถึงความหมายของการพัฒนา หลักสูตรว่าหมายถึง การปรับปรุงและเปล่ียนแปลงหลักสูตรที่มีอยู่เดิมให้ดียิ่งขึ้น รวมไปถึง จุดหมาย เนื้อหา การจัดกิจกรรม และการประเมินผล ซึ่งเป็นการปรับปรงุ หลักสูตรทั้งระบบ และยัง มีนักการศึกษาอีกท่านหนึง่ ได้แก่ เซย์เลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Sayler and Alexander, 1974) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรว่า หมายถึง การจัดทาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น หรือการจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ และรวมถึงการสร้างเอกสารหลักสูตรอื่น ๆ ด้วย เช่นเดียวกับ สงัด อุทรานันท์ (2532) กล่าวว่า “การพัฒนา” ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า “Development” ซึ่งมีความหมายอยู่ 2 ลักษณะ คือ 1) การทาให้ดีขึ้นหรือทาให้สมบูรณ์ขึ้น และ 2) การทาให้เกิดขึ้น ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรตามความหมายนี้จึงหมายถึง การทา หลักสูตรทีม่ ีอยแู่ ล้วให้ดีข้นึ หรือสมบรู ณ์ข้นึ กบั การสร้างหลกั สตู รขนึ้ มาใหม่

74

นอกจากนีแ้ ล้วการพัฒนาหลักสตู รยงั มีความหมายอื่น ๆ อีกดงั นี้ 1. การพัฒนาหลักสตู ร หมายถึง ลักษณะของการจัดเนือ้ หาสาระและมวลประสบการณ์ ในหลักสตู รจะรวมถึงการผลติ เอกสารต่าง ๆ สาหรับผู้เรยี นดว้ ย 2. การพฒั นาหลกั สูตร หมายถึง กระบวนการในการเลอื กองค์ประกอบต่าง ๆ ของ หลักสูตรตลอดจนเทคนิควิธีการต่าง ๆ การกาหนดเวลาเรียน ส่ือวัสดุท้ังหมดในการจัดทา หลกั สูตร 3. การพัฒนาหลักสตู ร หมายถึง กระบวนการในการแก้ไขปรบั ปรุงหลกั สตู รซึง่ เป็นการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรในส่วนย่อยบางส่วน เช่น การแก้ไขรายวิชาแต่ส่วนใหญ่ยังคง สภาพเดมิ ของหลักสตู รอย่างชัดเจน กล่าวโดยสรุปการพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การปรับปรุง เปล่ียนแปลงหลักสูตร เดมิ ที่มีอยู่หรือการสร้างหลักสูตรใหม่ข้ึนมา เพื่อใช้ในการจดั การเรียนการสอน การศึกษาหรือ การพฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณลักษณะตามที่บคุ คล สังคมต้องการ

พืน้ ฐานในการพัฒนาหลกั สูตร

การพัฒนาหลักสูตรน้ัน ผู้พัฒนาจาเป็นต้องมีการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลพนื้ ฐานจาก แหล่งต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ประกอบการจัดทาหลักสูตรให้มีความสมบูรณ์ ซึ่ง ธารง บัวศรี

  1. ได้กล่าวถึง ข้อมลู พืน้ ฐานมีความสาคัญต่อนักพฒั นาหลักสูตร ดงั นี้

1. ช่วยให้มองเห็นภาพรวม ในการออกแบบหลกั สูตรนั้นจาเป็นต้องคานึงถึงสิ่งใด บ้างและส่งิ ต่าง ๆ เหลา่ นนั้ มีอิทธิพลต่อหลกั สตู รอย่างไร

2. ช่วยให้สามารถกาหนดองค์ประกอบของหลักสูตรได้อย่างเหมาะสม เช่น การ กาหนดจดุ หมายของหลกั สูตรการเลอื กวิชา เนอื้ หาสาระ ฯลฯ เป็นต้น

3. ช่วยให้สามารถกาหนดยุทธศาสตร์การเรียนรู้ไดเ้ หมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ 4. ช่วยเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร ซึ่งจะส่งผล ให้การดาเนนิ การในอนาคตประสบผลดีข้นึ ดังนั้น ข้อมูลพื้นฐานจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาหลักสูตร เนื่องจาก นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องวิเคราะห์ และใช้ประกอบการพิจารณาในการวางแผนหรือออกแบบ หลักสูตร ตั้งแต่การกาหนดจุดหมาย เนื้อหา การจัดกิจกรรมและการประเมินผลหลักสูตร ข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในการพัฒนาหลักสูตรน้ันสามารถจาแนกออกได้เป็น 6 องค์ประกอบ ดงั นี้

75

1. พืน้ ฐานปรชั ญาการศึกษา 2. พืน้ ฐานเนือ้ หาวิชาหรือความรู้ 3. พืน้ ฐานทางสงั คมและวัฒนธรรม 4. พืน้ ฐานของผู้เรยี น 5. พนื้ ฐานทางจิตวิทยา 6. พนื้ ฐานทางด้านเทคโนโลยี จากข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร 6 องค์ประกอบดังกล่าว สามารถแสดง ความสมั พนั ธ์ไดด้ งั ภาพที่ 4.1

พนื้ ฐานปรัชญาการศึกษา พนื้ ฐานทางด้านเทคโนโลยี

พืน้ ฐานเนอื้ หาวิชา พนื้ ฐานการพัฒนาหลักสูตร พนื้ ฐานทางจิตวิทยา

พืน้ ฐานสงั คมและวัฒนธรรม พนื้ ฐานของผู้เรยี น

ภาพที่ 4.1 แสดงข้อมลู พืน้ ฐานการพัฒนาหลักสตู ร

จากภาพที่ 4.1 องค์ประกอบที่สาคัญในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ พื้นฐานด้าน ปรชั ญา ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม ผู้เรียน จิตวิทยา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่ง องค์ประกอบเหล่านี้จะให้ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการนาไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความ เหมาะสมกับความต้องการของสังคมและผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม โดยแต่ละองค์ประกอบมี รายละเอียด ดังนี้

76

พ้นื ฐานปรัชญาการศกึ ษา ปรัชญาการศึกษามีบทสาคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการศึกษา เนื่องจากปรัชญา การศึกษาจะสะท้อนอุดมการณ์ อุดมคติอันสูงส่งหรือความเชื่อที่จะใช้เป็นแนวทางในการจัด การศึกษา ปรชั ญาการศึกษาจะเป็นส่ิงกาหนดทิศทาง หลักการ ความมุ่งหมาย และแนวทาง การจัดการศึกษา ตลอดจนเนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล เปน็ ต้น

พน้ื ฐานเน้อื หาวิชาหรอื ความรู้ ส่ิงสาคัญประการหนึ่งซึ่งเป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมายของ หลักสูตรที่กาหนดไว้คือ เนื้อหาวิชาหรือความรู้ ในการพัฒนาหลักสูตรจะต้องประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ เพื่อจะทาให้หลักสูตรที่พัฒนาขึ้น มีโครงสร้างของความรู้หรือ เนอื้ หาสาระมคี วามถกู ต้องและเหมาะสมสาหรับผู้เรยี นที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้ ดังน้ัน เนอื้ หา ในหลักสตู รจึงมีส่วนสาคัญในการทาให้ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของสังคมและ วิทยาการต่าง ๆ ทั้งนี้การเลือกเนื้อหาของหลักสูตรจึงต้องพิจารณาให้ครอบคลุมกับการ พัฒนาผู้เรียนในทุกดา้ น มีความสอดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความตอ้ งการของสังคมและผู้เรียน

พน้ื ฐานทางสงั คมและวฒั นธรรม บทบาทหน้าที่ทีส่ าคัญของการศึกษาสาคัญ คือ อนรุ กั ษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ดี งามจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง นอกจากนี้การศึกษายังทาหน้าที่ปรับปรุง เปล่ียนแปลง สังคม รวมทั้งช่วยควบคุมการเปล่ียนแปลงของสังคมให้เป็นไปในทิศทางที่พึงประสงค์ ดังน้ัน การพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องทาการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลของสังคม ซึ่งได้แก่ ข้อมูลด้าน ส่งิ แวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม ประเพณีและค่านิยม จากนั้น จึงนาผลการวิเคราะห์ไปกาหนดเป็นหลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ กิจกรรมและ องค์ประกอบต่าง ๆ ในหลักสูตร ซึ่งจะทาให้ได้หลักสูตรมีความเหมาะสมกับสภาพและความ ต้องการของสังคมอย่างแท้จริง

พน้ื ฐานของผเู้ รยี น ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และด้านสังคมของผู้เรียน ข้อมูลเหล่านสี้ ามารถนามากาหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ และกิจกรรมการเรียนการสอนของหลักสูตร เพื่อให้ความสอดคล้องกับวัย วุฒิ

77

ภาวะ ความถนดั ความตอ้ งการ รวมท้ังความสนใจของผู้เรยี น ซึง่ จะทาให้หลักสูตรน้ันสามารถ สง่ เสริมและพัฒนาผู้เรยี นแตล่ ะคนให้มีความสามารถเต็มตามศกั ยภาพ

พ้นื ฐานทางจติ วิทยา หลักการพัฒนาหลักสูตรที่สาคัญประการหนึ่งคือ หลักสูตรที่พัฒนานั้น ต้อง สอดคล้อง เหมาะสมกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียนอย่างแท้จริง ดังนั้น ข้อมูล พื้นฐานทางด้านจิตวิทยาจึงเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยให้การพัฒนาหลักสูตรเป็นไปตามหลักการ ดังกล่าว ข้อมูลด้านจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย ข้อมูลด้านจิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) และจิตวิทยาการเรียนรู้ (Learning Psychology) ซึ่งข้อมูลนี้เป็น ข้อมูลที่สาคญั ในการพฒั นาหลักสูตรในทกุ ขั้นตอน และทุกองค์ประกอบของหลักสูตร ซึ่งได้แก่ การกาหนดจดุ มงุ่ หมาย เนอื้ หา การจัดกิจกรรมและประสบการณ์และการประเมินหลกั สูตร

พน้ื ฐานความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี ปจั จุบันการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีมีความก้าวหน้าอย่างมาก สง่ ผลให้สังคมเกิด การเปล่ียนอย่างรวดเร็ว หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นต้องเป็นหลักสูตรที่ใช้ในการพัฒนาหรือเตรียม คนในสังคมให้มีความพร้อมรบั กับการเปลย่ี นแปลงดงั กล่าว นอกจากนแี้ ล้วยงั สามารถนาความ เปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยีไปใช้กับการกาหนดวิธีการและส่ือการเรียนที่ทันสมัยในการ จดั การเรียนรู้ เช่น การสอนทางไกลผ่านระบบวีดิโอคอนเฟอเร็นซ์ (VDO. Conference) การใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aid Instruction) การใช้อินเทอร์เน็ต เป็นต้น นอกจากนี้แล้วข้อมลู พืน้ ฐานทางด้านเทคโนโลยี ยังเป็นข้อมูลท่ีสาคญั ในการพิจารณาคัดเลอื ก เนอื้ หาสาระเพือ่ ให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้ทนั ต่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอีกด้วย

กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

กระบวนในการพัฒนาหลักสตู ร เปน็ สิ่งสาคญั และจาเปน็ เพราะแนวคิดและขั้นตอน การพฒั นาหลักสูตรของแต่ละรูปแบบมีลกั ษณะเดน่ ในการนาไปใช้ทีแ่ ตกต่างกันไป แต่อย่างไร ก็ตามรูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรยังมีองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งได้แก่ ข้ันตอน การกาหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหา กิจกรรมและการประเมินผลหลักสูตร ได้มีนักการศึกษาได้ เสนอกระบวนการพัฒนาหลักสตู รไว้ดงั นี้

78

กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ ราล์ฟ ไทเลอร์ (Ralph W. Tyler, 1949 : 1) เป็นนักพัฒนาหลักสูตรที่ให้แนวคิดใน การพัฒนาหลักสูตรว่า คือ การมุ่งเน้นไปที่การเปล่ียนแปลงตัวผู้เรียน ไม่ใช่การเปล่ียนแปลง สงั คม ไทเลอร์ ได้เสนอคาถาม 4 ประการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาหลักสูตร ดงั นี้

1. มีวัตถปุ ระสงค์ทางการศึกษาอะไรบ้างทีโ่ รงเรียนจะต้องจัดให้แก่เดก็ 2. มีประสบการณ์ทางการศึกษาอะไรบ้างที่จะทาให้บรรลุจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ 3. จะจัดประสบการณ์ทางการศึกษาดงั กลา่ วเหลา่ น้ใี ห้มปี ระสิทธิภาพอย่างไร 4. จะพิจารณาตัดสนิ ใจได้อยา่ งไรว่าวตั ถุประสงค์ทีก่ าหนดไว้นั้นบรรลุแล้ว คาถามท้ัง 4 ประการ สะท้อนให้เห็นว่าการพัฒนาหลักสูตรต้องคานงึ ถึง การกาหนด จดุ มงุ่ หมาย การกาหนดประสบการณ์ และการประเมินผลหลักสูตร ไทเลอร์ เสนอกระบวนการของการพฒั นาหลักสตู ร ดงั ภาพที่ 4.2 ดังนี้

ศึกษาสังคม

ศึกษาผู้เรยี น

ปรัชญา จุดประสงค์ จุดประสงค์ ประสบการณ์ การ ช่ัวคราว ประเมินผล ข้อเสนอแนะ ที่ใช้จริง การเรียนรู้ ของผู้เชย่ี วชาญ

ทฤษฎีการเรียนรู้

ภาพที่ 4.2 กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรของไทเลอร์ (บุญชม ศรีสะอาด, 2546)

กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รดังกล่าวมีข้ันตอนสาคญั 3 ขั้นตอน ดงั นี้ 1. การกาหนดจดุ มุ่งหมาย ก่อนกาหนดจุดมุ่งหมายจะต้องศึกษาขอ้ มูลจาก

แหล่งต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลทางสังคม ข้อมูลผู้เรียนและคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ เปน็ ต้น นามากาหนดเป็นจุดประสงค์ช่ัวคราวขึ้นก่อนแลว้ หาทฤษฎี แนวคิด ปรชั ญาต่าง ๆ มา พิจารณาจุดประสงค์ชั่วคราว เพื่อให้ได้จุดประสงค์ที่แท้จริงในการพัฒนาหลักสูตร จากน้ันจึง คดั เลอื กประสบการณ์การเรียนรายวิชาต่าง ๆ เพือ่ ให้ผู้เรียนไดบ้ รรลุตามจุดประสงค์ทีก่ าหนดไว้

79

2. การจดั ประสบการณ์การเรียน เปน็ การคัดเลอื กเนือ้ หาประสบการณ์ทีค่ าดหวัง ว่าจะให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ไทเลอร์ ได้เสนอ หลักเกณฑ์การคัดเลือกประสบการณ์ ได้แก่ กิจกรรมและประสบการณ์ควรทาให้ผู้เรียนพึง พอใจที่จะปฏิบัติ โดยผู้เรียนมีโอกาสฝึกปฏิบัติในเนื้อหากิจกรรมน้ันที่จะทาให้บรรลุตาม จุดประสงค์ การจดั กิจกรรมประสบการณ์หลายดา้ น ผู้เรียนอาจบรรลจุ ดุ ประสงค์เพียงข้อเดยี ว ก็ได้ ห รือ ก า รจั ดป ร ะ สบ ก า รณ์ เพี ย งห นึ่ ง อ ย่า งผู้ เรีย น อ า จ บ รรลุ จุด ป ระ ส ง ค์ ห ล า ยข้ อ ก็ได้ นอกจากน้ันการพิจารณาการจัดประสบการณ์ยังต้องคานึงถึงความสัมพันธ์ของเนื้อหา และ ระยะเวลาทีก่ าหนดไว้

3. การประเมินผล เป็นขั้นตอนการตรวจสอบดูว่าการจัดประสบการณ์ทาให้ ผู้เรียนสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้หรือไม่เพียงใด ส่วนใดควรปรับปรุงแก้ไข โดย พิจารณาจากจุดประสงค์ที่จะวัดกับพฤติกรรมที่คาดหวงั เครือ่ งมือที่ใช้วดั พฤติกรรมคุณภาพ ต้องมีความเที่ยงตรง ความเชื่อม่ัน และความเปน็ ปรนัย ผลจากการประเมินจะนาไปอธิบาย ข้อดี ข้อที่ต้องปรบั แก้ไขเพอ่ื เปน็ แนวทางในการพัฒนาปรับปรงุ หลกั สตู รให้มีคณุ ภาพต่อไป

จากกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ สรุปได้ว่า ในการกาหนดจุดประสงค์ การจดั ประสบการณ์การเรียน และการวดั ประเมินผล จะต้องมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันจึง สามารถทาให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดประสงค์ทีก่ าหนดไว้

กระบวนการพฒั นาหลักสูตรของทาบา ทาบา (Taba, 1962) มี ความเชื่อว่าครูมสี ว่ นสาคญั ในการออกแบบ หลักสูตรมากกว่าคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ทั้งนี้แนวคิดส่วนใหญ่จะเหมือนกับไทเลอร์แต่ จะมีการปรับข้ันตอนการพิจารณาคัดเลือกเนื้อหาและประสบการณ์การเรียนให้มีรายละเอียด สมบรู ณ์ยิง่ ขนึ้ ซึง่ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของทาบาประกอบดว้ ย 8 ขั้นตอนดังนี้

1. การวิเคราะห์ความต้องการ เป็นข้ันตอนที่เริม่ จากการสารวจข้อมูลของชุมชน สภาพปัญหา ความตอ้ งการ และความจาเปน็ เพื่อสรปุ เป็นแนวทางในการกาหนดจดุ ประสงค์

2. การกาหนดจุดประสงค์ เปน็ การนาข้อมูลที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์ความต้องการ มากาหนดเปน็ จุดประสงค์ โดยจดุ ประสงค์นั้นจะตอ้ งมีความชัดเจน สอดคล้องกบั การวิเคราะห์ ความตอ้ งการและความจาเปน็

3. การคัดเลือกเนื้อหาที่จะนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน การคัดเลือก เนื้อหาจะต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ และความสามารถของผู้เรียนนอกจากนี้ เนอื้ หายังต้องมีความเชือ่ ถอื ได้และเป็นประโยชน์ต่อผู้เรยี น

80

4. จัดระเบียบ ลาดับและขั้นตอนของเนื้อหาที่คัดเลือกมาโดยพิจารณ า เรียงลาดับความยากงา่ ย ความสาคญั

5. การคัดเลือกประสบการณ์การเรียน การคัดเลือกประสบการณ์จะต้องมี ความสอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาและจดุ ประสงค์

6. จัดระเบียบ ลาดับและขั้นตอนของประสบการณ์การเรียน เป็นการพิจารณาว่า ประสบการณใ์ ดที่เหมาะสมกบั ผู้เรียน ประสบการณใ์ ดควรจดั ก่อนหลงั

7. การประเมินผล เป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตาม จุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ การประเมินผลควรมีการประเมินการจัดประสบการณ์ ส่ือ อุปกรณ์ และวิธีการประเมินผลควรมีความเหมาะสมสามารถนามาประกอบการพิจารณาใน การประเมินผลหลักสูตรดว้ ย

8. ตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตรในแต่ละขั้นตอน ได้แก่ การตรวจสอบ เนื้อหาวิชาว่าเกี่ยวข้องกับจุดประสงค์หรือไม่ ประสบการณ์การเรียนช่วยให้ผู้เรียนบรรลุตาม วตั ถุประสงค์หรือไม่ และประสบการณก์ ารเรียนทีจ่ ดั ขนึ้ มีความเหมาะสมเพียงใด

จากข้ันตอนการพัฒนาหลักสูตรของทาบาดังกล่าว สามารถแสดงกระบวนการ พัฒนา หลกั สูตรดังภาพที่ 4.3

81

จดุ ประสงค์ทีจ่ ะประสบผลสาเรจ็

กาหนดโดยการวิเคราะห์ จาแนกโดย ระดับ

1. วฒั นธรรมและความต้องการของสงั คม 1. ชนิดของพฤติกรรม 1. จดุ ประสงค์ทางการศกึ ษาท้ังหมด

2. ผู้เรียนกระบวนการเรียนรู้และ 2. ขอบข่ายของเน้ือหาวชิ า 2. จดุ ประสงค์ท่ัวไปของโรงเรียน

หลักการ 3. ขอบข่ายของความ 3. จดุ ประสงค์ทางการเรียนการสอน

3. ขอบข่ายและประโยชน์ของความรู้ ต้องการ เฉพาะด้าน

4. อุดมการณ์ของประชาธปิ ไตย

การเลือกประสบการณก์ ารเรียน

กาหนดโดยความรูส้ ึกที่เกีย่ วกบั ลกั ษณะการวดั ผู้ดาเนินการ  โรงเรียน  ธรรมชาติของความรู้ เน้ือหา  หนว่ ยงานการศกึ ษาอืน่ ๆ  พัฒนาการ ประสบการณ์การเรียน  การเรียนรู้

 ผู้เรียน

กาหนดโดยความต้องการของ การจัดหลักสูตร ผ้ดู าเนินการต้องคานึงถึง  การเรียนรู้แบบต่อเนื่อง  การจัดองค์การของโรงเรียน  การเรียนรู้แบบบรู ณาการ หลกั ในการจัดหลักสูตร  วธิ กี ารใช้คณะครู  แบบรายวชิ า  วธิ ดี าเนินการเรียนรู้  แบบหมวดวิชา  แบบเพือ่ ชีวิต

ฯลฯ

กาหนดโดย ขอบข่ายและลาดบั ของแผน ผดู้ าเนินการต้องคานึงถึง  ความต้องการของขอบข่าย  หลักการสาคัญในการจัด ลักษณะการจัด ในการเรียนรู้  ขอบข่ายและลาดับของเนื้อหา หลกั สตู ร  ความต้องการของการ  ขอบข่ายและลาดับของ

เรียนรู้แบบต่อเนื่อง ความสามารถทางสติปัญญา

ภาพที่ 4.3 กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรของทาบา (บุญชม ศรีสะอาด, 2546 : 67)

82

สรุปได้ว่า ทาบาได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรมาจากแนวคิดของไทเลอร์ โดยก่อนการกาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตรจะต้องมีการวิเคราะห์ ผู้เรียนและเรียงลาดับ จุดประสงค์ จาแนกจุดประสงค์ตามลาดับ จากจุดประสงค์ท่ัวไป นาไปสู่จุดประสงค์ระดับ โรงเรียน จากจุดประสงค์ระดับโรงเรียนนาไปสู่จุดประสงค์ระดับห้องเรียนหรือจุดประสงค์ใน การจัดการเรียนการสอน อีกท้ังการคัดเลือกเนื้อหาและประสบการณ์จะต้องนามาเรียงลาดับ การเรียนรู้ ได้แก่ การเรียงลาดับเนื้อหา การเรียนรู้ก่อน-หลงั จากง่ายไปหายาก เพื่อจะทาให้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้บรรลุตามจุดประสงค์ทีก่ าหนดไว้

กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รของเซย์เลอร์ อเล็กซานเดอร และเลวิส เซย์เลอร์ อเล็กซานเดอร และเลวิส (Saylor, Alexander & Lewis. 1981) ได้เสนอ รปู แบบการพัฒนาหลกั สูตรว่า ประกอบดว้ ย 4 ข้ันตอน ดังนี้

1. กาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์และขอบเขต (Goals, Objectives and Domains)

2. ออกแบบหลักสูตร (Curriculum Designs) 3. นาหลกั สตู รไปใช้ (Curriculum Implementation) 4. ประเมินผลหลักสูตร (Curriculum Evaluation) การประเมินหลักสูตรเป็น ขนั้ ตอนสดุ ท้ายของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ซึง่ มจี ดุ เน้นของการประเมิน 2 ประการคือ

4.1 ประเมินผลรวมของการใช้หลกั สูตรท้ังโรงเรียน 4.2 ประเมินที่ตัวหลกั สตู รโดยเป็นการประเมินพิจารณากระบวนการพฒั นา หลักสูตรท้ังระบบ เริ่มต้นต้ังแต่การแต่งตั้งคณะกรรมการการออกแบบ การนาหลักสูตรไปใช้ และแยกประสทิ ธิภาพของหลกั สูตร

กระบวนการพฒั นาหลักสูตรของสงัด อุทรานนั ท์ สงัด อุทรานันท์ (2532 : 39) ได้กาหนดลาดับขั้นตอนของการพัฒนาหลักสูตรไว้ 6 ขั้น ดังนี้

1. การวิเคราะห์ขอ้ มลู พนื้ ฐาน การวิเคราะห์ข้อมลู พื้นฐานเป็นการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลด้านความต้องการ ความ จาเป็นและปญั หาทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง ตลอดจนนโยบายการศึกษา ของรฐั ข้อมูลทางดา้ นจิตวิทยา ปรชั ญาการศึกษา ความตอ้ งการของผู้เรียน ตลอดจนวิเคราะห์ หลักสตู รเดมิ เพื่อพิจารณาข้อบกพร่องที่ควรปรบั ปรงุ แกไ้ ข

83

2. การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เป็นข้ันตอนที่ต้องดาเนินการโดย คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรร่วมกนั พิจารณากาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรให้สอดคล้อง กับข้อมูลพื้นฐาน จุดมุ่งหมายของหลักสูตรจะระบุคุณสมบัติของผู้ที่จบหลักสูตรนั้น ๆ ที่มุ่ง พัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน คือ พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ในการกาหนดจุดมุ่งหมายน้ัน ต้องมีท้ังจุดมงุ่ หมายทั่วไปและจดุ มุ่งหมายเฉพาะของแตล่ ะรายวิชา 3. การกาหนดเนือ้ หาและประสบการณ์การเรียนรู้ การกาหนดเนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ เป็นขั้นตอนการเลือกเนื้อหา สาระ ความรู้ต่าง ๆ ที่จะนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ การ ดาเนนิ การในข้ันนจี้ ะครอบคลุมถึงการคัดเลือกเน้อื หาวิชา การจดั ลาดบั เน้อื หาวิชาว่าควรเรยี น อะไรก่อนหลังตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ เนือ้ หาใดเกีย่ วข้อง สัมพนั ธ์กบั เนือ้ หาใด 4. การนาหลักสตู รไปใช้ การนาหลักสูตรไปใช้ เป็นขั้นตอนการแปลงหลักสูตรไปสู่การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ซึ่งเป็นข้ันที่มีความสาคัญ หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นจะประสบความสาเร็จหรือมี ประสทิ ธิภาพมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน ซึ่งเป็นผู้มีบทบาทสาคัญ ในการศึกษาทาความเข้าใจในการใช้หลักสูตร ซึ่งเกี่ยวกับการบริหารจัดการหลักสูตร เช่น การเตรียมการสอน การจัดการเรียนการสอน การจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในโรงเรียน การจดั กิจกรรมเสริมหลักสูตร การนิเทศการศึกษา ฯลฯ นอกจากนี้ในขั้นของการนาหลักสูตรไปใช้ยังครอบคลุมการนาหลักสูตรไป ทดลองใช้อีกดว้ ย 5. การประเมินผลหลกั สูตร การประเมินผลหลกั สูตร เปน็ ข้ันตอนการประเมินสมั ฤทธิ์ผลของหลักสูตรว่า เมื่อ นาหลักสูตรไปใช้แล้วผู้ที่จบหลักสูตรนั้น ๆ ไปแล้ว มีคณุ สมบัติ มีความรู้ความสามารถเป็นไป ตามที่หลักสูตรกาหนดไว้จุดมุ่งหมายหรือไม่ นอกจากนี้ ข้อมลู ที่ไดจ้ ากการประเมินหลักสูตร ยงั สามารถนาไปใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณค่าสูงขึ้น ดังน้ันการประเมินหลักสูตรควร ทาให้ครอบคลุมระบบหลักสูตรท้ังหมดและควรจะประเมินอย่างต่อเนื่อง ในการประเมิน หลกั สตู รน้ัน อาจจะประเมินส่งิ ต่อไปนี้

5.1 การประเมินเอกสารหลักสูตร เป็นการตรวจสอบคุณภาพของหลกั สูตร ว่ามีความเหมาะสม ถูกต้องตามหลักการพัฒนาหลักสูตรเพียงใด หากมีส่ิงใดบกพร่องจะได้ ดาเนินการปรับปรงุ แก้ไขกอ่ นจะนาไปใช้

84

5.2 การประเมินการใช้หลักสูตร เป็นการตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนาไป ใช้ได้ดีในสถานการณ์จริงเพียงใด มีส่วนไหนที่เป็นอุปสรรคต่อการใช้หลักสูตร หากพบ ข้อบกพร่องก็ทาการแก้ไขทันที เพื่อให้การใช้หลักสูตรเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ

5.3 การประเมินสัมฤทธิผลของหลักสูตร เป็นการดาเนินการประเมิน หลังจากได้มีผู้สาเรจ็ การศึกษาตามกหลักสตู รไปแลว้ การประเมินหลักสูตร ในลกั ษณะน้ีมักจะ เป็นการติดตามความก้าวหน้าของผู้สาเร็จการศึกษาว่าสามารถประสบความสาเร็จในการ ทางานเพียงใด

5.4 การประเมินหลักสูตรทั้งระบบ เป็นการประเมินหลักสูตรที่มีความ สมบูรณ์และสลับซับซ้อนมาก เนื่องจากการประเมินหลักสูตรแบบนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับ องค์ประกอบอืน่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับหลกั สูตรด้วย เช่น ทรัพยากรที่ต้องใช้ ความสัมพันธ์ของ ระบบหลักสูตรกับระบบบรหิ าร โรงเรียน ระบบการจัดการเรียนการสอน และระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียนการสอน เป็นต้น

6. การปรับปรุงเปล่ยี นแปลงหลกั สูตร การปรับปรุงเปล่ียนแปลงหลักสูตร เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นหลังจากข้ันการ ประเมินผลหลักสูตรแล้ว เมื่อใช้หลักสูตรไปช่วงหนึ่งอาจจะมีการเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ เกิดขึ้น เช่น สภาพแวดล้อม สังคม ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการ ฯลฯ ซึ่งอาจทาให้ หลักสตู รที่พัฒนาขึน้ ไมท่ นั สมยั ดงั นั้นต้องมีการปรับปรุง แก้ไขให้เหมาะสม

กระบวนการพัฒนาหลกั สูตรของ วิชยั วงษ์ใหญ่ วิชยั วงษ์ใหญ่ (2543 : 77) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนกระบวนการพัฒนา หลักสูตรไว้ดังนี้

1. การกาหนดจุดมุ่งหมาย หลักการ โครงสร้างและการออกแบบหลักสูตร 2. ยกร่างเนื้อหาสาระแต่ละกลุ่มประสบการณ์ แต่ละหน่วยการเรียนและ รายวิชา 3. นาหลักสูตรที่พัฒนาแล้วไปทดลองใช้ในโรงเรียนนาร่องและปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่อง 4. อบรมครู ผู้บริหารทุกระดบั และบุคลากรทางการศึกษาให้เข้าใจในหลักสูตร ใหม่ 5. นาหลักสูตรไปใช้ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนและประกาศใช้หลักสูตร โดยมี กิจกรรมการใช้หลักสูตรใหม่ ดงั นี้

85

5.1 การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน คือ การจัดทาวสั ดุหลักสูตร ได้แก่ เอกสารและอุปกรณ์การเรียนการสอนที่จาเป็น

5.2 ผู้บริหารต้องจัดเตรียมส่ิงต่าง ๆ เช่น บุคลากร วัสดุ หลักสูตร และ บรกิ ารต่าง ๆ เริม่ ตั้งแตอ่ บรมครูและบคุ ลากรฝ่ายบริหารหลักสตู ร ห้องสมดุ ห้องเรียน รวมท้ัง การจดั สรรงบประมาณ

6. การประเมินผล ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การประเมินผลการเรียนของ นกั เรียนและการประเมินผลหลกั สตู ร เริม่ ต้ังแต่ประเมินเอกสาร การนาหลักสูตรไปใช้และการ ประเมินผลสัมฤทธิข์ องผู้เรียน ซึง่ จะต้องทาการประเมินอย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ ง

กล่าวโดยสรุป รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของนักพัฒนาหลักสูตรทั้งหลายต่างก็มี ข้ันตอน รายละเอียดที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามขั้นตอนที่สาคัญของการพัฒนาหลักสูตรนั้น ประกอบด้วยข้ันตอนที่สาคัญ 3 ขั้นตอน คือ 1) การวางแผนการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Planning) เป็นข้ันตอนการดาเนินการจัดทาเอกสารหลักสูตร 2) การนาหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation) เป็นขั้นตอนการนาหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และ

  1. การประเมินหลักสูตร (Curriculum Evaluation) เป็นขั้นตอนการตรวจสอบว่าหลักสูตรที่ พัฒนาขึน้ แล้วนาไปสู่การปฏิบัตนิ ้ันมีประสทิ ธิภาพและได้ผลตามจุดมงุ่ หมายทีห่ ลกั สตู ร

การประเมินหลักสูตร

การประเมินหลักสูตรกลา่ วได้ว่าเป็นข้ันตอนทีส่ าคัญประการหนึง่ ในการพัฒนาหลกั สตู ร ท้ังนี้ผลที่ได้จากการประเมินหลักสูตรจะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุง แก้ไข ตลอดจนพัฒนา หลกั สูตรให้มีความสมบรู ณ์ยิง่ ข้นึ ดังน้ันผู้ทีม่ ีหน้าที่เกีย่ วข้องกับการพัฒนาหลักสูตรจาเป็นต้องมี ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องทีเ่ กี่ยวกับการประเมินหลักสูตร

ความหมายของการประเมินหลักสตู ร การประเมินหลักสูตรเริ่มได้รับความสนใจมาต้ังแต่ ปี ค.ศ.1930 โดย ไทเลอร์ ได้ให้ คานิยามของการศึกษาว่า คือ การเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนั้น การประเมินหลักสูตร จึงมุ่งที่ การเปล่ียนแปลงเป็นสาคัญ ซึ่งหมายความว่าการประเมินหลักสูตรน้ัน เป็นการตรวจสอบว่ามี พฤติกรรมใดที่เกิดขึ้นและเป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่หลักสูตรกาหนดไว้หรือไม่ การประเมิน หลักสูตรตามแนวคิดของไทเลอร์นั้น มุ่งเน้นแค่เพียงให้ครูสามารถประเมินผลการสอนของ

86

ตนเอง โดยเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกับจุดประสงค์ของการสอน การประเมินตาม แนวคิดนีจ้ ึงเนน้ ทีผ่ ลผลิต มากกว่าตัวป้อน (Input) และ กระบวนการ (Process)

อย่างไรก็ตามความหมายของการประเมินหลกั สตู รน้ันมีผู้ที่กลา่ วไว้มากมาย โดยมี ตวั อย่างพอสังเขป ดังนี้

คาร์เตอร์ วี. กู๊ด (Carter V. Good, 1973) กล่าวว่าประเมินหลักสูตร เป็นการ ประเมินผลกิจกรรมการเรียน ภายในขอบข่ายของการสอนที่เน้นเฉพาะจดุ ประสงค์ที่เกี่ยวข้อง กับการตัดสินใจในเรื่องความถูกต้องของจุดมุ่งหมาย ความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของ เนอื้ หาและผลสัมฤทธิข์ องจดุ ประสงค์นั้น

แดเนี่ยล สตัฟเฟิลบีม และคณะ (Daniel Stufflebeam and other, 1986) ได้ให้นิยาม ของการประเมินหลักสูตรว่า หมายถึง กระบวนการแสวงหาข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล เพือ่ นามาใช้ในการตัดสินทางเลอื กทีด่ ีกว่าเดิม

สว่ น สุมิตร คุณานุกร (2523) ไดส้ รปุ ความหมายของการประเมินหลักสูตรว่า เป็น การหาคาตอบว่าหลักสูตรที่นามาใช้น้ัน มีความเหมาะสมกับสภาพที่เป็นจริงหรือไม่ประการใด หลักสูตรสัมฤทธิ์ผลตามที่กาหนดไว้ในความมุ่งหมายหรือไม่ มากน้อยเพียงใดและอะไรที่เป็น สาเหตุ เช่นเดียวกับแนวคิดของ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2525) ที่กล่าวว่าการประเมินหลักสูตรนั้นเป็น การพิจารณาคุณค่าของหลักสูตร โดยใช้ผลการวัดในแง่มุมต่าง ๆ นามาพิจารณาร่วมกันเพื่อ สรุปว่า หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมีคุณ ค่า มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใดเมื่อเทียบกับเกณ ฑ์ ที่กาหนด ได้ผลตามวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไว้หรือไม่ และมีส่วนใดทีต่ ้องปรบั ปรุงแก้ไข

นอกจากนี้แล้ว ทิศนา แขมมณี (2535 : 78) และใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539) ยังมี ความเห็นสอดคล้องกันว่าการป ระ เมินห ลักสูตรว่า หมายถึง การรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะห์ และการนาข้อมูลมาใช้เพื่อการตัดสินใจในเรื่อง การพัฒนาโปรแกรมหลักสูตร การศึกษาให้มคี ณุ ภาพดขี นึ้ หรือตดั สนิ คุณค่าของหลกั สตู รนั้น

ส่วน สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546) ได้กล่าวว่า การประเมินหลักสูตร คือ การพิจารณา ตัดสินคุณค่าว่าหลักสูตรนั้น ๆ มีประสิทธิภาพแค่ไหน เมื่อนาไปใช้แล้วบรรลุจุดมุ่งหมายที่ กาหนดไว้หรือไม่ มีอะไรที่ต้องปรับปรุง แก้ไขเพื่อนาผลที่ได้มาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการ ตัดสินใจหาทางเลือกทีด่ ีกว่าต่อไป ซึ่งเปน็ ความหมายที่เป็นแนวคิดเดยี วกับ บุญชม ศรีสะอาด (2546) ที่กล่าวถึงการประเมินหลักสูตรว่าหมายถึง การพิจารณาเปรียบเทียบตัดสินเกี่ยวกับ องค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบหลักหลักสูตรว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร มีความสอดคล้อง ระหว่างมาตรฐานความมุ่งหวังและการปฏิบัติจริงเพียงใด หลักสูตรนั้นมีประสิทธิภาพเพียงใด

87

มีผลกระทบอย่างไร ทั้งนี้เพื่อจะนาข้อมูลดังกล่าวมาใช้ปรับปรุงหลักสูตรนั้นให้ดีขึ้น การพัฒนา หลักสตู รจะขาดการประเมินหลักสตู รไมไ่ ด้เลย

ดังน้ัน จึงเห็นได้ว่าการประเมินหลักสูตรเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณา ตัดสินคณุ ค่าของหลักสูตรในดา้ นความสอดคลอ้ งขององค์ประกอบหลักสูตร ผลที่เกิดจากการ นาหลักสูตรไปใช้ว่าเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในจดุ ประสงค์ของหลักสูตรหรือไม่ ทั้งนกี้ ระบวนการ ประเมินหลักสูตรนั้นต้องอาศัยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลแล้วนาไป พิจารณาตัดสนิ คุณค่าของหลักสตู รน้ัน

จดุ มงุ่ หมายของการประเมินหลักสูตร ดังได้กล่าวแล้วว่าผลที่ได้จากการประเมินหลักสูตรจะนาไปเป็นข้อมูลพื้นฐานใน การพิจารณา ตดั สินคุณค่าของหลกั สูตรนั้น ๆ รวมท้ังสามารถนาข้อมูลเหล่านน้ั ไปใช้เปน็ ข้อมูล พนื้ ฐานประกอบการพฒั นาหรือปรบั ปรงุ หลกั สูตร อย่างไรก็ตามได้มผี ู้กล่าวถึงจดุ มุ่งหมายของ การประเมินหลักสูตรไว้ดังนี้ ใจทิพย์ เชือ้ รตั นพงษ์ (2539 : 192-193) และทิศนา แขมมณี (2544) ได้กล่าวถึง จดุ มงุ่ หมายของการประเมินหลักสตู ร สรุปได้ดังนี้

1. เพื่อแสวงหาแนวทางในการปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องขององค์ประกอบ หลกั สูตร โดยทาการพิจารณาจากความสอดคลอ้ งขององค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสตู ร

2. เพือ่ แสวงหาแนวทางในการปรบั ปรุง แก้ไขกระบวนการบริหารจดั การหลักสตู ร โดยมุ่งปรบั ปรุง แก้ไขหลักสูตรให้บรรลผุ ลตามทีเ่ ป้าหมายกาหนดไว้

3. เพื่อตัดสินคุณภาพของหลักสูตรว่าหลักสูตรนั้นมีคุณภาพเป็นอย่างไร บรรลุผลตามเป้าหมายหรอื ไม่ สอดคลอ้ งกับความต้องการของสงั คม ผู้เรยี นมากน้อยเพียงใด

4. เพื่อติดตามผลผลิตของหลักสูตร เป็นการพิจารณาคุณภาพของผู้เรียนว่ามี พฤติกรรม คณุ ลักษณะเป็นไปตามที่หลักสูตรมุ่งหวงั หรือไม่

รสรินทร์ ใจนันท์ (2550) ได้กล่าวถึง จุดมงุ่ หมายของการประเมินหลกั สตู รไว้ดงั นี้ 1. เพือ่ หาแนวทางปรับปรุงแก้ไข ข้อที่บกพร่องทีพ่ บในองค์ประกอบต่าง ๆ ของ

หลักสูตร โดยพิจารณาว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ของหลกั สูตร เช่น จุดหมาย โครงสร้าง เนื้อหา การวัดผลมีความสอดคล้องและเหมาะสมหรือไม่ สามารถนามาปฏิบัติในช่วงการนาหลักสูตร ไปทดลองใช้หรือในขณะทีก่ ารใช้หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนกาลงั ดาเนนิ อยู่ไดม้ าก น้อยเพียงใด ได้ผลเพียงใด มีปัญหาและอุปสรรคอะไร ซึ่งจะมีประโยชน์ในการปรับ ป รุง เปล่ียนแปลงองค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสตู รให้มีคณุ ภาพดีข้นึ ได้ทันท่วงที

2. เพือ่ หาแนวทางปรบั ปรงุ แก้ไข ระบบบรหิ ารหลักสูตร การนิเทศ กากบั ดูแล

88

และการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การประเมินในลักษณะนี้จะ ดาเนินการในขณะนาหลักสูตรไปใช้ ซึ่งจะได้ช่วยปรับปรุงหลักสูตรให้บรรลุผลตามเป้าหมาย ทีว่ างไว้

3. เพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่า ควรใช้หลักสูตรต่อไปอีกหรือควร ยกเลิกการใช้หลักสูตรเพียงบางส่วนหรือยกเลิกทั้งหมด การประเมินผลในลักษณะนี้จะ ดาเนนิ การหลังจากที่ใช้หลักสตู รไปแลว้ ระยะหนึ่ง แล้วจึงประเมินเพื่อสรปุ ผลตัดสินว่าหลักสูตร มีคุณภาพหรอื ไมด่ ี

4. เพื่อตอ้ งการทราบคุณภาพของผู้เรยี น ซึง่ เป็นผลผลิตของหลักสูตรว่า มีการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตามความมุ่งหวังของหลักสูตร หลังจากผ่านกระบวนการทาง การศึกษามาแล้วหรือไม่อย่างไร การประเมินผลในลักษณะนี้จะดาเนินการในขณะที่มีการนา หลักสูตรไปใช้หรือหลังจากที่ใช้หลกั สตู รไปแลว้ ระยะหนึง่ ก็ได้

พิสณุ ฟองศรี (2550) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของการประเมิน หลักสตู ร ดงั นี้

1. เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ที่จะทาให้ทราบความจาเป็นและความ ต้องการของผู้ใช้หลักสูตร ซึ่งใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ ต้องการของสภาพสงั คมและผู้เรียน

2. เพื่อให้ได้ได้สาระสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสม ก่อนนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ เพื่อลดความเส่ียงปัญหาและอุปสรรคที่จะทาให้การใช้ หลกั สตู รประสบความลม้ เหลว

3. เพื่อประเมินหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น ซึ่งจะทาให้ทราบถึงความเหมาะสมของ หลกั สูตรที่พฒั นาขึน้ ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่อย่างไร ควรจะปรบั ปรงุ แก้ไขหลกั สูตรอย่างไร ให้มีความสอดคลอ้ งกับเป้าหมายในการพัฒนาหลกั สตู รน้ัน ๆ

4. เพือ่ ประเมินความก้าวหน้าของการนาหลักสูตรไปใช้ ซึง่ จะทาให้ผู้รบั ผิดชอบ การพัฒนาหลักสูตรทราบจุดเด่น จุดด้อยของการบริหารหลักสูตร การพัฒนาบุคลากร กิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาส่ือ การใช้ส่ือการเรียน การวัดผลและประเมินผลการเรียน ตลอดจนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใช้หลักสูตรให้เกิดผลครบถ้วนตาม วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร

5. เพื่อประเมินผลสาเร็จของหลกั สตู ร ซึง่ จะทาให้ทราบว่าการใช้หลักสูตรได้ผล ตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถเพียงใด ผู้สาเร็จการศึกษานาความรู้ไป ใช้ไดม้ ากน้อยเพียงใด คุ้มค่าหรือไม่ ควรจะปรับปรงุ และพฒั นาสว่ นใด

89

6. เพื่อให้ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้ใช้หลักสูตรทราบจุดอ่อนของหลักสูตร ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งหากผู้รับผิดชอบ มองเห็นความสาเร็จในการนาหลักสูตรไปใช้ กจ็ ะทาให้เกิดแรงจูงใจหรือสร้างขวัญกาลังใจใน การปฏิบตั งิ านต่อไป

จากจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรดังกล่าว การประเมินหลักสูตรมี ความสาคัญยิ่งต่อการพฒั นาหลักสตู รให้มีคณุ ภาพ สอดคล้องกบั สภาพความต้องการของผู้ใช้ หลักสูตร และสภาพสงั คม เศรษฐกิจที่มีการเปล่ยี นแปลงไป รวมทั้งเป็นการพิจารณาตัดสนิ ว่า หลกั สตู รน้ันมีประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผลหรือไมเ่ พียงใด

ขนั้ ตอนการประเมินหลักสูตร เนื่องจากการประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการที่มีความสาคัญซึ่งมีผลต่อการ ตดั สินคุณค่าของหลักสูตร ดังนั้นในการประเมินจึงต้องมีขั้นตอนในการดาเนินการอย่างรัดกุม ดังที่ สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546) ได้สรุปข้ันตอนการประเมินหลักสูตรตามแนวคิดของทาบา (Taba) ไว้ดังนี้

1. วิเคราะห์และตีความวตั ถุประสงค์ของหลักสูตรให้มองเห็นกระจ่างชดั ใน เชิงพฤติกรรม คือ ปฏิบตั ไิ ด้จริง (Formulation and Clarification for Objective)

2. คัดเลือกและสร้างเครอ่ื งมือที่เหมาะสมสาหรับค้นหาหลักสตู ร (Selection and Construction of the Appropriate Instruments for Getting Evidences)

3. ใช้เครื่องมือที่สร้างขึ้นประเมินผลหลักสูตรตามเกณฑ์ที่ต้ังไว้ (Application of Evaluative Criteria)

4. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภูมิหลังของนักเรียนและลักษณะของการเรียนการสอน เพื่อนามาประกอบในการอธิบายผลของการประเมิน (Information on the Background of Students and the Nature of Instruction in the Light of Which to Interpret the Evidences)

5. แปลผลของการประเมิน เพื่อนาไปปรับปรงุ หลักสูตรและการเรียนการสอน ต่อไป (Translation of Evaluation Findings into Improvement of the Curriculum and Instruction)

จากแนวคิดของข้ันตอนการประเมินหลักสูตรดังกล่าวข้างต้นสรปุ ได้ว่า การประเมิน หลักสตู รเป็นข้ันตอนหนึ่งของการพัฒนาหลักสตู รหนึ่งทีป่ ระกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ หลาย ข้ันตอน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนาไปใช้พิจารณาคุณค่าของหลักสูตร ซึ่ง ขั้นตอนการประเมินหลักสูตร ได้แก่ การกาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน การเลือก เครื่องมือที่จะนาไปใช้ในการประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ การสร้างและตรวจสอบ

90

เครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ตลอดจนถึงการนาเสนอ ข้อมลู ต่อผู้เกี่ยวข้องเพือ่ ร่วมกันพิจารณาตัดสนิ คณุ ค่าของหลักสูตร รวมถึงการนาข้อมูลทไ่ี ด้ไป ใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สตู รต่อไป

ระยะของการประเมินหลักสตู ร การประเมินหลักสูตรควรมีการดาเนินเป็นระยะ ๆ เนื่องจากข้อบกพร่องหรือ ข้อผิดพลาดของหลักสูตร อาจมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยและในระยะต่างกัน โดยท่ัวไปการ ประเมินหลกั สตู รแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ (ใจทิพย์ เชอื้ รัตนพงษ์, 2539) ระยะที่ 1 การประเมินก่อนนาหลกั สูตรไปใช้ เปน็ การดาเนินการประเมินในช่วงการ พัฒนาหลักสูตร ซึ่งอาจมีการดาเนินการตรวจสอบทุกขั้นตอนของการพัฒนา ต้ังแต่การ กาหนดจุดมุ่งหมายไปจนถึงการกาหนดการวัดและประเมินผลการเรียน เมือ่ พัฒนาหลักสูตร ฉบับร่างเสร็จแล้ว ก่อนจะนาหลักสูตรไปใช้จริงก็สามารถประเมินตรวจสอบคุณภาพของ หลักสตู รฉบับร่างและองค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสตู ร การประเมินหลักสูตรในระยะน้ี ต้อง อาศัยความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านพัฒนาหลักสูตร ทางด้านเนื้อหาวิชา ทางด้าน วิชาชีพครู ทางด้านการวัดผล เปน็ ต้น ระยะที่ 2 การประเมินระหว่างการใช้หลักสูตร เป็นการดาเนินการประเมินในช่วง การนาหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นไปใช้ เพื่อตรวจสอบว่าสามารถนาใช้ใช้ได้ดีเพียงใด เพื่อจะได้ ปรับปรุง แก้ไขให้เหมาะสม เช่น ประเมินกระบ วนการใช้ห ลักสูตร ในด้า นการบ ริหา ร จัดการหลักสูตร การนิเทศ กากับ ดูแล และการจดั กระบวนการเรียนการสอน ระยะที่ 3 การประเมินหลังการใช้หลักสตู ร เป็นการดาเนินการประเมินหลังจากที่มี การใช้หลักสูตรมาแล้วระยะหนึ่งหรือครบกระบวนการแล้ว โดยควรทาการประเมินหลักสูตรทั้ง ระบบ ได้แก่ การประเมินองค์ประกอบด้านต่าง ๆ ของหลักสูตร เอกสารหลักสูตร วัสดุ หลักสตู ร บุคลากรที่เกีย่ วข้องกับการใช้หลักสตู ร การบรหิ ารหลักสตู ร การนิเทศกากับติดตาม การจัดกระบวนการเรียนการสอน ฯลฯ เพื่อสรุปผลและตัดสินว่าหลักสูตรที่จัดทาขนึ้ น้ันควรจะ ดาเนนิ การใช้ต่อไปหรือควรปรบั ปรงุ แก้ไขให้ดีข้นึ หรือควรยกเลิก สมคิด พรมจุ้ย (2545) กล่าวถึงการประเมินหลักสูตรในแต่ละช่วงเวลาโดยมี สาระสาคัญ ดงั นี้

1. การประเมินหลักสูตรก่อนนาหลักสูตรไปใช้ เป็นการประเมินที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรฉบับร่างเกี่ยวกับความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของหลักสูตร ในการนาไปใช้ รวมทั้งตรวจสอบโอกาสที่หลักสูตรนั้นจะประสบความสาเร็จ ซึ่งถ้ามี

91

องค์ประกอบที่ดีก็ย่อมมีโอกาสสาเร็จสูง การประเมินช่วงนี้ส่วนใหญ่เรียกว่า การวิเคราะห์ หลักสูตร หรือการศึกษาความเป็นไปได้ของหลักสูตร การประเมินจะเน้นการพิจารณาใน 3 เรื่องใหญ่ ๆ คือ

1.1 ความเหมาะสมของหลักสูตร เป็นการตรวจสอบข้ันต้นเพื่อกาหนดปัญหา ความจาเป็นและเหตุผลที่สาคัญในการจัดทาหลักสูตร โดยพิจารณาเรื่องต่าง ๆ เช่น ความ เป็นไปได้ทางเทคนิควิชาการ ความพร้อมทางการบริหารหลักสูตร และความพร้อมในการ สนับสนุนทางด้านทรัพยากร ความเป็นไปได้ในด้านการเงิน กาลังคน วัสดุและการจัดการ เปน็ ต้น

1.2 การวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการดาเนินการตามหลักสตู ร โดยพิจารณา จากอัตราค่าใช้จ่ายกับผลประโยชน์ตอบแทน (Benefit Cost Ratio) วิเคราะห์จุดคุ้มทนุ (Break Even Analysis) หรือพิจารณาจากการวิเคราะห์ต้นทนุ และประสิทธิผลในการดาเนนิ งาน

1.3 การศึกษาและคาดคะเนถึงประโยชน์ หรือสง่ิ ที่อาจเกิดตามมาจากการ ดาเนินงานตามหลักสูตร เป็นการศึกษาเชิงคาดคะเนหรือปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ทั้งในช่วงเริม่ ต้น พัฒนาหลักสตู รและในขณะดาเนนิ การใช้หลกั สตู ร

2. การประเมินหลักสูตรระหว่างดาเนินการใช้หลักสูตร เป็นการประเมินขณะ นาหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นไปใช้จริง โดยพิจารณาประเมินในด้านระบบการบริหารหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ท้ังนี้เพื่อศึกษาจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา อุปสรรคของการดาเนินการใช้หลักสูตร อะไรเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดกิจกรรมหรือไม่ทาให้เกิด ส่ิงเหล่าน้ัน การประเมินระหว่างการดาเนินการใช้หลักสูตร จะตอบคาถามว่าทาไมจึงเกิด ปัญหาอุปสรรคอะไร จะได้ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที การประเมินระหว่าง ดาเนินการใช้หลกั สตู รจึงมบี ทบาทในการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตรได้มากข้นึ

3. การประเมินหลกั สูตรหลังการใช้หลักสูตร เปน็ การประเมินเพื่อตอบคาถามว่า หลักสูตรประสบผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้หรือไม่ เป็นการประเมินหลักสูตรทั้งระบบ คือ ประเมินองค์ประกอบด้านต่าง ๆ ได้แก่ เอกสารหลักสูตร วัสดหุ ลักสูตร เอกสาร ตารา คู่มือครู แบบเรียน แบบฝึกหัด บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร ผู้บริหาร ครู นักเรียน ศึกษานิเทศก์ ผู้เชย่ี วชาญ สภาพการใช้หลกั สตู ร การบรหิ ารจัดการ กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ กากับ ดแู ล และการประเมินการเรียนการสอน

จากระยะเวลาในการประเมินหลักสูตรดังกล่าวน้ัน ผู้ประเมินต้องพิจารณาว่าจะ ประเมินอะไร เพื่ออะไร ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินจะนาไปใช้ประโยชน์อย่างไร จึงจะสามารถ กาหนดช่วงเวลาในการประเมินหลักสูตรที่เหมาะสมได้ การประเมินหลักสูตรควรมีการ

92

ดาเนนิ การเป็นระยะ ๆ ท้ังนีเ้ นื่องจากข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดของหลักสตู รอาจมีสาเหตมุ า จากหลายปัจจัยและในระยะต่างกัน เช่น อาจมีสาเหตุมาจากหลกั สูตร อาจมีสาเหตุในขั้นตอน การจัดทาหรือยกร่างหลักสตู รซึ่งทาให้ตัวหลักสูตรไมม่ ีคุณภาพที่ดหี รือไม่สอดคล้องกบั ปัญหา และความต้องการของผู้เรียนและสังคมที่เปล่ียนแปลงไป หรืออาจมีสาเหตุมาจากตอนนา หลักสูตรไปใช้ เปน็ ต้น

ปัญหาและแนวโนม้ ในการพฒั นาหลักสตู ร

ดังได้กล่าวแล้วว่าการพัฒนาหลักสูตรนั้น ปัจจัยสาคัญประการหนึ่งคือ ข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร อาทิ ความเปล่ียนแปลงทางด้านสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการ สภาพปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ฯลฯ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ จะส่งผลต่อการพัฒนาหลักสูตรเพื่อใช้ในการจัดการศึกษาให้กับคนในสังคม นั้น ๆ ปญั หาและแนวโน้มทางการศึกษาที่สาคัญพอสรุปได้ดังนี้

1. สภาพเศรษฐกิจจะมีการแข่งขันกันสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างในแวดวงอุตสาหกรรม ดังนั้นจึงต้องมีการเตรียมคนให้มคี วามพร้อมทางด้านความรู้ ความสามารถให้พร้อมรับกับการ เปล่ยี นแปลงที่จะเกิดขนึ้

2. กระแสโลกาภิวัตน์ รวมท้ังแนวคิดเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) จะส่งผลทาให้เกิดความเชือ่ มโยงทั้งดา้ นการค้า การลงทุนทาให้ตลาดแรงงานในอนาคต มีความต้องการคนที่มีความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ สง่ ผลให้ความต้องการการศึกษาที่ เป็นภาษาสากลมีมากขึ้น ดังน้ันแนวโน้มการจัดการศึกษาจะต้องให้ความสาคัญกับความเป็น สากลมากขึน้

3. ความเหล่ือมล้าทางการศึกษาลดลง เนื่องจากกระแสประชาธิปไตยมีการ แพร่หลายเข้าถึงประชาชนในระดับกว้าง ดังจะเห็นได้จากการรัฐธรรมนูญได้มีบทบัญญัติให้ สง่ เสริมการเพิ่มสทิ ธิเสรีภาพแก่ประชาชน รวมทั้งสภาพการใช้เทคโนโลยีเพือ่ ส่งเสริมการเรียน การสอน ทาให้เกิดช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเข้าถึงผู้เรียนได้อย่างกว้างขวาง ท่ัวถึง และหลากหลาย

4. คุณภาพทางการศึกษาจะไดร้ ับความสนใจเพิ่มมากขนึ้ หน่วยงานที่รับผิดชอบใน การจัดการศึกษาจะหันมาให้ความสนใจในเรือ่ งคุณภาพของการจดั การศึกษามากขนึ้ เนือ่ งจาก ต้องพัฒนาคนในสงั คมไทยให้มีความสามารถในการที่จะแข่งขันกบั สังคมโลกได้

93

5. ช่องว่างในด้านคุณภาพการศึกษามีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น แม้ว่าสถานศึกษาจะ ตระหนักถึงความสาคญั ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา แตเ่ นื่องจากความเหล่ือมลา้ ทางด้าน ทรพั ยากรในการจดั การศึกษายงั มีมาก จึงส่งผลให้สถานศึกษาที่มีทรัพยากรจากัดขาดโอกาสที่ จะพัฒนาคุณภาพได้เท่าเทียมกับสถานศึกษาที่มีความพร้อม

6. ผู้เรียนมีสัมฤทธิผลทาการเรียนต่าท้ังในด้านวิชาการ ทักษะกระบวนการและ ความสามารถในการคิด

7. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนลดลง เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้การส่ือสารโดยใช้เทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น พัฒนาการเชิงสังคม รวมถึงพัฒนาการทักษะ ทางอารมณ์ของผู้เรยี นลดลง ผู้สอนกับผู้เรียนมีโอกาสพบปะกันน้อยลง

8. สังคมในยุคปัจจุบัน เป็นโลกของวัตถุนิยม ทาให้เกิดกระแสการบริโภคนิยม สูงขนึ้ มาก สง่ ผลให้คนในสังคมต่างมุ่งแข่งขัน เพือ่ ความก้าวหน้าในอาชีพ การงานและแสวงหา วตั ถุ อุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกในชีวิต ทาให้สถานศึกษาส่วนใหญ่ให้ความสาคัญกับการ แข่งขัน การผลิตผู้เรียนทีม่ ีความรู้ ความสามารถทางดา้ นวิชาการ จนละเลยการพฒั นาผู้เรียน ให้มีคุณธรรมจริยธรรม

9. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านภาษาต่างประเทศยังมีคุณภาพไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากปัจจุบันผู้ที่มีความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศจะได้เปรียบท้ังในด้านการ ติดต่อสอ่ื สาร การศึกษา การประกอบอาชีพ การค้า ฯลฯ

จากสภาพปัญหาและแนวโน้มทางการศึกษาดังกล่าว บทบาทของการพัฒนา หลักสูตรจึงมีความสาคัญยิ่งในการจัดทากรอบการจัดการศึกษาให้แก่คนในสังคม เพื่อให้มี ความพร้อมรับความเปลย่ี นแปลงของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขนึ้ ดงั น้ันการพัฒนาหลกั สูตรจึงควร มีแนวโน้มดงั นี้

1. การเพิม่ คุณภาพผเู้ รียนทั้งดา้ นวิชาการและคณุ ธรรมจริยธรรม 2. หลักสตู รต้องให้ความสาคัญกบั มาตรฐานการศึกษา โดยมีเป้าหมายสงู สดุ ที่การ พัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เจริญถึงขีดสุด มีความสามารถที่จะนาและควบคุม ตนเองได้ 3. ผู้เรยี นต้องได้รบั การพัฒนาให้มีความสามารถในการใช้ภาษาเพือ่ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีในการสง่ เสริมทักษะการทางานและการดาเนินชีวิต รวมท้ังมคี วามสามารถ ปรับตวั อยู่ร่วมกบั คนอื่นได้ 4. หลกั สูตรที่พฒั นาขึ้นต้องมีความเป็นบรู ณาการความรใู้ นศาสตร์ต่าง ๆ สูงขนึ้

94

สรุปทา้ ยบท

การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง กิจกรรมการวางแผนในการจัดทาหลักสูตร ซึ่ง สามารถทาได้ในลักษณะของการปรับปรุง แก้ไขหลักสูตรเดิมให้มีความสมบูรณ์ ทันสมัยและ เหมาะสมกับผู้เรียนยิ่งขึ้น รวมท้ังการจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี พฒั นาการในดา้ นร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เป็นคนทีม่ ีคณุ ภาพในสังคม

ข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในการพัฒนาหลักสูตรประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานด้าน ปรัชญาการศึกษา ดา้ นเนือ้ หาวิชา ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม ด้านผเู้ รียน ดา้ นจิตวิทยา และ ดา้ นเทคโนโลยี ในการพัฒนาหลักสูตรจาเป็นต้องทาการวิเคราะห์ข้อมูลเหล่าน้ีอย่างละเอียด รอบคอบ ซึง่ จะช่วยให้หลกั สูตรที่พฒั นาขนึ้ มีความเหมาะสม และมีคุณภาพ

กระบวนการพัฒนาหลักสูตร หมายถึง ขั้นตอนการดาเนินงานให้ได้มาซึ่งหลักสูตร ท้ังนี้ขั้นตอนต่าง ๆ อาจมีความแตกต่างกันไป อย่างไรก็ตามขั้นตอนที่สาคัญในการพัฒนา หลักสูตรน้ันประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นวางแผนหลักสูตร ขั้นการนาหลักสูตรไปใช้ และขั้นประเมินหลักสูตร

การประเมินหลักสูตรเป็นขั้นตอนที่สาคัญประการหนึ่งของกระบวนการพัฒนา หลักสตู ร เนือ่ งจากการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรนั้นต้องอาศัยข้อมูลบางส่วนที่ได้จากการ ประเมินหลักสูตร ท้ังนี้ระยะเวลาในการประเมินหลักสูตรน้ัน ประกอบด้วย การประเมินก่อน การใช้หลกั สตู ร การประเมินระหว่างการใช้หลกั สตู ร และการประเมินหลงั การใช้หลักสตู ร

แนวโน้มในการพัฒนาหลกั สูตรในอนาคตน้ัน ต้องพิจารณาถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบ ต่อการพัฒนาคนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้การติดต่อส่ือสาร การค้า ตลอดจนสภาพสังคม เศรษฐกิจที่เปิดเสรีมากข้ึน รวมท้ังแนวคิดของการจัดการศึกษา ทีม่ ุ่งเน้นคุณภาพและความเสมอภาค ดังนั้นหลักสูตรในอนาคตที่พฒั นาต้องมีลักษณะสาคัญ คือ การเตรียมคนในสงั คมให้พร้อมรบั และรู้เท่าทันกบั สภาพการณ์ที่เปลย่ี นแปลงไป

95

คาถามทา้ ยบท

1. การพัฒนาหลกั สูตรหมายถึงอะไร 2. ทาไมต้องมีการพฒั นาหลักสูตร 3. ข้อมลู พนื้ ฐานในการพัฒนาหลักสตู รมีกด่ี า้ น และแต่ละด้านมคี วามสาคญั อย่างไรกับการพัฒนาหลักสูตร 4. กระบวนการพฒั นาหลักสูตรของใครทีท่ ่านเหน็ ว่ามีความเหมาะสม สามารถ นาไปใช้ไดจ้ ริง จงอธิบายพร้อมให้เหตผุ ล 5. กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรในขั้นตอนใดทส่ี าคัญที่สดุ จงอธิบายพร้อมให้ เหตผุ ล 6. การประเมินหลกั สตู รหมายถึงอะไร 7. เหตใุ ดจึงต้องมีการประเมินหลักสตู ร 8. ข้ันตอนสาคญั ในการประเมินหลักสูตรมีอะไรบ้าง 9. การประเมินหลกั สตู รมีก่ีระยะ และแต่ละระยะเปน็ การประเมินในลักษณะใด 10. ท่านคิดว่าในอนาคตประเทศไทยควรพัฒนาหลกั สตู รระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ไปในทิศทางใด