ข งผง ไม ม น ำตาล หาซ อได ท ไหน

แผน่ แปะแก้คัดจมูก ผู้จดั ทำ นายณัฐวฒุ ิ ศรีภูมี ชนั้ ม.5/1 เลขท5ี่ นางสาวกนกวรรณ บญุ รอดดวง ช้นั ม.5/1 เลขท1ี่ 7 นางสาวกนกวรรณ ปฐมคณุ ธรรม ช้นั ม.5/1 เลขท1ี่ 8 นางสาวณชิตา ทานะกาศ ช้นั ม.5/1 เลขท2่ี 0 นางสาวณัฐนรี จ้ยุ ศุขะ ชั้น ม.5/1 เลขท2่ี 1 นางสาวประภาวลั ย์ ดวงจุ้ย ชน้ั ม.5/1 เลขท2่ี 4 ครูท่ปี รกึ ษา คุณครูพรทิพย์ เครือแสง รายงานนีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชาสอ่ื สารและการนำเสนอ (IS2) I30202 โรงเรยี นวดั ทรงธรรม อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

แผน่ แปะแก้คัดจมูก ผู้จดั ทำ นายณัฐวฒุ ิ ศรีภูมี ชนั้ ม.5/1 เลขท5ี่ นางสาวกนกวรรณ บญุ รอดดวง ช้นั ม.5/1 เลขท1ี่ 7 นางสาวกนกวรรณ ปฐมคณุ ธรรม ช้นั ม.5/1 เลขท1ี่ 8 นางสาวณชิตา ทานะกาศ ช้นั ม.5/1 เลขท2่ี 0 นางสาวณัฐนรี จ้ยุ ศุขะ ชั้น ม.5/1 เลขท2่ี 1 นางสาวประภาวลั ย์ ดวงจุ้ย ชน้ั ม.5/1 เลขท2่ี 4 ครูท่ปี รกึ ษา คุณครูพรทิพย์ เครือแสง รายงานนีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชาสอ่ื สารและการนำเสนอ (IS2) I30202 โรงเรยี นวดั ทรงธรรม อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

(ก) ช่อื เรอ่ื ง : แผน่ แปะแก้คัดจมูก ผจู้ ัดทำ : นายณัฐวุฒิ ศรีภูมี ช้นั ม.5/1 เลขท5่ี นางสาวกนกวรรณ บุญรอดดวง ชนั้ ม.5/1 เลขท1ี่ 7 นางสาวกนกวรรณ ปฐมคณุ ธรรม ชัน้ ม.5/1 เลขท1่ี 8 นางสาวณชิตา ทานะกาศ ช้นั ม.5/1 เลขที่20 นางสาวณฐั นรี จยุ้ ศขุ ะ ช้ัน ม.5/1 เลขท2ี่ 1 นางสาวประภาวลั ย์ ดวงจ้ยุ ชั้น ม.5/1 เลขท่ี24 ทีป่ รกึ ษา : คณุ ครูพรทิพย์ เครือแสง โรงเรยี น : วดั ทรงธรรม ปกี ารศึกษา : 2564 บทคดั ยอ่ การศึกษาคร้ังนี้เป็นการศึกษาเชิงสิ่งประดิษฐ์ มวี ัตถุประสงค์เพ่ือ 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของ แผ่นแปะแก้คัดจมูก 2. เพ่อื ช่วยใหห้ ายใจได้สะดวกมากขึ้นแก้ไขปญั หาการคัดจมูก 3. เพ่ือช่วยให้การ สดู ดมยาหม่องหรอื ยาดมได้สะดวกขึ้นโดยไมต่ ้องสัมผสั ตวั ยาให้ระคายเคืองผิวและเลอะเสื้อผา้ ผู้ศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าโดยการใช้แบบสอบถามกับนักเรียนโรงเรียนวัดทรงธรรม ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ห้อง 1 ท่มี อี าการคดั จมกู มีการสุม่ ตวั อย่างแบบเจาะจงจำนวน 20 คน เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยแบบสอบถามที่ได้จัดทำขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า หลังจากการให้กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้แผ่นแปะแก้คัดจมูกทำให้ได้ ทราบประสทิ ธภิ าพของแผ่นแปะแก้คัดจมูกทส่ี ามารถแก้ปัญหาการคัดจมูกได้และทำใหห้ ายใจสะดวก มากยิ่งขึ้นโดยไม่ต้องสัมผัสตวั ยาใหร้ ะคายเคืองผิวและเลอะเสื้อผ้า ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานท่ีตั้งไว้ วา่ 1. แผ่นแปะแก้คัดจมูกใช้งานสะดวกกวา่ การทายาท่ีผวิ หนังโดยตรง 2. แผน่ แปะแก้คัดจมูกช่วยแก้ คัดจมูกได้ดีและมีประสิทธิภาพ ดังบทความที่ได้กล่าวว่าประสิทธิภาพของหอมแดงและมะกรูดเป็น สมนุ ไพรประจำบ้านทสี่ ามารถช่วยลดอาการคัดจมูกได้ ซ่ึงสมนุ ไพรธรรมชาติมีประสิทธิภาพเทียบเท่า ยาปฏิชีวนะและมีความปลอดภัยมากกวา่ ยาที่ผลติ จากสารเคมี

(ข) กติ ติกรรมประกาศ การศึกษาคน้ คว้าในคร้ังนส้ี ำเรจ็ ลุลว่ งได้โดยความช่วยเหลอื จาก คณุ ครพู รทิพย์ เครอื แสง ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ คอยให้คำปรึกษา ให้ความสะดวกในการทำโครงงาน และข้อเสนอแนะ เกี่ยวกบั แนวทางในการทำโครงงาน ผศู้ ึกษาขอขอบคุณไว้ ณ ทนี่ ้ดี ้วย นอกจากนี้ผู้ศึกษาขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ การสนับสนุน เอื้อเฟื้อและให้ความอนุเคราะห์ ช่วยเหลือ หากการศึกษาครั้งนี้จะเกิดประโยชน์แก่ผู้สนใจโดยทั่วไป ขอมอบความดีและคุณประโยชน์ที่ เกดิ ขน้ึ แต่เพอ่ื นในกลุม่ ทุกคน คณุ พ่อและคุณแม่ ที่เปน็ ผ้ใู ห้กำลังใจและให้โอกาสการศึกษาอนั มคี ่ายงิ่ ลงช่อื นายณฐั วุฒิ ศรีภมู ี นางสาวกนกวรรณ บุญรอดดวง นางสาวกนกวรรณ ปฐมคุณธรรม นางสาวณชติ า ทานะกาศ นางสาวณัฐนรี จุ้ยศุขะ นางสาวประภาวัลย์ ดวงจุ้ย

สารบญั (ค) เร่อื ง หนา้ บทคัดย่อ ก กติ ตกิ รรมประกาศ ข สารบญั ค สารบญั (ตอ่ ) ง สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ ฉ บทที่ 1 บทนำ 1 1 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของการศกึ ษาค้นคว้า 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1 1.3 สมมติฐานของการศกึ ษาคน้ คว้า 1 1.4 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 2 1.5 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 2 1.6 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 3 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการศึกษาค้นควา้ 3 2.1 การรกั ษาโรคด้วยสมนุ ไพรและตำรบั ยาโบราณของหมอพื้นบา้ น 3 2.2 ขี้ผึ้งหอมแดงบรรเทาอาการหวดั 3 2.3 อบสมุนไพรไลห่ วัด คัดจมกู 4 2.4 หอมแดง 4 2.5 อาการคดั จมูก 7 2.6 สมนุ ไพร 8 2.7 มะกรูด 9 2.8 เกลือ 10 2.9 วกิ ส์ 12 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ งานศึกษาค้นควา้ 12 3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง 12 3.2 วธิ ีดำเนนิ การศึกษาคน้ คว้า 17 3.3 ข้อมลู ที่ใชใ้ นการศกึ ษาค้นคว้า 17 3.4 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้า 18 3.5 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 18 3.6 การวิเคราะห์ข้อมลู 20 บทที่ 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า 20 4.1 ผลการศกึ ษาค้นควา้

สารบัญ(ต่อ) (ง) เรอ่ื ง หนา้ 4.2 การนำเสนอผลการศึกษาค้นควา้ 22 23 บทที่ 5 สรปุ ผลอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 23 5.1 สรุปผลการศึกษาค้นควา้ 23 5.2 อภปิ รายผลการศึกษาค้นคว้า 23 5.3 ข้อเสนอแนะ 24 25 บรรณานุกรม 27 ภาคผนวก ประวัตผิ ู้จัดทำ

สารบัญตาราง (จ) ตาราง หน้า ตารางท่ี 1 ตารางแสดงรอ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ ง 20 ตารางท่ี 2 แสดงผลคะแนนการประเมนิ ความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่างท่มี ีต่อผลิตภณั ฑ์ 20 21 แผ่นแปะแก้คดั จมกู ตารางท่ี 3 ตารางแสดงผลการวิเคราห์ข้อมลู

(ฉ) สารบญั ภาพ ภาพ หนา้ ภาพที่ 2-1 ภาพหัวหอม 4 ภาพที่ 2-2 มะกรูด 8 ภาพท่ี 2-3 เกลือ 9 ภาพท่ี 2-4 วิกส์ 10 ภาพท่ี 3-1 หวั หอม 5 ลกู 12 ภาพที่ 3-2 มะกรดู 3 ลูก 12 ภาพที่ 3-3 วิคส์ วาโปรบั 1 ตลบั 13 ภาพที่ 3-4 สตกิ เกอร์สกั หลาด 1 แผน่ 13 ภาพที่ 3-5 เกลือ 13 ภาพท่ี 3-6 กรรไกร 1 เลม่ 13 ภาพท่ี 3-7 ขวดเปลา่ ขนาดเล็ก 1 ขวด 14 ภาพท่ี 3-8 มีดสองคมและมีดปอกผลไม้ 14 ภาพที่ 3-9 ชอ้ นเล็ก 1 คนั 14 ภาพท่ี 3-10 ถว้ ยเลก็ 1 ใบ 14 ภาพที่ 3-11 วดั ขนาดสติ๊กเกอร์ให้ได้ขนาด 3x3 เซนตเิ มตร จากนนั้ ใช้กรรไกรตัด 15 ภาพท่ี 3-12 นำกะละมงั ขนาดเลก็ มาใสน่ ำ้ แล้วเตมิ เกลอื ลงไป1ชอ้ นโตะ๊ 15 ภาพที่ 3-13 นำมะกรดู ลงไปล้าง 15 ภาพท่ี 3-14 ปอกเปลือกมะกรดู ออกแลว้ ผ่าครงึ่ เพอ่ื นำไปคั้น 15 ภาพท่ี 3-15 นำมะกรดู ไปใส่ท่ีบบี มะนาวแล้วใชก้ ระชอนรองกอ่ นจะบบี นำ้ มะกรดู ออกมาใสถ่ ว้ ย 16 ภาพท่ี 3-16 นำหอมแดงมาปอกเปลือกแลว้ บบี คน้ั น้ำออกมาเหมือนข้ันตอนการคน้ั น้ำมะกรูด 16 ภาพที่ 3-17 นำนำ้ กรูดและหอมแดงทีค่ ้ันได้มาผสมให้เขา้ กันในเศษส่วนทีเ่ ท่ากันจากนน้ั ใส่วิกส์ 16 ลงไปเลก็ นอ้ ยแล้วคนให้เข้า ภาพที่ 3-18 นำสว่ นผสมท้ังหมดท่ีได้ทาลงบนสตก๊ิ เกอร์ 16 ภาพที่ 3-19 เสรจ็ สมบูรณ์ 17

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของการศึกษาค้นควา้ ปัจจุบันโลกได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้แก้ไขปัญหาและ อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวันซึ่งทำให้เกิดผลดีต่อการดำเนินชีวิต แต่ในข้อดีก็มีผลกระทบ เช่นกันในบางครั้งกระบวนการผลิตและการใช้งานก็ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและ ทางอ้อมเช่นมีการปล่อยสารเคมีและของเสียลงในแม่น้ำลำคลองจากกระบวนการผลิตการปล่อยควนั จากท่อไอเสียรถยนต์ รวมทั้งจากการเผาไหม้ในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งส่งผลทำให้ธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมถูกทำลาย อีกท้ังยังสง่ ผลเสียต่อรา่ งกายของมนุษย์ มนุษย์ดำรงชีวิตโดยอาศัยการทำงานของระบบอวัยวะในร่างกาย ซึ่งแต่ละระบบมีความสำคัญ เช่น ระบบทางเดินหายใจ ซึ่งในขณะนี้กำลังประสบปัญหามากมายทั้งปัญหามลภาวะจากฝุ่นpm2.5 มลพิษจากควันของโรงงานอุตสาหกรรมและยังมีปัญหาไวรัส โควิด-19 ที่กำลังระบาดอยู่ ซึ่งส่งผล กระทบต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์เป็นอย่างมาก สาเหตุก็เกิดขึ้นจากการติดเชื้อโรคหวัดและ โรคติดเชื้อบริเวณทางเดินหายใจอื่นๆ เช่น โรคไข้หวัดใหญ่ และไซนัสอักเสบโรคภูมิแพ้ ซึ่งอาจะมี อาการคัดจมูก ร่วมกับนำ้ มูกไหล จาม คันตา โรครดิ สดี วงจมูก เปน็ ต้นผ้คู นสว่ นใหญ่มีการใช้ยาหม่อง หรอื ยาดมเพื่อช่วยบรรเทาอาการเหล่าน้ี ทางคณะผู้จัดทำจึงคิดค้น Herbal Patch หรือแผ่นแปะแก้คัดจมูกขึ้นมา เพื่อช่วยให้หายใจได้ สะดวกมากขึ้น แก้ไขปัญหาการคัดจมูกและ เพื่อให้สูดดมยาหม่องหรือยาดมได้สะดวกขึ้นโดยไม่ต้อง สัมผัสตัวยาให้ระคายเคืองผิวและเลอะเสื้อผ้าซึ่งลักษณะเป็นแผ่นสติ๊กเกอร์มีกลิ่น ใช้ติดตามเสื้อผ้า สามารถลอกออกได้ซง่ึ จะไมท่ ำให้เลอะเสือ้ ผ้าอีกทง้ั ไม่ทำให้ระคายเคืองผวิ หนัง 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1) เพอ่ื ศึกษาประสทิ ธิภาพของแผน่ แปะแก้คดั จมูก 2) เพ่ือช่วยให้หายใจได้สะดวกมากขนึ้ แก้ไขปัญหาการคัดจมูก 3) เพ่ือชว่ ยให้การสูดดมยาหม่องหรอื ยาดมไดส้ ะดวกขึ้นโดยไม่ตอ้ งสัมผัสตัวยาใหร้ ะคายเคือง ผวิ และเลอะเส้ือผา้ 1.3 สมมติฐานของการศกึ ษาค้นควา้ 1) แผน่ แปะแก้คัดจมูกใชง้ านสะดวกกว่าการทายาที่ผิวหนังโดยตรง 2) แผน่ แปะแก้คดั จมูกช่วยแกค้ ดั จมกู ได้ดี และมีประสิทธภิ าพ 1.4 ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ 1) สถานที่ โรงเรียนวัดทรงธรรม อำเภอพระประแดง จงั หวัดสมุทรปราการ

2 2) ระยะเวลา 1 กรกฎาคม 2564 - 28 กมุ ภาพันธ์ 2565 3) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักเรียนโรงเรียนวดั ทรงธรรม กลุม่ ตัวอย่าง นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 1 ทม่ี ีอาการคัดจมูก จากวิธสี ุ่มโดยการ สุม่ แบบเจาะจง 1.5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั 1) ไดศ้ ึกษาประสิทธภิ าพของแผ่นแปะแก้คดั จมูก 2) สามารถชว่ ยใหห้ ายใจไดส้ ะดวกมากขน้ึ แก้ไขปัญหาการคัดจมูก 3) สามารถช่วยใหก้ ารสูดดมยาหม่องหรอื ยาดมไดส้ ะดวกข้นึ โดยไม่ต้องสมั ผัสตวั ยาให้ระคาย เคืองผิวและเลอะเสื้อผ้า 1.6 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 1. คัดจมกู หมายถงึ อาการคัดจมูกเป็นอาการทพี่ บไดบ้ ่อย ซ่งึ อาจเป็นอาการที่พบได้ ตามปกติ (ซ่งึ พบเป็นสว่ นน้อย ไดแ้ ก่ อาการคดั จมกู ที่เกดิ จากการที่จมกู ทำงานสลบั ข้างกนั ตามธรรมชาติทเี่ รียกวา่ nasal หรอื turbinate cycle หรอื อาการคัดจมกู ที่เกดิ จากการ เปลีย่ นท่าทาง 2. แผ่น หมายถึง สง่ิ ทม่ี ลี ักษณะแบน ๆ อยา่ งกระดาษหรือกระดาน เช่น แผน่ กระดาษ แผ่น กระดาน 3. แปะ หมายถึง เอาของแบน ๆ บาง ๆ ทาบเข้าไป วิกส์ หมายถึง ยาทาระเหยบรรเทาอาการ คัดจมกู ช่วยใหห้ ายใจคลอ่ ง ลดอาการไอ บรรเทาอาการเจ็บกล้ามเนื้อ ช่วยลดอาการคดั จมกู เน่ืองจากหวัด 4. แผน่ สต๊ิกเกอร์ หมายถงึ แผ่นภาพบนกระดาษ ซึง่ เมอื่ นำมาปดิ ลงบนพน้ื แล้วลอกกระดาษ ออก จะทำใหร้ ปู ติดอยบู่ นพืน้ นั้นๆ 5. สักหลาด หมายถึง ผา้ ท่ีทำดว้ ยขนสตั ว์ จากการทอหรืออัด 6. แผน่ แปะแก้คัดจมูก หมายถงึ แผ่นแปะท่ีช่วยเรอื่ งอาการคดั จมูกและอาการหายใจไมส่ ะดวก

บทที่ 2 เอกสารที่เกยี่ วขอ้ งกับการศกึ ษาค้นคว้า ในการศึกษาค้นควา้ เร่ือง แผน่ แปะแก้คัดจมูก แนวคิดทฤษฎีและหลักฐานต่างๆจากเอกสารทเ่ี กีย่ วข้องดังน้ี 2.1การรกั ษาโรคดว้ ยสมุนไพรและตำรับยาโบราณของหมอพ้ืนบา้ น ตัวยาสมุนไพรในการรักษาโรค ผลการวิจัย หมอยาสมุนไพร 12 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชายและเป็น ผู้สูงอายุประสบการณ์รักษาผู้ป่วยไม่ตำกว่า 10 ปี แรงจูงใจในการเป็นหมอพื้นบ้านเพื่อสืบทอดจาก บรรพบุรุษ การวินิจฉัยโรคใช้การตรวจร่างกายและซักประวัติ ให้การรักษาด้วยสมุนไพรมีอหลาย รูปแบบด้วยกัน เช่น ใชส้ มนุ ไพรอยา่ งเดียวมากทสี่ ุด รองลงมาคือใช้สมุนไพรร่วมกับเวทย์มนต์ และใช้ สมุนไพรร่วมกับไสยศาสตร์ โหราศาสตร์หมอพื้นบ้านใช้ตัวยาสมุนไพรที่มีในชุมชน วิธีการรักษาด้วย สมุนไพร มีทั้งการต้มดื่ม การฝนทา การอบสมุนไพรโดยใช้สมุนไพรหลายชนิดรวมกัน ในการศึกษา ครงั้ นี้พบตัวยาสมนุ ไพรในท้องถิ่นไม่น้อยกวา่ 40 ชนิด 2.2 ข้ีผึ้งหอมแดงบรรเทาอาการหวัด หอมแดงเป็นสมุนไพรที่มสี รรพคุณบรรเทาอาการหวัด โดยใชก้ ารหั่นเปน็ แวน่ ใสไ่ ว้ ในถุงเทา้ หรอื ทุบ ให้น้ำมันหอมระเหยออกมา แล้ววางไวบ้ นหัวเตียงซง่ึ หอมแดงสามารถชว่ ยลดอาการหวัดไดด้ ี 2.3 อบสมนุ ไพรไล่หวัด คดั จมกู การอบสมุนไพร คือ การอบตัวด้วยไอน้ำที่ได้จากการต้มสมุนไพร เป็นวิธีการบำบัดอย่างหน่ึง การอบ ไอน้ำสมุนไพรเพื่อให้ผิวหนังได้สัมผสั กบั ไอนำ้ สมนุ ไพร และยังสามารถสูดดมไอน้ำสมนุ ไพรได้ด้วย ซ่ึง ช่วยทำให้ระบบทางเดินหายใจและระบบการไหลเวยี นโลหิตดีข้ึน ทำให้สดชื่นผิวพรรณเปล่งปล่ังมนี ้ำ มีนวล ลดอาการปวดเม่ือยตามกล้ามเน้ือ และอาการหวัด คดั จมูก สมุนไพรท่ีใช้ในการอบ คือ ตะไคร้ ใบเตย ไพล ขมิน้ ชัน มะกรูด ใบพลับพลงึ ใบมะขาม ใบส้มป่อย ดอกมะลิ ดอกพิกลุ ดอกบุนนาค ดอก สารภี เกสรบัวหลวง อาการหวัดคัดจมูก ทแ่ี พทย์วนิ จิ ฉยั แลว้ วา่ ไมม่ กี ารติดเช้ือ

4 2.4 หอมแดง ภาพท่ี 2-1 ภาพหัวหอม หอมแดงเป็นพืชผักและสมุนไพรที่คนไทยรู้จักและคุ้นเคยมานาน เพราะมีคุณสมบัติหลายประการที่ เหมาะกับอาหารไทยและรักษาอาการแนน่ จมูก เช่น กลิ่นซึ่งช่วยดับกลิ่นคาวของเครือ่ งปรงุ อื่นๆ ได้ดี รสชาตอิ อกหวานและเผ็ด นอกจากน้ียงั มีฤทธฆิ์ า่ เช้อื โรคตา่ งๆ ชว่ ยใหเ้ จริญอาหารและยอ่ ยอาหาร คนไทยกินหอมแดงในหลากหลายรูปแบบ เช่น หอมแดงหัวเล็กๆ ทำเป็นหอมดองหรือดองทั้งต้น ขณะทใ่ี บยังเขียวสด ใบสดและช่อดอกใช้ผัด หอมแดงท่ีแกเ่ ต็มทีจ่ ะใช้ประกอบอาหารมากที่สุดเพราะ มีกลิ่นแรงกวา่ หอมอ่อนคือ ใช้เป็นสว่ นประกอบของเคร่ืองแกงไทยแทบทกุ ชนิด เช่น แกงเผ็ด แกงคั่ว แกงมสั ม่นั แกงกะหร่ี แกงขเี้ หล็ก พะแนง ฯลฯ หอมแดงจดั เป็นพืชเศรษฐกจิ ที่สำคญั ของจังหวัดศรีสะ เกษ เน่ือง จากมชี ือ่ เสยี งเป็นทปี่ ระจักษ์วา่ มคี ณุ ภาพดี สสี วย หวั ใหญ่ เก็บได้นาน มีอัตราการฝ่อน้อย การปลูกหอมแดงเป็นอาชีพ ส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น บุรีรัมย์ นครราชสีมา ศรีสะเกษ และภาคตะวันตก เช่น ราชบุรี ในสภาวะปกติ ภูมิคุ้นกันของร่างกายมีหน้าที่ตรวจจับสิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย หาก พบเจอสิง่ อนั ตราย ภูมคิ มุ้ กันจะช่วยกำจัดส่ิงแปลกปลอมดงั กล่าวออกไป แต่ภูมิคุ้มในผู้ป่วยภูมิแพ้น้ัน มีการทำงานที่ไวกว่าปกติ ทำให้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านสิ่งแปลกปลอมที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น ฝุ่น ละอองเกสรดอกไม้ เชื้อรา ขนสัตว์ เป็นต้น ซึ่งในทางการแพทย์จะเรียกสิ่งแปลกปลอมที่ไม่ อันตรายแต่กลบั กอ่ ใหเ้ กิดอาการภูมแิ พท้ ี่กล่าวมานีว้ ่า สารก่อภูมแิ พ้ ซงึ่ สารก่อภมู แิ พ้นม้ี อี ยู่หลายชนิด และสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง และจะกระตุ้นให้เกิด “ปฏิกิริยาภูมิแพ้” ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่ รา่ งกายพยายามต่อสู้เพอื่ กำจัดส่งิ แปลกปลอม 2.5 อาการคดั จมูก อาการคัดจมูกอาจเกิดจากสาเหตุใดก็ตามที่ทำให้เกิดความระคายเคืองหรืออักเสบที่เนื้อเยื่อในจมูก เชน่ การตดิ เชอื้ สารกอ่ ภูมิแพ้ หรือโรคตา่ ง ๆ มกั พบว่าสาเหตทุ ี่ทำให้มอี าการคดั จมกู ได้แก่ 2.5.1 การติดเช้อื โรคหวดั และโรคตดิ เช้ือบริเวณทางเดินหายใจอ่ืน ๆ เชน่ โรคไขห้ วดั ใหญ่ และ ไซนัสอักเสบ 2.5.2 โรคภมู ิแพ้ ซึ่งอาจมอี าการคดั จมกู ร่วมกับน้ำมูกไหล จาม คันตา เป็นต้น สาเหตุของอาการคัดจมกู

5 อาการคัดจมูกอาจเกิดจากสาเหตุใดก็ตามที่ทำให้เกิดความระคายเคืองหรืออักเสบที่เนื้อเยื่อในจมูก เช่น การตดิ เชื้อ สารก่อภมู แิ พ้ หรือโรคตา่ ง ๆ มกั พบว่าสาเหตุท่ที ำให้มอี าการคัดจมูก ได้แก่ การตดิ เชอ้ื โรคหวดั และโรคติดเชือ้ บริเวณทางเดินหายใจอืน่ ๆ เช่น โรคไขห้ วดั ใหญ่ และไซนสั อักเสบ โรคภูมิแพ้ ซ่งึ อาจมอี าการคัดจมกู ร่วมกบั น้ำมกู ไหล จาม คันตา เปน็ ตน้ ริดสีดวงจมูก เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเย่ือบุภายในจมกู และโพรงจมูก ทำให้มีก้อนเนื้อนิม่ ๆ ยื่น ออกมากีดขวางจนมีอาการหายใจไม่สะดวกได้ เยอ่ื จมูกอักเสบเรือ้ รัง สว่ นสาเหตอุ ื่น ๆ ที่อาจพบได้ เชน่ มสี ง่ิ แปลกปลอมเข้าไปในจมกู เช่น ฝนุ่ ละอองเกสรดอกไม้ การไดร้ ับบาดเจบ็ ที่จมูก ผลข้างเคยี งจากการใช้ยาบางชนดิ ภาวะท่มี ีการคง่ั ของน้ำมูกหลงั จากหยดุ ใชย้ าลดนำ้ มูก มีเนอ้ื งอกทโ่ี พรงจมกู หรอื ภายในจมูก ต่อมอะดนี อยด์บวม คือตอ่ มน้ำเหลอื งชนดิ หน่ึงทอี่ ย่ดู า้ นหลังโพรงจมกู เมอ่ื เกิดการอักเสบหรอื บวมขึ้น จะทำใหม้ อี าการหายใจลำบากตามมาได้ นอกจากนี้ อาการคัดจมกู ยังสามารถเกิดขึ้นไดใ้ นระหว่างการต้ังครรภ์ โดยเฉพาะในช่วงปลายไตรมาส แรกหรือเดือนท่ี 3 ของการตั้งครรภ์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนและเลือดที่มา เลีย้ งท่เี พิม่ มากขึ้นจนทำให้เยื่อจมูกเกดิ การอักเสบ แหง้ หรอื มีเลอื ดออกได้ การวนิ จิ ฉัยอาการคดั จมูก แพทย์มักวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการคัดจมูกด้วยการซักถามอาการและตรวจร่างกายเบื้องต้น ซ่ึง โดยมากจะไม่จำเป็นต้องรบั การตรวจใด ๆ เป็นพิเศษ แต่หากไม่พบสาเหตุของอาการคัดจมูกที่แนช่ ดั หรืออาการยงั ไมด่ ีขึ้นหลงั ให้การรกั ษา กอ็ าจต้องสง่ ตรวจเพม่ิ เติมกับแพทย์เฉพาะทางด้านหู คอ จมูก รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิแพ้เพื่อรับการตรวจภูมิแพ้หรือตรวจเลือด และเป็นไปได้ว่าแพทย์เฉพาะ ทางด้านหู คอ จมูกอาจใช้กล้องส่องตรวจดูบริเวณหลังจมูก หรือบางครั้งก็ต้องมีการตรวจด้วยการ ถ่ายภาพซีทีสแกน (CT Scan) หรือเอมอาร์ไอสแกน (MRI Scan) หากสุดท้ายยังไม่พบสาเหตุของ อาการคัดจมูกท่ีเกิดขึน้ การรกั ษาอาการคดั จมูก อาการคดั จมูก นอกจากจะกอ่ ใหเ้ กิดความรำคาญแล้ว ยังอาจเปน็ สัญญาณบง่ บอกถึงอาการเจ็บป่วยที่ แฝงอยู่ และแม้โดยทั่วไปอาการท่ีเกิดขึ้นจะไม่ร้ายแรงอะไร แต่ในกรณีต่อไปนี้ผู้ป่วยควรไปพบแพทย์ เพอื่ รบั การรกั ษา อาการคัดจมูกทีเ่ ป็นมานานมากกวา่ 10 วัน มไี ขส้ ูงรว่ มด้วยนานกว่า 3 วนั มีน้ำมูกเป็นสีเหลืองหรือเขียว พร้อมกับมีอาการเจ็บโพรงจมูกหรือมีไข้ ซึ่งอาจเป็นสัญญาณที่บ่งบอก ถงึ การติดเชื้อแบคทเี รียและจำเป็นตอ้ งรบั การรกั ษาด้วยยาปฏชิ วี นะ มเี ลือดออกปนมากบั นำ้ มกู หรือมนี ้ำมูกใส ๆ ไหลอยา่ งต่อเน่ืองหลงั ไดร้ ับบาดเจบ็ ทีศ่ ีรษะ เดก็ เลก็ อายุต่ำกว่า 2 เดือนทีม่ ีอาการคดั จมกู รว่ มกบั มีไข้

6 ทารกที่มอี าการคดั จมูกหรือมีนำ้ มูกไหลจนเป็นอุปสรรคต่อการใหน้ มหรอื ทำให้หายใจไดล้ ำบาก ผปู้ ว่ ยทมี่ ีระบบภมู ิคมุ้ กนั อ่อนแออย่แู ล้ว เชน่ โรคหอบหืด หรือโรคถงุ ลมโปง่ พอง เปน็ ตน้ คัดจมูกหรอื ร้สู ึกแนน่ จมกู เพียงขา้ งเดยี ว มีอาการคดั จมกู จนไม่สามารถนอนได้ หรือมภี าวะอุดกนั้ ทางเดินหายใจขณะนอนหลับ การดูแลรักษาตนเอง อาการคัดจมูกโดยท่ัวไปอาจบรรเทาไดด้ ว้ ยการดแู ลรักษาตนเองตามข้อปฏิบตั ติ ่อไปนี้ สั่งน้ำมกู ออกมาเบา ๆ เพอ่ื ใหจ้ มกู โล่งขึน้ ด่ืมนำ้ ให้เพยี งพอเพอ่ื ช่วยใหน้ ำ้ มกู ไมจ่ ับตวั เหนียวและปิดกนั้ โพรงจมกู อาการคัดจมูกในเด็กทารกและเด็กเล็กที่มาจากน้ำมูกที่เหนียวข้นหรือ น้ำมูกแห้งให้หยดน้ำเกลือ ปราศจากเช้อื ปรมิ าณเลก็ นอ้ ยเขา้ ไปในจมกู จากนัน้ ใชล้ ูกยางทส่ี ะอาดดูดเอาน้ำมกู ออกมาเบา ๆ ใช้นำ้ เกลอื ล้างจมูกเพ่ือใหโ้ พรงจมูกชุ่มช้ืน ไม่แหง้ ช่วยขจดั นำ้ มูกให้เบาบางลง ชะล้างสิ่งแปลกปลอม สารกอ่ ภมู แิ พ้ และอาจชว่ ยลดการสะสมของเช้ือโรคในโพรงจมูก ซึง่ น้ำเกลอื ล้างจมูกควรเป็นน้ำเกลือ ที่ผ่านการฆ่าเชื้อ ใส ไม่มีสี บรรจุในขวดใสเพื่อมองเห็นสิ่งแปลกปลอมในขวดได้ง่าย ส่วนอุปกรณ์ สำหรับล้างจมูก อย่างไซรินจ์ ภาชนะรอง และจุกล้างจมูก จะต้องสะอาด หลังการล้างจมูก ควรทำ ความสะอาดอปุ กรณด์ ว้ ยการลา้ ง ตากใหแ้ ห้ง และเก็บในที่สะอาดทกุ ครงั้ หลีกเลยี่ งสารก่อความระคายเคืองท่ีอาจกระตุ้นให้เกิดภูมแิ พ้ย่ิงขึน้ เช่น ไรฝนุ่ ควนั บุหรี่ และอากาศท่ี เปลี่ยนแปลงกะทันหนั อย่างฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ หรือฝุน่ PM 2.5 ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นบิดให้หมาดวางบนใบหน้า เป็นการช่วยเปิดโพรงจมูกที่แน่น เพ่ือให้หายใจได้สะดวก ยิ่งข้นึ หายใจโดยองั หนา้ กับไอจากหม้อน้ำรอ้ นจะชว่ ยใหห้ ายใจได้อยา่ งเป็นปกติ ทำประมาณ 5–10 นาที ยกศรี ษะให้สงู ขนึ้ จากปกตริ ะหว่างการนอนหลับในเวลากลางคนื จะทำให้หายใจไดส้ ะดวกย่งิ ขน้ึ ใช้เครอ่ื งใหค้ วามชุ่มช้ืนในบา้ น (Humidifier) การรกั ษาด้วยการใช้ยา อาการคัดจมูกสามารถบรรเทาลงได้ด้วยการใช้ยาตามร้านขายยาทั่วไป อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยควร ปรึกษาแพทย์หรอื เภสชั กรและอ่านฉลากให้ละเอยี ดทกุ คร้ังก่อนใชย้ ารักษาอาการคัดจมูกตอ่ ไปนี้ ยาทาที่มีส่วนผสมของการบูร เมนทอล หรือยูคาลิปตัส ใช้ทาบริเวณหน้าอกช่วยบรรเทาอาการคัด จมกู ทำให้หายใจได้คล่อง แตไ่ มค่ วรใชก้ บั เดก็ อายตุ ่ำกว่า 2 ปี ยาแก้คัดจมูกชนดิ เม็ดหรือน้ำเชื่อม ถือเป็นยาชนิดที่ปลอดภัยหากจำเป็นต้องใชต้ ิดต่อเปน็ เวลานาน ท่ี นยิ มใชก้ นั ได้แก่ ยาซโู ดอเี ฟดรีน (Pseudoephedrine) และฟีนลิ เอฟรีน (Phenylephrine) ยาพ่นจมูก เช่น ยาเอฟีดรีน (Ephedrine) และออกซีเมตาโซลีน (Oxymetazoline) สามารถช่วย บรรเทาอาการคัดจมูกได้ดี แต่ไม่ควรใชต้ ิดต่อนานเกิน 5–7 วนั เพราะหากใช้นานกว่านี้อาจทำให้เกิด การคงั่ ของน้ำมกู หลังหยดุ ใชไ้ ด้ และหลกี เล่ยี งการใชย้ าน้กี บั เด็กอายตุ ำ่ กว่า 6 ปี ส่วนเดก็ อายุ 6–12 ปี อาจใชย้ านีไ้ ด้เป็นเวลานานสุด 5 วนั หากไมม่ กี ารรกั ษาวธิ อี ่ืน ๆ ที่ไดผ้ ล ยาสเตียรอยด์พ่นจมูก เป็นยาใช้บรรเทาอาการคัดจมูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีสาเหตุมาจากภูมิแพ้ หรือริดสีดวงในจมูก ยานี้จะช่วยลดอาการบวมภายในจมูก ปลอดภัยต่อเด็กและผูใ้ หญ่ และการใช้ยา ควรไดร้ ับการดแู ลจากแพทย์หากใชต้ ิดตอ่ เป็นเวลานาน

7 ยาแก้แพ้ ในกรณีที่สาเหตุเกิดจากโรคภูมิแพ้ เช่น มีอาการคัดจมูกร่วมกับมีน้ำมูกใส ๆ ไหลอย่าง ต่อเนื่อง จาม คันหรือน้ำตาไหล การใช้ยาแก้แพ้ เช่น ยาลอราทาดีน (Loratadine) หรือเซทิริซีน (Cetirizine) จะชว่ ยลดอาการอื่น ๆ ของโรคทีเ่ กิดขึ้นได้ในคราวเดียว นอกจากนี้ยารักษาโรคหวัดบาง ชนิดก็อาจพบว่ามีสว่ นผสมของยาแก้แพเ้ ช่นกัน ทั้งนี้ยาแก้แพ้ควรรับประทานตอนกลางคืนก่อนนอน เพราะอาจมผี ลขา้ งเคยี งทำใหร้ สู้ กึ งว่ งนอนได้ ยาบรรเทาอาการปวด แม้ว่าจะไม่ช่วยบรรเทาอาการคัดจมูก แต่ยาแก้ปวดอย่างพาราเซตามอล ไอบู โพรเฟน หรอื นาพรอกเซนสามารถใชร้ ับประทานเพื่อชว่ ยลดอาการเจ็บปวดทเ่ี กิดจากโพรงจมูกอักเสบ ได้ 2.6 สมนุ ไพร ผลติ ผลธรรมชาติ ได้จาก พชื สตั ว์ และแรธ่ าตุ ทใี่ ช้เปน็ ยา หรอื ผสมกับสารอนื่ ตามตำรบั ยา เพ่อื บำบัด โรค บำรุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ” หากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะ เรียกวา่ ยา ในตำรับยา นอกจากพืชสมนุ ไพรแล้วยังอาจประกอบดว้ ยสตั ว์และแร่ธาตอุ ีกด้วย เราเรียก พชื สตั ว์ หรอื แรธ่ าตุท่เี ป็นสว่ นประกอบของยานีว้ า่ เภสัชวตั ถุ พืชสมุนไพรบางชนิด คำว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง พืชที่ใช้ทำเป็นเครื่อง ยา สมุนไพรกำเนิดมาจากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อัน หมายถึงทั้งการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยาสมุนไพร หมายความว่า ยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสม ปรงุ หรือแปรสภาพ เชน่ พชื กย็ ังเปน็ สว่ นของราก ลำต้น ใบ ดอก ผล ฯลฯ ซ่งึ มไิ ด้ผา่ นข้นั ตอนการแปร รปู ใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะถกู ดดั แปลงในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ถกู หั่นให้เปน็ ชนิ้ เล็กลง บด เป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่งแต่ในความรู้สึกของคนทั่วไปเมื่อกล่าวถึงสมุนไพร มักนึกถึงเฉพาะ ตน้ ไมท้ น่ี ำมาใช้เปน็ ยาเท่าน้ัน ลกั ษณะ พืชสมนุ ไพร นน้ั ตงั้ แต่โบราณก็ทราบกันดวี ่ามีคณุ ค่าทางยามากมายซึ่ง เชอื่ กนั อกี ด้วยวา่ ตน้ พืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยามากน้อยกว่ากัน เท่าน้ัน พืชสมนุ ไพร หรือวัตถธุ าตนุ ี้ หรอื ตวั ยาสมนุ ไพรนี้ แบ่งออกเปน็ 5 ประการ ดังนี้ รปู ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลอื กไม้ แก่นไมก้ ระพไ้ี ม้ รากไม้ เมล็ด สี มองแล้วเหน็ ว่าเป็นสเี ขียวใบไม้ สีเหลอื ง สแี ดง สสี ม้ สีม่วง สีนำ้ ตาล สดี ำ กล่ิน ใหร้ วู้ า่ มีกลิ่น หอม เหมน็ หรือกล่ินอย่างไร รส ให้รูว้ า่ มรี สอย่างไร รสจดื รสฝาด รสขม รสเคม็ รสหวาน รสเปรยี้ ว รสเย็น ชื่อ ต้องรู้ว่ามีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้น ๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่า เป็นอย่างไร ใบขี้เหล็กเป็น อยา่ งไร พชื สมนุ ไพร แบง่ ตามลักษณะประเภทไม้ได้ดังน้ี ประเภทไม้ลม้ ลกุ เช่น ฟา้ ทะลายโจร ขงิ ขมน้ิ วา่ นหางจระเข้ หญ้าปกั ก้งิ แมงลัก ว่านน้ำ ประเภทไมพ้ ุ่ม เช่น พญายอ กระเจ๊ียบแดง เสลดพงั พอนตัวผู้ มะแวง้ ตน้ หญา้ หนวดแมว ทองพันชัง่

8 ประเภทไมต้ น้ เช่น สะเดา ขเี้ หล็ก อบเชย กานพลู มะขามแขก การบูร ฝร่งั ประเภทไมเ้ ถา เช่น มะแว้งเครอื บอระเพ็ด บวั บก พลู อญั ชัน หางไหลแดง 2.7 มะกรูด ภาพท่ี 2-2 มะกรูด เป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) มีถิ่นกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย การใช้มะกรูดสระผมนา่ จะรู้จกั กันมาต้ังแต่สมัยโบราณ วิธีการสระ บ้างก็ใช้ผลดิบผ่าแล้ว บีบน้ำสระโดยตรง บ้างก็นำไปเผา หรือต้มก่อนสระ มะกรูดยังมีใช้ในพระราชพิธีสำคญั เช่น พระราช พิธีโสกันต์ ซง่ึ ระบุไวใ้ นพระราชพิธีสิบสองเดือนไว้ วา่ จะตอ้ งมีผลมะกรูดและใบส้มป่อยประกอบในพิธี ด้วย เข้าใจว่าน่าจะใช้เพื่อการสระผมนั่นเอง และก็สามารถนำไปล้างพื้นได้ด้วย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิด หนง่ึ เชน่ กนั น้ำมะกรูดนั้นมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุนคล้ายใบ แต่ใช้น้อยกว่าน้ำมะนาว ใช้ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาวได้ เช่นในปลาร้าหลน น้ำพริกปลาร้า น้ำพริกมะกรูด มะกรูดมีส่วนเปลือกที่หนา ส่วนเปลือกนิยมนำผิว มาประกอบอาหารบางชนิดด้วย ในมะกรดู มีน้ำมนั หอมระเหยอยู่มาก ใบมะกรดู น้ันใส่ในต้มยำทุกชนิด น้ำยาขนมจีน ยำหอย ใส่ในแกงเช่น แกงเผ็ด แกงเทโพ แต่ถ้าใส่มากเกินไปจะมีรสขมมีกลิ่นฉุน ทั้งใน ใบ และผล บางครงั้ สามารถนำไปใช้ไล่แมลงบางชนดิ ไดผ้ ลมะกรูดผา่ ซีกท่ีบีบนำ้ ออกแล้ว ใช้เปน็ ยาดับ กลิ่นในห้องสุขาได้เป็นยาบำรงุ หัวใจ ขับลมในลำไส้ แก้แน่นท้องจุกเสียด กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและ แก้เสมหะเปน็ พษิ ชว่ ยบำรงุ ผมใหเ้ งางามแก้อาการผมรว่ ง ประโยชน์และสรรพคุณมะกรดู ชว่ ยในการตอ่ ต้านอนมุ ลู อิสระสงู ชว่ ยเสรมิ สร้างภมู คิ ุ้มกนั ให้รา่ งกายแข็งแรง กระทงุ้ พิษ แก้ฝีภายในและแกเ้ สมหะเปน็ พษิ มนี ้ำมันหอมระเหยผอ่ นคลายความเครียด คลายความกงั วล เป็นยาบำรุงหัวใจ แกล้ ม หนา้ มืด วงิ เวยี นศีรษะ แกอ้ าการไอ ขับเสมหะ ชว่ ยฟอกโลหติ

9 แก้อาการเลือดออกตามไรฟนั ชว่ ยขบั ลมในลำไส้ แกอ้ าการจุกเสยี ด ท้องอดื แนน่ ทอ้ ง ช่วยขบั ระดู ขบั ลม ชว่ ยบำรงุ หนงั ศีรษะและบำรุงเสน้ ผมใหแ้ ขง็ แรง แก้ปญั หากลิ่นเทา้ เหมน็ มีกลนิ่ อับเชือ้ รา 2.8 เกลอื ภาพที่ 2-3 เกลือ เกลือ เป็นแร่ธาตุส่วนใหญ่ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) สารประกอบในระดับสูงกว่าเกลือ ชนดิ ต่าง ๆ เกลอื ในธรรมชาติก่อตัวเป็นแร่ผลึกรู้จักกนั วา่ เกลอื หิน หรือแฮไลต์ เกลอื พบได้ในปริมาณ มหาศาลในทะเลซึ่งเป็นองค์ประกอบของแร่ที่สำคัญ ในมหาสมุทรมีแร่ธาตุ 35 กรัมต่อลิตร ความ เค็ม 3.5% เกลือเป็นสิ่งจำเป็นต่อชวี ิตสัตว์ ความเค็มเป็นรสชาตพิ ื้นฐานของมนุษย์ เนื้อเยื่อสตั ว์บรรจุ เกลือปริมาณมากกว่าเนื้อเยื่อพืช ดังนั้นอาหารของชนเผ่าเร่ร่อนที่ดำรงชีวิตในฝูงต้องการเกลือเพียง เล็กน้อย หรือไม่ต้องการเกลือเลย ขณะอาหารประเภทซีเรียลจำเป็นต้องเพิ่มเกลือ เกลือเป็นหนึ่งใน เครื่องปรุงรสที่เก่าแก่ที่สุดและหาได้ง่ายที่สุด และการดองเค็มก็เป็นวิธีการถนอมอาหารที่สำคัญวิธี หนงึ่ หลักฐานการทำเกลือยุคแรกที่สุดย้อนไปถึง 6,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมื่อคนที่อาศัยในประเทศ โรมาเนียต้มน้ำเพื่อสกัดเกลือ การทำนาเกลือในจีนก็เกิดขึ้นในเวลาไล่เล่ียกัน เกลือถูกชาวฮีบรู กรีก โรมัน ไบแซนไทน์ ฮิไทต์ และอียิปต์ ตีราคาสูง เกลือกลายเปน็ วัตถุสำคัญและขนส่งทางเรือผ่านทะเล เมดิเตอร์เรเนียน ผ่านทางทางเกลือที่สร้างขึ้นเฉพาะ และผ่านทะเลทรายซาฮาราในคาราวานอูฐ ความขาดแคลนและความต้องการเกลอื ท่วั โลกนำไปสสู่ งครามชงิ เกลือ และใช้เกลือเพ่ือเพมิ่ ภาษีเงินได้ เกลอื ยงั ถูกใช้ในพธิ ที างศาสนา และวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ดว้ ย เกลือผลิตจากเหมืองเกลือ หรือจากการระเหยน้ำทะเล หรือน้ำซับที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุในบ่อต้ืน ผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมหลักของเกลือคือโซดาไฟ และคลอรนี และใช้ในกระบวนการทางอตุ สาหกรรม และในการผลิตโพลีไวนิลคลอไรด์ พลาสติก เยื่อกระดาษ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากการผลิตเกลือ ปรมิ าณสองล้านตนั ต่อปี มีเพยี ง 6% ท่ใี ห้มนุษย์บริโภค ส่วนอน่ื ๆ ใชใ้ นการปรับสภาวะของน้ำ กำจัด น้ำแข็งบนถนน และใช้ในการเกษตร เกลือที่กินได้มีขายในหลายรูปแบบ เช่น เกลือสมุทรและเกลือ โต๊ะปกติจะบรรจุสารป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน และอาจเสริมไอโอดีนเพื่อป้องกันภาวะพร่อง

10 ไอโอดีน นอกจากจะใช้ปรุงอาหารและวางบนโต๊ะแล้ว เกลือยังพบได้ในอาหารแปรรูปจำนวนมาก อาหารที่มีโซเดียมมากเกินไปทำให้ความดันโลหิตสูง และอาจเพิ่มความเสี่ยงของกล้ามเนื้อหัวใจตาย เหตุขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าผู้ใหญ่ควรบริโภคโซเดยี มน้อย กวา่ 2,000 มลิ ลกิ รัม หรอื เทยี บเท่ากับเกลอื 5 กรมั ต่อวัน 2.9 วกิ ส์ ภาพที่ 2-4 วิกส์ วิกส์ วาโปรับ (Vicks Vaporub) เป็นชื่อที่คุณพ่อคุณแม่ทุกบ้านได้ยินติดหูกันเป็นอย่างดี เพราะเป็น เหมือนยาหม่องสูตรบางเบาที่ใช้ได้กับทุกคนในบ้าน ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่ แต่อันที่จริง วิ กส์ มี วธิ กี ารใชง้ านทถ่ี กู ต้องและปลอดภัยอยู่ หากใชง้ านผดิ วิกส์สารพดั ประโยชน์ อาจสง่ ผลเสยี ในภายหลัง ได้ การใช้วิกสอ์ ยา่ งถกู วธิ ี แม้วิกส์จะเป็นบาล์มอเนกประสงค์ เพราะมากด้วยสรรพคุณ แต่ก็ใช้ให้ถูกต้อง เพื่อให้เกิดประโยชน์ สงู สุดกับทกุ คนในบา้ น 1. ไมค่ วรใชใ้ นเดก็ ที่อายตุ ่ำกว่า 2 ปี การบูรและเมนทอลในวิกส์มีฤทธิ์เย็น แต่แสบร้อน หากใช้ในเด็กที่อายุต่ำกว่า 2 ปี อาจส่งผลให้เกิด แผลอักเสบในโพรงจมูก และอาจทำให้บริเวณทีท่ ามีรอยแดง ระคายเคือง แสบ จนอาจส่งผลให้เด็กมี น้ำมกู ปอดบวม หายใจตดิ ขัด มีเสมหะ และอาจสง่ ผลเสียต่อระบบทางเดนิ หายใจจนเป็นอันตรายต่อ ชวี ิตได้ 2. ทดสอบการแพ้ก่อนใช้ เนอื่ งจากวิกสเ์ ป็นการบรู จากยูคาลิปตสั ทง้ั ยังมีเมนทอลและสะระแหน่ ซงึ่ เป็นสารหอมระเหย จึงอาจ ก่อใหเ้ กิดการระคายเคืองหรือแพ้ได้ เพ่อื ป้องกนั ปญั หาดังกล่าว ควรทาวิกสบ์ นหลงั มือของลูกน้อย ทิ้ง ไว้พักหนึ่ง หากลูกมีอาการคัน แสบร้อน หรือเป็นผื่นแดง ควรรีบล้างออก และงดการใช้วิกส์กับลูก น้อยทนั ที 3. แกอ้ าการคัดจมูก หากลูกน้อยมีอายุมากกว่า 2 ปี และมีอาการเป็นหวัดคัดจมูก เพียงนำวิกส์ทาบริเวณหน้าอกและ ลำคอ ไอระเหยจากการบรู และเมนทอลจะชว่ ยใหอ้ าการคัดจมูกของลกู น้อยจะบรรเทาลงได้ 4. ปอ้ งกันแมลงกดั ตอ่ ย

11 หากกังวลวา่ ลูกน้อยจะโดยแมลงสัตว์กัดต่อยง่าย แนะนำใหท้ าวิกสต์ ามจุดตา่ ง ๆ บนตวั ลูกบาง ๆ หรือ เปิดฝากระปุกต้ังทง้ิ ไวใ้ กล้ ๆ ลูก ก็ช่วยไล่แมลงและสัตวต์ วั เล็ก ๆ ให้ห่างไกลจากลกู นอ้ ยได้ 5. บรรเทาอาการคันจากแมลงสตั ว์กัดตอ่ ย เม่อื ลกู น้อยโดนแมลงสตั ว์กดั ตอ่ ย เพียงทาวิกส์บาง ๆ ลงไป อาการคนั และบวมก็จะเริ่มดีขน้ึ เอง

บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การศกึ ษาค้นคว้า การศึกษาเรื่อง แผ่นแปะแก้คดั จมูก มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อ 1.เพอ่ื ศึกษาประสิทธิภาพของแผน่ แก้คดั จมูก 2.เพือ่ ช่วยให้หายใจได้สะดวกมากข้ึนแก้ไขปัญหาการคัดจมกู 3.เพอื่ ชว่ ยให้การสูดดมยาหมอ่ งหรือยาดมไดส้ ะดวกขึน้ โดยไม่ต้องสัมผัสตวั ยาให้ระคาย เคอื งผิวและเลอะเส้อื ผา้ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คอื นักเรยี นโรงเรียนวดั ทรงธรรม กลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 หอ้ ง 1 จำนวน 20 คน 3.2 วธิ ีดำเนินการศกึ ษาค้นควา้ การศึกษาคน้ ควา้ เป็นประเภทส่งิ ประดิษฐ์ มขี ั้นตอนการศกึ ษาคน้ คว้า ดังน้ี วัสด/ุ อุปกรณ์ ภาพที่ 3-1 หวั หอม 5 ลกู ภาพท่ี 3-2 มะกรูด 3 ลกู

13 ภาพท่ี 3-3 วิคส์ วาโปรับ 1 ตลบั ภาพที่ 3-4 สตกิ เกอร์สักหลาด 1 แผน่ ภาพที่ 3-5 เกลือ ภาพท่ี 3-6 กรรไกร 1 เลม่

14 ภาพที่ 3-7 ขวดเปล่าขนาดเล็ก 1 ขวด ภาพที่ 3-8 มีดสองคมและมีดปอกผลไม้ ภาพท่ี 3-9 ชอ้ นเล็ก 1 คนั ภาพท่ี 3-10 ถว้ ยเลก็ 1 ใบ

15 ขนั้ ตอนการดำเนินงาน ภาพท่ี 3-11 วัดขนาดสตกิ๊ เกอรใ์ หไ้ ด้ขนาด 3x3 เซนตเิ มตร จากนั้นใชก้ รรไกรตดั ภาพท่ี 3-12 นำกะละมังขนาดเลก็ มาใสน่ ้ำแล้วเตมิ เกลอื ลงไป1ช้อนโตะ๊ ภาพท่ี 3-13 นำมะกรูดลงไปล้าง ภาพที่ 3-14 ปอกเปลือกมะกรูดออกแล้วผา่ ครง่ึ เพือ่ นำไปคน้ั

16 ภาพท่ี 3-15 นำมะกรูดไปใส่ท่บี ีบมะนาวแล้วใช้กระชอนรองกอ่ นจะบบี น้ำมะกรูดออกมาใส่ถ้วย ภาพท่ี 3-16 นำหอมแดงมาปอกเปลือกแล้วบบี คน้ั น้ำออกมาเหมือนขัน้ ตอนการคั้นน้ำมะกรูด ภาพที่ 3-17 นำนำ้ กรูดและหอมแดงทีค่ น้ั ได้มาผสมใหเ้ ข้ากันในเศษสว่ นทเ่ี ท่ากัน จากนนั้ ใส่วกิ สล์ งไปเล็กน้อยแลว้ คนให้เข้ากัน ภาพที่ 3-18 นำสว่ นผสมทั้งหมดทีไ่ ด้ทาลงบนสติก๊ เกอร์

17 ภาพท่ี 3-19 เสร็จสมบูรณ์ 3.3 ข้อมูลท่ใี ช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลจากเว็บไซต์ https://he01.tci- thaijo.org/index.php/JTTAM/article/download/97754/76317/ เกี่ยวกบั ผลของนำ้ มนั หอม ระเหยจากหอมแดงและมะกรูดในการบรรเทาอาการภมู ิแพ้ทางเดินหายใจ ไดม้ าโดยวิธีการเก็บแบบ ทุตยิ ภูมิ ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซต์ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/97380 เกย่ี วกับการรักษาโรคดว้ ยสมุนไพรและตำรับยาโบราณของหมอพ้ืนบ้าน ได้มาโดยวิธกี ารเกบ็ แบบ ทตุ ิยภมู ิ 3.4 เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการค้นคว้า เครอื่ งมือท่ีใช้ในการศึกษาครงั้ น้ี คือ แบบสอบถาม หรือแบบประเมินความพงึ พอใจ 1 ฉบับ ซงึ่ มี รายละเอียดดังน้ี 3.4.1.ช่ือเครอ่ื งมือ แบบสอบถาม เร่ือง แผน่ แปะแกค้ ัดจมูก โดยขอคำแนะนำจากครูพรทิพย์ เครือแสง โดย เตรียมร่างข้อคำถามมีลักษณะเป็นข้อคำถาม จำนวน 5 ข้อ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ 5 ระดบั คือ 5 หมายถงึ มากที่สดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถงึ น้อยทสี่ ดุ การพิจารณาคา่ เฉลี่ย จะใชเ้ กณฑ์ดังน้ี คา่ เฉลย่ี 4.51-5.00 หมายถึง มากทส่ี ุด ค่าเฉล่ยี 3.51-4.50 หมายถึง มาก คา่ เฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง ปานกลาง

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล การศึกษาเรื่อง แผ่นแปะแก้คัดจมกู มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือ 1. เพอ่ื ศึกษาประสทิ ธภิ าพของแผ่นแปะแก้คัดจมูก 2. เพ่อื ช่วยใหห้ ายใจได้สะดวกมากข้นึ แก้ไขปัญหาคดั จมูก 3. เพ่ือชว่ ยให้การสูดยาหม่องหรือยาดมได้สะดวกข้ึนโดยไม่ตอ้ งสมั ผัสตวั ยาให้ระคายเคืองผิว และเลอะเสือ้ ผา้ 4.1 ผลการศึกษาค้นควา้ พบว่า ตารางท่ี 1 ตารางแสดงร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง เพศ ชาย หญงิ จำนวน(คน) รอ้ ยละ จำนวน(คน) รอ้ ยละ 10 50 10 50 รวม 50 รวม 50 จากตารางที่1 กลุ่มตัวอยา่ งที่ศึกษาจำนวนท้ังส้นิ 20 คน แบง่ เป็นเพศชาย 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 50 และเป็นเพศหญงิ 10 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50 ตารางท่ี 2 แสดงผลคะแนนการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อผลิตภณั ฑ์แผ่นแปะ แกค้ ดั จมูก ลำดับ รายการ ระดับความพึงพอใจ ท่ี มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทีส่ ุด 54 3 21 1 ประสิทธภิ าพการใชง้ านของแผ่นแปะแก้คัดจมูก 85% 15% 0% 0% 0% 2 ความปลอดภัยของแผ่นแปะแกค้ ดั จมูก 35% 65% 0% 0% 0% 3 กลิ่นของแผน่ แปะแก้คดั จมูก 50% 50% 0% 0% 0% 4 ลกั ษณะภาพรวมของแผ่นแปะแก้คดั จมูก 45% 50% 5% 0% 0% 5 ความเหมาะสมของขนาดแผ่นแปะแก้คดั จมูก 45% 45% 10% 0% 0% จากตารางที่ 2 พบวา่ กล่มุ ตวั อยา่ งท่ีพงึ พอใจใน 1.ประสิทธภิ าพการใชง้ านของแผ่นแปะแกค้ ัดจมกู อยู่ในระดบั 5 คดิ เป็นร้อยละ 85 2.ความปลอดภัยของแผน่ แปะแก้คดั จมูก อยใู่ นระดับ 4 คิดเป็นรอ้ ยละ 65

21 3.กลิน่ ของแผน่ แปะแก้คดั จมูก อยใู่ นระดบั 4 คิดเปน็ ร้อยละ 50 4.ลกั ษณะภาพรวมของแผ่นแปะแก้คดั จมูก อย่ใู นระดบั 4 คิดเปน็ รอ้ ยละ 50 5.ความสะดวกในการใช้แผ่นแปะแก้คัดจมูก อยู่ในระดบั 4 คิดเปน็ ร้อยละ 45 ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมูล รายการประเมิน คา่ เฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบน ระดับคุณภาพ มาตราฐาน 1.ประสทิ ธภิ าพการใช้งานของแผน่ แปะแกค้ ัด 4.85 มากทสี่ ุด จมูก 0.36 มาก 2.ความปลอดภยั ของแผ่นแปะแก้คดั จมูก 4.35 0.48 3.กลนิ่ ของแผน่ แปะแก้คดั จมูก 4.50 0.50 มาก 4.ลกั ษณะภาพรวมของแผ่นแปะแก้คัดจมูก 4.40 0.58 มาก 5.ความเหมาะสมของขนาดแผ่นแปะแก้คดั 4.35 0.65 มาก จมกู จากตารางที่ 3 จากการศึกษาคน้ พบวา่ กลุ่มตัวอยา่ งทั้งสนิ้ จำนวน 20 คน 5 เรอ่ื ง มีความเหน็ ว่า 1.มปี ระสทิ ธิภาพการใชง้ านของแผ่นแปะแก้คดั จมูก คิดเป็นคา่ เฉล่ีย 4.85 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.36 2.มคี วามปลอดภัยของแผ่นแปะแก้คัดจมูก คิดเป็นคา่ เฉลยี่ 4.35 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.48 3.มีกล่ินของแผ่นแปะแก้คัดจมูก คิดเปน็ คา่ เฉล่ีย 4.50 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.50 4.มลี ักษณะภาพรวมของแผ่นแปะแก้คดั จมูก คดิ เปน็ คา่ เฉลี่ย 4.40 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.58 5.มคี วามสะดวกในการใช้แผ่นแปะแกค้ ดั จมูก คิดเป็นคา่ เฉลีย่ 4.35 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.65

22 4.2 การนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 6 5 4 3 2 1 0 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

บทที่ 5 สรุปผลอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นควา้ ในครงั้ น้ี สรุป อภิปรายผลและมขี ้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ 5.1 สรปุ ผลการศึกษาค้นคว้า แผ่นแปะแก้คัดจมูกมีลักษณะเป็นแผ่นสติกเกอร์ที่มีตัวยาเคลือบอยู่บนแผ่น หลังจากการให้ กล่มุ ตัวอยา่ งทดลองใช้ทำให้ได้ทราบประสิทธภิ าพของแผ่นแปะแก้คดั จมูกทสี่ ามารถแก้ปัญหาการคัด จมูกได้และทำให้หายใจสะดวกมากยิ่งขึ้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้คือ 1. เพื่อศึกษา ประสิทธิภาพของแผ่นแปะแก้คัดจมูก 2. เพื่อช่วยให้หายใจได้สะดวกมากขึ้นแก้ไขปัญหาการคัดจมูก 3. เพื่อช่วยให้การสูดดมยาหม่องหรอื ยาดมได้สะดวกขึ้นโดยไม่ต้องสัมผัสตัวยาให้ระคายเคืองผิวและ เลอะเสื้อผ้า แต่พบปัญหาคือตัวผลิตภัณฑ์มีระยะเวลาใช้งานที่จำกัดทำให้ต้องทำแล้วใช้ทันทีไม่ สามารถเกบ็ ไว้นานได้ 5.2 อภิปรายผลการศึกษาค้นควา้ แผน่ แปะแกค้ ดั จมูกสามารถชว่ ยลดอาการคดั จมูกได้ และไม่ทำใหเ้ กดิ การระคายเคืองต่อผิว ซ่ึง สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานท่ีตง้ั ไวว้ ่า 1. แผน่ แปะแก้คดั จมูกใช้งานสะดวกกวา่ การทายาที่ผิวหนังโดยตรง 2. แผ่นแปะแก้คัดจมูกช่วยแก้คัดจมูกได้ดี และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากแผ่นแปะแก้คัดจมูกถูกสร้าง โดยอาศยั หลักการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ในดา้ นชีววิทยา โดยการนำสรรพคุณของหอมแดง มะกรูด และวิกส์มาใช้ประโยชน์ในการลดอาการคัดจมกู ซึ่งเมื่อใช้ไม่จำเป็นต้องสัมผัสตัวยา จึงไม่ระคายเคือง ผิวและไม่เลอะเสื้อผ้า โดยการให้กลิ่นที่ติดอยู่บนแผ่นแปะระเหยเข้าสู่จมูก แต่ผลิตภัณฑ์นี้สามารถ พลิกแพลง ปรับใช้เป็นรูปแบบตัวแผ่นแปะและกลิ่นได้ตามต้องการ แต่ยังคงคำนึงถึงประสิทธิภาพท่ี ชว่ ยในการแกค้ ัดจมูก ผลติ ภณั ฑเ์ ปน็ เพยี งองค์ความรู้หนึง่ ท่ีสามารถนำไปศึกษาและพัฒนาต่อได้อีกจึง จะก่อใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ควรเพิ่มกลิน่ ของแผน่ แปะแก้คัดจมูกให้มคี วามหลากหลายมากขึ้น 2. ควรปรับขนาดของแผ่นแปะแก้คดั จมูกให้มีเหมาะสม 3. ควรทำให้ให้กลิ่นแผ่นแปะแก้คัดจมกู อยไู่ ดน้ านมากขน้ึ

24 บรรณานุกรม 1.กรณุ า จันทมุ และกัลยารตั น์ กำลังเหลอื . 2560. การรักษาโรคด้วยสมนุ ไพรและตำรับยาโบราณ ของหมอพน้ื บา้ น. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : https://he01.tci- thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/97380/75855. (วนั ที่ค้นข้อมลู : 17 ธันวาคม 2564). 2.ทรปู ลูกปัญญา. 2561 . วคิ ส.์ [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/67325/-parheadis-parhea-par-. (วนั ทคี่ น้ ข้อมลู : 17 ธันวาคม 2564). 3.นางสาวชลนสิ า ทาแนน. 2562. อบสมุนไพรไลห่ วดั คัดจมูก. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.nampadhospital.go.th/npkm/index.php/11-npcqi/27-cqi60-9. (วันทค่ี ้น ขอ้ มูล : 17 ธันวาคม 2564). 4.นางสาวรจเรข เสนนันตา. 2561. ขี้ผ้งึ หอมแดงบรรเทาอาการหวดั . [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : http://cso.rh1.go.th/bestP2561/download/11_2.pdf. (วันท่ีคน้ ข้อมลู : 17 ธันวาคม 2564). 5.พบแพทย.์ 2559 . อาการคดั จมูก. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://www.pobpad.com/%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%88%E0% B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%81. (วนั ทคี่ ้นข้อมลู : 17 ธนั วาคม 2564). 6.วกิ ิพเิ ดีย สารานกุ รมเสรี. 2565 . เกลอื . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0 %B8%AD. (วนั ท่ีค้นข้อมลู : 17 ธันวาคม 2564). 7.วกิ พิ เิ ดยี สารานกุ รมเสร.ี 2564 . มะกรูด. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้ จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A 3%E0%B8%B9%E0%B8%94. (วนั ที่คน้ ข้อมูล : 17 ธันวาคม 2564). 8.วกิ พิ ิเดีย สารานุกรมเสรี. 2565 . สมุนไพร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0 %B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3. (วันทีค่ น้ ข้อมูล : 17 ธนั วาคม 2564). 9.DiSTHAi. 2560 . มะกรูด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.disthai.com/16913718/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8% A3%E0%B8%B9%E0%B8%94. (วันท่คี น้ ข้อมูล : 17 ธนั วาคม 2564). 10.OKMD. 2560 . หอมแดง. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : https://www.okmd.or.th/knowledge-box-set/articles/farming/776/Shallot. (วนั ทีค่ น้ ข้อมูล : 17 ธนั วาคม 2564).

26 แบบสอบถาม เรื่องแผ่นแปะแก้คักจมกู (IS) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 วัตถุประสงค์ แบบสอบถามฉบบั นี้จัดทำเพ่ือศึกษาประสทิ ธิภาพของแผ่นแปะแก้คัดจมูก ใชใ้ นการ แกไ้ ขปญั หาการคดั จมูก และใช้ประกอบการเรียนการสอนรายวชิ าการศึกษาค้นควา้ และสร้างองค์ ความร(ู้ IS) ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท5ี่ คำชี้แจง โปรดเติมเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งทก่ี ำหนดให้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม 1.เพศ  ชาย  หญิง 2.อายุ 11-20 ปี 21-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี  50 ปขี ึน้ ไป 3.สถานภาพ  นกั เรยี น  คุณครู  ผูป้ กครอง  อ่ืนๆ........... ความพึงพอใจและความคิดเห็นท่เี ก่ียวข้องกบั แผน่ แปะแก้คัดจมูก ลำดบั ที่ รายการ มากทสี่ ดุ ระดบั ความพึงพอใจ นอ้ ยทส่ี ดุ 5 1 1 ประสิทธภิ าพการใชง้ านของแผ่นแปะแก้คัดจมูก มาก ปานกลาง นอ้ ย 2 ความปลอดภัยของแผน่ แปะแกค้ ดั จมูก 43 2 3 กลิน่ ของแผน่ แปะแก้คัดจมูก 4 ลกั ษณะภาพรวมของแผ่นแปะแก้คดั จมูก 5 ความเหมาะสมของขนาดแผน่ แปะแก้คดั จมูก ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. .............................

27 ประวัตผิ ้จู ดั ทำ ช่ือเร่ือง แผน่ แปะแก้คดั จมกู 1.นายณฐั วุฒิ ศรีภูมี ประวตั สิ ่วนตัว วนั อาทิตย์ ท่ี 25 เมษายน พ.ศ.2547 อายุ 17 ปี ทอ่ี ยู่ 955 ถ.พระยาพายัพพริ ิยะกจิ ต.ตลาด อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ 10130 ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ชน้ั ป.6 ร.ร. เทศบาลวดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2562 ชั้น ม.3 ร.ร. วดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2564 ชั้น ม.5/1 เลขที่ 5 2.นางสาวกนกวรรณ บุญรอดดวง ประวตั สิ ่วนตัว วนั จันทร์ ท่ี 21 มนี าคม พ.ศ.2548 อายุ 16 ปี ทอี่ ยู่ 39/16 หมู่15 ซอย1 ถ.สขุ สวสั ดิ์ ต.บางพึ่ง อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ 10130 ประวตั ิการศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ชนั้ ป.6 ร.ร. อำนวยวทิ ย์ ปี พ.ศ. 2562 ช้ัน ม.3 ร.ร. วดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2564 ช้ัน ม.5/1 เลขท่ี 17 3.นางสาวกนกวรรณ ปฐมคุณธรรม ประวตั ิส่วนตวั วนั จนั ทร์ ท่ี 27 กนั ยายน พ.ศ.2547 อายุ 17 ปี ทีอ่ ยู่ 26/109 หมู่4 ต.บางยอ ซอยเพชรหงึ ษ์11 ถนนเพชรหึงษ์ อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ 10130 ประวัติการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2559 ช้ัน ป.6 ร.ร. เทศบาลวดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2562 ชน้ั ม.3 ร.ร. วดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2564 ชั้น ม.5/1 เลขท่ี 18

28 4.นางสาวณชติ า ทานะกาศ ประวตั สิ ่วนตวั วนั อาทติ ย์ ท่ี 19 กนั ยายน พ.ศ.2547 อายุ 17 ปี ทีอ่ ยู่ หม4ู่ ถ.สุขสวสั ดิ์ ต.บางพ่งึ อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ 10130 ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ชัน้ ป.6 ร.ร. เทศบาลวัดทรงธรรม ปี พ.ศ. 2562 ช้นั ม.3 ร.ร. วดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2564 ชน้ั ม.5/1 เลขท่ี 20 5.นางสาวณัฐนรี จุ้ยศุขะ ประวตั ิสว่ นตัว วัน พธุ ท่ี 23 มนี าคม พ.ศ.2548 อายุ 16 ปี ท่ีอยู่ 25/9 หมู่13 ซอยบัวพึง่ พัฒนา ถ.เพชรหงึ ษ์26 ต.บางกอบวั อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130 ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ช้ัน ป.6 ร.ร. อำนวยวิทย์ ปี พ.ศ. 2562 ชน้ั ม.3 ร.ร. วดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2564 ชั้น ม.5/1 เลขที่ 21 6.นางสาวประภาวลั ย์ ดว้ งจยุ้ ประวตั ิส่วนตวั วัน อาทติ ย์ ท่ี 25 เมษายน พ.ศ.2547 อายุ 17 ปี ทีอ่ ยู่ 27/1 หมู่3 ต.บางยอ อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ 10130 ประวัตกิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ. 2559 ชน้ั ป.6 ร.ร. ปญั ญาศกั ด์ิ ปี พ.ศ. 2562 ชั้น ม.3 ร.ร. วดั ทรงธรรม ปี พ.ศ. 2564 ชั้น ม.5/1 เลขท่ี 24