กาวแท งแต ละส ม ความเหม อนหร อต างก นอย างไร

กาวแท งแต ละส ม ความเหม อนหร อต างก นอย างไร

Download

  • Publications :0
  • Followers :0

คู่มือครูม.4 เล่ม 2

คู่มือครูม.4 เล่ม 2

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

เมอื่ นำรหสั ภาพแต่ละลักษณะไปเทียบกับตารางแปลรหัสแลว้ นำไปวาดภาพสุนัขท้ังตัว จะได้สุนขั ท่ีมลี ักษณะดังน้ี

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 2 | พันธศุ าสตร์ 68 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม

1. แบบจำลองรหสั ภาพนใ้ี ชแ้ ทนหน่วยทก่ี ำหนดลักษณะทางพันธกุ รรมของสิ่งมีชีวติ ชนดิ ใด แนวคำตอบ สนุ ัข

2. รหสั ภาพแบบตา่ ง ๆ ทห่ี ยบิ โดยการสุ่มแต่ละครั้งแทนลักษณะใดของส่งิ มชี ีวติ แนวคำตอบ ลักษณะลำตวั หัว ใบหู ขา และหาง

3. ภาพส่ิงมีชีวิตของนักเรียนแต่ละกลมุ่ เหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ อาจเหมอื นกนั หรอื แตกตา่ งกัน แต่สว่ นใหญ่นา่ จะมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เชน่ ลักษณะหางของ สนุ ัข บางกลุ่มมีปลายหางม้วนเข้าหาลำตวั บางกลุ่มมีขนฟูอยทู่ ่ีปลายหาง บางตวั หางชข้ี ้ึน ทง้ั นข้ี ้ึนอยู่กับผลท่ี ได้จากการสุ่มหยบิ ชิ้นกระดาษท่ีมรี หัสภาพของแตล่ ะกล่มุ

4. ส่ิงใดเป็นตวั กำหนดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของส่ิงมีชวี ติ แนวคำตอบ รหสั ภาพบนช้ินกระดาษเป็นตวั กำหนดลักษณะของส่ิงมีชีวติ

5. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ า่ อยา่ งไร แนวคำตอบ หนว่ ยท่กี ำหนดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ทำใหส้ ิง่ มีชีวติ แสดงลักษณะต่าง ๆ ออกมา การท่ีส่ิงมีชีวิต มหี น่วยท่ีกำหนดลกั ษณะทางพันธกุ รรมแตกตา่ งกนั มีผลทำใหส้ งิ่ มีชีวติ มีลักษณะแตกตา่ งกนั

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

69 หน่วยท่ี 2 | พนั ธุศาสตร์ คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 2.3 โอกาสการเขา้ คู่ของแอลลีลเปน็ เท่าใด

นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจำลองสถานการณ์การเข้าคู่กันของแอลลีลในเซลล์สืบพันธุ์ในกระบวนการ

ปฏิสนธิจากการหยิบลูกปัด โดยนับจำนวนครั้งของสีของลูกปัดที่หยิบได้ แล้วนำผลที่ได้มาคำนวณหาอัตราส่วน

อย่างตำ่

จุดประสงค์ อธิบายโอกาสการเข้าคูข่ องแอลลีล

เวลาท่ใี ชใ้ น 65 นาที การทำกิจกรรม

วัสดแุ ละอุปกรณ์ วสั ดุทใ่ี ชต้ ่อกล่มุ จำนวน/กลมุ่ รายการ 10 เม็ด การเตรยี มตัว 10 เม็ด ล่วงหน้าสำหรับครู 1. ลกู ปัดสแี ดง 2 ใบ ข้อเสนอแนะ 2. ลกู ปัดสขี าว ในการทำกจิ กรรม 3. กลอ่ งหรือถ้วยพลาสติกทบึ

-ไมม่ -ี

• ครูควรชี้แจงให้นักเรียนทราบวา่ ลูกปัดแต่ละเม็ดแทนแอลลีลในเซลลส์ บื พันธุ์โดยการหยิบแต่ ละครงั้ เปรียบไดก้ ับการเข้าคกู่ ันของแอลลีลในเซลลส์ ืบพันธุ์

• แนะนำใหน้ กั เรียนเขยา่ หรอื ใช้มือคนลูกปดั ใหท้ วั่ เพอ่ื ใหล้ ูกปดั แต่ละเมด็ มโี อกาสถกู หยบิ เท่า ๆ กัน

• ขณะหยบิ ลูกปัดแตล่ ะครงั้ ไม่ควรแอบมอง และเมื่อหยิบขึ้นมาแลว้ ตอ้ งนำลูกปัดใส่คนื ในกล่อง ทุกครง้ั

• ให้นักเรียนในกลุ่มแบ่งหน้าท่ีกันโดยคนหนึ่งหยิบลูกปัด อีกคนหนึ่งบันทึกผล และช่วยกัน ออกแบบตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง

• ครูอาจใช้วัสดุอื่น ๆ ที่หาได้ง่าย มีรูปร่างและขนาดเท่ากันแต่มีสีต่างกนั มาใช้แทนลูกปัด เชน่ ลกู ปิงปอง ฝาขวดนำ้ ลกู อม

• การหาอตั ราสว่ นอย่างตำ่ ทำได้โดยนำจำนวนคร้ังของการหยิบลูกปดั ทีเ่ ปน็ ตัวเลขน้อยท่ีสุดใน กลุ่มไปหารตัวเลขทุกตัวในกลุ่ม เช่น หยิบลูกปัดสีแดง-แดงได้จำนวน 23 ครั้ง หยิบลูกปัดสี แดง-ขาว ได้ 52 ครง้ั หยิบลูกปัดสขี าว-ขาว ได้ 25 คร้งั ก็นำ 23 ไปหาร 23, 52 และ 25 จะ ได้อตั ราสว่ นอยา่ งตำ่ เทา่ กับ 1 : 2.26 : 1.09 หรืออัตราสว่ นโดยประมาณเท่ากับ 1 : 2 : 1

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 2 | พนั ธุศาสตร์ 70 คมู่ ือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ส่อื การเรยี นรู้/ • หนังสือเรยี นรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เล่ม 1 สสวท. แหล่งเรยี นรู้ • วดี ทิ ศั น์การทดลอง

ตวั อยา่ งผลการทำกจิ กรรม

กลุม่ ท่ี จำนวนคร้ังของสีลูกปดั ท่ีหยิบได้ อตั ราส่วนอย่างต่ำ แดง-แดง (TT) แดง-ขาว (Tt) ขาว-ขาว (tt)

1 23 52 25 1 : 2.26 : 1.09

2 22 51 27 1 : 2.32 : 1.23

3 20 50 30 1 : 2.50 : 1.50

4 24 54 22 1.09 : 2.45 : 1

รวม 89 207 104 1 : 2.33 : 1.17

เมอื่ นำผลการทดลองของแต่ละกลุม่ มารวมกนั จะได้ปริมาณข้อมูลมากพอที่จะลดความคลาดเคลื่อนของ การทดลอง ซง่ึ เมื่อนำผลรวมของข้อมลู น้นั มาคดิ อัตราสว่ นของคสู่ ีของลกู ปดั ทห่ี ยิบได้ คู่ลูกปดั สีแดง-แดง สแี ดง- ขาว สขี าว-ขาว จะมีอตั ราสว่ นใกลเ้ คียงกับ 1 : 2 : 1 มากขน้ึ

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

71 หน่วยที่ 2 | พันธุศาสตร์ คมู่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม

1. อตั ราส่วนอย่างต่ำของลกู ปดั ท่หี ยิบได้ท้ัง 3 แบบของกลมุ่ เป็นเท่าใด แนวคำตอบ ตอบตามที่คำนวณได้จากผลการทดลอง ซึ่งอัตราส่วนของคู่สีแดง-แดง : สีแดง-ขาว : สีขาว-ขาว อาจแตกตา่ งกนั แตค่ วรได้ในอตั ราส่วนประมาณ 1 : 2 : 1

2. เมื่อนำผลรวมของการหยิบลูกปัดของทุกกลุ่มรวมกัน อัตราส่วนอย่างต่ำของลูกปัดที่หยิบได้เป็นเท่าใด เหมือนหรอื แตกต่างจากผลการคำนวณของแตล่ ะกล่มุ อย่างไร แนวคำตอบ ตอบตามที่คำนวณได้จากผลการทดลองที่เป็นผลรวมของทั้งห้อง ซึ่งเมื่อมีจำนวนข้อมูลมากข้ึน คูล่ ูกปัดสแี ดง-แดง สแี ดง-ขาว สีขาว-ขาว จะมีคา่ ใกล้เคียงกบั 1 : 2 : 1 มากขนึ้

3. เหตุใดจงึ ต้องนำผลของการหยบิ ลกู ปัดในแต่ละกลมุ่ มารวมกันแล้วคำนวณหาอัตราสว่ นอยา่ งตำ่ แนวคำตอบ การนำผลของการหยิบลูกปัดในแตล่ ะกล่มุ มารวมกันเพ่ือจะได้ข้อมลู ปรมิ าณมากพอท่ีจะลดความ คลาดเคลื่อนของการทดลอง

4. ถ้าการหยิบลูกปัดจากกล่องพลาสติกพร้อมกันแล้วนำลูกปัดมาเข้าคู่กันเปรียบเสมือนการเข้าคู่ของ แอลลลี ในการปฏสิ นธขิ องเซลล์สืบพันธ์ุ ต้นถัว่ ท่ีเกดิ จากการผสมในกจิ กรรมนี้จะมีลกั ษณะเช่นใดบ้าง และ มอี ัตราส่วนอยา่ งตำ่ ของลกั ษณะท่ีปรากฏเป็นเทา่ ใด แนวคำตอบ ต้นถว่ั ท่ีเกดิ จากการผสมพนั ธุต์ ามกิจกรรมมีท้ังตน้ สงู และต้นเตย้ี เช่น เป็นตน้ สูง 75 ตน้ (23+52) และตน้ เตย้ี 25 ต้น ซึ่งคิดเป็นอตั ราส่วนระหว่างต้นสงู : ตน้ เตยี้ เท่ากบั 3 : 1

5. จากกิจกรรมสรุปไดว้ า่ อย่างไร แนวคำตอบ การสุ่มหยิบลูกปัดแต่ละครั้งเปรียบเหมือนการเข้าคู่กันของแอลลีลในเซลล์สืบพันธ์ุเมื่อมีการ ปฏสิ นธริ ะหวา่ งเซลล์สืบพันธ์ุเพศผ้แู ละเพศเมีย ซง่ึ มโี อกาสการเข้าคู่กัน 3 แบบ คือ สีแดง-แดง (TT) สีแดง-ขาว (Tt) สขี าว-ขาว (tt) ในอัตราสว่ นประมาณ 1 : 2 : 1 ตน้ ถั่วท่เี กดิ จากการผสมพันธ์ุจงึ มีอัตราส่วนระหว่างต้นสูง และต้นเตี้ยประมาณ 3 : 1

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ 72 คูม่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 2.4 จโี นไทป์และฟโี นไทป์ของสตั ว์ประหลาดเปน็ อย่างไร

นกั เรยี นจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการหาจโี นไทป์และฟโี นไทป์ของสัตว์ประหลาดจากการโยนเหรียญและนำมาวาด ลักษณะของสัตวป์ ระหลาดท้งั ตัว

จดุ ประสงค์ 1. หาจีโนไทป์และฟีโนไทปข์ องสัตว์ประหลาด 2. วาดภาพลกั ษณะของสัตว์ประหลาด 3. คำนวณอัตราส่วนการเกดิ จีโนไทปแ์ ละฟีโนไทป์ของร่นุ ลกู

เวลาที่ใช้ใน 50 นาที การทำกิจกรรม

วสั ดุและอุปกรณ์ วสั ดทุ ีใ่ ช้ต่อกลุม่ รายการ จำนวน/กลุม่ 1. เหรียญบาท 2 เหรยี ญ 2. กระดาษปรูฟ๊ หรือกระดาษวาดเขยี น 1 แผน่

การเตรียมตัว -ไม่ม-ี ลว่ งหนา้ สำหรบั ครู

ขอ้ เสนอแนะ -ไมม่ -ี ในการทำกิจกรรม • หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 สสวท.

สอื่ การเรยี นรู/้ แหล่งเรียนรู้

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

73 หนว่ ยที่ 2 | พนั ธุศาสตร์ ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตัวอย่างผลการทำกจิ กรรม

ลักษณะของสตั ว์ประหลาดหรือฟีโนไทป์ขนึ้ อยู่กบั จโี นไทป์ซ่ึงไดจ้ ากการโยนเหรยี ญบาท ตวั อยา่ งเช่น

ลกั ษณะ ด้านของเหรยี ญท่ีโยนได้ จีโนไทป์ ฟโี นไทป์

ลกั ษณะของหวั ก้อย-ก้อย aa หัวส่ีเหลีย่ ม

จำนวนของตา กอ้ ย-ก้อย bb 1 ตา

การมีรจู มูก/ไม่มีรจู มกู หัว-ก้อย Cc มีรูจมกู

จำนวนเขา หัว-หัว DD 2 เขา

จำนวนขา หวั -กอ้ ย Ee 3 ขา

จำนวนแขน กอ้ ย-ก้อย ff 2 แขน

การมฟี นั /ไม่มฟี นั หวั -หัว GG มีฟัน

เมือ่ นำฟโี นไทป์ของแต่ละลักษณะมาวาดเปน็ สตั ว์ประหลาด จะไดภ้ าพดังตวั อยา่ ง

แต่ละลักษณะของแมจ่ ะมจี ีโนไทปด์ ังน้ี จีโนไทป์ คือ AA 1. หัวกลมทีม่ ีจีโนไทปเ์ ป็นฮอมอไซกสั จโี นไทป์ คือ Bb 2. ตา 2 ตา ท่มี จี โี นไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส จโี นไทป์ คือ cc 3. ไม่มีรูจมูก จีโนไทป์ คือ DD 4. เขา 2 เขาทม่ี จี โี นไทปเ์ ปน็ ฮอมอไซกัส จโี นไทป์ คอื ee 5. ขา 2 ขา จโี นไทป์ คอื Ff 6. แขน 4 แขนท่ีมีจโี นไทป์เป็นเฮเทอโรไซกสั จโี นไทป์ คือ gg 7. ไม่มีฟนั

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | พนั ธุศาสตร์ 74 คู่มือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตัวอย่างผลการทำกิจกรรม

เลอื กพ่อท่ีมีขา 3 ขาซ่ึงมจี โี นไทป์ Ee และแม่ซงึ่ มีลกั ษณะเดียวกบั พ่อคือจำนวนขา จากโจทย์กำหนดให้แมม่ ีขา 2 ขา มจี โี นไทป์ ee แลว้ นำมาผสมพันธ์กุ ัน ลกู ท่เี กดิ จะเปน็ ไปตามแผนภาพ

จโี นไทปข์ องลกู คือ Ee และ ee ในอตั ราส่วนเทา่ กบั 1 : 1 และฟโี นไทป์ของลูก คือ มีขา 3 ขากับมีขา 2 ขาใน อัตราส่วน 1 : 1

เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม

1. จโี นไทป์และฟโี นไทป์ของแต่ละลักษณะเป็นอย่างไร แนวคำตอบ ตอบตามผลการทดลองของแต่ละกลุ่ม ซึ่งขึ้นอยู่กับการโยนเหรียญบาททั้งสองเหรียญว่าจะออก ด้านใด เช่น ลักษณะของหัว ถ้าโยนได้เหรียญด้านหัว-หัว หรือด้านหัว-ก้อย จะมีจีโนไทป์เป็น AA หรือ Aa ตามลำดับ ซึ่งจะมีฟีโนไทป์เป็นหัวกลม แต่ถ้าโยนได้เหรียญด้านก้อย-ก้อยก็จะมีจีโนไทป์เป็น aa ซึ่งจะมี ฟโี นไทปเ์ ป็นหวั ส่เี หลี่ยม

2. สงิ่ ใดกำหนดฟีโนไทป์ของสตั วป์ ระหลาดในแตล่ ะลกั ษณะ แนวคำตอบ จโี นไทปข์ องแตล่ ะลักษณะ

3. เมอ่ื นำพอ่ มาผสมพนั ธ์กุ บั แม่ ลูกที่เกดิ ข้นึ มีอตั ราสว่ นการเกดิ จีโนไทป์และฟโี นไทป์เปน็ อย่างไร แนวคำตอบ คำตอบขึ้นอยู่กับจีโนไทป์ของพ่อและแม่ที่เลือกมาผสมพันธุ์ เช่น ถ้าพ่อมีจีโนไทป์ Ee และแม่มี จโี นไทป์ ee จโี นไทปข์ องลกู คอื Ee และ ee ในอัตราสว่ น 1 : 1 และมฟี ีโนไทป์คือมีขา 3 ขากบั มีขา 2 ขา ใน อัตราส่วนระหว่างมขี า 3 ขากับมขี า 2 ขาเทา่ กบั 1 : 1

4. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อยา่ งไร แนวคำตอบ การเข้าคู่กนั ของแอลลลี ทำให้เกดิ จโี นไทป์แบบต่าง ๆ ทก่ี ำหนดลักษณะท่แี สดงออกหรือฟีโนไทป์ ท่ีแตกต่างกนั เป็นผลใหส้ ัตว์ประหลาดมลี ักษณะแตกต่างกัน การเขียนแผนภาพการผสมพันธุ์จะทำให้สามารถ หาอตั ราสว่ นจีโนไทปแ์ ละฟีโนไทป์ของลกู ได้

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

75 หนว่ ยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 2.5 โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนษุ ย์เปน็ อย่างไร

นักเรยี นจะได้เรียนรู้เก่ียวกับลักษณะของโครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญงิ จากการจัดเรยี งโครโมโซม และเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งโครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญงิ

จุดประสงค์ สงั เกตและเปรยี บเทียบลกั ษณะโครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญงิ

เวลาทีใ่ ชใ้ น 70 นาที การทำกิจกรรม

วัสดแุ ละอุปกรณ์ วัสดุทใี่ ช้ตอ่ กลุ่ม รายการ จำนวน/กลุ่ม 1. กรรไกร 1 เลม่ 2. กาวแท่งหรือสก็อตเทปใส 3. สำเนาภาพโครโมโซมของมนุษยเ์ พศชาย 1 แท่งหรอื 1 มว้ น อยา่ งละ 1 แผ่น และเพศหญิง

การเตรยี มตัว ล่วงหนา้ สำหรบั ครู

ขอ้ เสนอแนะ • ใชก้ ระดาษสที ม่ี สี ีต่างกนั ในการทำสำเนาโครโมโซมของมนุษย์เพศหญิงและเพศชาย เพอื่ ไม่ให้ ในการทำกิจกรรม โครโมโซมของแต่ละเพศปะปนกนั

• ในการจัดเรียงโครโมโซมอาจมีโครโมโซมบางคู่ที่มีขนาดใกล้เคียงกันมาก นักเรียนอาจเรียง สลบั ตำแหน่งกันกไ็ ด้

• ควรจัดเรียงโครโมโซมของเพศชายก่อนเพศหญิงตามขั้นตอนที่ให้ไว้ในกิจกรรม เพื่อให้ สังเกตเห็นโครโมโซม X ซึ่งแตกต่างจากออโตโซม และเมื่อนักเรียนจัดเรียงโครโมโซมของ เพศหญงิ จะสามารถแยกโครโมโซม X ออกจากออโตโซมได้งา่ ยขึน้

• สังเกตคู่โครโมโซมที่มีขนาดใหญ่แล้วตัดโครโมโซมคู่นั้นออกมาจัดเรียงก่อน จากนั้นจึงตัดคู่ โครโมโซมที่มีขนาดรองลงมา เพราะเมื่อตัดไปเรื่อย ๆ จะทำให้คู่ของโครโมโซมเหลือน้อยลง ทำให้สะดวกต่อการค้นหา ซึ่งถ้าตัดโครโมโซมออกมาพร้อมกันทั้งหมด จะทำให้โครโมโซม ปะปนกัน ทำให้ยากตอ่ การคน้ หา

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ 76 คมู่ ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สื่อการเรียนรู/้ • หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เล่ม 1 สสวท. แหล่งเรยี นรู้

ตวั อยา่ งผลการทำกจิ กรรม

เมื่อนำภาพโครโมโซมมนุษย์มาจัดเรียงจะมลี ักษณะดงั น้ี โครโมโซมของมนุษย์เพศชาย

โครโมโซมของมนษุ ยเ์ พศหญิง

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

77 หน่วยท่ี 2 | พันธศุ าสตร์ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยคำถามทา้ ยกิจกรรม

1. โครโมโซมในเซลล์รา่ งกายของมนษุ ยเ์ พศชายและเพศหญิงมจี ำนวนเทา่ กันหรือไม่ อย่างไร แนวคำตอบ มีจำนวนเทา่ กัน คอื 46 แทง่ หรือ 23 คู่

2. โครโมโซมในเซลลร์ า่ งกายของมนษุ ยเ์ พศชายและเพศหญงิ เหมือนหรือแตกต่างกันอยา่ งไร แนวคำตอบ โครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญงิ มลี กั ษณะทีเ่ หมือนกนั 22 คู่ และมีลักษณะแตกตา่ งกนั 1 คู่

3. เซลลร์ ่างกายของมนุษย์เพศชายและเพศหญิงมีจำนวนฮอมอโลกสั โครโมโซมกค่ี ู่ แนวคำตอบ เพศชายมีฮอมอโลกัสโครโมโซมจำนวน 22 คู่ ได้แก่ คู่ที่ 1-22 ส่วนเพศหญิงมีฮอมอโลกัส โครโมโซมจำนวน 23 คู่ ไดแ้ ก่ ค่ทู ี่ 1-23

4. จากกจิ กรรม สรปุ ไดว้ ่าอยา่ งไร แนวคำตอบ มนุษย์มีจำนวนโครโมโซม 46 แท่ง หรือ 23 คู่ โครโมโซม 22 คู่เหมือนกันทั้งเพศหญิงและ เพศชาย ส่วนโครโมโซมอีก 1 ค่มู ลี ักษณะแตกต่างกนั

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | พนั ธุศาสตร์ 78 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 2.6 การแบ่งเซลลม์ แี บบใดบา้ ง

นกั เรยี นจะได้เรยี นรู้เกี่ยวกบั ผลท่ีไดจ้ ากการแบ่งเซลลข์ องส่ิงมีชีวติ 2 แบบที่แตกตา่ งกัน และจำนวนโครโมโซม ของเซลลท์ เ่ี กดิ ขนึ้ จากการรวมกันของเซลลใ์ หม่ 2 เซลลท์ ่ไี ดจ้ ากการแบ่งเซลลแ์ ตล่ ะแบบ

จดุ ประสงค์ สังเกตและอธบิ ายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์ของสงิ่ มีชีวติ

เวลาทใ่ี ชใ้ น 30 นาที การทำกิจกรรม

วสั ดุและอุปกรณ์ -ไมม่ -ี

การเตรยี มตวั -ไม่ม-ี

ล่วงหนา้ สำหรบั ครู

ข้อเสนอแนะ -ไมม่ -ี

ในการทำกจิ กรรม

สอ่ื การเรยี นร/ู้ • หนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เล่ม 1 สสวท. แหลง่ เรียนรู้

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

79 หน่วยที่ 2 | พนั ธุศาสตร์ คมู่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตวั อย่างผลการทำกิจกรรม เซลล์ท่ีเกิดจากการรวมตวั กันของเซลลใ์ หม่ 2 เซลล์ทีไ่ ด้จากการแบ่งเซลล์แบบที่ 1

เซลล์ทเ่ี กดิ จากการรวมตวั กนั ของเซลลใ์ หม่ 2 เซลล์ทไ่ี ด้จากการแบ่งเซลล์แบบท่ี 2

หลงั จากนกั เรยี นร่วมกันวิเคราะหแ์ ละอภิปราย นกั เรยี นควรบอกได้ว่าการแบ่งเซลลแ์ บบท่ี 2 เป็นการ แบ่งเซลลท์ ใี่ ชใ้ นการสรา้ งเซลล์สบื พนั ธ์ุเพือ่ สืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศ

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | พันธุศาสตร์ 80 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม

1. จำนวนเซลลแ์ ละโครโมโซมของเซลลใ์ หมท่ ี่ได้จากการแบง่ เซลล์แบบท่ี 1 และแบบที่ 2 แตกตา่ งกันอยา่ งไร แนวคำตอบ เซลล์ตั้งต้นมีโครโมโซม 2 แท่ง การแบ่งเซลล์แบบที่ 1 ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ที่มีจำนวนโครโมโซม เปน็ 2 แทง่ เท่ากับเซลล์ตั้งต้น แต่การแบ่งเซลล์แบบท่ี 2 ไดเ้ ซลลใ์ หม่ 4 เซลล์ทีม่ ีจำนวนโครโมโซมเป็น 1 แท่ง ลดลงเปน็ คร่งึ หน่ึงของเซลลต์ ง้ั ตน้

2. ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศซึ่งมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ ทำให้จำนวนโครโมโซมของลูกเท่ากับ พอ่ แม่ ควรมกี ารแบ่งเซลล์แบบใด เพราะเหตใุ ด แนวคำตอบ ควรมีการแบ่งเซลล์แบบที่ 2 กล่าวคือ เซลล์สืบพันธุ์มีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง เมื่อเซลล์ สืบพันธุ์ของพ่อและแม่มารวมตัวกันจึงจะได้ลูกที่มีจำนวนโครโมโซมเท่ากับพ่อแม่ เนื่องจากสิ่งมีชีวิตชนิด เดยี วกนั จะมจี ำนวนโครโมโซมเทา่ กนั และคงที่เสมอ

3. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ า่ อยา่ งไร แนวคำตอบ การแบ่งเซลล์มี 2 แบบ คือ แบบท่ี 1 ได้เซลลใ์ หม่ 2 เซลล์ ทม่ี ีจำนวนโครโมโซมเทา่ เดิม แบบที่ 2 ไดเ้ ซลล์ใหม่ 4 เซลล์ ทม่ี จี ำนวนโครโมโซมลดลงเป็นคร่งึ หนงึ่ ของเซลล์ตั้งตน้ ซ่งึ เป็นการแบ่งเซลล์เพือ่ สรา้ งเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ เมื่อเกิดการปฏสิ นธิ ไซโกตทไี่ ดจ้ ะมจี ำนวนโครโมโซมเท่ากบั พ่อแม่

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

81 หนว่ ยท่ี 2 | พันธุศาสตร์ คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 2.7 โครโมโซมของทารกในครรภ์เปน็ ปกตหิ รอื ไม่

นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ยี วกับโรคทางพันธุกรรมท่ีเกิดจากความผดิ ปกติของจำนวนโครโมโซม

จุดประสงค์ สงั เกตและอธิบายผลของการเปล่ียนแปลงจำนวนโครโมโซมทอี่ าจทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรม

เวลาท่ใี ช้ใน 30 นาที การทำกจิ กรรม -ไม่ม-ี

วัสดุและอุปกรณ์

การเตรียมตัว -ไม่ม-ี

ลว่ งหนา้ สำหรับครู

ข้อเสนอแนะ -ไม่ม-ี

ในการทำกิจกรรม

สื่อการเรยี นรู/้ • หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เล่ม 1 สสวท. แหล่งเรยี นรู้

ตวั อยา่ งผลการทำกิจกรรม

จากการสังเกตและพจิ ารณาลกั ษณะของโครโมโซมของทารกในแผนภาพและเปรียบเทียบกับโครโมโซมของ คนปกติจะพบว่า จำนวนโครโมโซมของทารกมีจำนวน 47 แท่งซึ่งแตกต่างจากคนปกติคือ 46 แท่ง โดยมีจำนวน โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง และโครโมโซมคู่ที่ 23 มีลักษณะเหมือนกัน คือ โครโมโซมเป็น XX ทารกจึงเป็น เพศหญิง

คนทม่ี จี ำนวนโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่งจะเป็นกลมุ่ อาการดาวน์ ซ่ึงมอี าการผดิ ปกติทางร่างกาย เช่น ตาช้ีข้ึน ลนิ้ จุกปาก ลน้ิ แตกเปน็ ร่อง ดง้ั จมกู แบน นิว้ มือสนั้ ป้อม และมีพฒั นาการทางสมองชา้

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | พันธศุ าสตร์ 82 ค่มู ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม

1. ทารกในสถานการณท์ ก่ี ำหนดให้เป็นเพศใด และมีจำนวนโครโมโซมผดิ ปกตหิ รอื ไม่ อย่างไร แนวคำตอบ ทารกเป็นเพศหญิง มจี ำนวนโครโมโซมผิดปกตคิ ือ 47 แท่ง โดยโครโมโซมคู่ที่ 21 เกนิ มา 1 แท่ง

2. ถ้าหากทารกคลอดออกมาและเจริญเติบโตต่อไปจะทำให้เกดิ โรคใด และมีความผดิ ปกตอิ ย่างไร แนวคำตอบ จะเป็นกลุ่มอาการดาวน์ มีความผิดปกติทางร่างกาย เช่น ตาช้ขี น้ึ ล้นิ จกุ ปาก ลนิ้ แตกเป็นรอ่ ง ดั้ง จมกู แบน นิว้ มือสนั้ ป้อม และมีพฒั นาการทางสมองช้า

3. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ า่ อย่างไร แนวคำตอบ ทารกมีจำนวนโครโมโซมจำนวน 47 แทง่ โดยมีโครโมโซมคทู่ ่ี 21 เกินมา 1 แทง่ ทำให้ทารกเปน็ กลุ่มอาการดาวน์ ซึง่ มีอาการผดิ ปกติทางรา่ งกาย เชน่ ตาชี้ข้นึ ล้ินจกุ ปาก ลนิ้ แตกเปน็ รอ่ ง ดงั้ จมกู แบน น้ิวมือ สนั้ ปอ้ ม และมีพัฒนาการทางสมองช้า

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

83 หน่วยที่ 2 | พันธุศาสตร์ คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 2.8 วางแผนอยา่ งไรก่อนแต่งงานเพื่อลดความเส่ียงทีจ่ ะมีบุตรท่ีเป็นโรคทางพันธกุ รรม

นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับโอกาสการเกิดโรคทางพันธุกรรมของบุตรเพื่อนำความรู้ไปใช้ในการวางแผนก่อน แตง่ งานและมีบตุ ร

จุดประสงค์ อธิบายโอกาสเกิดโรคทางพันธกุ รรมในรนุ่ ลกู เพื่อนำไปใชว้ างแผนก่อนแตง่ งานและมีบุตร

เวลาทใ่ี ชใ้ น 30 นาที การทำกจิ กรรม

วัสดุและอุปกรณ์ -ไมม่ -ี

การเตรยี มตัว -ไม่ม-ี

ล่วงหนา้ สำหรับครู

ข้อเสนอแนะ -ไมม่ -ี

ในการทำกิจกรรม

ส่อื การเรยี นรู้/ • หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เล่ม 1 สสวท. แหลง่ เรยี นรู้

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 2 | พนั ธุศาสตร์ 84 คูม่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตวั อย่างผลการทำกิจกรรม

เมื่อพิจารณาจีโนไทป์ของคู่แต่งงานแต่ละคู่จากตารางที่กำหนดให้ สามารถเขียนแผนภาพเพื่อหาความเสี่ยง ของการเกิดโรคธาลสั ซีเมยี ได้ดังน้ี

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

85 หน่วยที่ 2 | พันธศุ าสตร์ คู่มือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตวั อย่างผลการทำกิจกรรม จากแผนภาพคู่แต่งงานทมี่ คี วามเสี่ยงในการมีบุตรทเี่ ป็นโรคธาลัสซีเมยี คอื คแู่ ต่งงานคู่ท่ี 3 และ 4 ดงั นน้ั ก่อน แต่งงาน คู่สมรสจงึ ควรไปตรวจเพอื่ วนิ จิ ฉัยว่าตนเองเปน็ โรคหรือพาหะของโรคธาลสั ซเี มียหรือไม่ เพอื่ วางแผนใน การตัดสินใจแตง่ งานและมีบตุ ร

เฉลยคำถามทา้ ยกิจกรรม

1. โอกาสทร่ี ่นุ ลูกของชายหญิงแตล่ ะคจู่ ะเปน็ ปกติ เป็นพาหะของโรค หรือเป็นโรคธาลัสซเี มยี เปน็ อยา่ งไร แนวคำตอบ โอกาสที่รุน่ ลูกของชายหญงิ แตล่ ะคู่จะเปน็ ปกติ พาหะ หรอื เปน็ โรคธาลัสซเี มียเปน็ ดงั น้ี คูแ่ ตง่ งานคทู่ ่ี 1 ลูกทกุ คน เป็นปกติ คู่แตง่ งานคทู่ ่ี 2 โอกาสที่รุ่นลูกจะเป็นปกติเท่ากับ 1/2 หรือร้อยละ 50 โอกาสเป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมีย เทา่ กบั 1/2 หรอื ร้อยละ 50 คู่แตง่ งานคู่ที่ 3 โอกาสที่รุ่นลูกจะเป็นปกติเท่ากับ 1/4 หรือร้อยละ 25 โอกาสเป็นพาหะของโรคธาลัสซีเมีย เท่ากับ 1/2 หรอื รอ้ ยละ 50 และโอกาสปว่ ยเป็นโรคธาลสั ซเี มียเท่ากับ 1/4 หรอื รอ้ ยละ 25 คู่แตง่ งานคทู่ ี่ 4 โอกาสท่รี นุ่ ลูกจะเป็นพาหะของโรคธาลสั ซีเมียเท่ากบั 1/2 หรือรอ้ ยละ 50 และโอกาสทรี่ ุ่นลูก จะเป็นโรคธาลัสซเี มียเท่ากบั 1/2 หรือร้อยละ 50 คแู่ ตง่ งานคู่ท่ี 5 ลูกทุกคนเปน็ พาหะของโรคธาลัสซเี มีย

2. การลดความเส่ียงที่จะมบี ุตรซงึ่ ปว่ ยเปน็ โรคธาลสั ซเี มียทำได้อยา่ งไร แนวคำตอบ ชายและหญิงก่อนแตง่ งานควรไปพบแพทยเ์ พื่อตรวจภาวะเสี่ยงที่จะเป็นโรคธาลัสซเี มียซ่งึ เป็นโรค ทางพนั ธกุ รรม เพ่อื นำข้อมลู ไปตดั สินใจในการแตง่ งานหรือมบี ตุ ร

3. จากกจิ กรรม สรุปได้วา่ อย่างไร แนวคำตอบ การคำนวณโอกาสของการเกิดลูกที่เป็นโรคทางพันธุกรรม สามารถนำมาใช้ในการวางแผนก่อน ตัดสนิ ใจแต่งงานและมบี ุตร เพ่ือลดความเสีย่ งทลี่ กู จะเปน็ โรคทางพนั ธกุ รรม

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ 86 คู่มอื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 2.9 ประโยชนแ์ ละผลกระทบของสง่ิ มีชวี ิตดัดแปรพันธกุ รรมเป็นอย่างไร

นกั เรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับประโยชน์และผลกระทบจากสิ่งมชี วี ิตดัดแปรพนั ธกุ รรม และอภิปรายร่วมกันเพื่อ ตัดสนิ ใจยอมรบั หรอื ไม่ยอมรับการใชป้ ระโยชนจ์ ากส่งิ มีชีวิตดัดแปรพันธกุ รรม

จดุ ประสงค์ อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์และผลกระทบจากสิ่งมีชีวติ ดดั แปรพนั ธกุ รรมท่ีอาจมีต่อมนุษย์และ สงิ่ แวดลอ้ มโดยใช้ข้อมลู ที่รวบรวมได้

เวลาที่ใชใ้ น 90 นาที การทำกจิ กรรม

วัสดแุ ละอุปกรณ์ -ไม่ม-ี

การเตรยี มตวั -ไม่ม-ี

ล่วงหนา้ สำหรับครู

ขอ้ เสนอแนะ -ไมม่ -ี

ในการทำกิจกรรม

ส่อื การเรยี นรู้/ • หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เลม่ 1 สสวท. แหลง่ เรียนรู้

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

87 หนว่ ยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตวั อยา่ งผลการทำกจิ กรรม

สิ่งมชี ีวติ ดัดแปรพันธุกรรมทกี่ ลมุ่ ของนักเรียนเลอื ก เชน่ ข้าวโพดดดั แปรพันธกุ รรม มีข้อมูลดงั ตัวอย่าง ขา้ วโพดดดั แปรพันธุกรรม เป็นพืชที่มนุษย์ใชเ้ ทคนิคพันธวุ ิศวกรรมเพ่ือให้ข้าวโพดมีความต้านทานโรคและ แมลง ทำให้มีผลผลิตสูง จากงานวิจัยพบว่าเรณูของข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรมเมื่อปลิวไปตกอยู่บนใบของต้นรัก จะทำให้หนอนทีก่ ินใบรักเป็นอาหารเจรญิ เติบโตช้า และมีอัตราการตายสูงข้ึนเมื่อเทียบกับหนอนท่ีกินใบรักท่ีไมม่ ี การปนเป้ือนของเรณขู ้าวโพดหรือใบรกั ทปี่ นเปื้อนเรณูของข้าวโพดตามธรรมชาติ หนอนใบรกั เมือ่ เจรญิ เป็นตวั เต็มวยั จะเป็นผเี สื้อจักรพรรดิ ซ่งึ เปน็ แมลงท่ีมปี ระโยชน์ เพราะชว่ ยถา่ ยละออง เรณูใหก้ ับพชื หลายชนิด นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้เหตุผลหรือข้อมูลสนับสนุน เช่น นักเรียนบางคนอาจยอมรับการปลูก ขา้ วโพดดัดแปรพันธุกรรมโดยมเี หตุผลดงั น้ี 1. ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม เมื่อปลูกแล้วจะทำให้ได้ผลผลิตข้าวโพดสูงขึ้น ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหาร ของประชากรโลกในอนาคตซง่ึ เป็นปญั หาเร่งด่วน ทง้ั นเี้ น่อื งจากทรัพยากรท่ีดินสำหรับใช้เพาะปลูกมีจำกัด จึง ตอ้ งใช้ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรมเพอ่ื เพ่ิมผลผลติ ใหเ้ พียงพอกบั ความตอ้ งการของประชากรโลก 2. ลดปญั หามลพษิ จากส่ิงแวดลอ้ มอันเกดิ จากการใชส้ ารเคมีกำจัดศัตรูพืช เน่อื งจากพชื ดัดแปรพนั ธุกรรมสามารถ ตา้ นทานโรคและแมลงได้ ทำให้อตั ราการใชส้ ารเคมกี ำจัดศัตรูพชื ลดลงหรืออาจไมต่ ้องใชเ้ ลย นอกจากนี้ชว่ ยให้ เกษตรกรปลอดภัยจากการได้รบั สารพษิ ขณะใชส้ ารเคมีกำจดั ศัตรูพชื และยังเปน็ การลดต้นทนุ การผลิต นกั เรียนบางคนอาจมีขอ้ โต้แย้ง โดยมเี หตผุ ลดังนี้ 1. สารพิษจากยีนฆ่าหนอนแมลงที่ตัดต่อเข้าสู่ข้าวโพด จะมีผลกระทบต่อแมลงอื่น ๆ ที่มีประโยชน์ เช่น หนอน ผีเสื้อจกั รพรรดิ และแมลงที่มปี ระโยชน์อนื่ ๆ 2. เป็นการทำลายระบบนิเวศและเสี่ยงต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เพราะพืชดัดแปรพันธุกรรม เป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใหม่ที่แข็งแรงทนทานกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม สายพันธุ์ที่แข็งแรงกว่าย่อมมีชีวิตรอดและมี การขยายพนั ธุ์เพ่ิมจำนวนมากข้นึ ในทางกลบั กันสายพนั ธุ์ที่อ่อนแอจะสูญหายไปในทีส่ ุด นอกจากน้ียังอาจทำ ให้ส่ิงมชี วี ิตที่มีความเหมอื นกันทางพนั ธกุ รรมมมี ากขนึ้ ในอนาคต ซึ่งไมเ่ ปน็ ผลดีทางววิ ฒั นาการ จากนั้นนักเรียนร่วมกันตัดสินใจจะว่ายอมรับหรือไม่ยอมรับในการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรม เช่น นักเรียนบางคนยอมรับการใช้ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม เพราะปัญหาการขาดแคลนอาหารของ ประชากรโลก เป็นปัญหาสำคัญและเร่งด่วน ควรรีบดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ก่อน นอกจากนี้ยังเป็นการลด อันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และลดต้นทุนการผลิต สว่ นขอ้ โตแ้ ย้งเก่ียวกับผลกระทบที่มีต่อแมลงอ่ืน ๆ ท่ีมี ประโยชน์ และเป็นการทำลายระบบนิเวศและเส่ียงต่อการสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ อาจคิดหาวิธีการ ป้องกันได้ สำหรับการเผยแพรข่ อ้ มลู อาจจดั ทำในรปู ปา้ ยนเิ ทศ แผน่ พบั หรือเอกสารเผยแพร่อ่ืน ๆ ซ่ึงควรเสนอถึงข้อดี และข้อเสียของการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมทั้งสองด้าน และการตัดสินใจยอมรับ หรือไม่ยอมรับการใช้ ส่ิงมีชวี ิตดัดแปรพนั ธุกรรมของกลุ่มพร้อมทัง้ บอกเหตผุ ล

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 2 | พันธุศาสตร์ 88 คูม่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม

1. เพราะเหตุใดนกั เรียนจงึ ตัดสินใจยอมรับหรือไมย่ อมรบั การใช้ประโยชนจ์ ากสิ่งมีชวี ติ ดัดแปรพนั ธุกรรม แนวคำตอบ ขึ้นอยู่กับเหตุผลของแต่ละกลุ่ม เช่น ยอมรับเนื่องจากเห็นว่ามนุษย์ควรคำนึงถึงความจำเป็น เร่งด่วนของการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหารมากกว่าผลกระทบท่ีจะได้รับ หรือนักเรียนอาจไม่ยอมรับโดยอ้างเหตุผลอน่ื ๆ

2. สิง่ มชี ีวิตดัดแปรพนั ธุกรรมมีประโยชน์และผลกระทบต่อมนษุ ยแ์ ละส่ิงแวดล้อมอยา่ งไร แนวคำตอบ สิง่ มีชีวิตดัดแปรพนั ธกุ รรมมปี ระโยชนต์ ่อมนุษย์และสิ่งแวดลอ้ ม ดังน้ี 1. ช่วยลดการใช้สารกำจดั เช้อื โรคพชื และแมลงศัตรพู ชื ลดต้นทนุ ในการทำเกษตรกรรม เพราะพชื ดัดแปร

พันธุกรรมมีความตา้ นทานต่อโรคและแมลงศัตรูพชื เชน่ ฝา้ ยบที ี ข้าวโพดบที ี

2. พชื ดดั แปรพันธกุ รรมที่มีความต้านทานต่อสารกำจดั วชั พืช เช่น ถั่วเหลือง 3. พชื ดดั แปรพนั ธกุ รรมที่มีคุณค่าทางอาหารสูงขน้ึ เช่น ขา้ วทีม่ วี ติ ามนิ เอหรอื ธาตเุ หลก็ สูงข้นึ 4. สตั วม์ ขี นาดใหญข่ น้ึ และใชเ้ วลาเลีย้ งนอ้ ยลง เชน่ ปลาแซลมอน ปลาคาร์ป ทำใหต้ ้นทุนการผลิตน้อยลง 5. ลดปญั หามลพษิ จากสง่ิ แวดล้อมทเี่ กดิ จากการใชส้ ารเคมีกำจดั ศตั รูพืช 6. ไม่ตอ้ งตัดไมท้ ำลายป่าเพือ่ เพมิ่ พื้นทเี่ พาะปลูก เพราะพชื ดดั แปรพันธกุ รรมให้ผลผลิตมากกว่าพืชปกติ ผลกระทบตอ่ มนุษยแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม มดี ังนี้ 1. สารพิษจากยีนฆ่าหนอนแมลงที่ตัดต่อเข้าสู่ข้าวโพด จะมีผลกระทบต่อแมลงอื่น ๆ ที่มีประโยชน์ซึ่งเป็น

แมลงที่ไม่ใช่เป้าหมายในการกำจดั 2. เกดิ การแพร่กระจายของส่ิงมีชีวิตดดั แปรพันธุกรรมสู่สิ่งแวดล้อม เชน่ เรณูของพชื ดัดแปรพันธุกรรมอาจไป

ผสมพันธก์ุ บั วชั พชื ทำใหว้ ัชพืชมคี วามต้านทานตอ่ สารกำจดั วัชพชื 3. ทำลายระบบนิเวศและเสีย่ งต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) เนื่องจากสิ่งมีชีวติ

ดัดแปรพันธุกรรม อาจผสมพันธ์ุกับสิ่งมชี ีวิตต่างชนิดกัน เช่น พืชกับแบคทีเรีย ทำให้ได้ส่ิงมีชีวิตชนิดใหม่ที่ แข็งแรงทนทานกว่าชนิดเดิม ดังนั้นสิ่งมีชีวิตนี้จึงอยู่รอดได้ ในขณะที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดิมจะอ่อนแอและ สญู หายไปในที่สดุ 3. จากกจิ กรรม สรุปได้ว่าอย่างไร แนวคำตอบ สิ่งมีชวี ติ ดดั แปรพนั ธุกรรมมีทัง้ ประโยชน์และผลกระทบต่อมนษุ ย์และสงิ่ แวดลอ้ ม การจะตัดสินใจ ยอมรับหรือไม่ยอมรับการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมนั้นขึ้นอยู่กับเหตุผลในการตัดสินใจซึ่งมี ท้งั ด้านบวกและด้านลบ

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

89 หน่วยท่ี 2 | พันธศุ าสตร์ คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมทา้ ยบท จรยิ ธรรมทางด้านพนั ธุศาสตร์ของนกั เรียนเปน็ อย่างไร

นักเรียนจะได้นำความรู้เกี่ยวกับจริยธรรมทางด้านพันธุศาสตร์ โดยการอ่านและวิเคราะห์สถานการณ์ที่กำหนดให้ แล้วตัดสินใจเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งจากการอภิปรายโต้แย้งโดยใช้เหตุผล ซึ่งการเลือกวิธีการใดนั้นจะต้องคำนึงถึง ความถูกต้อง เหมาะสม และจริยธรรม โดยครูจะเป็นผู้กระตุน้ ให้เกิดการอภิปราย ซึ่งก่อนทำกิจกรรมครูและนักเรียนควร รว่ มกนั อภิปรายเกี่ยวกับความหมายของจริยธรรมว่าเป็นธรรมะท่ีเป็นข้อประพฤติปฏบิ ัติหรือศลี ธรรม ซึ่งลักษณะของผู้ที่ มีจริยธรรม เช่น เป็นผู้มีความเพียรพยายามทำความดี ละอายต่อการประพฤติชัว่ เป็นคนที่มคี วามซ่ือสัตย์สุจริต มีความ เมตตากรณุ า มคี วามยตุ ธิ รรม

จุดประสงค์ วิเคราะห์และตัดสินใจเลือกวิธีการที่ถูกต้อง เหมาะสม และคำนึงถึงจริยธรรมจากสถานการณ์ เกยี่ วกบั พันธศุ าสตรท์ ่กี ำหนดให้

เวลาทีใ่ ชใ้ น 60 นาที การทำกิจกรรม

วัสดุและอุปกรณ์ -ไม่ม-ี

การเตรียมตัว -ไม่ม-ี

ล่วงหนา้ สำหรับครู

ขอ้ เสนอแนะ -ไมม่ -ี

ในการทำกิจกรรม

สอ่ื การเรียนร/ู้ • หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 สสวท. แหลง่ เรียนรู้

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | พันธุศาสตร์ 90 คมู่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตัวอย่างผลการทำกจิ กรรม

นกั เรยี นต้องตัดสินใจเลอื กวธิ ีการทีก่ ำหนดใหใ้ นแตล่ ะสถานการณ์เพยี ง 1 ข้อ ขน้ึ อยู่กบั การตัดสนิ ใจของกล่มุ ซง่ึ แตล่ ะขอ้ มที ง้ั ขอ้ ดีและข้อจำกดั การเลือกวธิ ใี ดในแตล่ ะสถานการณ์ขน้ึ อยกู่ บั เหตผุ ลความเปน็ ไปได้ ผลกระทบท่ี อาจเกิดขน้ึ และคำนึงถึงด้านจริยธรรมดว้ ย ตัวอย่างเชน่ สถานการณ์ท่ี 1 ข้อ ก. ให้ลูกเกิดตามธรรมชาติ ลูกที่เกิดมาอาจไม่เป็นโรคก็ได้ แต่ถ้าเป็นโรค ลูกจะมีปัญหาด้านสุขภาพ ซึ่งเป็น

ภาระของพอ่ แม่ สงั คม และเศรษฐกจิ ข้อ ข. รักษาโดยใช้ยีนบำบัด ซึง่ ถ้าทำสำเร็จลกู ก็จะสร้างภูมิคุ้มกันได้ และในอนาคตจะไม่มีคนท่เี ป็นโรคนี้ แต่ยีนที่

ใช้ในการบำบัดอาจมีผลต่อการทำงานของยีนอื่น ทำให้ร่างกายเกิดความผิดปกติ เช่น เป็นโรคมะเร็ง และ อาจมีข้อโต้แย้งทางด้านจริยธรรม เพราะหากทารกที่เกิดจากการทำยีนบำบัดเจริญเติบโต สืบพันธุ์ และมี ลูกหลาน จะเปน็ ผลใหค้ วามหลากหลายทางพันธกุ รรมของมนุษย์ลดลง ขอ้ ค. ข้อน้ถี ึงแม้จะแก้ปัญหาที่จะเกิดขนึ้ ทั้งหมดได้ แตถ่ ้าพจิ ารณาถึงด้านจรยิ ธรรม จะเปน็ การทำผดิ จรยิ ธรรม สถานการณ์ท่ี 2 ขอ้ ก. ขาย เพราะถ้าลกู คา้ ไดส้ ินคา้ ท่มี คี ณุ ภาพจะทำใหล้ กู ค้าพึงพอใจ และจะทำให้บริษทั มีผลกำไรเพิม่ ขึ้น ขอ้ ข. ขาย เพราะอาหารเปน็ สิ่งจำเป็นตอ่ การดำรงชีวิตของมนุษย์และเปน็ ปัญหาเรง่ ดว่ น ข้อ ค. ไม่ขาย เพราะยังจะต้องศึกษาวิจัยต่อไปอีกจนกว่าจะแน่ใจว่าสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมปลอดภัยต่อ ผ้บู ริโภค สถานการณ์ท่ี 3 ขอ้ ก. ถ้าสามารถหาเส้นขนของสุนัขได้แล้วนำส่วนรากของเส้นขนไปโคลนอาจไม่ประสบความสำเร็จ หรือถ้า ประสบความสำเรจ็ อาจทำให้ได้สุนัขที่มีรปู ร่างลักษณะเหมือนเดิม แต่อปุ นสิ ยั ของสนุ ขั อาจไมเ่ หมือน ตวั เดมิ ท่นี กั เรยี นรัก ข้อ ข. ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติโดยไม่โคลน ข้อนี้อาจเป็นวิธีการที่เหมาะสมและเป็นไปได้ เพราะสิ่งมีชีวิตมีเกิด และตายเป็นเรื่องของธรรมชาติ สถานการณ์ที่ 4 ข้อ ก. เลือกสรา้ งเดก็ หลอดแก้วท่ีมลี กั ษณะตามต้องการ การสรา้ งเด็กหลอดแกว้ จะต้องนำเซลลไ์ ขจ่ ากแม่และอสุจิ จากพ่อมาดัดแปรพันธุกรรมก่อน แล้วจึงนำมาปฏิสนธิเกิดเป็นเอ็มบริโอภายนอกร่างกายของแม่ ซึ่งกว่าจะ ประสบความสำเร็จต้องใช้เอ็มบริโอเป็นจำนวนมาก และถ้าประสบความสำเร็จ ลูกที่เกิดมาจะต่างจากพ่อ แม่ทำให้ลูกอาจถูกล้อเลยี น หรือถ้าพ่อแม่คู่ไหนต้องการลกู ที่มีลักษณะตามต้องการ ก็จะให้บริษทั สร้างเดก็ หลอดแกว้ ขน้ึ มาตามทต่ี นเองตอ้ งการ ขอ้ ข. ไม่เลอื กใสย่ ีนเข้าไปในไซโกต เพราะต้องการใหล้ ูกมลี ักษณะคล้ายคลงึ กับพ่อแม่ ข้อนีจ้ ะเปน็ วิธีการที่เป็นไป ได้ เหมาะสม และไม่ผดิ จรยิ ธรรม เพราะลกู จะมีลักษณะคล้ายคลงึ กับพ่อแม่ ทำใหไ้ ม่มีปญั หาทางสังคม

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

91 หนว่ ยท่ี 2 | พนั ธุศาสตร์ คมู่ อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม

1. ในการตดั สนิ ใจเลือกวธิ ีการใดในแตล่ ะสถานการณ์ นักเรยี นมีเหตุผลในการตัดสินใจเลือกวิธีการนนั้ ๆ อยา่ งไร แนวคำตอบ ขึ้นอยู่กบั เหตุผลของนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม เหตุผลทเ่ี ลอื กอาจข้นึ อยู่กบั ความเปน็ ไปได้ ผลกระทบ ตอ่ สง่ิ แวดล้อม คณุ ภาพชวี ิต สังคม และเศรษฐกิจ

2. จากกจิ กรรมน้ี สรุปได้วา่ อย่างไร แนวคำตอบ การตัดสินใจเลือกวิธีการใดในแต่ละสถานการณ์เกี่ยวกับจริยธรรมทางพันธุศาสตร์ต้องศึกษา ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนและไม่ผดิ จริยธรรม

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ 92 คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท

1. ให้นกั เรยี นเขียนผังมโนทศั นเ์ พอื่ เช่ือมโยงความสัมพันธข์ องคำต่อไปน้ี * ยนี นวิ เคลยี ส โครโมโซม ดีเอ็นเอ เซลล์ แนวคำตอบ

หมายเหตุ นักเรยี นอาจเขยี นผังมโนทัศน์แตกตา่ งจากแนวคำตอบท่ีเฉลยไว้กไ็ ด้ ซึ่งครจู ะเปน็ ผตู้ รวจสอบความถูกตอ้ ง 2. นำต้นถ่วั ลันเตาที่มดี อกสีมว่ งและต้นถว่ั ลันเตาที่มดี อกสีขาวมาผสมพนั ธุ์กนั ตามแผนภาพ

กำหนดให้ P แทนแอลลีลควบคมุ ดอกสีมว่ ง และ p แทนแอลลลี ควบคมุ ดอกสขี าว ให้นักเรยี นเติมตัวอักษรและคำลง ในแผนภาพให้ถูกต้อง *

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

93 หนว่ ยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ คู่มือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แนวคำตอบ

pp pp

Pp pp ม่วง ขาว

3. การมีติ่งหูและไม่มีติ่งหูของมนุษย์เป็นลักษณะที่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ การมีติ่งหูเป็นลักษณะเด่นโดยมี แอลลีลควบคุมลักษณะการมตี ง่ิ หู (E) เป็นแอลลลี เด่น สว่ นแอลลลี ควบคุมลักษณะไม่มตี ิ่งหู (e) เปน็ แอลลีลด้อย นักเรียนคิดว่าเป็นไปได้หรือไม่ว่าพ่อแม่ที่มีติ่งหูทั้งคู่จะให้กำเนิดลูกที่ไม่มีติ่งหู ให้นักเรียนอธิบายคำตอบ โดยเขียนแผนภาพแสดงการถา่ ยทอดลกั ษณะการมตี ิ่งหูและไม่มีต่งิ หจู ากพ่อแม่ไปสู่ลกู * แนวคำตอบ เป็นไปได้ เพราะถ้าทั้งพ่อและแมม่ จี ีโนไทปเ์ ป็นเฮเทอโรไซกัสทั้งคู่ โอกาสท่ีจะมีลกู ท่มี ีต่ิงหูเท่ากับ 1/4 ดงั แผนภาพ

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ 94 คู่มือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4. การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิสมคี วามสำคญั ต่อสง่ิ มีชวี ติ อยา่ งไร ** แนวคำตอบ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซสิ มคี วามสำคญั ต่อสง่ิ มีชวี ติ ดงั นี้ 1. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายเจริญเติบโตและ ทดแทนเซลลท์ ่เี สียหายหรอื ตาย การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ นีจ้ ำนวนโครโมโซมในเซลลใ์ หม่เทา่ กบั เซลลเ์ ดมิ 2. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งการแบ่งเซลล์แบบน้ี เซลล์ใหม่ที่ได้จะมี จำนวนโครโมโซมลดลงเป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม เมื่อมีการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธ์ุจะทำให้ได้ลูกที่มีจำนวน โครโมโซมเท่ากบั พ่อแม่

5. สามภี รรยาปกตคิ ูห่ นงึ่ มีลูกชาย 2 คนและลกู สาว 1 คน ทุกคนป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมีย กำหนดให้ B แทนแอลลีลเด่นซ่งึ เปน็ แอลลีลปกติ b แทนแอลลลี ดอ้ ยซ่ึงเปน็ แอลลีลที่ทำใหเ้ กิดโรคธาลสั ซีเมีย ใหน้ ักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ **

5.1 จโี นไทปข์ องสามีภรรยาค่นู เ้ี ป็นอยา่ งไร แนวคำตอบ สามภี รรยาคนู่ ี้เป็นปกติ แตเ่ ป็นพาหะของโรค จงึ มลี กู ปว่ ยเปน็ โรคธาลัสซีเมียได้ ดงั น้ันจีโนไทป์ของ สามภี รรยาคนู่ ี้คือ Bb (ดูแผนภาพในขอ้ 5.2) หมายเหตุ ลกู ทุกคนมีโอกาส 1 ใน 4 ทจี่ ะปว่ ยเปน็ โรคธาลัสซีเมยี ดังน้นั ไม่ใชว่ ่าลกู คนแรกเป็นโรคแล้วลูกคน ตอ่ ๆ ไปจะไมเ่ ปน็ โรค เชน่ ลูกคนแรกมีโอกาส 1 ใน 4 ที่จะเปน็ โรคธาลัสซเี มยี ลกู คนต่อ ๆ ไปก็จะมโี อกาสเปน็ โรคธาลัสซเี มีย 1 ใน 4 เช่นเดียวกับลกู คนแรก

5.2 ลูกทเ่ี กดิ จากสามภี รรยาคนู่ ีม้ ีจโี นไทป์และฟีโนไทปอ์ ยา่ งไรบ้างและมีอัตราสว่ นเทา่ ใด แนวคำตอบ สามารถหาคำตอบไดจ้ ากการเขียนแผนภาพดงั นี้

ลูกที่เกิดจากสามีภรรยาคู่นี้มีจีโนไทป์ 3 แบบ ได้แก่ BB Bb และ bb ในอัตราส่วน BB : Bb : bb เท่ากับ 1 : 2 : 1 และมีฟีโนไทป์ 2 แบบ คือ คนปกติและคนเป็นโรคธาลสั ซีเมีย ซึ่งมีอัตราส่วนระหวา่ งคนปกติ : คนที่เป็นโรคธาลัสซีเมยี เทา่ กับ 3 : 1

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

95 หน่วยท่ี 2 | พันธุศาสตร์ คมู่ ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

5.3 ถ้าลูกสาวของสามีภรรยาคู่น้แี ต่งงานกับชายปกติแล้วมีลกู 2 คน คนหน่ึงเป็นลูกชายท่ีเป็นโรคธาลัสซีเมีย สว่ นอกี คนหน่งึ เปน็ ลูกสาวปกติ จโี นไทปข์ องชายคนนแี้ ละลกู สาวของสามีภรรยาคนู่ ีม้ ีจโี นไทปเ์ ปน็ อย่างไร แนวคำตอบ ชายปกติคนนี้จะต้องมีจีโนไทป์เป็น Bb และลูกสาวของสามีภรรยาซึ่งเป็นภรรยาของชายคนนี้มี จีโนไทป์เป็น bb (เพราะเป็นโรคธาลัสซีเมีย) ลูกที่เกิดจึงมีทั้งคนที่เป็นโรคธาลัสซีเมียและเป็นคนปกติ ดงั แผนภาพ

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | พันธศุ าสตร์ 96 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยหน่วย

1. ข้อความใดไม่ถูกต้องเกย่ี วกับโครโมโซม ยนี และดเี อ็นเอ * ก. โครโมโซมเป็นทอี่ ยู่ของยีน ข. ยีนเป็นช่วงหนึง่ ของดีเอ็นเอ ค. โครโมโซมมดี ีเอ็นเอเป็นองคป์ ระกอบ ง. โปรตนี เป็นองคป์ ระกอบของดเี อ็นเอ เฉลย ง. เพราะดีเอ็นเอประกอบด้วยน้ำตาล หมฟู่ อสเฟต และเบส แตไ่ ม่มโี ปรตีนเป็นองค์ประกอบ

2. ถ้านำเซลลผ์ ิวหนงั ของเดก็ หญงิ ก. ไปตรวจโครโมโซม จะพบวา่ มีโครโมโซมเป็นอย่างไร ก. ออโตโซม 22 คู่ และโครโมโซมเพศเป็น XX ข. ออโตโซม 22 คู่ และโครโมโซมเพศเป็น XY ค. ออโตโซม 23 คูแ่ ละโครโมโซมเพศ 1 คู่ ง. ออโตโซมทั้งหมดจำนวน 23 คู่

เฉลย ก. เพราะเซลล์ผวิ หนังเป็นเซลลร์ ่างกายจึงมจี ำนวนโครโมโซมเท่ากบั 23 คู่ โดยค่ทู ่ี 1-22 เปน็ ออโตโซม ส่วนคู่ ที่ 23 เป็นโครโมโซมเพศ จากโจทย์เป็นโครโมโซมของเด็กหญิง ก. ซึ่งเป็นเพศหญิง โครโมโซมคู่ที่ 23 จึง ต้องมีโครโมโซมเปน็ XX

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

97 หน่วยที่ 2 | พนั ธุศาสตร์ ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. ชาวสวนคนหนึง่ ผสมพนั ธุถ์ ่ัว 2 ตน้ เม่อื ต้นถ่ัวออกฝักจึงนำเมล็ดไปปลูกจนตน้ ถวั่ เจรญิ เติบโต ปรากฏว่าเป็นถวั่ ต้นสูงจำนวน 254 ต้น ถว่ั ต้นเตย้ี จำนวน 250 ตน้ กำหนดให้ T เป็นแอลลีลควบคมุ ลำตน้ สูง และ t เป็นแอลลลี ควบคุมลำตน้ เตยี้ จากผลการทดลองน้ี จโี นไทป์ของถ่ัวต้นพ่อและตน้ แมใ่ นขอ้ ใดถกู ต้อง *

ต้นพอ่ ต้นแม่ ก. TT tt ข. Tt tt ค. TT Tt ง. TT TT

เฉลย ข. เพราะจากโจทย์เมื่อผสมพนั ธุถ์ ว่ั ร่นุ พ่อแมไ่ ด้ถั่วรนุ่ ลูกต้นสงู จำนวน 254 ตน้ และตน้ เต้ียจำนวน 250 ต้นหรอื คิดเป็นอตั ราส่วนระหวา่ งถว่ั ตน้ สูงและถ่วั ต้นเตี้ยเท่ากับ 1 : 1 ดังนน้ั ถ่วั ตน้ พ่อจะต้องมีจีโนไทป์ Tt และต้น แม่มจี ีโนไทป์ tt ดังแผนภาพ

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 2 | พันธุศาสตร์ 98 ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4. กำหนดให้ A B C D เป็นพชื ชนิดเดยี วกนั A B C มดี อกสีแดง และ D มีดอกสขี าว นำพชื เหลา่ นีม้ าผสมพันธุ์กนั ได้ลูกที่มีลกั ษณะสขี องดอก ดังตาราง

จำนวนร้อยละของลกู

พชื ที่นำมาผสมพนั ธ์ุกัน ดอกสแี ดง ดอกสีขาว AxB BxC 100 0 AxC AxD 100 0

75 25

50 50

พืชใดมีจโี นไทป์แบบเดียวกัน ** ข. B และ C ก. A และ B ง. C และ D ค. A และ C

เฉลย ค. เพราะขอ้ มูลจากโจทย์เมื่อผสมพันธพ์ุ ืช A และ C ไดล้ ูกทีม่ ีดอกสีแดงร้อยละ 75 และดอกสีขาวร้อยละ 25 แสดงวา่ พชื A และพชื C จะต้องมจี โี นไทป์แบบเดยี วกันได้แก่ Rr แสดงไดโ้ ดยการเขยี นแผนภาพ ดงั น้ี

กำหนดให้ R แทนแอลลีลควบคุมลักษณะดอกสแี ดงซ่ึงเป็นแอลลีลเด่น และ r แทนแอลลลี ควบคมุ ลักษณะดอกสีขาวซึง่ เป็นแอลลลี ด้อย

โอกาสที่จะมลี ูกที่มีดอกสีแดงเท่ากับ 3/4 หรือร้อยละ 75 และดอกสีขาวเท่ากับ 1/4 หรือร้อยละ 25

ส่วนตัวเลือกอื่น ๆ ผิด เพราะ ตวั เลอื ก ก. A และ B จะมจี ีโนไทป์แบบเดยี วกนั ไมไ่ ด้ เพราะถ้าพชื A มจี โี นไทป์ Rr พืช B จะต้องมจี โี นไทป์ RR จงึ จะไดล้ ูกทม่ี ีดอกสีแดงทัง้ หมดหรือรอ้ ยละ 100 ตวั เลือก ข. B และ C จะมีจโี นไทป์แบบเดยี วกนั ไม่ได้ เพราะพชื B มีจีโนไทป์ RR พชื C มจี ีโนไทป์ Rr ลกู ที่ไดจ้ ึง จะมีจำนวนดอกสแี ดงท้ังหมด หรือร้อยละ 100

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

99 หนว่ ยที่ 2 | พันธศุ าสตร์ คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตัวเลอื ก ง. C และ D จะมจี ีโนไทป์แบบเดยี วกันไมไ่ ด้ เพราะถ้า C มีจีโนไทป์ Rr แลว้ D จะตอ้ งมีจีโนไทป์ rr ลกู

ทไี่ ด้จงึ จะมจี ำนวนดอกสแี ดงร้อยละ 50 และดอกสีขาวร้อยละ 50

ดังนน้ั สรปุ วา่ จโี นไทปข์ องพืช A B C และ D เป็นดังนี้

พชื A = Rr พชื B = RR พืช C = Rr พชื D = rr

5. ลักษณะขนสีดำของวัวเป็นลักษณะเด่นควบคุมโดยแอลลีล B และขนสีแดงเป็นลักษณะด้อยควบคุมโดย

แอลลีล b ถ้าลูกวัวตัวหน่ึงมีจโี นไทปเ์ ปน็ BB พอ่ และแม่อาจมีจีโนไทป์ไดห้ ลายแบบยกเว้นแบบใด *

ก. BB และ BB ข. BB และ Bb

ค. BB และ bb ง. Bb และ Bb

เฉลย ค. เพราะพ่อและแม่ท่ีมจี ีโนไทป์ BB และ bb มีลกู ทีม่ จี ีโนไทป์ไดเ้ พยี งแบบเดยี วเท่านั้น คือ Bb

ข้อ ก. ผดิ เพราะพ่อและแม่ที่มจี ีโนไทป์ BB และ BB จะมลี ูกท่ีมีจโี นไทป์ BB

ขอ้ ข. ผิด เพราะพ่อและแม่ท่ีมจี ีโนไทป์ BB และ Bb จะมลี ูกที่มจี ีโนไทป์ BB Bb

ขอ้ ง. ผิด เพราะพ่อและแมท่ ่ีมีจโี นไทป์ Bb และ Bb จะมีลูกที่มีจีโนไทป์ BB Bb และ bb

6. สิง่ มีชวี ติ ชนิดหนง่ึ มจี ำนวนโครโมโซมของเซลล์ร่างกายเทา่ กบั 8 แผนภาพในขอ้ ใดทีแ่ สดงกระบวนการแบง่ เซลล์เพื่อสรา้ งเซลล์สืบพันธ์ขุ องสิง่ มีชีวติ ชนิดน้ีได้ถูกตอ้ งทสี่ ดุ ** ก. ข.

ค. ง.

เฉลย ค. เพราะการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์เป็นการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส จำนวนโครโมโซมของเซลล์สืบพันธุ์จะลดล ง ครึ่งหนึ่งจากเซลล์ตงั้ ตน้ ซึ่งจะลดจำนวนโครโมโซมในการแบง่ ครงั้ แรก

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | พนั ธศุ าสตร์ 100

คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

7. สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีโครโมโซมในเซลล์ร่างกายจำนวน 44 แท่ง จำนวนโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์และในไซโกตของ ส่งิ มีชวี ติ ชนิดนเี้ ปน็ เท่าไร *

จำนวนโครโมโซมในเซลลส์ ืบพันธ์ุ จำนวนโครโมโซมในไซโกต ก. 44 แท่ง 22 แทง่ ข. 44 แท่ง 44 แทง่ ค. 22 แทง่ 22 แท่ง ง. 22 แทง่ 44 แทง่

เฉลย ง. เพราะเซลล์สบื พนั ธ์ุมีจำนวนโครโมโซมเปน็ ครึง่ หน่ึงของเซลล์รา่ งกาย สง่ิ มีชีวติ ชนิดน้ีจงึ มีโครโมโซมจำนวน 22 แท่ง ส่วนไซโกตเกิดจากการปฏิสนธิระหวา่ งเซลลส์ บื พันธ์เุ พศผแู้ ละเพศเมีย จงึ มีโครโมโซมจำนวน 44 แท่ง

8. จากภาพโครโมโซมของเซลลร์ ่างกายของมนุษย์ ผทู้ ี่มีโครโมโซมดังภาพ จะมีลกั ษณะและเพศดังข้อใด *

ก. ปกติ เพศชาย ข. ปกติ เพศหญงิ ค. ผิดปกติ เพศชาย ง. ผดิ ปกติ เพศหญงิ

ที่มา : ศูนย์วเิ คราะห์โครโมโซม ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี

เฉลย ค. เพราะในภาพมีโครโมโซมจำนวน 47 แท่ง โดยโครโมโซมคู่ที่ 13 เกินจากโครโมโซมของคนปกติ 1 แท่ง และมี โครโมโซมคูท่ ่ี 23 เปน็ XY ดงั น้ันผ้ทู มี่ โี ครโมโซมดังภาพจึงมคี วามผิดปกติทางพนั ธุกรรมและเป็นเพศชาย

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

101 หนว่ ยท่ี 2 | พันธุศาสตร์ คู่มือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

9. คแู่ ต่งงานใดมีความเสยี่ งที่ลูกจะเปน็ โรคธาลสั ซเี มียมากทีส่ ดุ *

กำหนดให้สญั ลักษณ์ แทนคนปกติ แทนคนทเี่ ป็นพาหะของโรคธาลสั ซีเมีย

แทนคนท่ปี ่วยเปน็ โรคธาลสั ซีเมยี ก. ข.

ก. ค. ง.

เฉลย ข. เพราะมคี วามเสยี่ งทบ่ี ตุ รจะเปน็ โรคธาลัสซีเมยี เทา่ กบั 1/2 ส่วน ก. ผิด เพราะมคี วามเส่ยี งทีบ่ ตุ รจะเปน็ โรคธาลัสซีเมียเทา่ กบั 1/4 ค. ผิด เพราะไม่มบี ุตรท่เี ป็นโรคธาลัสซเี มีย และทกุ คนเปน็ พาหะ ง. ผดิ เพราะไม่มีบุตรทีเ่ ปน็ โรคธาลัสซีเมยี และทุกคนเป็นพาหะ

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | พันธศุ าสตร์ 102

คมู่ ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

10. อ่านสถานการณ์ตอ่ ไปนี้

ขา้ วโพดดดั แปรพนั ธุกรรมสามารถผลิตสารที่เป็นพษิ ต่อหนอนเจาะฝกั ข้าวโพดซึง่ เป็นแมลงทีเ่ ปน็ ศตั รู

ของข้าวโพด แต่เม่ือเรณขู องขา้ วโพดดัดแปรพันธุกรรมปลิวไปตกอยูท่ ่ใี บของตน้ รักจะทำใหห้ นอนผเี ส้ือจักรพรรดิ

ท่ีกินใบรกั เป็นอาหารเจริญเตบิ โตชา้ และมีอตั ราการตายที่สูงขึ้น

จากสถานการณ์ดังกล่าว ควรวางแผนอย่างไรเพื่อรับมือกบั ผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม *

1. ปลูกขา้ วโพดดดั แปรพนั ธุกรรมร่วมกับต้นรักเพื่อกำจัดหนอนผเี สอื้ จกั รพรรดิ

2. ปลกู ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรมบนพื้นทีห่ ่างไกลจากต้นรัก

3. ปลูกต้นไม้ใหญเ่ ปน็ แนวกั้นลมระหว่างแปลงข้าวโพดดัดแปรพนั ธุกรรมกบั ต้นรกั

ก. ข้อที่ 1 เท่าน้ัน ข. ขอ้ ที่ 2 เท่าน้ัน

ค. ข้อ 1 และ 2 ง. ข้อท่ี 2 และ 3

เฉลย ง. เพราะข้อที่ 2 การปลูกขา้ วโพดดดั แปรพันธุกรรมบนพ้นื ที่ห่างไกลจากตน้ รกั และขอ้ ท่ี 3 ปลูกต้นไม้ใหญ่

เป็นแนวก้นั ลมระหวา่ งแปลงขา้ วโพดดัดแปรพันธกุ รรมกบั ต้นรัก จะเปน็ การปอ้ งกันไม่ให้เรณูของข้าวโพด

ปลิวไปตกท่ใี บของต้นรัก

สว่ นขอ้ ที่ 1 ผดิ เพราะหนอนผเี สอื้ จักรพรรดิเมอื่ โตเต็มวัยจะเป็นผีเส้อื ท่มี ีประโยชน์ เพราะช่วยในการ