การไฟฟ าส วนภ ม ภาคจ งหว ดตราด อำเภอเม องตราด ตราด

นโยบายการบริหาร นโยบายการบริหาร 1. นโยบายด้านการบริการสาธารณะ - ก่อสร้างและพัฒนาก่อสร้างเส้นทางคมนาคม - ก่อสร้างและปรับปรุงระบบการระบายและกักเก็บน้ำ - พัฒนาการให้บริการด้านแสงสว่าง ไฟฟ้าสาธารณะ - พัฒนาปรัฤบปรุงระบบเสียงตามสายให้ได้มาตรฐาน - จัดระบบจราจร สัญญาณไฟ ฯลฯ เพื่อความสะดวก ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - จัดสร้างและสนับสนุนส่งเสริมระบบน้ำประปาให้ได้มาตรฐาน 2. นโยบายด้านเศรษฐกิจ - ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มอาชีพกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกร กองทุนต่างๆ - ส่งเสริมสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) - ส่งเสริมการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มในการจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรเพื่อสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่น - ฝึกอบรมวิชาชีพให้แก่ราษฎรเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว 3. นโยบายด้านการศึกษาและการกีฬา - พัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัย - ส่งเสริมและพัฒนาจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ - สนับสนุนงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานให้กับโรงเรียนประถมและมัธยมในพื้นที่ - ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน ฯลฯ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา - จัดให้มีการรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนและประชาชนรักการกีฬา 4. ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณี - ส่งเสริมสนับสนุนประเพณีต่างๆอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี - สนับสนุนให้วัดในเขตเทศบาลตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมประเพณีท้องถิ่นและกิจกรรมทางพุทธศาสนา 5. นโยบายด้านคุณภาพชีวิต สังคมและชุมชน - มุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีสุขภาพที่ดีและสานต่อเรื่องการดูแลผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม - จัดให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์ ได้รับเบี้ยยังชีพตามหลักเกณฑ์และนโยบายรัฐบาล - จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ - สนับสนุนกิจกรรมของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) - สนับสนุนงบประมาณให้แก่ชุมชนในเขตเทศบาล เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพในรูปของคณะกรรมการชุมชน 6. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรชุมชนในการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ - ส่งเสริมป้องกันและวางระบบป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษด้านต่างๆ - สนับสนุนให้ความสำคัญการพัฒนาเทศบาลชำรากให้เป็นหมู่บ้านและชุมชนน่ามอง - จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการและดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะทั่วทั้งตำบล 7. นโยบายด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว - สร้างแหล่งอาชีพและรายได้ให้กับประชาชน ขยายโอกาส ด้านอาชีพให้แก่คนในชุมชน - ปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีให้ทั่วถึง - ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพและกลุ่มอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด - ส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น - บริหารจัดงบประมาณเพื่อการลงทุนและการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม - จัดทำทะเบียนประวัติทางโบราณสถานโบราณวัตถุ ตลอดจนบุคคลสำคัญ - พัฒนาตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวสามชาย คือ ชายแดน ชายเขา ชายเลน 8. นโยบายด้านการสาธารณสุขและอนามัย - ส่งเสริมสุขภาพอนามัยรวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรคให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น - ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพและการออกกำลังกาย - สนับสนุนกิจกรรมคุ้มครองและสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดี - ส่งเสริมและและสนับสนุน อสม. - ส่งเสริมและพัฒนาระบบการให้บริการด้านสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน 9. นโยบายด้านการเมืองการบริหาร - บริหารงานโดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมสร้างจิตสำนึกให้พนักงาน ลูกจ้างตระหนักถึงการให้บริการการอำนวยความสะดวกให้ผู้รับบริการพึงพอใจ - ส่งเสริมประชาธิปไตยและความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน - ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความรวดเร็ว - นำเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้พัฒนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะเพิ่มขึ้น - มุ่งเน้นการบริหารงานตามหลักการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล - ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรของเทศบาลให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ - บูรณาการและร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในการป้องกันและปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดประเภทต่างๆ

รางวัลและเกียรติยศ รอปรับปรุง

ภาพ รอปรับปรุง

วิสัยทัศน์หน่วยงาน “ชำรากเมืองน่าอยู่ ควบคู่เกษตรกรรมยั่งยืนฟื้นรายได้ สร้างสามชายแหล่งท่องเที่ยวและหนึ่งเดียวยุทธการบ้านชำรากให้ลือเลื่อง”

วิสัยทัศน์

นโยบายการบริหาร

นโยบายการบริหาร 1. นโยบายด้านการบริการสาธารณะ - ก่อสร้างและพัฒนาก่อสร้างเส้นทางคมนาคม - ก่อสร้างและปรับปรุงระบบการระบายและกักเก็บน้ำ - พัฒนาการให้บริการด้านแสงสว่าง ไฟฟ้าสาธารณะ - พัฒนาปรัฤบปรุงระบบเสียงตามสายให้ได้มาตรฐาน - จัดระบบจราจร สัญญาณไฟ ฯลฯ เพื่อความสะดวก ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - จัดสร้างและสนับสนุนส่งเสริมระบบน้ำประปาให้ได้มาตรฐาน 2. นโยบายด้านเศรษฐกิจ - ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มอาชีพกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกร กองทุนต่างๆ - ส่งเสริมสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) - ส่งเสริมการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มในการจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรเพื่อสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่น - ฝึกอบรมวิชาชีพให้แก่ราษฎรเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว 3. นโยบายด้านการศึกษาและการกีฬา - พัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัย - ส่งเสริมและพัฒนาจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ - สนับสนุนงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานให้กับโรงเรียนประถมและมัธยมในพื้นที่ - ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน ฯลฯ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา - จัดให้มีการรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนและประชาชนรักการกีฬา 4. ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณี - ส่งเสริมสนับสนุนประเพณีต่างๆอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี - สนับสนุนให้วัดในเขตเทศบาลตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมประเพณีท้องถิ่นและกิจกรรมทางพุทธศาสนา 5. นโยบายด้านคุณภาพชีวิต สังคมและชุมชน - มุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีสุขภาพที่ดีและสานต่อเรื่องการดูแลผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม - จัดให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์ ได้รับเบี้ยยังชีพตามหลักเกณฑ์และนโยบายรัฐบาล - จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ - สนับสนุนกิจกรรมของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) - สนับสนุนงบประมาณให้แก่ชุมชนในเขตเทศบาล เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพในรูปของคณะกรรมการชุมชน 6. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรชุมชนในการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ - ส่งเสริมป้องกันและวางระบบป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษด้านต่างๆ - สนับสนุนให้ความสำคัญการพัฒนาเทศบาลชำรากให้เป็นหมู่บ้านและชุมชนน่ามอง - จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการและดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะทั่วทั้งตำบล 7. นโยบายด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว - สร้างแหล่งอาชีพและรายได้ให้กับประชาชน ขยายโอกาส ด้านอาชีพให้แก่คนในชุมชน - ปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีให้ทั่วถึง - ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพและกลุ่มอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด - ส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น - บริหารจัดงบประมาณเพื่อการลงทุนและการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม - จัดทำทะเบียนประวัติทางโบราณสถานโบราณวัตถุ ตลอดจนบุคคลสำคัญ - พัฒนาตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวสามชาย คือ ชายแดน ชายเขา ชายเลน 8. นโยบายด้านการสาธารณสุขและอนามัย - ส่งเสริมสุขภาพอนามัยรวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรคให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น - ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพและการออกกำลังกาย - สนับสนุนกิจกรรมคุ้มครองและสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดี - ส่งเสริมและและสนับสนุน อสม. - ส่งเสริมและพัฒนาระบบการให้บริการด้านสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน 9. นโยบายด้านการเมืองการบริหาร - บริหารงานโดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมสร้างจิตสำนึกให้พนักงาน ลูกจ้างตระหนักถึงการให้บริการการอำนวยความสะดวกให้ผู้รับบริการพึงพอใจ - ส่งเสริมประชาธิปไตยและความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน - ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความรวดเร็ว - นำเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้พัฒนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะเพิ่มขึ้น - มุ่งเน้นการบริหารงานตามหลักการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล - ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรของเทศบาลให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ - บูรณาการและร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในการป้องกันและปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดประเภทต่างๆ

รางวัลและเกียรติยศ

รอปรับปรุง

วิสัยทัศน์หน่วยงาน

“ชำรากเมืองน่าอยู่ ควบคู่เกษตรกรรมยั่งยืนฟื้นรายได้ สร้างสามชายแหล่งท่องเที่ยวและหนึ่งเดียวยุทธการบ้านชำรากให้ลือเลื่อง”

check_circle ข้อมูลหน่วยงาน

สภาพทั่วไป สภาพทั่วไป 1.1 ที่ตั้ง ตำบลชำรากตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองตราดไปตามถนนสายตราด–คลองใหญ่เป็นระยะทาง 23 กิโลเมตร 1.2 อาณาเขต เทศบาลตำบลชำรากมีเนื้อที่ 75.01 ตารางกิโลเมตรหรือ 46,882.52 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลตะกาง อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลแหลมกลัด อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ทิศตะวันออก ติดต่อกับสันเขาบรรทัด แบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทย - กัมพูชา ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลในอ่าวไทย 1.3 สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบชายเขาเลียบฝั่งทะเล แบ่งออกเป็นพื้นที่เกษตรกรรม 16,250 ไร่ พื้นที่ป่าไม้ (ป่าสงวน) 24,375 ไร่ ตำบลชำรากมีพื้นที่ป่าไม้ที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ทั้งป่าบกและป่าชายเลน โดยป่าบกคือป่าในพื้นที่ชายเขาบรรทัดที่ยังมีความสมบูรณ์อยู่มากเนื่องจากไม่มีการบุกรุกมากนัก ส่วนป่าชายเลนมีความสมบูรณ์น้อยกว่า เนื่องจากถูกบุกรุกทำลายเป็นบางส่วน สภาพดินมีปัญหา คือ พื้นดินเค็ม คุณภาพดินเสื่อมโทรม หน้าดินถูกชะล้าง 1.4 เขตการปกครอง เทศบาลตำบลชำราก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 เขต ประกอบด้วย เขตที่ 1 ประกอบด้วยหมู่ที่ 4, 5 และหมู่ที่ 1 บางส่วน นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853 นายภิญโญ ดีหลาย เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 เบอร์โทรศัพท์ 086-1486972 นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นกำนันตำบลชำราก เบอร์โทรศัพท์ 084-7077491 นายสกนธ์ รัตนเศียร เป็นประธานสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-8614940 นายดิเรก บุญชู เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 086-8351599 นายบรรเทิง มุสิกรัตน์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-9280542 นายอโนชา ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-0003126 นายนุชล ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-5452665 นายประยุทธ ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-0916542 เขตที่ 2 ประกอบด้วย หมู่ที่ 2, 3 และหมู่ที่ 1 บางส่วน นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853 นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เบอร์โทรศัพท์ 084-7077491 นางณพัชรา รัตนวาร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 เบอร์โทรศัพท์ 080-0925899 นายอนนต์ ไวยกูล เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-0003601 นาวาโทประทาน สำราญกิจ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-5136273 นายเกรียงศักดิ์ เรืองขณะ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-0943210 นางวดีภัทร ศรีปราชญ์ เป็นรองประธานสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-2562559 นายสกนธ์ รัตนเศียร เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-8614940 นายสมศักดิ์ อนันต์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-5450807

ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก ตำบลชำราก จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 65.00 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน ได้รับจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และได้รับการจัดตั้งจากองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เป็นเทศบาลตำบลชำราก พ.ศ. 2551 ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 และมีผลบังคับ วันที่ 1 สิงหาคม 2551 ตราสัญลักษณ์และความหมาย เป็นรูปวงกลมสองวงซ้อนกันขนาดตามที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด ภายในวงกลม เป็นรูปเจดีย์ หมายถึง เจดีย์วัดคีรีวิหารภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นที่เคารพของชาวตำบลชำราก และประชาชนทั่วไป สภากาชาดไทยได้ทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสพระชนมายุครบ 44 พรรษา เป็นองค์ประธานในการบรรจุ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2539 จึงได้กำหนดดวงตราไว้เป็นอนุสรณ์แก่ชนรุ่นหลังสืบไป

ความหมายของตราประจำเทศบาล รอปรับปรุง

ประชากร รอปรับปรุง

ข้อมูลประชากร ข้อมูลประชากร มีประชำกรทั้งสิ้น 2,575 คน แยกเป็นชาย 1,265 คน หญิง 1,310 คน แยกตำมหมู่บ้ำนได้ดังนี้ (ข้อมูล ณ กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2556)

ข้อมูลหน่วยงาน

สภาพทั่วไป

สภาพทั่วไป 1.1 ที่ตั้ง ตำบลชำรากตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองตราดไปตามถนนสายตราด–คลองใหญ่เป็นระยะทาง 23 กิโลเมตร 1.2 อาณาเขต เทศบาลตำบลชำรากมีเนื้อที่ 75.01 ตารางกิโลเมตรหรือ 46,882.52 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลตะกาง อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลแหลมกลัด อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ทิศตะวันออก ติดต่อกับสันเขาบรรทัด แบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทย - กัมพูชา ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลในอ่าวไทย 1.3 สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบชายเขาเลียบฝั่งทะเล แบ่งออกเป็นพื้นที่เกษตรกรรม 16,250 ไร่ พื้นที่ป่าไม้ (ป่าสงวน) 24,375 ไร่ ตำบลชำรากมีพื้นที่ป่าไม้ที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ทั้งป่าบกและป่าชายเลน โดยป่าบกคือป่าในพื้นที่ชายเขาบรรทัดที่ยังมีความสมบูรณ์อยู่มากเนื่องจากไม่มีการบุกรุกมากนัก ส่วนป่าชายเลนมีความสมบูรณ์น้อยกว่า เนื่องจากถูกบุกรุกทำลายเป็นบางส่วน สภาพดินมีปัญหา คือ พื้นดินเค็ม คุณภาพดินเสื่อมโทรม หน้าดินถูกชะล้าง 1.4 เขตการปกครอง เทศบาลตำบลชำราก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 เขต ประกอบด้วย เขตที่ 1 ประกอบด้วยหมู่ที่ 4, 5 และหมู่ที่ 1 บางส่วน นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853 นายภิญโญ ดีหลาย เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 เบอร์โทรศัพท์ 086-1486972 นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นกำนันตำบลชำราก เบอร์โทรศัพท์ 084-7077491 นายสกนธ์ รัตนเศียร เป็นประธานสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-8614940 นายดิเรก บุญชู เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 086-8351599 นายบรรเทิง มุสิกรัตน์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-9280542 นายอโนชา ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-0003126 นายนุชล ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-5452665 นายประยุทธ ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-0916542 เขตที่ 2 ประกอบด้วย หมู่ที่ 2, 3 และหมู่ที่ 1 บางส่วน นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853 นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เบอร์โทรศัพท์ 084-7077491 นางณพัชรา รัตนวาร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 เบอร์โทรศัพท์ 080-0925899 นายอนนต์ ไวยกูล เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-0003601 นาวาโทประทาน สำราญกิจ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-5136273 นายเกรียงศักดิ์ เรืองขณะ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-0943210 นางวดีภัทร ศรีปราชญ์ เป็นรองประธานสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-2562559 นายสกนธ์ รัตนเศียร เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 081-8614940 นายสมศักดิ์ อนันต์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอร์โทรศัพท์ 089-5450807

ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก

ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก ตำบลชำราก จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 65.00 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน ได้รับจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และได้รับการจัดตั้งจากองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เป็นเทศบาลตำบลชำราก พ.ศ. 2551 ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 และมีผลบังคับ วันที่ 1 สิงหาคม 2551 ตราสัญลักษณ์และความหมาย เป็นรูปวงกลมสองวงซ้อนกันขนาดตามที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด ภายในวงกลม เป็นรูปเจดีย์ หมายถึง เจดีย์วัดคีรีวิหารภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นที่เคารพของชาวตำบลชำราก และประชาชนทั่วไป สภากาชาดไทยได้ทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสพระชนมายุครบ 44 พรรษา เป็นองค์ประธานในการบรรจุ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2539 จึงได้กำหนดดวงตราไว้เป็นอนุสรณ์แก่ชนรุ่นหลังสืบไป

ความหมายของตราประจำเทศบาล

รอปรับปรุง

ข้อมูลประชากร

ข้อมูลประชากร มีประชำกรทั้งสิ้น 2,575 คน แยกเป็นชาย 1,265 คน หญิง 1,310 คน แยกตำมหมู่บ้ำนได้ดังนี้ (ข้อมูล ณ กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2556)

การติดต่อหน่วยงาน เทศบาลตำบลชำราก ที่อยู่ 126 หมู่ที่ 4 ตำบลชำราก อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000 เบอร์โทร. 039-510931 โทรสาร. 039-510932 E-mail:[email protected] เว็บไซต์หน่วยงาน : https://www.chamraktrat.go.th/

การติดต่อหน่วยงาน

เทศบาลตำบลชำราก ที่อยู่ 126 หมู่ที่ 4 ตำบลชำราก อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000 เบอร์โทร. 039-510931 โทรสาร. 039-510932 E-mail:[email protected] เว็บไซต์หน่วยงาน : https://www.chamraktrat.go.th/

check_circle คำขวัญตำบลชำราก

การไฟฟ าส วนภ ม ภาคจ งหว ดตราด อำเภอเม องตราด ตราด

คำขวัญ คำขวัญตำบลชำราก ชำรากน่าอยู่ รอบรู้การเกษตร ติดเขตชายแดน มากแม้นผลไม้ดี วัดคิรีฯพระอารามหลวง ฝนร่วงดีมากหลาย "สามชาย" แหล่งท่องเที่ยว หนึ่งเดียวยุทธการบ้านชำราก สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ