การเล ยงส น ข ม ผลต อส ขภาพจ ตหร อไม

ไขมันในเลือดผิดปกติ คือ ภาวะที่มีระดับคอเลสเตอรอลรวม (Total Cholesterol, Chol) หรือมีระดับแอลดีแอลคอเลสเตอรอลสูง (Low Density Lipoprotein Cholesterol, LDL-C) และ/หรือมีระดับเอชดีแอลคอเลสเตอรอลต่ำ (High Density Lipoprotein, HDL-C) และ/หรือมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูง (Triglyceride, TG) ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมไปถึงพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน และปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่

ค่ามาตรฐานของระดับไขมันในเลือด

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม ควบคุมปริมาณและชนิดของไขมันในอาหาร เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้เกิดการควบคุมระดับไขมันในเลือด (ไตรกลีเซอไรด์ แอลดีแอลคอเลสเตอรอล คอเลสเตอรอล) ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งไขมันในเลือดต่างๆ มีปัจจัยการเกิดและแนวทางการปฏิบัติตัวแตกต่างกัน

1. ไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride, TG)

ปัจจัยที่ทำให้ไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือดสูง

  • การรับประทานแป้ง น้ำตาล เครื่องดื่มที่มีรสหวาน ขนมหวาน และผลไม้ในปริมาณมาก เช่น ผลไม้มากกว่า 1 จานกาแฟต่อมื้อ รับประทานน้ำตาลมากเกิน 24 กรัมต่อวัน (หรือเท่ากับประมาณ 6 ช้อนชา)
  • น้ำหนักตัวที่เกินเกณฑ์ (ดัชนีมวลกายมากกว่าหรือเท่ากับ 23 kg/ m2 อ้างอิงจากเกณฑ์ดัชนีมวลกายสำหรับคนเอเชีย)
  • เส้นรอบเอวที่เกินค่ามาตรฐาน (ความยาวเส้นรอบเอวที่ควรจะเป็น สามารถคำนวณได้จาก ส่วนสูงเป็นเซนติเมตรหารสอง เช่น สมหญิงสูง 150 เซนติเมตร ความยาวเส้นรอบเอวที่ควรเป็นคือ 150 หาร 2 = 75 เซนติเมตร)
  • การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มากเกินไป

แนวทางการปฏิบัติตัวเพื่อลดระดับไขมันไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือด

  • ควบคุมการบริโภคคาร์โบไฮเดรตและไขมัน ควบคุมแหล่งอาหารที่ให้พลังงานส่วนเกินและไม่ให้สารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่น น้ำตาล ลดหรือเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • เลือกรับประทานอาหารที่ประกอบไปด้วย กรดไขมันชนิดโอเมก้า 3 (Omega 3) เช่น เนื้อปลา น้ำมันปลา น้ำมันเมล็ดแฟล็กซ์ น้ำมันถั่วเหลือง เป็นต้น
  • เพิ่มกิจกรรมทางกาย เช่น เดิน วิ่ง เต้นแอโรบิค เป็นต้น
  • หากผู้ป่วยมีน้ำหนักเกินเกณฑ์ แนะนำให้ตั้งเป้าหมายที่การลดน้ำหนัก 5-10% ของน้ำหนักเริ่มต้น (เช่น น้ำหนักเริ่มต้น 100 กิโลกรัม ดังนั้น 5-10% ของน้ำหนัก 100 กิโลกรัม คือ 5-10 กิโลกรัม)

2. ไขมันชนิดแอลดีแอลคอเลสเตอรอล (LDL-C)

หรือที่รู้จักกันในชื่อไขมันตัวร้าย เป็นไขมันที่ไปสะสมในผนังเส้นเลือด ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง

ปัจจัยที่ทำให้ไขมันแอลดีแอลในเลือดสูง

  • อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง เช่น เนื้อสัตว์ ไข่แดง หนังและส่วนติดไขมันสัตว์ (หมูติดมัน เบคอน หมูกรอบ) เนื้อสัตว์แปรรูป (ไส้กรอก ไส้อั่ว แหนม แฮม โบโลน่า หมูยอ กุนเชียง) น้ำมันจากสัตว์ (น้ำมันหมู น้ำมันไก่) น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว กะทิ เนย นมและผลิตภัณฑ์จากนมแบบชนิดไขมันเต็มส่วน เป็นต้น
  • ไขมันทรานส์ เป็นน้ำมันที่ผ่านการกระบวนไฮโดรจิเนชัน เป็นการปรับโครงสร้างของไขมัน เพื่อให้น้ำมันเป็นของแข็งในอุณหภูมิห้อง ยืดอายุน้ำมัน ไม่มีกลิ่นเหม็นหืน เช่น เนยเทียม (มาการีน (margarine)) เนยขาว (shortening) ครีมเทียม นมข้นจืด ซึ่งใช้เป็นส่วนผสมในอาหารพวกขนมอบ เช่น ขนมปัง พาย เค้ก คุ้กกี้ โดนัท ของทอด เช่น เฟรนช์ฟรายด์ ไก่ทอด ไอศกรีม เป็นต้น

แนวทางการปฏิบัติตัวเพื่อลดระดับไขมันแอลดีแอลในเลือด

  • แนะนำให้ลดหรือเลี่ยงการบริโภคเนื้อสัตว์ติดไขมัน เนื้อสัตว์แปรรูป น้ำมันจากสัตว์ เนย รวมถึงผลิตภัณฑ์จากนมที่เป็นไขมันเต็มส่วน โดยแนะนำให้เลือกเป็นแบบพร่องมันเนยหรือขาดมันเนยแทน
  • ลดการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของไขมันทรานส์
  • อ่านฉลากโภชนาการ ว่ามีไขมันทรานส์ในผลิตภัณฑ์นี้หรือไม่
  • อ่านส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ หากมีส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ เช่น น้ำมันที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วน (Partially hydrogenated vegetable oil) ผลิตภัณฑ์นั้นอาจมีไขมันทรานส์ได้ ถึงแม้ว่าบนฉลากโภชนาการจะระบุว่าไขมันทรานส์ (Trans fat) 0.0 กรัม
  • ผลิตภัณฑ์เบเกอรี เช่น คุกกี้ โดนัท เค้ก พาย อาหารจานด่วน เช่น เฟรนช์ฟรายส์ แฮมเบอร์เกอร์ ขนมกรุบกรอบทั้งหลาย ควรรับประทานแต่น้อย
  • เลือกใช้น้ำมันพืชแทนน้ำมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันรำข้าว น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันมะกอก ยกเว้น น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว ซึ่งประกอบไปด้วยกรดไขมันอิ่มตัวและอาจเพิ่มระดับแอลดีแอลคอเลสเตอรอลในเลือด
  • เลือกรับประทานไขมันไม่อิ่มตัว เช่น ถั่วเปลือกแข็ง (วอลนัท ถั่วลิสง อัลมอนด์) เป็นมื้อว่างไม่เกิน 1 อุ้งมือต่อวัน หากรับประทานในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากพลังงานมากเกินความจำเป็น

การเล ยงส น ข ม ผลต อส ขภาพจ ตหร อไม

3. ไขมันชนิดเอชดีแอล (HDL-C) หรือที่รู้จักกันในชื่อไขมันดี

ปัจจัยที่ทำให้ไขมันเอชดีแอลในเลือดลดลง

  • การสูบบุหรี่
  • การขยับร่างกายน้อยหรือไม่ได้ออกกำลังกาย
  • ภาวะอ้วนลงพุง
  • การบริโภคอาหารที่มีไขมันทรานส์

แนวทางการปฏิบัติตัวเพื่อเพิ่มระดับไขมันเอชดีแอลในเลือด

การลดน้ำหนักในผู้ป่วยน้ำหนักเกินและผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วนลงพุง สามารถลดไตรกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride, TG) และเพิ่มระดับเอชดีแอลคอเลสเตอรอล (HDL-C) และยังสามารถลดความดันโลหิตได้ด้วย

จะรู้ได้ยังไงว่าเรามีอาการทางจิต

9 สัญญาณเตือน ควรพบจิตแพทย์ด่วน.

1. มีความวิตกกังวล ไม่สบายใจ ... .

2. อาการคล้ายชักกระตุก คล้ายอัมพาต หรือเหมือนผีเข้า ... .

3. กลัวสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างรุนแรง ... .

4. ย้ำคิดย้ำทำอยู่เสมอ ... .

5. มีความเศร้า เสียใจอย่างรุนแรง ... .

6. เพ้อคลั่ง เอะอะอาละวาด ... .

7. หลงผิด หวาดระแวง หูแว่ว เห็นภาพหลอน ... .

8. ติดสารเสพติด.

ผู้ป่วยจิตเวช มีกี่ระดับ

คู่มือประกอบการใช้เกณฑ์การจ าแนกประเภทผู้ป่วยจิตเวช 8. เกณ ฑ์การจาแนกประเภทผู้ป่วยจิตเวช : กรณ ีผู้ป่วยนอก 1. มิติสภาวะความรุนแรงของความเจ็บป่วย (ต่อ) ตัวบ่งชี้ ระดับความรุนแรง ฉุกเฉิน (Em ergent) 4 เร่งด่วน (Urgent) 3 กึ่งเร่งด่วน (Semi-urgent) 2 ไม่เร่งด่วน (Non-urgent) 1 1.3 พฤติกรรมผิดปกติ ที่เป็นอันตราย

วัยผู้ใหญ่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไรบ้าง

1. เลือกอาหารให้เหมาะสม และพอดี ... .

2. พยายามควบคุมน้ำหนักตัวผู้สูงอายุไม่ให้อ้วน ... .

3. พาผู้สูงออกกำลังกายอย่างพอเหมาะ ... .

4. มีสภาพแวดล้อมที่ดีและสัมผัสอากาศที่บริสุทธิ์บ้าง ... .

5. หากิจกรรมสร้างสรรค์ให้ผู้สูงอายุทำ ... .

6. ดูแลผู้สูงอายุ อย่าให้เกิดอุบัติเหตุ ... .

7. หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ... .

8. หมั่นสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย.

การส่งเสริมสุขภาพจิตมีอะไรบ้าง

แชร์ทริค 5 วิธีดูแลสุขภาพจิตให้แข็งแรง มีความสุขด้วยตัวเองได้ทุกวัน.

1. ออกกำลังกายเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ... .

2. ผ่อนคลายด้วยการฟังเพลง ... .

3. สร้างกำลังใจให้กับตนเอง ... .

4. ปลดปล่อยอารมณ์ ... .

5. หาเวลาว่างไปเที่ยวพักผ่อน.