การเจร ญข นท ต ยภ ม ของรากใบเล ยงค

Page 132 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ

  1. 132

` 8-72 การจ​ ัดการก​ ารผ​ ลิต​ไม้​ดอกไม้ป​ ระดับเ​ชิง​ธุรกิจ​ 5-6 ข้อ ปักช​ ำ​ลง​ดินห​ รือ​กรวด ตัวอย่างพ​ รรณ​ไม้น​ ้ำท​ ี่ข​ ยายพ​ ันธุ์​ด้วยก​ ารป​ ัก​ชำไ​ด้ เช่น คร​ ิป สาหร่ายห​ างม​ ้า สาหร่าย​ ขน​นก สาหร่าย​หาง​กระรอก สาหร่าย​ฉัตร สาหร่าย​ข้าว​เหนียว หญ้าห​ ัว​หงอก ทับทิม พรม​มิ หรือ​หยด​น้ำตา ใบ​พาย ขาไก่ด​ ่าง หางน​ กย​ ูงใ​บ​ยาว เป็นต้น

   3.4   การ​เพาะ​เล้ียง​เน้ือเย่ือ การ​เพาะ​เลี้ยง​เนื้อเยื่อ​เป็นการ​ขยาย​พันธุ์​ที่​มี​ประสิทธิภาพ สามารถ​ได้​ต้น​อ่อน  
พ​ รรณไ​ม้น​ ้ำจ​ ำนวนม​ าก มีค​ ุณภาพส​ ม่ำเสมอแ​ ละป​ ราศจากโ​รค แต่ก​ ารเ​พาะเ​นื้อเยื่อต​ ้องล​ งทุนส​ ูงแ​ ละอ​ าศัยผ​ ู้เ​ชี่ยวชาญ แม้​กระนั้น​ผู้​ผลิต​พรรณ​ไม้​น้ำ​เชิง​การ​ค้า​ราย​ใหญ่ นิยม​เลือก​ขยาย​พันธุ์​ด้วย​วิธี​การ​เพาะ​เลี้ยง​เนื้อเยื่อ เพราะ​สามารถ​ ขยายพ​ ันธุพ์​ รรณไ​มน้​ ้ำไ​ดเ้​กือบท​ ุกช​ นิด วิธกี​ ารข​ ยายพ​ ันธุด์​ ้วยก​ ารเ​พาะเ​ลี้ยงเ​นื้อเยื่อโ​ดยส​ รุป เริ่มด​ ้วยก​ ารเตร​ ยี​ มอ​ าหาร​ ตามส​ ูตรอ​ าหารท​ ี่ก​ ำหนด จากน​ ั้นต​ ัดช​ ิ้นเ​นื้อเยื่อใ​นส​ ภาพป​ ลอดเ​ชื้อจ​ ุลินทรีย์จ​ ากส​ ่วนข​ องพ​ ืช อาจเ​ป็น ยอด ใบ หรือร​ าก วางบ​ นห​ รือใ​นอ​ าหารเ​พาะเ​ลี้ยงท​ ี่เ​ตรียมไ​ว้ ชิ้นส​ ่วนพ​ รรณไ​ม้น​ ้ำท​ ี่น​ ำม​ าเ​พาะส​ ามารถเ​จริญข​ ึ้นเ​ป็นต้นใ​หม่ท​ ี่ม​ ีใ​บ ต้นแ​ ละ​ รากไ​ ด้
   พรรณไ​มน้​ ้ำเ​ป็นพ​ ืชก​ ลุ่มใ​หญท่​ ีป่​ ระกอบด​ ้วยพ​ ืชห​ ลายส​ กุลแ​ ละห​ ลายช​ นิด อาจแ​ บ่งเ​ป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ พืชใ​ตน้​ ้ำ  
พืชโ​ผล่​เหนือน​ ้ำ พืช​ชาย​น้ำแ​ ละ​พืชล​ อย​น้ำ พรรณไ​ม้​น้ำ​ในแ​ ต่ละก​ ลุ่ม​ยัง​ประกอบ​ด้วย​พืช​หลาย​ชนิด ซึ่ง​มีล​ ักษณะท​ าง​ พฤกษศาสตร์แ​ ตกต​ ่างก​ ัน แต่ต​ ้องการป​ ัจจัยส​ ำหรับ​การเ​จริญ​เติบโตค​ ล้ายคลึง​กัน กล่าว​คือ ต้องการ​อุณหภูมิ 15-30 องศาเ​ซลเซียส ค่า​ความ​เป็นก​รด​เป็นด​ ่าง​ของ​น้ำ 5-8 ดิน​ซึ่ง​เป็นท​ ี่​ยึด​ของ​รากเ​ป็นด​ ิน​โคลน​หรือ​ทราย มี​ธาตุอ​ าหาร​ครบ​ ถ้วน​และแ​ สงแดด​ส่องถ​ ึง​ร้อย​ละ 40-60 ส่วนก​ าร​ขยายพ​ ันธุ์พ​ รรณ​ไม้น​ ้ำ​สามารถ​ขยายพ​ ันธุ์ไ​ด้โ​ดยก​ าร​เพาะเ​มล็ด แยก​ หัว หน่อ ไหลห​ รือ​เหง้า ปัก​ชำแ​ ละเ​พาะ​เลี้ยงเ​นื้อเยื่อ ทั้งนี้​ขึ้น​กับพ​ รรณ​ไม้​น้ำ​แต่ละช​ นิด กจิ กรรม 8.4.2

  1. พรรณ​ไม​น้ ้ำแ​ บ่ง​ได​ก้ ่ก​ี ลมุ่ อะไรบ​ า้ ง
  2. จงอ​ ธิบาย​ลกั ษณะ​พรรณ​ไมน้​ ้ำก​ ลุม่ พ​ ชื โ​ผล่เ​หนือน​ ำ้ ม​ า​พอ​เข้าใจ
  3. จงอ​ ธบิ าย​ลกั ษณะท​ างพ​ ฤกษศาสตร​์ของพ​ รรณ​ไม้​นำ้ อ​ นเู บียส​ มา​พอเ​ขา้ ใจ
  4. ปัจจัย​น้ำท​ ่ี​อิทธิพลต​ อ่ ก​ าร​เจริญ​เติบโต​ของ​พรรณ​ไม​้นำ้ ​ประกอบ​ดว้ ย​อะไร​บ้าง
  5. พรรณ​ไมน​้ ำ้ ส​ ามารถ​ขยาย​พนั ธ​์ุได้ก​ วี่​ ธิ ี อะไรบ​ า้ ง แนวต​ อบก​ จิ กรรม 8.4.2
  6. พรรณไ​ม​น้ ำ้ แ​ บง่ ไ​ด้ 4 กลุ่ม​ไดแ้ ก่
              1.1 พชื ​ใต​น้ ้ำ  
              1.2 พืช​โผล่เ​หนอื น​ ำ้  
              1.3 พชื ช​ ายน​ ำ้  
              1.4 พืชล​ อย​น้ำ  
  7. พรรณ​ไม้​น้ำ​กลุ่ม​พืช​โผล่​เหนือ​น้ำ​เป็น​พรรณ​ไม้​น้ำ​ที่​ราก​หรือ​ลำต้น​เจริญ​อยู่​ใน​พื้น​ดิน​ใต้​น้ำ ส่วน​ใบ​ และ​ดอกเ​จริญ​ขนึ้ ​เหนือน​ ้ำ
  8. อนูเบียส เปน็ ​พืชใ​บเ​ล้ียงค​ ู่ มลี​ ำตน้ ​ใตด้ ิน ใบเ​จริญ​เหนือด​ นิ โดยใ​บแ​ ตกจ​ าก​โคน​ตน้ ดอก​ม​ขี นาด​เลก็ ​ รวม​เป็น​ช่อ ไม่ม​ีก้าน​ดอก
                             ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
    
    `

แผนการจดั การเรยี นรู้

วชิ าชีววทิ ยา 3 ว32243 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 เรอ่ื ง โครงสรา้ งและการเจริญเติบโตของพชื ดอก ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นหนองวัวซอพทิ ยาคม

นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ รหสั ประจาตัวนกั ศึกษา 61100147112

นกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ สาขาวทิ ยาศาสตร์ (เน้นชีววทิ ยา)

การฝกึ ปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 1 รหสั วิชา ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1) คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

แผนการจัดการเรียนรู้

วชิ าชีววิทยา 3 ว32243 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 9 เรื่อง โครงสร้างและการเจรญิ เติบโตของพืชดอก ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนหนองววั ซอพิทยาคม

นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ รหสั ประจำตวั นักศึกษา 61100147112 นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี สาขาวิทยาศาสตร์ (เนน้ ชวี วทิ ยา)

การฝึกปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 รหสั วชิ า ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1)

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา 3 รหัสวชิ า ว32243 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 เล่ม 3 นี้ จดั ทำขึน้ เพือ่ ใช้เปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนให้มีประสิทธิภาพ และให้นักเรียน บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้ เทคนิค วิธีการสอน การวดั และประเมนิ ผล มาจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ในคร้ังน้ี

แผนการจดั การเรยี นรู้ในเลม่ 2 นี้ ประกอบไปด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก สื่อ นวัตกรรมและกิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการ สอน เพือ่ ให้ผ้เู รียนบรรลุมาตรฐานการเรยี นรู้ได้เตม็ ศกั ยภาพอย่างแทจ้ ริง

จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จะสามารถนำไปใช้ประกอบการจัดการ เรียนการสอนรายวชิ าชวี วทิ ยา 3 นำไปส่กู ารพฒั นาท่ีถูกต้องและเกิดผลแกผ่ ูเ้ รียนเปน็ อยา่ งดี

ธัญญาเรศ ทบอาจ 8 ตลุ าคม 2565

สารบญั เรื่อง หนา้

คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………… ก สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………… ข หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 9 เรอ่ื ง โครงสร้างและการเจรญิ เติบโตของพชื ดอก

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 เร่อื ง เนอื้ เย่ือพืช………………………………..…………………………… 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 เรอ่ื ง โครงสรา้ งภายนอกและหน้าท่ขี องรากพืชดอก………….. 20 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 9 เรอื่ ง โครงสรา้ งภายในของรากพชื ใบเลยี้ งค่แู ละ รากพชื ใบเลี้ยงเดี่ยว……………………………….………………………………………………………………………… 35 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 10 เรอ่ื ง โครงสร้างภายนอกหนา้ ทขี่ องลำต้นพืชดอก…………… 50 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 เร่ือง โครงสรา้ งภายในของลำต้นพืชใบเลยี้ งคู่ และพืชใบเลยี้ งเดีย่ ว……………………………………………………………………………………………..………… 63 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12 เร่อื ง โครงสร้างและการเจรญิ เตบิ โตของใบ………………….. 79

1

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7

กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5

รายวิชา ชีววิทยา 3 รหัส ว 32243

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพชื ดอก เวลา 17 ชั่วโมง

เรอ่ื ง เนอ้ื เยอื่ พชื เวลา 2 ชว่ั โมง

ภาคเรียนท่ี 1/2565 ครูผู้สอน นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ ตอบสนองของพชื รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ผลการเรยี นรู้ 4. อธบิ ายเกี่ยวกับชนดิ และลกั ษณะของเนือ้ เยื่อพชื และเขียนแผนผังเพื่อสรุปชนิดของเน้อื เยอ่ื พืช

2. สาระสำคัญ พืชดอกมีเนื้อเยื่อประกอบด้วยเนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร เนื้อเยื่อเจริญประกอบด้วย

กลุ่มเซลลท์ ่สี ามารถแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิส มกี ารเติบโตขยายขนาด และเปลย่ี นแปลงเพอ่ื ไปทำหน้าท่ี เฉพาะ ส่วนเนื้อเยื่อถาวรเป็นกลุ่มเซลล์ที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญแบ่งได้เป็น 3 ระบบ คือ ระบบเนอื้ เย่ือผิว ระบบเนอ้ื เยอื่ พน้ื ระบบเน้อื เยือ่ ทอ่ ลำเลยี ง ซึง่ ทำหน้าท่ีตา่ งกัน ทง้ั เนอ้ื เย่ือเจริญและ เน้ือเยอ่ื ถาวรจะมลี ักษณะ และหนา้ ที่เฉพาะของเนื้อเย่อื แต่ละชนดิ

3. สาระการเรียนรู้ - เน้อื เย่ือเจริญและเนือ้ เยื่อถาวร

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) 1. อธบิ ายลกั ษณะและหนา้ ที่ของเนื้อเยือ่ เจริญและเนอ้ื เย่อื ถาวรของพชื ดอกได้ 2. ระบบุ รเิ วณท่พี บเน้อื เยอื่ เจริญและเน้อื เย่อื ถาวรของพืชดอกได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) เขยี นแผนผงั เพือ่ สรุปชนดิ ของเนอ้ื เย่อื พชื ดอกได้

2

3. ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มกี ารใช้วิจารณญาณ และความอยากร้อู ยากเห็นในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย

5. กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบการสอนทใ่ี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คอื การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E

1. ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1.1 นักเรียนดรู ปู พืชดอก มนุษย์ สัตว์ และเซลลพ์ ชื ทค่ี รเู ตรียมมาแลว้ ครูถามคำถาม ดังน้ี

- พืชดอกกบั มนุษยแ์ ละสัตว์มกี ารจดั ระบบเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร (แนวคำตอบ พืชดอกกบั มนุษย์และสัตว์ มีการจดั ระบบเชน่ เดียวกัน คือประกอบด้วยเซลลห์ ลายชนิด ทำงานร่วมกนั และมีการจดั ระบบ โดยมีเซลล์เปน็ หน่วยพ้นื ฐานของสิง่ มชี วี ติ )

3

- ลักษณะรว่ มทีส่ ำคัญของเซลลพ์ ืชคอื อะไร - ผนงั เซลลพ์ ืชประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง - ผนงั เซลลแ์ ต่ละสว่ นมลี กั ษณะและความสำคัญอยา่ งไร (แนวคำตอบ เซลล์พืชมีผนงั เซลล์เป็นกรอบล้อมอยรู่ อบนอกและให้ความแข็งแรงแก่ โครงสรา้ งเซลล์พชื ผนงั เซลลข์ องเซลล์ประกอบด้วย มดิ เดลิ ลาเมลลา ผนังเซลล์ปฐมภูมิ และผนังเซลล์ ทุติยภูมิ โดยแต่ละส่วนมลี ักษณะและความสำคัญท่ีแตกตา่ งกนั ) 2. ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration)

2.1 ครแู บง่ กลุ่มนักเรยี นออกเปน็ 4 กล่มุ กลมุ่ ละ 4 คน โดยคละความสามารถ (อ่อน ปานกลาง เกง่ ) โดยแต่ละกลุ่มคน้ หาขอ้ มูลเกี่ยวกบั ลักษณะและหน้าที่ของเนือ้ เยือ่ พืชแต่ละชนิด โดยสามารถค้นหาได้จากหนงั สือเรียนชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 หรือจากเพาเวอร์พอยต์ เรื่อง เนื้อเยื่อพชื แลว้ เขียนลงในกระดาษตกแตง่ ใหส้ วยงาม

3. ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 นักเรียนแต่ละกลุม่ ส่งตวั แทนมานำเสนอผลการค้นหาข้อมลู เกย่ี วกบั ลักษณะและ

หน้าท่ีของเนอื้ เย่ือพืชแต่ละชนิด และร่วมกันอภิปรายแลกเปลีย่ นความรู้ 3.2 นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปเกย่ี วกับลกั ษณะและหนา้ ที่ของเน้อื เย่ือพืชแต่ละชนดิ ไดว้ ่า

เนื้อเยื่อพืช คือกลุ่มเซลล์ที่มาทำงานร่วมกัน แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ตามความสามารถในการ แบ่งเซลล์ ได้แก่ เนื้อเยื่อเจริญและเนื้อเยือ่ ถาวร โดยมีรายละเอียดดังนี้ เนื้อเยื่อเจริญประกอบด้วย เซลลเ์ จริญทีม่ ีผนงั เซลล์ปฐมภูมิบาง มนี วิ เคลียสขนาดใหญเ่ มอื่ เทยี บกับขนาดของเซลล์ แบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิสเพื่อเพิ่มจำนวนได้ตลอดชีวิตของเซลล์ และเซลล์ที่ได้จากการแบ่งส่วนหนึ่งจะเปลี่ยนแปลง เป็นเนื้อเยื่อถาวรเพื่อทำหน้าที่เฉพาะต่อไป เนื้อเยื่อเจริญแบ่งตามตำแหน่งที่อยู่ได้เป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ เนื้อเย่อื เจรญิ ส่วนปลาย เน้อื เยอื่ เจรญิ ดา้ นข้างและเนื้อเยอื่ เจรญิ เหนอื ขอ้

3.3 นักเรยี นและครูอภิปรายรว่ มกันเก่ียวกับลกั ษณะและชนดิ ของเนื้อเยือ่ เจริญโดยใช้รูป 9.2 เนือ้ เยื่อเจรญิ ของพืช 9.3 วาสควิ ลารแ์ คมเบียมและคอรก์ แคมเบยี ม และ9.4 เนื้อเย่ือของ ลำ ต้นหญ้าขน ในหนังสอื เรียนชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสรุปดงั นี้

3.3.1 เนื้อเยอ่ื เจรญิ ส่วนปลาย พบท่ีบริเวณปลายยอดมหี น้าที่แบ่งเซลลท์ ำให้ลำตน้ และกิ่งยาวขึ้นรวมทั้งสร้างลำต้น กิ่ง และใบ และพบที่บริเวณปลายรากมีหน้าที่แบ่งเซลล์ทำให้ราก ยาวขึ้นโดยการเจริญเติบโตที่เกิดจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายจัดเป็นการเติบโต ปฐมภูมิ

3.3.2 เนือ้ เยอื่ เจริญด้านข้างอยู่ในแนวขนานกบั เส้นรอบวงมกี ารแบง่ เซลล์เพิม่ จำนวน ออกทางด้านข้างทำให้รากและลำต้นขยายขนาดใหญ่ขึ้นโดยการเติบโตที่เกิดจากการแบ่งเซลล์ของ เนอื้ เยอื่ เจริญดา้ นข้างจัดเป็นการเตบิ โตทุติยภูมิ พบในรากและลำตน้ ของพชื ใบเลี้ยงคู่ทั่วไปและพืชใบ เลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เนื้อเยือ่ เจริญด้านข้างเรียกอีกอย่างว่า แคมเบียมแบ่งตามการทำหนา้ ทีไ่ ด้เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่

4

- วาสควิ ลาร์แคมเบียมมหี นา้ ทแ่ี บง่ เซลล์ทำใหเ้ กดิ เนอื้ เย่อื ท่อลำเลยี งเพมิ่ ขนึ้ ในการ เติบโตทตุ ยิ ภมู ิ วาสควิ ลาร์แคมเบียมพบอยรู่ ะหว่างเนอื้ เยอ่ื ทอ่ ลำเลยี งนำ้ และทอ่ ลำเลียงอาหาร

- คอรก์ แคมเบยี มมหี น้าท่แี บ่งเซลลใ์ หค้ อรก์ และเน้ือเยอื่ อน่ื ๆ เพ่ือทำหนา้ ท่แี ทน เนื้อเย่อื ผิวเดิมในการเตบิ โตทตุ ิยภมู ใิ นพืชบางชนดิ

3.3.3 เน้ือเยอื่ เจรญิ เหนือขอ้ เปน็ เนอ้ื เยอื่ เจริญอยรู่ ะหว่างขอ้ มหี นา้ ที่แบง่ เซลลเ์ พ่ิม จำนวนทำใหป้ ล้องของพชื ใบเลย้ี งเด่ยี วยดื ยาว

4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครอู ธิบายเพ่มิ เติมวา่ เน้ือเย่ือถาวรแบ่งตามหน้าท่ีได้ 3 ระบบไดแ้ ก่ ระบบเนอ้ื เยอื่ ผิว

ระบบเนื้อเยื่อพื้น และระบบเนื้อเยื่อท่อลำเลียง จากนั้นครูใช้รูป 9.5 เนื้อเยื่อถาวร ในหนังสือเรียน ชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 3 ซง่ึ แสดงเนอ้ื เยอ่ื ถาวร และใหน้ ักเรียนอภปิ รายรว่ มกนั เพ่อื ให้ไดข้ ้อสรปุ ดงั นี้

1. ระบบเนอื้ เยือ่ ผิวประกอบด้วยเอพิเดอรม์ ิสทำหน้าทปี่ ้องกันเนื้อเยือ่ ดา้ นในของ พืชในระยะการเติบโตปฐมภูมิและเพริเดิร์ม เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญขึ้นมาแทนเอพิเดอร์มิสของรากและ ลำตน้ พืชบางชนดิ ในระยะการเตบิ โตทตุ ยิ ภูมิ พรอ้ มกบั ชี้ตำแหนง่ ในรูปพรอ้ มอธบิ ายนักเรียนว่า จะพบ ระบบเนอ้ื เยือ่ นอ้ี ย่ดู ้านนอกของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื

2. ระบบเนอื้ เย่ือพนื้ ประกอบดว้ ยเนอื้ เยื่ออืน่ ท่ีไมใ่ ช่เน้อื เย่อื ผวิ และเน้ือเยอ่ื ทอ่ ลำเลียงพร้อมกับชี้ตำแหน่งในรูปพร้อมอธิบายนักเรียนว่า จะพบระบบเนื้อเยื่อพื้นเป็นส่วนใหญ่ใน อวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื

3. ระบบเน้อื เยือ่ ท่อลำเลยี งประกอบดว้ ยไซเล็มและโฟลเอม็ พรอ้ มกบั ชตี้ ำแหน่ง ในรปู พรอ้ มอธิบายนักเรยี นว่า ระบบเนอ้ื เยอื่ ท่อลำเลยี งจะติดต่อกันเป็นเสน้ ทางลำเลียงน้ำ ธาตอุ าหาร และอาหารไปทงั้ ตน้ ของพืช

5. ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) 5.1 นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคำถามที่ครถู ามเพือ่ ประเมนิ ความรู้วา่ เน้ือเยอ่ื เจริญและเนื้อเยอื่

ถาวรพบที่ส่วนใดของพืช เนื้อเยื่อแต่ละชนิดมีหน้าที่ที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของพืชดอก อยา่ งไร

(แนวคำตอบ เนอ้ื เยอ่ื เจรญิ แบ่งตามตำแหน่งทอ่ี ย่ไู ด้เป็น 3 ประเภท ได้แกเ่ น้อื เยื่อเจรญิ สว่ นปลาย เนื้อเยือ่ เจรญิ ด้านข้างและเนอื้ เย่ือเจริญเหนือข้อ จะเปลย่ี นแปลงเป็นเน้ือเย่ือถาวรเพื่อทำ หน้าที่เฉพาะต่อไป เนื้อเยื่อถาวรแต่ละชนดิ จะพบอยูใ่ นตำแหน่งต่างๆ ของอวยั วะพืช ซึ่งจะมีจำนวน และรูปแบบการจัดเรียง ที่แตกต่างกันไปตามอวัยวะแต่ละอวัยวะ และชนิดของพืช เนื้อเยื่อถาวร เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจรญิ เนื้อเย่ือถาวร แบ่งตามหนา้ ที่ไดเ้ ป็น 3 ระบบ คือระบบเน้ือเย่อื ผิว ระบบเนื้อเยื่อพื้นระบบเนื้อเยือ่ ทอ่ ลำเลียง เนื้อเยือ่ ถาวรท่ีมคี วามสำคญั ต่อการดำรงชีวิตของพืช คือ เอพเิ ดอรม์ ิส พาเรงคมิ า คอลเลงคมิ า สเกลอเลงคิมา ไซเล็ม โฟลเอ็มเน้อื เย่ือถาวรแต่ละชนดิ จะพบอยู่

5

ในตำแหน่งต่างๆ ของอวัยวะพืช ซึ่งจะมีจำนวนและรูปแบบการจดั เรียง ที่แตกต่างกันไปตามอวัยวะ แต่ละอวยั วะ และชนดิ ของพืช )

5.2 นกั เรยี นทำใบงาน เรื่อง เนือ้ เย่ือพืช โดยสบื คน้ ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรอื จาก หนังสือเรียนชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3

5.3 นกั เรียนเขยี นแผนผังเพื่อสรปุ ชนดิ ของเนอ้ื เย่ือพืชดอกลงในกระดาษ A4 ตกแตง่ ให้ สวยงาม

6. สอื่ / แหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนรายวิชาเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร์ชวี วิทยา เลม่ 3 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 สสวท. 2. เพาเวอร์พอยต์ เรือ่ ง เนื้อเยอื่ พืช 3. อินเทอร์เน็ต

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน 1. ใบงาน เรอื่ ง เน้ือเยอ่ื พชื 2. เขียนแผนผงั เพือ่ สรปุ ชนดิ ของเนื้อเย่อื พืชดอก

6

8. การวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีวดั ผล เคร่ืองมอื วัด เกณฑ์การผา่ น จดุ ประสงค์ ด้านความรู้ (K) ใบงาน เรือ่ ง 1. อธิบายลักษณะและหน้าท่ีของเนื้อเย่ือ เนือ้ เยื่อพืช ระดับคณุ ภาพพอใช้ ข้ึนไปถอื ว่าผา่ น เจรญิ และเนอื้ เยอ่ื ถาวรของพชื ดอกได้ ตรวจใบงาน เร่อื ง เกณฑ์ 2. ระบุบริเวณที่พบเนื้อเยื่อเจริญและ เนื้อเย่อื พืช เนอื้ เยอื่ ถาวรของพชื ดอกได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ตรวจแผนผงั สรปุ แผนผังสรปุ ชนิด ระดับคณุ ภาพพอใช้ สามารถเขยี นแผนผังเพอื่ สรปุ ชนิดของ ชนดิ ของเน้ือเยอื่ ของเน้อื เยอ่ื พชื ขน้ึ ไปถือว่าผ่าน เน้ือเยอ่ื พืชดอก

พืชดอก ดอก เกณฑ์

ด้านคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ (A)

มีการใช้วิจารณญาณ และความอยากรู้ ประเมิน แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อยากเห็นในงานท่ีได้รับมอบหมาย คณุ ลักษณะอันพงึ คุณลักษณะอันพึง ขึ้นไป

ประสงค์ ประสงค์

7

8

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการทำใบงาน

ประเด็นการประเมิน คําอธิบายระดบั คณุ ภาพ/ระดบั คะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ทำใบงานถูกตอ้ ง ความถกู ตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง น้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 ร้อยละ 80 ขึ้นไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 ทำใบงานเปน็ ทำใบงานมีความเปน็ ทำใบงานมีความเป็น ทำใบงานเป็น ระเบียบ สะอาด เรียบร้อยพอใช้ ความเป็นระเบยี บ ระเบยี บ สะอาด ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด ส่งใบงานล่าชา้ กว่า ความตรงต่อเวลา เวลาท่ีกำหนด เรียบร้อยดมี าก เรียบร้อยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง มากกวา่ 3 วนั

ส่งใบงานทันตาม ส่งใบงานลา่ ชา้ กว่า ส่งใบงานล่าช้ากว่า

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน เวลาท่ีกำหนดไป 3

วัน

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ควรปรบั ปรงุ อยา่ งย่งิ 0-4 5-6 ควรปรบั ปรุง 7-8 พอใช้ 9 – 10 ดี 11 - 12 ดมี าก

เกณฑก์ ารผ่าน ระดับคณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

9

10

เกณฑ์การประเมนิ ผลการทำแผนผัง

ประเดน็ การประเมิน คําอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ทำแผนผงั ถูกตอ้ ง ความถูกต้อง ทำแผนผังถูกตอ้ ง ทำแผนผังถกู ตอ้ ง ทำแผนผงั ถูกตอ้ ง นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ร้อยละ 80 ขึ้นไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 ทำแผนผงั เปน็ ทำแผนผงั มคี วามเปน็ ทำแผนผงั มคี วามเป็น ทำแผนผงั เป็น ระเบยี บ สะอาด เรียบรอ้ ยพอใช้ ความเป็นระเบยี บ ระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด สง่ แผนผังล่าช้ากว่า ความตรงต่อเวลา เวลาท่ีกำหนด เรียบรอ้ ยดมี าก เรยี บร้อยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง มากกวา่ 3 วัน

ส่งแผนผังทันตาม ส่งแผนผังล่าช้ากวา่ สง่ แผนผังล่าช้ากวา่

เวลาท่ีกำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน เวลาท่ีกำหนดไป 3

วัน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยง่ิ 0-4 5-6 ควรปรบั ปรงุ 7-8 พอใช้ 9 – 10 ดี 11 - 12 ดมี าก

เกณฑ์การผ่าน ระดับคุณภาพพอใช้ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

11

12

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คณุ ลกั ษณะของนกั เรียน ประเมิน 3 2 1 1. มวี นิ ัย - มีความตรงตอ่ เวลา มีความซือ่ สตั ย์ - มคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจรติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ 2. มีความ สจุ ริต - มีความตั้งใจท่ีจะทำงาน ทำงาน ใฝเ่ รยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความตัง้ ใจท่จี ะ - มีความรับผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์ - มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อน่ื ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต - มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสียสละ - เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผ้อู นื่ - เข้าร่วมกิจกรรม - มคี วามอดทนขยันหมั่นเพยี ร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ - รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ เรยี นรู้ - เอาใจใสแ่ ละมีความ - ต้งั ใจในการเรียนรู้ พยายามในการเรยี นรู้ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง - มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรียน เรียน - จดสรุปจากทค่ี รเู ขยี น

3. มีความ - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัติหน้าทท่ี ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่ ม่งุ มน่ั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหาใน - เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั ิ การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย - มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7 คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7 คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพ 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช้ 1 คะแนน ปรบั ปรงุ

13

14

15

16

17

18

19

20

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5

รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหัส ว 32243

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 9 โครงสร้างและการเจรญิ เติบโตของพชื ดอก เวลา 17 ชว่ั โมง

เรอื่ ง โครงสร้างภายนอกและหนา้ ทขี่ องรากพชื ดอก เวลา 3 ชั่วโมง

ภาคเรียนท่ี 1/2565 ครผู ู้สอน นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียง ของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ ตอบสนองของพชื รวมทงั้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู้ 5. สงั เกตอธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืชใบ เลยี้ งคจู่ ากการตดั ตามขวาง

2. สาระสำคญั ราก คือ ส่วนแกนของพืชที่ทั่วไปเจริญอยู่ใต้ระดับผิวดิน ทำหน้าที่ยึดหรือค้ำจุนให้พืช

เจริญเตบิ โตอย่กู ับที่ไดแ้ ละยงั มหี น้าท่ีสำคัญในการดูดน้ำและธาตุอาหารในดนิ เพ่อื ส่งไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพชื โครงสร้างภายในของรากระยะการเติบโตปฐมภูมิ เมื่อตัดตามขวางจะเห็นโครงสรา้ งแบ่งเป็น 3 ช้ัน เรยี งจากด้านนอกเขา้ ไป คอื เอพเิ ดอรม์ ิส คอรเ์ ทกซ์ และสตลี ในระยะการเตบิ โต ทตุ ยิ ภูมขิ องราก เอพิเดอร์มิสอาจจะถูกแทนที่ด้วยเพริเดิร์ม ลักษณะมัดท่อลำเลียงจะเปลี่ยนไปเนื่องจากมีการสร้าง เนื้อเยอ่ื ท่อลำเลียงเพ่ิมขน้ึ

3. สาระการเรียนรู้ โครงสรา้ งภายนอกและหน้าทีข่ องรากพชื ดอก

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K) 1. อธบิ ายโครงสรา้ งภายนอกของรากพืชดอกได้ 2. บอกหน้าที่ของรากพชื ดอกได้

21

2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. ทำกจิ กรรม 9.1 โครงสรา้ งและการเจรญิ เติบโตของรากตามขัน้ ตอนได้ 2. ความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำจากการทำกิจกรรมและการนำเสนอ

3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) เกดิ ความอยากร้อู ยากเหน็ มคี วามมุง่ มั่นอดทนใจกวา้ งการยอมรบั ความเหน็ ที่ตา่ งกนั ได้

5. กิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบการสอนทใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คอื การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E

ชั่วโมงท่ี 1 – 2 1. ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement)

นักเรียนดูรปู 9.5 เน้อื เย่ือถาวร ในหนังสอื เรยี นชีววิทยา ม.5 เลม่ 3 ซ่ึงแสดงเนือ้ เยือ่ ถาวร และดูพืชจริงที่ถอนขึ้นมาจากดินให้เห็นส่วนของราก จากพืชที่ครูเตรียมมา ได้แก่ ต้นหมอน้อย หญา้ ขน เพือ่ ทบทวนเกยี่ วกบั รากว่าเปน็ อวัยวะที่งอกออกจากเมล็ดเจรญิ ลงสู่ดนิ ตามแรงโน้มถ่วงของ โลกทำหนา้ ท่ดี ดู น้ำและธาตุอาหารเพือ่ สง่ ไปยังสว่ นต่าง ๆ ของพชื รวมทง้ั ยดึ ลำตน้ ให้ตดิ กบั พื้นดินหรือ คำ้ จนุ ลำตน้ ให้พืชเจริญเตบิ โตอยกู่ บั ท่ไี ดจ้ ากน้นั ครูใชค้ ำถามในหนงั สอื เรยี นถามนกั เรยี นว่า

- โครงสร้างของรากประกอบดว้ ยเนอื้ เย่อื อะไร มคี วามเหมาะสมต่อการทำหน้าทีอ่ ยา่ งไร (แนวคำตอบ โครงสร้างภายในของราก ประกอบด้วย เนื้อเยื่อเรียงเป็นชั้นๆ จากภายนอก เข้าไปเป็น เอพิเดอมิส คอร์เทกซ์ เพอริไซเคิล มัดท่อลำเลียง และพิธ แต่ละเนื้อเยือ่ มีหน้าที่แตกตา่ ง กันไปตามตำแหนง่ ท่ีอยู่)

22

2. ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 นักเรยี นทำกจิ กรรม 9.1 โครงสร้างและการเจริญเตบิ โตของราก ตอนท่ี 1 โครงสรา้ ง

ภายนอกและการเจริญเตบิ โตของราก ตามหนงั สอื เรยี นชวี วิทยา ม.5 เลม่ 3 2.2 นักเรียนศกึ ษาจุดประสงคข์ องกจิ กรรมที่ 9.1 โครงสรา้ งและการเจริญเติบโตของราก

ตอนที่ 1 โครงสร้างภายนอกและการเจริญเติบโตของราก โดยครูแสดงไว้บนกระดานหน้าชั้นเรียน และอธิบายจุดประสงค์แต่ละข้อกับนักเรียนให้ชัดเจน โดยเน้นว่าเมื่อจบกิจกรรมและการเรียนเร่อื ง โครงสร้างและการเจริญเติบโตของรากแล้ว นักเรียนต้องเปรียบเทียบลักษณะโครงสร้างรากพืชใบ เลีย้ งค่แู ละรากพชื ใบเล้ยี งเดยี่ วตัดตามขวางได้

2.3 ครอู ธบิ ายวิธีการทำกจิ กรรมตอนที่ 1 โครงสรา้ งภายนอกและการเจริญเติบโตของ รากพรอ้ มกับเน้นให้นักเรยี นบนั ทึกผลโดยการวาดรูปหรือถ่ายรูปเมล็ดที่งอกในแต่ละวันและระบุชนิด รากลงในรูปดว้ ย

ช่ัวโมงที่ 3 3. ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

นักเรียนดูและสรปุ ผลการทำกจิ กรรม โดยครูยกตัวอย่างและเพ่ิมเติมความรจู้ ากรปู วาด การศกึ ษาโครงสร้างภายนอกของรากถ่ัวเขียวและข้าวโพดจากเมลด็ ท่กี ำลงั งอก ตวั อยา่ งผลการทำกจิ กรรม

23

สำหรับตัวอย่างการทำกจิ กรรมในคร้ังน้ีพบวา่ รากแขนงของขา้ วโพดจะสังเกตได้ชัดเมอ่ื เพาะขา้ วโพดไปแลว้ 6-7 วันโดยมีลกั ษณะดังรปู

4. ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration นกั เรียนตอบคำถามทีค่ รถู าม และรว่ มกนั อภิปรายดงั น้ี 4.1 ส่วนใดของเมล็ดทง่ี อกออกมาก่อนงอกมาจากตำแหนง่ ใดของเมลด็ และตำแหน่งท่ี

งอกของเมลด็ ถวั่ เขียวและเมล็ดขา้ วโพดเหมอื นหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร (แนวคำตอบ ส่วนทงี่ อกออกมาก่อน คอื สว่ นที่จะเจรญิ ไปเปน็ ราก โดยรากจะงอก

ออกมาจากรูเล็กใกล้รอยแผลเป็นซึ่งเกิดจากก้านของออวุลหลุดออกไปเช่นเดียวกันทั้งของเมล็ดถ่ัว เขียวและเมล็ดขา้ วโพด)

4.2 การงอกและการเจริญเตบิ โตของรากถัว่ เขียวและรากข้าวโพดเหมือนหรอื แตกต่างกัน อย่างไร

(แนวคำตอบ เหมือนกนั คอื ถัว่ เขียวและขา้ วโพดงอกรากทโี่ ผลพ่ น้ เมล็ดออกมาก่อนคอื รากปฐมภูมิหรือรากแก้ว และจะมีรากทุติยภูมิหรือรากแขนงเจริญออกมาจากรากปฐมภูมิส่วนท่ี ต่างกันคือข้าวโพดจะมีรากปฐมภูมิหรือรากแก้วเจริญออกมาช่วงระยะหนึ่งแล้วจะหยุดการ

24

เจริญเติบโต แต่จะมีรากพเิ ศษงอกออกมาจากบริเวณอื่นอีกเป็นจำนวนมากซึ่งไม่พบลักษณะนีใ้ นถ่วั เขยี ว)

5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 5.1 นกั เรียนรว่ มกนั ตอบคำถามที่ครูถามเพอื่ ประเมนิ ความรู้วา่ การงอกรากพืชใบเลยี้ งคู่

และพชื ใบเลย้ี งเด่ยี วเหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร และรากของพืชใบเลีย้ งคแู่ ละพชื ใบเลีย้ งเดี่ยวเป็น อยา่ งไร

(แนวคำตอบ เหมอื นกันคือ พชื ใบเลีย้ งคู่และพืชใบเลีย้ งเดีย่ วงอกรากท่ีโผล่พ้นเมล็ด ออกมาก่อนคือรากปฐมภมู ิหรอื รากแก้ว และจะมรี ากทุติยภมู ิหรือรากแขนงเจรญิ ออกมาจากรากปฐม ภูมิส่วนที่ต่างกันคือพชื ใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีรากปฐมภูมหิ รือรากแก้วเจริญออกมาช่วงระยะหนึ่งแล้วจะ หยุดการเจรญิ เติบโต แต่จะมีรากพิเศษงอกออกมาจากบริเวณอ่นื อีกเปน็ จำนวนมากซงึ่ ไม่พบลักษณะ นี้ในพืชใบเลี้ยงคู่ ส่วนรากพืชใบเลี้ยงคู่ส่วนมากจะมีรากแก้ว ส่วนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวรากแก้วมักหยุด เจริญและหายไป แตจ่ ะมรี าก พเิ ศษเจรญิ มาแทน)

5.2 นักเรยี นทำแบบฝึกหดั ทา้ ยกจิ กรรม 9.1 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก ตอนท่ี 1 โครงสร้างภายนอกและการเจริญเติบโตของราก ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 53

6. ส่ือ / แหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนรายวชิ าเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร์ชีววิทยา เลม่ 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 สสวท. 2. เพาเวอรพ์ อยต์ เรื่อง โครงสรา้ งภายนอกและหนา้ ทข่ี องรากพชื ดอก

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. กิจกรรมที่ 9.1 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก ตอนที่ 1 โครงสร้างภายนอกและ

การเจรญิ เติบโตของราก ในหนังสอื เรียนชวี วทิ ยา ม.5 เลม่ 3 หน้า 51 2. แบบฝึกหัดท้ายกิจกรรม 9.1 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก ตอนที่ 1 โครงสร้าง

ภายนอกและการเจรญิ เตบิ โตของราก ในหนงั สอื เรียนชวี วทิ ยา ม.5 เลม่ 3 หนา้ 53

25

8. การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธวี ดั ผล เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารผา่ น จุดประสงค์ ด้านความรู้ (K) ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัดท้าย ระดับคุณภาพ กจิ กรรม 9.1 พอใช้ขน้ึ ไปถอื ว่า 1. อธิบายโครงสร้างภายนอกของรากพชื ท้ายกจิ กรรม 9.1 โครงสรา้ งและการ ผ่านเกณฑ์ ดอกได้ โครงสร้างและ เจรญิ เตบิ โตของ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดี 2. บอกหนา้ ทขี่ องรากพชื ดอกได้ การเจรญิ เติบโต ราก ข้ึนไป ของราก กจิ กรรมที่ 9.1 โครงสรา้ งและการ ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ตรวจกิจกรรมท่ี เจรญิ เติบโตของ 70 ราก ตอนท่ี 1 ขึ้นไป 1. ทำกิจกรรม 9.1 โครงสร้างและการ 9.1 โครงสรา้ ง โครงสรา้ งภายนอก

เจรญิ เตบิ โตของรากตามข้ันตอนได้ และการ และการ เจริญเติบโตของ 2. ความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ เจรญิ เตบิ โตของ ภาวะผู้นำจากการทำกิจกรรมและการ ราก ตอนท่ี 1 ราก

นำเสนอ โครงสรา้ ง แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึง ภายนอกและการ ประสงค์ เจรญิ เติบโตของ

ราก

ดา้ นคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ (A)

เกิดความอยากรู้อยากเห็นมีความมุ่งม่ัน ประเมิน อดทนใจกว้างการยอมรับความเห็นท่ี คุณลกั ษณะอันพึง ต่างกนั ประสงค์

26

27

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการทำแบบฝึกหัด

ประเดน็ การประเมนิ คําอธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ความถูกต้อง ทำแบบฝกึ หดั ถกู ต้อง ทำแบบฝกึ หัดถูกต้อง ทำแบบฝึกหัดถูกต้อง ทำแบบฝึกหดั ถูกตอ้ ง ร้อยละ 80 ข้ึนไป รอ้ ยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50

ทำแบบฝกึ หดั มีความ ทำแบบฝกึ หัดมีความ ทำแบบฝึกหดั เป็น ทำแบบฝึกหดั เปน็ ระเบยี บ สะอาด ความเป็นระเบียบ เป็นระเบยี บ สะอาด เปน็ ระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด เรยี บรอ้ ยพอใช้ ความตรงต่อเวลา เรยี บร้อยดีมาก เรยี บรอ้ ยดี เรยี บรอ้ ยปานกลาง สง่ แบบฝึกหดั ล่าช้า กว่าเวลาท่ีกำหนด สง่ แบบฝกึ หัดทนั ตาม ส่งแบบฝึกหดั ลา่ ชา้ กวา่ สง่ แบบฝึกหัดลา่ ชา้ มากกว่า 3 วัน

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วนั กว่าเวลาท่ีกำหนดไป

3 วัน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยงิ่ 0-4 5-6 ควรปรบั ปรงุ 7-8 พอใช้ 9 – 10 ดี 11 - 12 ดมี าก

เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คุณภาพพอใช้ขึน้ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

28

29

เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบัตกิ จิ กรรม

ประเดน็ ที่ ระดบั คะแนน ประเมนิ 1. การปฏิบตั ิ 4 32 1 กิจกรรม ทำกจิ กรรมตาม ต้องใหค้ วาม ขนั้ ตอน และใช้ ทำกจิ กรรมตาม ต้องให้ความ ชว่ ยเหลอื อย่างมาก 2. ความ อปุ กรณไ์ ดอ้ ย่าง ในการทำกจิ กรรม คลอ่ งแคล่ว ถกู ต้อง ข้นั ตอน และใช้ ช่วยเหลอื บา้ งในการ และการใช้อปุ กรณ์ ในขณะ ปฏบิ ตั ิ มคี วามคล่องแคล่ว อุปกรณ์ได้อย่าง ทำกิจกรรม และการ ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่ กิจกรรม ในขณะทำกจิ กรรม ทันเวลา และทำ โดยไม่ต้องไดร้ ับคำ ถกู ตอ้ ง แต่อาจตอ้ ง ใช้อปุ กรณ์ อุปกรณ์เสยี หาย 3. การบันทกึ ช้แี นะ และทำ สรปุ และ กิจกรรมเสรจ็ ไดร้ บั คำแนะนำบ้าง ตอ้ งใหค้ วาม นำเสนอผล ทันเวลา ช่วยเหลืออยา่ งมาก การปฏบิ ัติ บนั ทึกและสรุปผล มคี วามคลอ่ งแคล่ว ขาดความ ในการบันทกึ สรปุ กจิ กรรม การทำกจิ กรรมได้ และนำเสนอผลการ ถกู ตอ้ ง รัดกุม ในขณะทำกิจกรรม คล่องแคล่วในขณะ ทำกจิ กรรม นำเสนอผลการทำ กจิ กรรมเป็นขั้นตอน แตต่ ้องได้รบั ทำกจิ กรรมจงึ ทำ ชัดเจน คำแนะนำบา้ ง และ กจิ กรรมเสร็จไม่

ทำกิจกรรมเสร็จ ทันเวลา

ทันเวลา

บันทกึ และสรุปผล ต้องใหค้ ำแนะนำใน การทำกจิ กรรมได้ การบนั ทึก สรปุ และ ถกู ต้อง แต่การ นำเสนอผลการทำ นำเสนอผลการทำ กิจกรรม กจิ กรรมยงั ไมเ่ ปน็ ข้นั ตอน

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

10-12 ดีมาก

7-9 ดี

4-6 พอใช้

0-3 ปรบั ปรงุ

30

31

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คณุ ลกั ษณะของนกั เรียน ประเมิน 3 2 1 1. มวี นิ ัย - มีความตรงตอ่ เวลา มีความซือ่ สตั ย์ - มคี วามซือ่ สตั ย์สจุ รติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ 2. มีความ สจุ ริต - มีความตั้งใจที่จะทำงาน ทำงาน ใฝเ่ รยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความตัง้ ใจท่จี ะ - มีความรบั ผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์ - มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อน่ื ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต - มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสยี สละ - เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผอู้ ืน่ - เข้าร่วมกิจกรรม - มคี วามอดทนขยันหมั่นเพยี ร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ - รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ เรยี นรู้ - เอาใจใส่และมคี วาม - ต้งั ใจในการเรียนรู้ พยายามในการเรยี นรู้ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง - มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรียน เรียน - จดสรุปจากทค่ี รเู ขยี น

3. มีความ - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัติหน้าทท่ี ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไมย่ อ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่ ม่งุ มน่ั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหาใน - เอาใจใส่ตอ่ การปฏิบตั ิ การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย - มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7 คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7 คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพ 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช้ 1 คะแนน ปรบั ปรงุ

32

33

34

35

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5

รายวชิ า ชวี วิทยา 3 รหัส ว 32243

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 9 โครงสรา้ งและการเจรญิ เติบโตของพืชดอก เวลา 17 ชั่วโมง

เรื่อง โครงสรา้ งภายในของรากพชื ใบเลีย้ งคู่และรากพชื ใบเลย้ี งเด่ยี ว เวลา 3 ชั่วโมง

ภาคเรยี นที่ 1/2565 ครูผู้สอน นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียง ของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ ตอบสนองของพชื รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ผลการเรยี นรู้ 5. สังเกตอธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืชใบ เลย้ี งคู่จากการตดั ตามขวาง

2. สาระสำคญั ราก คือ ส่วนแกนของพืชที่ทั่วไปเจริญอยู่ใต้ระดับผิวดิน ทำหน้าที่ยึดหรือค้ำจุนให้พืช

เจริญเตบิ โตอยกู่ ับที่ได้และยังมีหน้าท่ีสำคัญในการดดู นำ้ และธาตุอาหารในดนิ เพอื่ ส่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชโครงสร้างภายในของรากระยะการเตบิ โตปฐมภูมิ เมอื่ ตดั ตามขวางจะเห็นโครงสร้างแบง่ เป็น 3 ช้ัน เรียงจากดา้ นนอกเขา้ ไป คือ เอพิเดอรม์ ิส คอรเ์ ทกซ์ และสตีล ในระยะการเตบิ โต ทตุ ยิ ภมู ขิ องราก เอพิเดอร์มิสอาจจะถูกแทนที่ด้วยเพริเดิร์ม ลักษณะมัดท่อลำเลียงจะเปลี่ยนไปเนื่องจากมีการสร้าง เนอื้ เย่อื ทอ่ ลำเลยี งเพม่ิ ขน้ึ

3. สาระการเรียนรู้ โครงสร้างภายในของรากพืชใบเลีย้ งคแู่ ละรากพืชใบเล้ยี งเด่ียว

4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ (K) 1. อธิบายโครงสร้างภายในของรากพชื ใบเล้ียงคูแ่ ละรากพชื ใบเล้ียงเดีย่ วได้ 2. เปรยี บเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเล้ยี งคแู่ ละรากพชื ใบเลย้ี งเดี่ยวได้

36

2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) บันทกึ ผลโดยการวาดรูปโครงสรา้ งปลายรากท่ีเหน็ ภายใตก้ ล้องจุลทรรศนพ์ ร้อมระบบุ รเิ วณ

ตา่ ง ๆ ของโครงสรา้ งภายในของรากพืชใบเลย้ี งคู่และรากพชื ใบเลีย้ งเดี่ยวได้ 3. ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) อยากรู้อยากเห็นมคี วามมุ่งมั่นอดทนใจกว้างการยอมรับความเห็นท่ีตา่ งกนั ได้

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ รูปแบบการสอนทใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คอื การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E

ช่ัวโมงท่ี 1 – 2 1. ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement)

1.1 นักเรียนดรู ูปโครงสรา้ งภายในของรากพชื ใบเลี้ยงคแู่ ละรากพืชใบเล้ยี งเด่ียวตัดขวาง แล้วตอบคำถามทีค่ รถู าม โดยครใู ชค้ ำถาม ดังน้ี

- นักเรยี นคดิ ว่ารากพชื ใบเลี้ยงคแู่ ละรากพืชใบเล้ียงเดีย่ ว เหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร (แนวคำตอบ แตกต่างกนั เพราะรากพชื ใบเลย้ี งเดี่ยวจะมกี ารจดั เรียงตวั เปน็ ระเบยี บมากกว่าราก พืชใบเลี้ยงคู่ และจำนวนแฉกภายในต่างกนั )

โครงสรา้ งภายในของรากพชื ใบเลี้ยงคแู่ ละ รากพืชใบเลย้ี งเดย่ี วตัดขวาง

1.2 ครูอธิบายจุดประสงค์และวธิ ีการทำกจิ กรรม 9.1 โครงสรา้ งและการเจริญเตบิ โตของ ราก ตอนที่ 2. โครงสร้างภายในของราก ตามหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 พร้อมกับเน้นให้ นักเรียนบันทึกผลโดยการวาดรูปโครงสร้างปลายรากที่เห็นภายใต้กลอ้ งจุลทรรศน์พรอ้ มระบุบริเวณ ตา่ ง ๆ

37

2. ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 นักเรียนศึกษาโครงสรา้ งภายในของปลายรากจากน้นั ครใู ชร้ ปู 9.13 ปลายรากพืชตัด

ตามยาวบริเวณต่าง ๆ ในหนังสือเรียนชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 ซึ่งแสดงปลายรากพืชตัดตามยาวบริเวณ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ร่วมกันสรุปเกยี่ วกับโครงสร้างของปลายรากซ่งึ แบ่งเปน็ บริเวณต่าง ๆ โดยในแต่ละบริเวณ จะมีเซลลท์ แ่ี ตกต่างกันซึ่งเหมาะสมกับการทำหนา้ ที่ท่ีแตกตา่ งกัน

2.2 ครตู รวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี นในการทำกิจกรรม 9.1 โครงสร้างและการ เจรญิ เตบิ โตของราก ตอนท่ี 2. โครงสร้างภายในของราก โดยให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เล่อื นหาเนอ้ื เยอ่ื ภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ เพือ่ ดบู ริเวณตา่ ง ๆ ของโครงสร้างปลายรากทีส่ ามารถมองเหน็ ไดภ้ ายใต้กลอ้ ง จุลทรรศน์ พรอ้ มระบชุ นดิ ของเนื้อเย่ือท่พี บ

ช่วั โมงท่ี 3 3. ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)

3.1 นักเรียนดูตัวอย่างผลการทำกจิ กรรมรูปวาดจากการศกึ ษาโครงสรา้ งภายในของปลาย รากตดั ตามยาวและโครงสรา้ งภายในของรากตดั ตามขวางทีค่ รเู ตรียมมา

ตามยาว โครงสร้างภายในของรากตดั ตามขวาง

3.2 นกั เรยี นศึกษาโครงสร้างภายในของรากตดั ตามยาวและโครงสร้างภายในของรากตดั ตามขวาง จากนั้นครูใช้รูป 9.14 รากพืชใบเลี้ยงคู่และรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตัดตามขวาง ในหนังสือ เรยี นชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 ซึ่งแสดงรากพชื ใบเลย้ี งคู่และรากพืชใบเลี้ยงเด่ียวตดั ตามขวางระยะที่มีการ เติบโตปฐมภมู ิเพ่อื รว่ มกันสรุปเกยี่ วกับโครงสร้างของรากพืชใบเลีย้ งคแู่ ละรากพชื ใบเลี้ยงเด่ียวที่มีการ เตบิ โตปฐมภมู ิมเี นอ้ื เยื่อแบ่งออกได้เปน็ 3 ชั้น เหมอื นกนั ได้แก่ เอพิเดอร์มิส คอร์เทกซ์และสตีลแต่มี การจัดเรียงของเน้ือเยื่อในชั้นสตลี ทแี่ ตกตา่ งกนั

38

3.3 ตวั อยา่ งผลการทำกจิ กรรมรปู วาดจากการศกึ ษาโครงสรา้ งภายในของรากระยะท่มี ี การเติบโตปฐมภมู ิ

ภาพที่ 1 แสดงโครงสรา้ งภายในของราก ทมี่ า : คู่มอื ครชู ีววทิ ยาชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 สสวท. 3.4 ครใู ห้นกั เรยี นตอบคำถามในแบบฝกึ หดั จากหนงั สอื เรียนชวี วทิ ยา ม.5 เล่ม 3 เรื่อง โครงสรา้ งและการเจริญเตบิ โตของราก หนา้ 56 4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 นกั เรยี นศกึ ษาเพ่ิมเตมิ โดยครูใช้รูป 9.16 ลำดบั การเติบโตทตุ ยิ ภูมขิ องรากพชื ใบเลยี้ ง คูจ่ ากระยะเร่ิมมวี าสคิวลารแ์ คมเบยี มถึงระยะเกดิ คอรก์ แคมเบียม ในหนังสอื เรยี นชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 ซึ่งแสดงลำดับการเติบโตทุติยภูมิของรากพืชใบเลยี้ งคจู่ ากระยะเรมิ่ มีวาสควิ ลาร์แคมเบียมถงึ ระยะเกิด คอร์กแคมเบียม อธบิ ายเก่ยี วกบั โครงสร้างภายในของรากระยะท่ีมกี ารเติบโตทตุ ิยภมู ิว่า การเติบโต ทตุ ยิ ภูมขิ องรากพืชใบเลย้ี งคูท่ ำให้รากมขี นาดใหญ่ขึน้ เน่อื งจากมีการสร้างเน้อื เยอ่ื ถาวรเพมิ่ จากการ แบง่ เซลล์ของวาสควิ ลาร์ แคมเบยี มและคอร์กแคมเบียมทำให้เกิดเนอื้ เยอื่ ทุติยภูมิ 4.2 ครูใช้รปู 9.17 รากพชื ใบเลย้ี งคู่ระยะการเติบโตทุตยิ ภูมจิ ากรากระยะแกม่ ากตดั ตาม ขวาง ในหนงั สอื เรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 ซ่งึ แสดงรากพชื ใบเลี้ยงครู่ ะยะการเตบิ โตทตุ ิยภูมจิ ากราก ระยะแกม่ ากตดั ตามขวาง เพื่ออธบิ ายเกย่ี วกบั เพริเดริ ์ม

39

5. ข้ันประเมนิ (Evaluation) 5.1 นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคำถามท่ีครูถามเพือ่ ประเมนิ ความรู้วา่ ความแตกตา่ งระหวา่ ง

โครงสร้างตดั ขวางของรากพืชใบเลี้ยงเดย่ี วและรากพืชใบเลี้ยงคู่เปน็ อย่างไร

แนวคำตอบ รากพชื ใบเลย้ี งคู่ รากพืชใบเลย้ี งเด่ยี ว 1. มีขนรากในชว่ งท่เี มล็ดงอกใหม่ เม่อื เจรญิ เตบิ โตแล้วจะไม่มีขนราก 1. มีขนราก 2. มไี ซเล็มเรยี งเปน็ แฉกประมาณ 3-4 แฉก 2. มีไซเล็มเรียงเปน็ แฉกมากกวา่ 6 แฉก 3. มเี นือ้ เยือ่ วาสคิวลาร์แคมเบียม อยู่ ระหว่างไซเล็ม กับ โฟลเอ็ม เพื่อใหก้ ำเนดิ 3. ปกตไิ ม่มเี นอื้ เยอ่ื วาสควิ ลารแ์ คมเบยี ม เนอื้ เยอ่ื ทเี่ จรญิ เตบิ โตในระยะทตุ ยิ ภมู ิ อย่รู ะหว่างไซเล็มกับโฟลเอ็ม จงึ ไม่มีการ เจริญเตบิ โต ในระยะทุติยภูมิ ยกเว้นพืช 4. ถา้ เป็นไมต้ น้ จะมีคอร์ก บางชนิด และคอรก์ แคมเบยี ม 4.ไมม่ คี อรก์ และคอร์แคมเบียม 5. เอนโดเดอรม์ ิส เรยี งช้ันเดยี ว มีผนัง ค่อนข้างหนา และมีเมด็ แปง้ มาก และ 5. เอนโดเดอรม์ ิสเหน็ เปน็ แนวชัดเจนดี ส่วนใหญ่มกั เห็นเอนโดเดอร์มสิ ไม่ชัด หรือ และ เห็นแคสพาเรียนสตรพิ เด่นชัดกว่า ไมม่ เี ลย ในรากพืชใบเลี้ยงคู่

6. สอ่ื / แหลง่ เรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร์ชวี วิทยา เล่ม 3 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 สสวท. 2. เพาเวอรพ์ อยต์ เรือ่ ง โครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงค่แู ละรากพชื ใบเลี้ยงเดย่ี ว 3. วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการทดลอง

7. ช้นิ งาน/ภาระงาน 1. แบบฝึกหัดในหนงั สอื เรียนรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตรช์ ีววิทยา เลม่ 3

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 สสวท. เรือ่ ง โครงสรา้ งและการเจริญเติบโตของราก หนา้ 56 2. กจิ กรรม 9.1 โครงสร้างและการเจรญิ เติบโตของราก ตอนที่ 2. โครงสร้างภายในของราก

40

8. การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธีวัดผล เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารผา่ น จุดประสงค์ ดา้ นความรู้ (K) ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝกึ หัดจาก หนงั สือเรียน ระดับคุณภาพ 1. อธบิ ายโครงสร้างภายในของรากพืชใบ จากหนงั สอื เรียน พอใช้ขน้ึ ไปถอื ว่า ชีววทิ ยา ม.5 เลม่ เลยี้ งคแู่ ละรากพืชใบเลี้ยงเดย่ี วได้ ชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 เรอื่ ง โครงสร้าง ผา่ นเกณฑ์

2. เปรียบเทียบโครงสร้างภายในของราก 3 เร่ือง โครงสรา้ ง และการ และการ เจริญเติบโตของ พืชใบเลี้ยงคู่และรากพืชใบเลี้ยงเดย่ี วได้ เจรญิ เติบโตของ ราก

ราก

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

บันทึกผลโดยการวาดรูปโครงสร้างปลาย ตรวจกจิ กรรม กจิ กรรม 9.1 ผ่านเกณฑ์ระดบั ดี ข้ึนไป รากที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์พร้อม 9.1 โครงสร้าง โครงสรา้ งและการ ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ ระบุบริเวณต่าง ๆ ของโครงสร้างภายใน และการ เจริญเติบโตของ 70 ขึ้นไป ของรากพืชใบเลี้ยงคู่และรากพืชใบเลี้ยง เจรญิ เตบิ โตของ ราก ตอนที่ 2.

เดยี่ วได้ ราก ตอนท่ี 2. โครงสรา้ งภายใน

โครงสรา้ งภายใน ของราก

ของราก

ดา้ นคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ (A)

อยากรู้อยากเห็นมีความมุ่งมั่นอดทนใจ ประเมิน แบบประเมนิ

กวา้ งการยอมรบั ความเหน็ ที่ตา่ งกนั คณุ ลกั ษณะอนั พึง คุณลักษณะอนั พึง

ประสงค์ ประสงค์

41

42

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการทำแบบฝึกหัด

ประเดน็ การประเมนิ คําอธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ความถูกต้อง ทำแบบฝกึ หดั ถกู ต้อง ทำแบบฝกึ หัดถูกต้อง ทำแบบฝึกหัดถูกต้อง ทำแบบฝึกหดั ถูกตอ้ ง ร้อยละ 80 ข้ึนไป รอ้ ยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50

ทำแบบฝกึ หดั มีความ ทำแบบฝกึ หัดมีความ ทำแบบฝึกหดั เป็น ทำแบบฝึกหดั เปน็ ระเบยี บ สะอาด ความเป็นระเบียบ เป็นระเบยี บ สะอาด เปน็ ระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด เรยี บรอ้ ยพอใช้ ความตรงต่อเวลา เรยี บร้อยดีมาก เรยี บรอ้ ยดี เรยี บรอ้ ยปานกลาง สง่ แบบฝึกหดั ล่าช้า กว่าเวลาท่ีกำหนด สง่ แบบฝกึ หัดทนั ตาม ส่งแบบฝึกหดั ลา่ ชา้ กวา่ สง่ แบบฝึกหัดลา่ ชา้ มากกว่า 3 วัน

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วนั กว่าเวลาท่ีกำหนดไป

3 วัน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยงิ่ 0-4 5-6 ควรปรบั ปรงุ 7-8 พอใช้ 9 – 10 ดี 11 - 12 ดมี าก

เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คุณภาพพอใช้ขึน้ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

43

44

เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบัตกิ จิ กรรม

ประเดน็ ที่ ระดบั คะแนน ประเมนิ 4. การปฏิบตั ิ 4 32 1 กิจกรรม ทำกจิ กรรมตาม ต้องใหค้ วาม ขนั้ ตอน และใช้ ทำกจิ กรรมตาม ต้องให้ความ ชว่ ยเหลอื อย่างมาก 5. ความ อปุ กรณไ์ ดอ้ ย่าง ในการทำกจิ กรรม คลอ่ งแคล่ว ถกู ต้อง ข้นั ตอน และใช้ ช่วยเหลอื บา้ งในการ และการใช้อปุ กรณ์ ในขณะ ปฏบิ ตั ิ มคี วามคล่องแคล่ว อุปกรณ์ได้อย่าง ทำกิจกรรม และการ ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่ กิจกรรม ในขณะทำกจิ กรรม ทันเวลา และทำ โดยไม่ต้องไดร้ ับคำ ถกู ตอ้ ง แต่อาจตอ้ ง ใช้อปุ กรณ์ อุปกรณ์เสยี หาย 6. การบันทกึ ช้แี นะ และทำ สรปุ และ กิจกรรมเสรจ็ ไดร้ บั คำแนะนำบ้าง ตอ้ งใหค้ วาม นำเสนอผล ทันเวลา ช่วยเหลืออยา่ งมาก การปฏบิ ัติ บนั ทึกและสรุปผล มคี วามคลอ่ งแคล่ว ขาดความ ในการบันทกึ สรปุ กจิ กรรม การทำกจิ กรรมได้ และนำเสนอผลการ ถกู ตอ้ ง รัดกุม ในขณะทำกจิ กรรม คล่องแคล่วในขณะ ทำกจิ กรรม นำเสนอผลการทำ กจิ กรรมเป็นขั้นตอน แตต่ ้องได้รบั ทำกจิ กรรมจงึ ทำ ชัดเจน คำแนะนำบ้าง และ กจิ กรรมเสร็จไม่

ทำกิจกรรมเสร็จ ทันเวลา

ทันเวลา

บันทกึ และสรุปผล ต้องใหค้ ำแนะนำใน การทำกจิ กรรมได้ การบนั ทึก สรปุ และ ถกู ต้อง แตก่ าร นำเสนอผลการทำ นำเสนอผลการทำ กิจกรรม กจิ กรรมยงั ไมเ่ ปน็ ข้นั ตอน

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

10-12 ดีมาก

7-9 ดี

4-6 พอใช้

0-3 ปรบั ปรงุ

45

46

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คณุ ลกั ษณะของนกั เรียน ประเมิน 3 2 1 1. มวี นิ ัย - มีความตรงตอ่ เวลา มีความซือ่ สตั ย์ - มคี วามซือ่ สตั ย์สจุ รติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ 2. มีความ สจุ ริต - มีความตั้งใจที่จะทำงาน ทำงาน ใฝเ่ รยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความตัง้ ใจท่จี ะ - มีความรบั ผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์ - มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อน่ื ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต - มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสยี สละ - เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผอู้ ืน่ - เข้าร่วมกิจกรรม - มคี วามอดทนขยันหมั่นเพยี ร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ - รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ เรยี นรู้ - เอาใจใส่และมคี วาม - ต้งั ใจในการเรียนรู้ พยายามในการเรยี นรู้ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง - มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรียน เรียน - จดสรุปจากทค่ี รเู ขยี น

3. มีความ - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัติหน้าทท่ี ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไมย่ อ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่ ม่งุ มน่ั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหาใน - เอาใจใส่ตอ่ การปฏิบตั ิ การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย - มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7 คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7 คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพ 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช้ 1 คะแนน ปรบั ปรงุ