การเปล ยนนามสก ล ของไฟล ต างๆ ให เหม อนเด ม

การเปล ยนนามสก ล ของไฟล ต างๆ ให เหม อนเด ม

tamcomed50 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

โปรแกรม Flash CS6 เบื้องต้น

โปรแกรม Flash CS6 เบื้องต้น

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

โปรแกรม Flash CS6 เบื้องต้น

คำนำ ความรู้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบมีความสาคัญเพราะเป็น ปัจจัยในการสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์ระบบเป็นเรื่องท่ี น่าสนใจ เพราะนักวเิ คราะห์ระบบต้องตดิ ต่อกบั คนหลายคน ได้รู้ถึงการจัดการ และการทางานในองค์การ ทาให้เรามีความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์หลาย แบบมากขึ้น ผู้ที่สามารถวิเคราะห์ระบบได้ดี ควรมีประสบการณ์ในการเขียน โปรแกรม มีความรู้ทางด้านธุรกิจ ความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายและ ฐานข้อมูล ซึ่งใช้เป็นความรู้ในการออกแบบระบบท่ีมีความแตกต่างกันออกไป ตาม สภาพงาน ดังนั้น หน้าที่ของนักวิเคราะห์ ก็คือการศึกษาระบบ แล้วให้ คาแนะนาในการปรับปรุงและพัฒนาระบบน้ันจนเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งการทางาน ทั้งหมดต้องมีลาดับข้ันตอนและการศึกษาวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบ ระบบในแต่ละข้ันตอน ทาให้เข้าใจการวิเคราะห์ระบบน้ันๆ ดียิ่ง และสามารถ ออกแบบระบบใหม่โดยไม่ยากเย็นนัก โดยสามารถตัดสินใจว่า ระบบใหม่ควร ใช้คอมพิวเตอร์ประเภทไหน ใช้โปรแกรมอะไร ออกแบบIn Put/Output อยา่ งไรเปน็ ต้น

หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สงู้ พทุ ธศกั ราช 2563 ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ จดุ ประสงคร์ ำยวชิ ำ 1. เข้าใจในการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 2. มที กั ษะในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานธรุ กิจ 3. มีคณุ ลักษะนิสัยท่พี งึ ประสงคแ์ ละเจตคติท่ีดใี นวชิ าชีพคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ สมรรถนะรำยวขิ ำ 1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั หลกั การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางธรุ กิจ 2. วิเคราะห์และออกแบบระบบสาสรสนเทศทางธุรกิจตามหลักการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการวิเคราะห์เก่ียวกับหลักการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบวงจรการพัฒนาระบบ การบริหารโครงการ เคร่ืองมือสนับสนุนการ พัฒนาระบบแบบจาลองของระบบงาน การออกแบบระบบ การออกแบบ ฐานข้อมูลการออกแบบส่วนติดตอ่ ผูใ้ ช้ กรณีศกึ ษา

สำรบญั บทท่ี 1 ควำมรพู้ นื้ ฐำนเกยี่ วกับระบบฐำนข้อมูล ความหมายของระบบฐานขอ้ มูล ระบบฐานขอ้ มลู (Database System) ระบบไดเรกทรอร่ี (Directory) ประโยชน์และความสาคญั ของฐานขอ้ มลู องค์ประกอบของระบบฐานข้อมลู คาศพั ท์พ้ืนฐานเกย่ี วกบั ระบบฐานข้อมลู การเลือกใชโ้ ปรแกรมจัดการฐานขอ้ มลู ทเ่ี หมาะสมกบั ลักษณะงาน รปู แบบของระบบฐานข้อมลู โปรแกรม Access บทที่ 2 ฐำนขอ้ มลู เชงิ สัมพนั ธ์ ความหมายของฐานข้อมลู เชิงสมั พนั ธ์ คาศัพทเ์ ฉพาะทใ่ี ชใ้ นระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ ขอ้ ดขี องฐานขอ้ มลู เชิงสัมพันธ์ นอรม์ ลั ไลเซชัน (Normalization) บทท่ี 3 ควำมรู้เบือ้ งตน้ โปรแกรม Microsoft Excel 2010 การสร้างไฟล์ฐานขอ้ มลู ด้วยไอคอน สว่ นประกอบของ Microsoft Access 2010 การเปดิ ไฟล์ฐานข้อมูลใน Access 2010 การบนั ทึกไฟลฐ์ านข้อมลู ใหมใ่ น Access 2010 บทท่ี 4 กำรสรำ้ งตำรำง การกาหนดโครงสรา้ งตาราง การสร้างตารางใน มมุ มองออกแบบการลบฟลิ ด์ การทาเครือ่ งหมายรายการดชั นีและสรา้ งดชั นี

สำรบัญ บทท่ี 5 กำรสร้ำงแบบสอบถำมใช้เลอื กขอ้ มลู ความหมายของแบบสอบถาม แบบสอบถาม SQL (SQL Query) เคร่อื งหมายทใ่ี ชใ้ นการกาหนดเง่ือนไข เร่มิ ตน้ การสรา้ งแบบสอบถาม การแสดงเขตขอ้ มลู ท่มี หี ลายคา่ ในแบบสอบถาม บทท่ี 6 กำรสร้ำงแบบสอบถำมสรปุ ผลและจดั กำรข้อมูล สร้างแบบสอบถามสรปุ คา่ ข้อมลู ในมุมมองออกแบบ บทที่ 7 กำรสรำ้ งฟอร์ม ประโยชน์ของฟอร์ม การสร้าง ฟอร์ม อตั โนมตั ิ การสร้างฟอรม์ ในมมุ มองออกแบบ ส่วนประกอบของฟิลด์ บทท่ี 8 กำรสร้ำงรำยงำน ความหมายของรายงาน (Report) การเพิ่มหมายเลขหน้าและวนั ท่ี บทท่ี 9 กำรเขียนโปรแกรมจัดกำรฐำนข้อมลู ด้วยแมโคร ความหมายของแมโคร วิธีการสรา้ งแมโคร การทดสอบการทางานของแมโคร

บทท1ี่ ควำมรูพ้ ื้นฐำนเกี่ยวกบั ระบบฐำนขอ้ มลู ควำมหมำยของระบบฐำนข้อมลู ฐานขอ้ มลู (Database) หมายถงึ กลุม่ ของข้อมลู ท่ีมคี วามสมั พันธ์กันนามาเก็บรวบรวมเข้า ไว้ด้วยกันอย่างมีระบบและข้อมูลท่ีประกอบกันเป็นฐานข้อมูลนั้น ต้องตรงตาม วัตถุประสงค์การใช้งานขององค์กรด้วยเช่นกัน เช่น ในสานักงานก็รวบรวมข้อมูล ตั้งแต่ หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ท่ีมาติดต่อจนถึงการเก็บเอกสารทุกอย่างของสานักงานซ่ึงข้อมูล ส่วนน้ีจะมีส่วนท่ีสัมพันธ์กันและเป็นที่ต้องการนาออกมาใช้ประโยชน์ต่อไปภายหลังข้อมูล น้ันอาจจะเกี่ยวกับบุคคล ส่ิงของสถานท่ี หรือเหตุการณ์ใดๆก็ได้ท่ีเราสนใจศึกษาหรืออาจ ได้มาจากการสังเกตการนับหรือการวัดก็เป็นได้รวมทั้งข้อมูลที่เป็นตัวเลข ข้อความ และ รูปภาพต่าง ๆ ก็สามารถนามาจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลได้ และท่ีสาคัญข้อมูลทุกอย่างต้องมี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น เ พ ร า ะ เ ร า ต้ อ ง ก า ร น า ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ไ ป ใ น อ น า ค ต 1.ขอ้ มลู ที่สำมำรถนำไปคำนวณได้ ข้อมูลที่สามารถนาไปคานวณทางคณติ ศาสตร์ได้เรยี กวา่ ขอ้ มูลตัวเลข (Numeric)หมายถึง ข้อมูลที่เป็นตัวเลขล้วนๆ สามารถใช้ในการคานวณได้ ซึ่งได้แก่ การบวก การลบ การคูณ การหาร การยกกาลัง ตัวอย่างเช่น ราคาสินค้า ราคาต้นทุน ภาษี อายุ น้าหนัก เงินเดือน แสดงผลอยใู่ นตัวเลข 10, 10.5, 11, 60 เปน็ ต้น 2.ขอ้ มูลท่ไี มส่ ำมำรถนำไปคำนวณได้ 2.1 ขอ้ มูลตัวอักษรขอ้ มูลตัวอกั ษร 2.2 ข้อมลู อกั ษรเลขข้อมลู ที่ 2.3 ขอ้ มลู ประเภทรูปแบบข้อมูล หมายถงึ ข้อมูลท่ีเป็นตวั อกั ษรล้วนๆ ประกอบดว้ ยตวั เลขและอักษรปน ที่รวมเอาอกั ขระตา่ งๆ ซึ่งเป็นู มักเป็นขอ้ มูลเพือ่ การอา้ งอิงไม่สามารถ กนั ใช้เพ่อื อ้างอิงเช่นเดยี วกบั ข้อมลู ปแบบที่แนน่ อนทีไ่ ดก้ าหนดไว้ใน นาไปคานวณทางคณิตศาสตรไ์ ด้ เชน่ ตวั อักษรไม่สามารถคานวณทาง แฟม้ ขอ้ มูล ซง่ึ ปกตจิ ะถกู กาหนด ช่ือ-สกลุ อาชีพ อาเภอ จังหวดั คณติ ศาสตรไ์ ด้ ไวใ้ นรปู ของรหสั ทาให้ไม่ สนิ้ เปลืองเน้อื ที่ในการจดั เก็บ 2.4 ขอ้ มูลประเภทภาพลักษณ์ 2.5 ขอ้ มูลประเภทเสียงข้อมลู 2.6 ข้อมลู ประเภทภาพและ ขอ้ มูลที่เปน็ ภาพคอมพวิ เตอร์ เสยี งทถ่ี ูกบนั ทกึ เสียงไวใ้ นรูป เสยี งข้อมลู ทเ่ี ป็นภาพและเสียง สามารถเกบ็ ภาพและสง่ ภาพเหล่า ของแฟ้มข้อมูลโดยการ ถกู จดั เก็บไวด้ ว้ ยกัน เป็นการ คอมพิวเตอร์เคร่ืองอนื่ ได้ บนั ทกึ เสยี ง ลกั ษณะของการ ผสมระหว่างภาพและเสียง โดย เหมอื นกับการส่งข้อความด้วย เกบ็ จะเหมอื นกับการจดั เกบ็ คอมพิวเตอรจ์ ะทาการแปลง คอมพิวเตอร์ ข้อมูลแบบภาพ เสยี งและภาพนี้เกบ็ ไเปน็ แฟ้มขอ้ มลู

ระบบฐำนข้อมูล (Database System) หมายถึง การรวมตัวกันของฐานข้อมูลต้ังแต่ 2 ฐานข้อมูลเป็นต้นไปที่มีความสัมพันธ์กันโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการลดความซ้าซ้อนของ ข้อมูลและทาให้การบารุงรักษาตัวโปรแกรมง่ายมากขึ้นโดยผ่านระบบการจัดการฐานข้อมูล หรือ เรียกยอ่ ๆวา่ DBMS องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล ระบบแฟ้มประกอบด้วย 3 สว่ น คอื 1) รวมรวมแฟ้ม (Collection of Files) เก็บขอ้ มลู ท่ีสมั พนั ธใ์ ห้ถูกอ้างอิงไดใ้ นรปู แฟม้ ข้อมูล 2) โครงสร้างแฟ้ม (Directory Structure) จัดการอานวยการเข้าถึงแฟ้มและจัดกลุ่มอย่าง เป็นระบบ 3) พาทิชัน (Partitions) ซ่ึงแยกเป็นทางกายภาพ (Physically) หรือทางตรรก (Logically) ของ ระบบไดเรกทรอรี่ (Directory) โดยเนื้อหาในบทน้ีจะกล่าวถึงแฟ้ม และโครงสร้างไดเรก ทรอร่ี รวมถึงการป้องกันแฟ้ม จากการเข้าถึงในระบบ Multiple users และระบบ File sharing วิธีการจัดเก็บข้อมูลที่ใช้กันใน OS ทุกตัวคือ จัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ (file) ไฟล์คอื ส่ิงทบ่ี รรจขุ ้อมลู ,โปรแกรมหรืออะไรกไ็ ด้ทผี่ ู้ใชต้ ้องการรวบรวมไว้เป็นชุดเดียวกัน การอ้างถงึ ไฟลห์ รอื ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ภายในไฟลข์ องโปรแกรม จะไม่มีความเกี่ยวข้องกับแอดเดรส ของโปรแกรมใด ๆ ทั้งสิ้น OS มีโอเปอร์เรชั่นพิเศษที่เรียกว่า system call ไว้ให้โปรแกรม เรยี กใช้ เพอื่ ใหส้ ามารถจัดการงานทเ่ี กยี่ วกบั ไฟลไ์ ด้ ขอ้ มูลถกู เก็บและเก็บแยกจากกนั เม่ือข้อมูลต่าง ๆ ถูกเก็บกันไว้คนละไฟล์หากต้องการนาข้อมูลต่าง ๆ มาสร้างเป็นรายงาน โปรแกรมเมอร์ต้องสร้างไฟล์ช่ัวคราว (Temporary file) ขึ้นมาเพ่ือดึงข้อมูลต่าง ๆ จากไฟล์ ต่าง ๆ มารวมกนั ก่อนแลว้ ค่อยสรา้ งเป็นรายงาน ขอ้ มูลมคี วำมซำ้ ซอ้ น สืบเนอื่ งจากข้อมลู ถกู เกบ็ แยกจากกนั ทาให้ไม่สามารถควบคมุ ความซ้าซอ้ นขอ้ มลู ได้ทาให้ สญู เสยี พื้นท่ใี นการจัดเก็บข้อมูลมากขนึ้ และกอ่ ให้เกดิ ความผดิ พลาดในการดาเนินการกบั ข้อมูล3 ลักษณะได้แก่ ➢ ความผดิ พลาดจากการเพ่มิ ข้อมลู (Insertion anomalies) ➢ ความผดิ พลาดจากการปรับปรุงข้อมูล (Modification anomalies) ➢ ความผิดพลาดจากการลบข้อมูล (Deletion anomalies)

ประโยชนแ์ ละควำมสำคัญของฐำนขอ้ มลู 1.ลดการเก็บขอ้ มลู ทซ่ี ้าซอ้ น ข้อมลู บางชดุ ทอ่ี ยใู่ นรูปของแฟ้มข้อมลู อาจมปี รากฏอย่หู ลาย ๆ แห่งเพราะมีผ้ใู ช้ขอ้ มลู ชุดนห้ี ลายคนเมอื่ ใช้ระบบฐานขอ้ มลู แล้วจะชว่ ยให้ความซ้าซอ้ นของ ขอ้ มลู ลดนอ้ ยลง 2.รกั ษาความถูกตอ้ งของข้อมลู เนื่องจากฐานข้อมลู มีเพียงฐานขอ้ มลู เดียวในกรณีที่มีขอ้ มลู ชุด เดยี วกันปรากฏอยหู่ ลายแห่งในฐานขอ้ มูลขอ้ มลู เหล่านีจ้ ะต้องตรงกนั ถา้ มกี ารแก้ไขข้อมูลนี้ ทุก ๆ แหง่ ท่ขี ้อมลู ปรากฏอยูจ่ ะแก้ไขใหถ้ ูกต้องตามกันหมดโดยอัตโนมตั ิด้วยระบบจัดการ ฐานขอ้ มูล 3.การปอ้ งกนั และรักษาความปลอดภัยใหก้ ับข้อมลู ทาไดอ้ ยา่ งสะดวกการปอ้ งกันและรักษา ความปลอดภยั กับขอ้ มูลระบบฐานขอ้ มลู จะใหเ้ ฉพาะผทู้ ่ีเกีย่ วข้องเทา่ น้นั ซง่ึ ก่อให้เกิดความ ปลอดภัย ระบบฐำนข้อมูล (Database System) คอื ศนู ย์รมข้อมูลตำ่ งๆ ท่ีมคี วามสัมพันธก์ ันโดยจะมกี ระบวนการจดั หมวดหมขู่ องข้อมลู อย่างมรี ะเบียบแบบแผนกอ่ ใหเ้ กิดฐานข้อมลู ทเ่ี ปน็ แหลง่ รวมซงึ่ ถกู จัดเกบ็ ไวอ้ ย่างเป็นระเบยี บ ภายในฐานขอ้ มลู ชดุ เดยี วกันโดยผูใ้ ช้สามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู สว่ นกลางนีไ้ ด้ 1. การใช้ฐานข้อมูล ระบบเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตแนวโนม้ การพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู เปน็ ไป ในทางใชง้ านร่มกนั บนเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. การใชฐ้ านขอ้ มูลกบั การจัดระบบงานสานักงานในปัจจุบนั หน่วยงานองคก์ รไดน้ าระบบ จดั การฐานขอ้ มลู มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นสานกั งานอย่างชัดเจน

องคป์ ระกอบของระบบฐำนขอ้ มลู ระบบ ฐานข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ต่างๆที่พร้อมจะอานวย ความสะดวกในการบริหารระบบงานฐานขอ้ มลู ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพไมว่ า่ จะเปน็ ขนาดของ หน่วยความจาความเร็วของหน่วยประมวลผลกลางอุปกรณ์นาเข้าและออกรายงานรวมถึง หน่วยความจาสารองท่ีรองรับการประมวลผลข้อมูลในระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ฮำร์ดแวร์ (Hardware) เป็นอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล 2.ซอฟท์แวร์ (Software)ในการติดต่อกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลของผู้ใช้จะต้องกระทา ผา่ นโปรแกรมทม่ี ีชื่อวา่ โปรแกรม Database Management System (DBMS) 3.บุคลำกร (Peopleware)ผู้ใช้งาน (User) พนักงานปฏิบัติการ (Operator) นักวิเคราะห์ และออกแบบระบบ (System Analyst) ผู้เขียนโปรแรมประยุกต์ใช้งาน (Programmer) และผ้บู รหิ ารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) 4.ข้อมูล (Data) ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นศูนย์กลางข้อมูลอย่างเป็น ระบบ ซ่ึงขอ้ มูลเหลา่ นส้ี ามารถใชร้ ่วมกันได้ ผใู้ ชข้ อ้ มลู ในระบบฐานข้อมูล จะมองภาพข้อมูล ในลักษณะที่แตกต่างกันเช่น ผู้ใช้บางคนมองภาพของข้อมูลท่ีถูกจัดเก็บไว้ในส่ือเก็บข้อมูล จริง (Physical Level) ในขณะที่ผู้ใช้บางคนมองภาพข้อมูลจากการใช้งานของผู้ใช้ (External Level)

คำศพั ท์พนื้ ฐำนเกย่ี วกบั ระบบฐำนขอ้ มลู เพอ่ื ใหร้ ู้จกั คาศัพท์ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับระบบฐานข้อมูลโดยเฉพาะเรื่องของ การประมวลผลในระบบแฟม้ ขอ้ มลู ซึง่ มีการแบ่งระดบั ของข้อมลู ในฐานข้อมลู ไวด้ ังต่อไปน้ี 1.บติ (Bit) หมายถึง หนว่ ยของขอ้ มลู ท่มี ขี นาดเลก็ ท่สี ุด เปน็ ขอ้ มลู ทมี่ กี ารจดั เกบ็ ในลักษณ์ ของเลขฐานสองคอื 0 กับ 2,ไบต์ (Byte) หมายถึง หน่วยของขอ้ มลู ท่ีเกดิ จากการนาบติ มารวมกนั เปน็ ตัวอกั ขระหรอื ตัวอักษร (Character) 3.เขตข้อมลู (Field) คอื การนาอกั ขระมารมกันเพือ่ ให้เกดิ ความหมาย 4.ระเบียน (Record) กลมุ่ ของเขตข้อมูลทมี่ คี วามสมั พันธก์ นั ระเบียนจะประกอบดว้ ยเขต ข้อมูลต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกนั เป็นชุด 5.แฟ้มขอ้ มลู (File) กลุ่มของระเบยี นท่ีสมั พันธ์กัน ทม่ี โี ครงสร้างระเบียนเหมอื นกันนามา เกบ็ รวมในแฟ้มข้อมูลเดยี วกัน 6. เอนทิตี (Entity) สิง่ ต่างๆในฐานขอ้ มลู ทีอ่ า้ งอิงถงึ สงิ่ เหล่านอ้ี าจเป็นรปู ธรรม 7.แอททรบิ วิ ต์ (Attribute) สง่ิ ทใ่ี ช้อธบิ ายคณุ ลักษณะของขอ้ มูลในเอนทติ ีหนึ่งๆ

กำรเลอื กใช้โปรแกรมจดั กำรฐำนข้อมลู ท่ีเหมำะสมกับลกั ษณะงำน 1 งบประมาณขององค์กรและราคาของดีบเี อ็มเอสทตี่ อ้ งการ 2 ความเขา้ กันได้ของฮารด์ แวร์ทีม่ ีอยู่ 3 จานวนผู้ใชง้ านระบบคอมพวิ เตอร์ 4 รูปแบบฐานข้อมลู แบบดบี เี อ็มเอส 5 ความเหมาะสมของดบี ีเอม็ เอส ตอ่ ลักษณะงานทที่ า 6 จานวนแฟม้ ข้อมูลและขนาดของระเบยี บที่เปดิ ได้ ระบบฐำนข้อมูล (Database System) หมายถึงโครงสร้างสารสนเทศท่ี ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกันที่จะนามาใช้ใน ระบบงานต่างๆร่วมกันระบบฐานข้อมูลจึงนับเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบโดย ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูลได้ในลักษณะต่างๆท้ังการเพ่ิมข้อมูล การแก้ไข การลบ การค้นหา ตลอดจนการเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆซ่ึงส่วนจะเป็นการประยุกต์นาเอา ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการฐานข้อมูลและนาฐานข้อมูลผ่าน กระบวนการประมวลผลและแสดงผลลพั ธใ์ นรูปแบบต่างๆ 1.เอนทิต้ี (Entity) คอื ส่ิงทผี่ ใู้ ชง้ านฐานขอ้ มูลตอ้ งการจะจัดเก็บซ่งึ อาจจะเป็นสิ่งท่ีเป็น รปู ธรรมคอื สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยตา 2.แอททริบิวต์ (Attribute) คือรายละเอยี ดของขอ้ มลู ใน Entity เช่น Entity นักศกึ ษา 3.ประกอบด้วย Attribute รหัสนักศึกษา ชื่อ-นามสกุล ท่ีอยู่ คณะ สาขาวิชา เป็นต้น หรอื Entity 4.พนกั งำนประกอบด้วย Attribute รหัสพนกั งาน ช่ือ-นามสกุล แผนก เงินเดือน เป็น ต้น ดังน้ัน Attribute จึงมีความหมายเหมือนกับเขตข้อมูล (Field)ทูเพิล (Tuple) คือค่าของข้อมูลในแต่ละแถว (Row) หรือเรียกว่าระเบียน (Record) ความสัมพันธ์ Relationship คือ ความสัมพันธร์ ะหว่าง Entity ซ่งึ จะมอี ยู่ 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังน้ี 4.1 ความสัมพนั ธ์แบบหนงึ่ ตอ่ หนึ่ง (One-to-One Relationship) 4.2ความสัมพนั ธ์แบบหน่ึงตอ่ กล่มุ (One-to-Many Relationship) 4.3 ความสมั พนั ธแ์ บบกลุม่ ต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationship)

รปู แบบของระบบฐำนขอ้ มูล มีอย่ดู ้วยกัน 3 ประเภทคอื 1. ฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (RELATIONAL DATABASE) เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบท่ี เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลช่ัน (RELATION) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ เป็นแถว และเป็นคอลัมน์ การเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างตารางจะเช่ือมโยงโดยใช้แอททริบิว ต์ (ATTRIBUTE) หรือคอลัมน์ที่เหมอื นกนั ทง้ั สองตารางเปน็ ตวั เชอ่ื มโยงขอ้ มลู เช่น 2. ฐำนข้อมลู แบบเครอื ข่ำย (NETWORK DATABASE) ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ข่ายจะเปน็ การรวมระเบยี นตา่ ง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบยี นแต่จะตา่ งกบั ฐานขอ้ มูลเชิง สัมพนั ธ์ คอื ในฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธจ์ ะแฝงความสัมพนั ธ์เอาไว้โดยระเบยี นทมี่ คี วามสัมพันธ์ กนั จะต้องมีคา่ ของข้อมูลในแอททริบิวตใ์ นแอททรบิ วิ ต์หน่ึงเหมือนกนั แตฐ่ านขอ้ มูลแบบ เครอื ข่ายจะแสดงความสัมพันธอ์ ยา่ งชัดเจนโดยแสดงไวใ้ นโครงสรา้ ง เช่น

3. ฐำนข้อมูลแบบลำดับชั้น (HIERARCHICAL DATABASE) ฐานข้อมูลแบบลาดับช้ันเป็น โครงสร้างท่ีจัดเกบ็ ขอ้ มลู ในลักษณะความสัมพันธ์แบบ พ่อ – ลูก หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบ ต้นไม้ TREEข้อมูลท่ีจัดเก็บในท่ีน้ี คือ ระเบียน Record ซ่ึงประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล Field ของเอนทติ ้ีหน่ึง ๆ น่นั เอง โปรแกรมฐำนข้อมูลทีน่ ยิ มใช้ โปรแกรมจัดกำรฐำนข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการข้อมูลหรือ รายการต่าง ๆ ท่ีอยูใ่ นฐานขอ้ มูไม่ว่าจะเปน็ การจัดเก็บ การเรยี กใช้ การปรบั ปรุงข้อมูล โปรแกรมจัดกำรฐำนข้อมูล จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึง โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลท่ีนิยมใช้มีอยู่ด้วยกันหลายตัว เช่น Microsoft Access, FoxPro, Clipper, dBase, FoxBASE, Oracle, Microsoft SQL Server, MySQL เป็นต้น โดยแต่ละ โปรแกรมจะมีความสามารถตา่ งกนั บางโปรแกรมใช้ง่ายแต่จะจากัดขอบเขตการใช้งาน บาง โปรแกรมใชง้ านยากกวา่ แต่จะมีความสามารถในการทางานมากกวา่

โปรแกรม Access นับเป็นโปรแกรมท่ีนิยมใช้กันมากในขณะน้ี โดยเฉพาะในระบบ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถสร้างแบบฟอร์มท่ีต้องการจะเรียกดูข้อมูลใน ฐานขอ้ มลู หลงั จากบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูลเรียบร้อยแล้ว จะสามารถค้นหา หรือเรียกดูข้อมูลจากเขตข้อมูลใดก็ได้ นอกจากน้ี Access ยังมีระบบรักษา ความปลอดภัยของขอ้ มลู โดยการกาหนดรหัสผ่านเพ่ือป้องกันความปลอดภัย ของข้อมลู ในระบบไดด้ ว้ ย โปรแกรม FoxPro เปน็ โปรแกรมฐานขอ้ มูลท่ีมีผู้ใช้งานมากที่สุด เนื่องจากใช้ ง่ายทั้งวิธีการเรียกจากเมนูของ FoxPro และประยุกต์โปรแกรมขึ้นใช้งาน โปรแกรมที่เขียนด้วย FoxPro จะสามารถใช้กลับ dBase คาส่ังและฟังก์ชั่น ต่าง ๆ ใน dBase จะสามารถใช้งานบน FoxPro ได้ นอกจากนี้ใน FoxPro ยงั มีเครือ่ งมือชว่ ยในการเขียนโปรแกรม เช่น การสรา้ งรายงาน โปรแกรม SQL เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลท่ีมีโครงสร้างของภาษาที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน มีประสิทธิภาพการทางานสูง สามารถทางานท่ีซับซ้อนได้โดยใช้ คาส่ังเพียงไม่กี่คาสั่ง โปรแกรม SQL จึงเหมาะที่จะใช้กับระบบฐานข้อมูลเชิง สัมพนั ธ์ และเปน็ ภาษาหนึง่ ท่ีมีผนู้ ิยมใชก้ นั มาก โดยทั่วไปโปรแกรมฐานข้อมูล ของบรษิ ัทต่าง ๆ ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น Oracle, DB2 ก็มักจะมีคาส่ัง SQL ทีต่ ่างจากมาตรฐานไปบา้ งเพื่อใหเ้ ปน็ จดุ เด่นของแต่ละโปรแกรมไป

บทท่ี 2 ฐำนข้อมูลเชงิ สัมพนั ธ์ ควำมหมำยของฐำนขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ ระบบฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลท่ีใช้ โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) ซ่ึงผู้คิดค้นโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้ คือ Dr. E.F. Codd โดยใช้หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เน่ืองด้วยแนวคิดของ แบบจาลองแบบนมี้ ีลักษณะทีค่ นใช้กนั ทวั่ กล่าวคือมีการเก็บเป็นตาราง ทาให้ง่ายต่อ การเขา้ ใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุน้ี ระบบฐานข้อมูลแบบน้ีจึงที่ได้รับความ นิยมมากที่สุด ในแง่ของ entity แบบจาลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูลในรูปตาราง และ attribute ก็เปรียบเหมือนเขตข้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือความสัมพันธ์ระหว่าง entity ฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การเก็บข้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆ ตารางท่ีมีความสัมพันธ์กัน ในแต่ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะ แบ่งเป็นคอลัมน์ (Column) ในทางทฤษฎีจะมีคาศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เน่ืองจากแบบจาลองแบบนี้เกิดจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เร่ืองเซ็ ท (Set)

คำศพั ท์เฉพำะทใ่ี ช้ในระบบฐำนข้อมูลเชิงสมั พันธ์ ศพั ทเ์ ฉพำะ ศัพท์ทั่วไป รีเลชั่น (Relation) ตำรำง (Table) ทูเปิล (Tuple) แถว (Row) หรอื เรคค แอททรบิ วิ ท์ (Attribute) อรด์ (Record) หรือ ระเบียน คำร์ดนิ ลั ลติ ้ิ (Cardinality) คอลมั น์ (Column) หรอื ดกี รี (Degree) ฟิลด์ (Field) คยี ์หลัก (Primary key) จำนวนแถว (Number of rows) โดเมน (Domain) จำนวนแอททรบิ วิ ท์ (Number of attribute) ค่ำเอกลักษณ์ (Unique identifier) ขอบข่ำยของคำ่ ของขอ้ มลู (Pool of legal values)

คุณสมบตั ขิ องควำมสัมพนั ธ์ (รีเลชัน) Relation โดยทวั่ ๆ ไปความสัมพันธห์ น่ึง ๆ จะมีคณุ สมบตั ติ ่าง ๆ ดังนี้ •ข้อมลู ในแตล่ ะแถวจะไม่ซา้ กนั หมายถึง ไมม่ ที ูเพิล (Tuple) หรอื ขอ้ มูลในแต่ละแถวของรีเลชนั ค่ใู ด ๆ เลยทีซ่ า้ กนั (No duplicate tuples) •ไม่มีการกาหนดลาดับที่ให้กับแถวแต่ละแถว หมายถึง ลาดับท่ีของทูเพิล (Tuple) หรือ ข้อมูล ในแตล่ ะแถวของรีเลชนั ไม่มคี วามสาคัญ ลาดับทข่ี อง Attributes ไม่มีความสาคัญ •ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ นั่นคือ ค่าของข้อมูลท่ีปรากฏอยู่ในตารางจะเป็นค่า ๆ เดียว เป็นลิสต์ของค่าหลาย ๆ ค่าไม่ได้ ซ่ึง Relation ท่ีมีคุณสมบัติข้อนี้จะถูกเรียกว่าเป็น Relation ที่อยใู่ นรูปแบบ Normal form และค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของ ข้อมูลประเภทเดียวกนั •ไมม่ ีการกาหนดลาดับให้กับฟิลด์ การอ้างถึงฟิลด์ใด ๆ จะใช้ชื่อของฟิลด์ในการอ้างถึง ไม่ได้ใช้ ลาดบั ท่ีท่ีฟิลด์นั้นปรากฏอยใู่ นความสัมพันธ์ และค่าของขอ้ มูลในแต่ละฟิลด์ของระเบยี นจะบรรจุ ข้อมูลไดเ้ พียงคา่ เดียวโดยข้อมูลในแตล่ ะฟิลด์จะต้องบรรจุข้อมลู เพียงค่าเดยี ว ชนิดของควำมสัมพันธ์ (รีเลชัน) Relationในระบบจัดกำรฐำนข้อมูลอำจจำแนกได้ เป็น 2 ประเภท 1) ความสัมพันธ์หลัก (รีเลชันหลัก) (Base Relation) เป็นความสัมพันธ์ท่ีถูกกาหนดข้ึนเพื่อเก็บ ข้อมูลและเพื่อนาข้อมูลไปใช้เม่ือมีการสร้างความสัมพันธ์โดยใช้ Data Definition Language เช่น ใน SQL คาสงั่ CREATE TABLE เปน็ การสรา้ งความสัมพันธห์ ลกั 2) มุมมอง หรือ วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าความสัมพันธ์สมมุติ (Virtual Relation) เปน็ ความสมั พนั ธ์ทถ่ี ูกสรา้ งข้นึ ตามความต้องการใชข้ ้อมลู ของผู้ใช้แต่ละคน เน่ืองจาก ผ้ใู ชแ้ ตล่ ะคนต้องการใช้ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงทาการกาหนดวิวของตัวเองข้ึนมาเพื่อ ความสะดวกในการใช้ข้อมูล และช่วยใหก้ ารรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมลู •โดเมน (Domain) โดเมน (Domain) คอื การกาหนดขอบเขตและชนิดของข้อมูลเพื่อป้องกัน ความผดิ พลาดในการปอ้ นข้อมูลในรีเลชนั •ทูเพิล (Tuple) ทูเพิล (Tuple) คือ ข้อมูลในแต่ละแถวของรีเลชัน อาจมีการเปล่ียนแปลง โดยการ ลบ เพ่ิมหรอื ปรบั ปรุงข้อมลู กุญแจ หรอื คีย์ (Key) กญุ แจ หรอื คยี ์ (Key) คือ ฟิลด์ทม่ี ลี ักษณะเฉพาะตัวเป็นแอททรบิ ิวท์ท่ี สามารถแยกความแตกตา่ งของข้อมูลในแตล่ ะทูเพิลได้ ดงั นน้ั กญุ แจ หรือ คยี ์ (Key) จงึ หมำยถึงส่ิงทใ่ี ช้กำหนดควำมเปน็ เอกลักษณ์ในควำมสมั พนั ธ์

ควำมสัมพันธ์ (รเี ลชนั ) Relation ความสัมพนั ธ์ (รเี ลชัน) Relation จะอย่ใู นลกั ษณะของตาราง 2 มติ ิ [มคี วามสมั พนั ธ์] ประกอบดว้ ยทางด้านแถว และคอลมั น์ ซงึ่ แตล่ ะรีเลชนั จะมีชือ่ รีเลชันเพ่อื ใช้อ้างองิ ขอ้ ดีของฐำนขอ้ มูลเชิงสัมพันธ์ 1. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นกลุ่มข้อมูลของรีเลชั่นหรือตารางที่ข้อมูลถูกจัดเก็บเป็นแถวหรือ คอลมั น์ซงึ่ ทาใหผ้ ้ใู ช้เหน็ ภาพของขอ้ มลู ไดง้ า่ ย 2. ผใู้ ชไ้ มต่ ้องรูว้ ่าข้อมูลถกู จัดเก็บอยา่ งไรรวมถึงวธิ ีการเรียกใช้ข้อมูล 3. ภาษาที่ใชเ้ ป็นการเรียกใชข้ อ้ มูล เป็นลักษณะคล้ายภาษาอังกฤษและไม่จาเป็นต้องเขียนเป็น ลาดบั 4. การเรียกใช้หรอื เช่อื มโยงขอ้ มลู ทาไดง้ ่าย โดยใช้โอเปอรเ์ รเตอรท์ างคณิตศาสตร์ กฎของควำมคงสภำพ(IntegrityRule) กฎของความคงสภาพเปน็ ขอ้ กาหนดเพอ่ื ใช้ควบคมุ ความถกู ตอ้ งของฐานข้อมลู ซ่ึงจะ ป้องกันไมใ่ ห้ข้อมลู ผิดจากความเปน็ จริงจะควบคมุ ขอ้ มูลท่เี ปน็ คียห์ ลกั ของรีเลชนั ใหม้ ีขอ้ มลู ทไี่ ม่ ซา้ กันและมีคา่ ทไ่ี มเ่ ป็นค่าวา่ ง ข้อมูลทเ่ี กดิ การสูญเสยี ความคงสภาพของขอ้ มูลเกดิ มาจากหลาย สาเหตุ เช่น การเพ่ิมการลบ หรอื การแกไ้ ขข้อมลู ในรีเลชั่นหนง่ึ ทมี่ คี วามสัมพันธ์กบั รเี ลช่นั อื่น ซง่ึ ทาให้เกิดความไม่สอดคล้องกนั ของขอ้ มลู ระหว่างรีเลชน่ั ท่ีเกีย่ วข้องกนั คียใ์ นฐำนข้อมลู ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นั้นเราจะต้องกาหนดชนิดของคีย์ต่างๆเพ่ือ เป็น Attribute พิเศษเพ่ือทาหน้าที่บางอย่าง เช่น เป็นตัวแทนของตารางใช้กาหนดขึ้นมาเพ่ือ ความสะดวกในการอา้ งถงึ ทฤษฎีเกี่ยวกับ Normalization ซง่ึ มดี ังต่อไปน้ี Primary Key (คีย์หลัก) จะเป็น Field ท่ีมีค่าไม่ซ้ากันเลยในแต่ละ Record ในตารางน้ัน เรา สามารถใช้ Field ที่เปน็ Primary Key นี้ เปน็ ตัวแทนของตารางน้นั ไดท้ นั ที Candidate Key (คีย์คู่แข่ง) เป็น Field หน่ึง หรือหลาย Field ที่มีคุณสมบัติท่ีเป็น Primary Key ไดแ้ ตไ่ มไ่ ด้เป็นคีย์หลัก เช่น ชื่อ และนามสกลุ สามารถรวมกันเป็นคียค์ ่แู ขง่ ได้ เปน็ ตน้ Composite Key (คีย์ผสม) เป็น Field ที่ใช้รวมกับ Field อ่ืนๆ ท่ีเป็น Composite Key เหมือนกัน มาใชเ้ ปน็ Primary Key ของตาราง Foreign Key (คีย์นอก) เป็น Field ในตารางหนึ่งในฝั่ง Many ท่ีมีความสัมพันธ์กับ Field ท่ี เป็น Primary Key ใน ตารางหน่ึงใน ฝ่ัง One โดยท่ีตารางทั้งสองมีความสัมพันธ์แบบ One- to-Many ต่อกัน

กำรควบคมุ ควำมถกู ตอ้ งใหก้ บั ขอ้ มูล 1.กฎท่ีเก่ียวข้องกบั กำรรกั ษำควำมถูกตอ้ ง กฎที่ใช้สาหรับรักษาความถูกต้องของข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 กฎคือ กฎท่ี เกี่ยวข้องกบั เอนทติ ้ี และกฎทเี่ กย่ี วข้องกบั การเชอ่ื มโยงความสมั พันธ์ของเอนทติ ี้ • กฎความบรู ณภาพหรือคงสภาพของเอนทิต้ี (Entity Integrity Rule) กฎความบูรณภาพของ เอนทิต้ี เป็นกฎท่ีใช้กาหนดเพ่ือให้ข้อมูลของเอนทิตี้ มีความถูกต้องแอตทริบิวส์ท่ีทาหน้าที่เป็น คีย์หลักของตารางไม่สามารถมีค่าเป็นค่าว่างได้ (Null Value) และจะต้องมีคุณสมบัติที่เป็น เอกลกั ษณ์ (identity) (ความเป็นเอกลักษณ์ คือ สามารถระบุข้อมูลแอตทริบิวส์อ่ืนๆ ท่ีอยู่ในทู เพลิ เดียวกนั ได)้ • กฎความบูรณภาพหรือคงสภาพของการอ้างอิง (Referential Integrity Rule)กฎความบูรณ ภาพของการอ้างอิง คอื กฎท่ใี ช้รักษาความถกู ตอ้ งของข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กันของเอนทิตี ค่า ของคียน์ อก (FK) ในตารางจะต้องมขี อ้ มลู อยู่ในอกี ตารางหนึ่งทีค่ ียน์ อกของตารางน้นั อ้างองิ ถงึ ขนั้ ตอนกำรออกแบบฐำนขอ้ มลู ขน้ั ท่ี 1 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลรายละเอียดทงั้ หมด ข้ันที่ 2 กาหนดโครงสร้างของ Table จาก การเก็บรวบรวมข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ กลุ่มข้อมูลหรือแอนทิตี้ที่รวบรวมได้จาก ของงาน รวมท้ังความต้องการของผ้ใู ชเ้ ชน่ เอกสารต่างๆในขั้นที่ 1เราจะนามากาหนด ·มีข้อมูลใดบ้างท่ีเป็นเรื่องเดียวกัน ให้จัดกลุ่ม แอตทริบิวต์ของข้อมูลเพ่ือจะได้ทราบว่าใน ข้อมูลน้นั เป็นเเอนทิต้ี เ อ น ทิ ตี้ น้ั น จ ะ น า ข้ อ มู ล อ ะ ไ ร ม า ใ ช้ บ้ า ง ·มีข้อมูลอะไรบ้างที่จะต้องนามาค้นหาหรือ ประมวลผล ผลทีไ่ ด้ต้องสง่ ออกระบบภายนอก ห ลั ง จ า ก น้ั น ใ ห้ น า แ อ ต ท ริ บิ ว ต์ ม า หรือไม่ กาหนดโครงสร้างเบื้องต้นของ Table โดย ·มีใครบ้างที่เป็นผู้ใช้ฐานข้อมูลน้ี ใช้บ่อยแค่ แปลงแอตทริบิวต์เป็นฟิลด์ พร้อมกาหนด ไหน มีความสาคัญอย่างไร ชนดิ และขนาดข้อมูลในแต่ละขนาดข้อมูลใน ·ลักษณะของรายงาน ประกอบด้วยรายงาน แต่ละฟลี ด์ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฏเกณฑ์ที่ใช้ อะไรบา้ ง ระยะเวลาในการออกรายงาน กาหนดลักษณะของข้อมลู ·ข้อมูลอ่ืนๆท่ีสามารถรวบรวมได้ โดย พยายามเก็บรายละเอียดใหม้ ากทส่ี ดุ

ข้ันที่ 3 กาหนดคีย์ ข้ันตอนนี้จะพิจารณาว่าฟีดล์ใดบ้างใน Table น้ันที่มีคุณสมบัติเหมาะสม จะใช้เป็นคีย์ ถา้ ไมม่ ีฟีลดใ์ ดเลยทเี่ หมาะสม ก็จะต้องกาหนดฟีลด์ใหมเ่ พื่อใช้แปน้ คีย์โดยเฉพาะ ขั้นที่ 4 การทา Normalization ถ้า Table ท่ีได้จากข้ันท่ี 2 ยังมีความซ้าซ้อนกันของข้อมูล หรือข้อมูลบางฟีลด์ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเนื้อหาใน Table น้ันจะต้องนามาปรับปรุงแก้ให้มี โครงสร้างหรือรูปแบบท่ีเหมาะสมก่อนนาไปประมวลผล ถ้านาโครงสร้างไปใช้เลยโดยไม่ทา Normalization ก่อนอาจเกิดปัญหาได้ เช่นปัญหาส้ินเปลืองเน้ือท่ีจัดเก็บข้อมูลท่ีซ้าซ้อนกัน ปัญหาความผิดปกติ (Anomaly) ของขอ้ มลู เมอื มกี ารแก้ไขเพิม่ หรอื ลบคอร์ด รวมทงั้ ปญั หาใน การกาหนดความสัมพนั ธ์ในข้ันที่ 5 จะทาไดย้ าก ข้ันที่ 5 กาหนดความสัมพันธ์ นา Table ทั้งหมดที่ได้หลังจากทา Normalization มาสร้าง ความสัมพันธ์โดยใช้คีย์กาหนดในช้ันท่ี 3 หรือคีย์ท่ีเกิดข้ึนใหม่จากการทา Normalization เป็นตวั เชื่อม ซึ่งอาจเป็นแบบ One - to - One , One -to - Many หรือ Many - to - Many ข้ึนกับลักษณะของข้อมูลการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Table นี้มีความสาคัญมาก ผู้ออกแบบจะต้องมีการวิเคราะห์ให้ได้ว่าข้อมูลใน Table ต่างๆนั้นมีความสัมพันธ์กันใน ลกั ษณะใด นอร์มัลไลเซชัน (Normalization) ความซ้าซ้อนของข้อมูลทาให้ข้อมูลมีขนาดใหญ่ เกินความจาเป็น ส่วนที่ซ้าซ้อนเป็นปัญหาของตารางข้อมูล (รีเลชั่น) แต่สามารถขจัดได้ด้วย ขบวนการนอร์มัลไลเซชัน โดยการนอร์มัลไลเซชันถูกคิดค้นโดย E.F.Codd ซ่ึงเป็น กระบวนการที่นาเค้าร่างของ relation มาทาให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน (Normal Form) เพ่ือให้แน่ใจว่าการออกแบบเคา้ รา่ งของ relation เป็นการออกแบบทเ่ี หมาะสม ประโยชนน์ อร์มลั ไลเซชัน คือ 1. ลดทว่ี า่ งทตี่ อ้ งใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูล 2. ลดความผดิ พลาดและความไมต่ รงกนั ของขอ้ มลู ในฐานข้อมลู 3. ลดการสญู เสยี เวลาการเข้าถึงขอ้ มูลที่เกดิ ซ้าซอ้ นในขอ้ มลู ของการลบและแกไ้ ขขอ้ มูล 4.เพ่ิมความคงทนแกโ่ ครงสรา้ งฐานขอ้ มลู

ระดับนอร์มัลไลเซชัน เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนาการ เชื่อมต่อของข้อมูลเพื่อ แก้ปัญหาของตารางข้อ (รีเลชัน่ ) ทวี่ า่ การออกแบบฐานข้อมลู ทง้ั ทางตรรกะและทางกายภาพที่ได้ ออกมาใชไ้ ด้หรือยงั การ นอร์มลั ไลเซชันแบง่ ออกได้เป็นหลายระดับ ได้แก่ 1) การแปลงให้อยใู่ นรปู นอร์มลั ฟอร์มที่ 1 คณุ สมบตั ขิ องรเี ลชนั ของแบบจาลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ก็คือ ข้อมูลในแต่ละทัปเพิลจะต้องไม่ซ้ากันและค่าในแต่ละแอตทริบิวต์จะต้องไม่สามารถถูก แบ่งแยกย่อยลงไปได้อีกหรือมีความเป็นอะตอมมิค(Atomic) รวมถึงจะต้องมีค่าเพียงค่าเดียวท่ี อยู่ในแต่ละแอตทริบิวต์หรือมีความเป็นซิงเกิลแวลู (Single Value) ซ่ึงในการทานอร์มัลไลเซ ชันใหอ้ ยใู่ นนอร์มัลฟอร์ท่ี 1 ก็อาศัยคณุ สมบัตดิ งั ท่ีกลา่ วไวข้ ้างต้น 1) รีพีทติ้งกรุ๊ป การที่ข้อมูลใน 1 ทัปเพิล สามารถมีค่าในแต่ละแอตทริบิวต์ได้มากกว่าหนึ่งค่า (Multivalued) จะทาให้เกิดรีพีทติ้งกรุ๊ป ดังตารางท่ีแสดงในภาพข้างล่าง ซึ่งเลขท่ีโครงการหนึ่ง หมายเลขประกอบด้วยกลมุ่ ข้อมูลหลายกลมุ่ ซึ่งทาให้รเี ลชันดังกลา่ ว ขาดคุณสมบตั ซิ งิ เกิลแวล 1.1) นยิ ำมของนอร์มลั ฟอรม์ ที่ 1 รีเลชันจะอยใู่ นรปู ของนอร์มัลฟอรม์ ท่ี 1 ก็ต่อเมือ่ มี คณุ สมบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปน้ี 1. มกี ารกาหนดแอตทริบวิ ตท์ ีเ่ ป็นคยี ์ 2. ต้องไม่มรี พี ที ต้ิงกรปุ๊ แต่ละแถวหรือคอลัมนจ์ ะมคี า่ ไดเ้ พยี ง 1 ค่าเท่าน้ัน 3. แอตทริบวิ ตท์ ุกตัวตอ้ งขึ้นอยกู่ ับคียห์ ลกั จากภาพขา้ งบน เมือ่ การการนอร์มลั ไลเซชันใหอ้ ยใู่ นรปู นอร์มลั ฟอร์มที่ 1 จะได้ตารางท่ี แตกย่อยออกมาเปน็ 2 ตาราง ดงั ภาพขา้ งล่าง ซ่งึ มคี ณุ สมบัติตามนอร์มลั ฟอร์มที่ 1 แลว้

  1. กำรแปลงใหอ้ ยใู่ นรปู นอร์มัลฟอรม์ ที่ 2 ในหน่ึงรเี ลชันจะประกอบด้วยแอตทรบิ ิวตต์ า่ ง ๆ ท่มี ีความสมั พนั ธ์ทขี่ น้ึ ตอ่ กนั ซึง่ ความสมั พนั ธด์ ังกล่าวจะเปน็ ตัวกาหนดวา่ แอตทรบิ ิวตใ์ ดเป็น ตวั กาหนดขอ้ มลู หรือ คยี แ์ อตทรบิ วิ ต์ (Key Attribute) และแอตทริบิวตใ์ ดเปน็ ข้อมูลที่ถกู กาหนดหรือนอนคยี ์แอตทริบวิ ต์ (Nonkey Attribute) 2.1) ฟงั ก์ชันนลั ดเี พนเดนซี ในการทานอร์มลั ไลเซชัน จะต้องมคี วามเข้าใจหลกั การของ ฟงั ก์ชนั ดเี พนเดนซี(Function Dependency : FD) เสียกอ่ น โดยมคี าจากดั ความ คอื B ขึ้นอยกู่ ับ A ถ้าทราบค่าของ A ก็จะทาให้รู้ค่าของ B ได้ฟังก์ชนั นลั ดเี พนเดนซี สามารถแสดงด้วยการใชเ้ คร่ืองหมายลกู ศร ( ->) ตัวอยา่ งเช่น A->B แสดง B เป็น ฟังกช์ ันนลั ดีเพนเดนตก์ บั A กลา่ วคือ ถ้ารู้คา่ A ก็จะทาใหท้ ราบคา่ ของ B ดว้ ย ทุกค่าของ A ท่มี ีคา่ เทา่ กัน จะไดค้ า่ เทา่ กันเสมอ 2.2) พำเชียลดเี พนเดนซี พาร์เชยี ลดีเพนเดนซี หมายถึง การที่มแี อตทรบิ วิ ตบ์ างแอตทริ บวิ ต์ ท่ีขน้ึ อยู่กับเพยี งบางสว่ นของคียห์ ลักเทา่ นั้น ตัวอยา่ งเชน่ จากตารางในภาพข้างล่าง แอ ตทริบิวตช์ ่ือพนกั งานจะข้ึนอยกู่ บั คยี ร์ หัสพนักงานในขณะทีแ่ อตทรบิ ิวตช์ ือ่ แผนกจะข้ึนอยกู่ บั คยี ์รหสั แผนกจะเห็นวา่ ข้อมลู ทอ่ี ยู่ในรเี ลชันเดยี วกันแต่ไมไ่ ด้ข้นึ อยกู่ ับคีย์ใดคียหน่ึงทั้งหมดแต่ จะขนึ้ อยกู่ ับคีย์ใดคีย์หน่งึ เพียงบางส่วนเท่าน้ัน

2.3) นิยำมของอร์มัลฟอร์มท่ี 2 รีเลชันจะอยู่ในรูปของนอร์มัลฟอร์มท่ี 2 ก็ต่อเมื่อมีคุณสมบัติ ตามเง่อื นไขดังต่อไปนี้ 1. รีเลชนั นน้ั เปน็ นอร์มลั ฟอร์มท่ี 1 อยูแ่ ล้ว 2. รีเลชนั นั้นไม่มพี าร์เชียลดเี พนเดนซี 3) กำรแปลงให้อยู่ในรปู นอร์มลั ฟอร์มที่ 3 ในหน่ึงรีเลชันจะประกอบคีย์แอตทริบิวต์และนอนคีย์ แอตทริบิวต์คีย์แอตทริบิวต์จะต้องเป็นตัวกาหนดความหมายหรือการมีอยู่ของแอตทริบิวต์อ่ืน ๆ ท่อี ย่ใู นรเี ลชันเสมอ 3.1) ทรำนซทิ ีฟดีเพนเดนซี (Transitive Dependency) ทรานซิทีฟดีเพนเดนซี หมายถงึ การท่ีมี ฟังกช์ ันนัลดีเพนเดนซี ระหว่างแอตทริบิวต์ท่ีไม่ได้เป็นส่วนของคีย์ใด ๆ แต่มีแอตทริบิวต์อื่น ๆ มา ขึ้นกับแอตทริบิวต์นั้นตัวอย่างเช่น จากตารางในภาพข้างล่าง แอตทริบิวต์ชื่อพนักงานและรหัส ตาแหน่งงานจะขึ้นอยู่กับคีย์รหัสพนักงาน ในขณะท่ีแอตทริบิวต์ค่าแรงต่อช่ัวโมของพนักงาน จะ ขึ้นอยู่กับแอตทริบิวต์รหัสตาแหน่งงานซึ่งไม่ใช่คีย์อีกต่อหน่ึงทาให้มีทรานซิทีฟดีเพนเดนซีเกิดขึ้น ในรเี ลชนั น้ี

บทท่ี 3 ควำมร้เู บื้องตน้ โปรแกรม Microsoft Excel 2010 โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมหน่ึง ท่ีจัดอยู่ในชุด Microsoft Office โปรแกรม MS Excel มีช่ือเสียงในด้าน การคานวณเกี่ยวกับตัวเลข และการทาบัญชี ต่าง ๆ การทางานของโปรแกรม ใช้ตารางตามแนวนอน (rows) และแนวต้ัง (columns) เป็นหลัก ซึ่งเราเรยี กโปรแกรมในลกั ษณะนีว้ ่าเปน็ (Spread Sheet) ไฟล์ของ Excel เปรียบเสมือนหนังสือ 1 เล่ม ท่ีประกอบไปด้วย หน้า หลาย ๆ หน้า ไฟล์ของ Excel เรียกว่าเป็นสมุดงาน (Workbook) และในแต่ละหน้า เรยี กวา่ เป็น แผน่ งาน (Worksheet) ในแตล่ ะแผ่นงาน จะแบ่งออกเป็นตาราง ซึ่งประกอบไป ด้วย ช่องตาราง จานวนมาก ซึ่งเรยี กว่า เซลล์ (Cell) เซลล์คือส่วนตัดกันของแถวและคอลัมน์ ใน แผ่นงานหน่ึง ๆ ของ Excel 2010 จะมีแถวทั้งหมด 1,048,576 แถว และ จะมี คอลัมน์ ทั้งหมด จานวน 16,384 คอลัมน์ โดยเรียงชื่อตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ A จนถึง Z และ ต่อด้วย AA จนถึง AZ, BA จนถึง BZ ไปจนถึง XFD และในสมุดงานหน่ึง ๆ จะมีแผ่น งานไดจ้ านวนมาก ขึน้ อยู่กบั หน่วยความจาทีม่ ีอย่ใู นเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (speadsheet) หรือโปรแกรมตารางงาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลตา่ งๆลงบนแผน่ ตารางงาน คล้ายกับการเขียนข้อมูลลงไปในสมุดท่ีมีการตีช่อง ตารางทั้งแนวนอนและแนวต้ัง ซ่ึงช่องตารางแต่ละช่องจะมีชื่อประจาแต่ละช่อง ทาให้ง่ายต่อ การปอ้ นขอ้ มูล การแกไ้ ขขอ้ มลู สะดวกต่อการคานวณและการาข้อมูลไปประยุกต์ใช้ สามารถ จัดข้อมูลตา่ งๆได้อยา่ งเปน็ หมวดหมู่และเป็นระเบียบมากยิ่งขนึ้ คุณสมบัติทีส่ าคัญของ Microsoft Excel 1. ความสามารถด้านการคานวณ โปรแกรม Microsoft Excel สามารถป้อนสูตรการ คานวณทางคณติ ศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เปน็ ตน้ 2. ความสามารถด้านใช้ฟังก์ชัน เช่นฟังก์ชันเก่ียวกับตัวอักษร ตัวเลข วันที่ ฟังก์ชันเกี่ยวกับ การเงนิ หรือเกี่ยวกับการตดั สินใจ 3. ความสามารถในการสร้างกราฟ โปรแกรม Microsoft Excel สามารถนาข้อมูลที่ป้อนลง ในตารางมาสร้างเป็นกราฟไดท้ นั ที

4. ความสามารถในการตกแต่งตารางข้อมูล โปรแกรม Microsoft Excel สามารถ ตกแต่งตารางข้อมูลหรอื กราฟ ขอ้ มลู ด้วยภาพ สี และรปู แบบตัวอักษรต่าง ๆ เพ่ือให้เกิด ความสวยงามและทาให้แยกแยะขอ้ มลู ได้งา่ ยขึน้ 5. ความสามารถในการเรียงลาดับข้อมูล โปรแกรม Microsoft Excel สามารถ คดั เลอื กเฉพาะขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการมาวิเคราะห์ได้ 6. ความสามารถในการพิมพ์งานออกทางเคร่ืองพิมพ์ โปรแกรม Microsoft Excel สามารถพิมพ์งานทั้งข้อมูลและรูปภาพหรือกราฟออกทางเครื่องพิมพ์ได้ทันที ซ่ึงทาให้ ง่ายตอ่ การสร้างรายงาน 7. ความสามารถในการแปลงขอ้ มลู ในตารางใหเ้ ป็นเว็บเพจ เพอื่ นาไปแสดงในโฮมเพจ กำรสรำ้ งไฟลฐ์ ำนข้อมลู ด้วยไอคอน ฐำนข้อมลู เปลำ่ (BlankDatabase) 1. คลกิ ป่มุ แฟ้ม (File) > สรา้ ง (New) > ฐานข้อมลู เปลา่ (Blank Database) 2. กาหนดชื่อไฟล์ฐานขอ้ มูล 3. คลกิ ปุ่ม สรา้ ง (Create) นอกจากนี้ มุมมอง Backstage ยังมีคาส่ังอื่นๆ จานวนมากท่ีคุณสามารถ ใชใ้ นการปรับ บารงุ รักษา หรือใชฐ้ านขอ้ มูลของคุณรว่ มกันได้ โดยท่ัวไปแล้ว คาสั่งต่างๆ ในมุมมอง Backstage จะถูกนาไปใช้กับฐานข้อมูลทั้งฐานข้อมูล ไม่ใช่กับวัตถุภายใน ฐานขอ้ มูล

ส่วนประกอบของ Microsoft Access 2010 เม่อื เราเปิดโปรแกรม Access ข้ึนมากจ็ ะพบเครื่องไม้เคร่อื งมอื สาหรบั การสรา้ งและจัดการ ฐานขอ้ มูล ซ่ึงมรี ายละเอียดดงั น้ี •· แท็บ File มีลักษณะเหมือนกับเมนู File ท่ีพบในโปรแกรมอ่ืนทั่วๆ ไป เช่น File > Open, File > Save, File > Close ซ่ึงใช้เพ่ือเปิดไฟล์ บันทึกไฟล์ หรือปิดไฟล์ รวมท้ัง การปรับแตง่ ตวั เลอื กในโปรแกรม • Quick Access Toolbar เก็บปุ่มคาสั่งที่ใช้งาบ่อยๆ โดยเราสามารถเพิ่มหรือลบปุ่มคาสั่ง ตามความเหมาะสม· •Ribbon เปน็ รปู แบบของการเกบ็ คาสงั่ และปุ่มที่ใช้ใน Access โดยแบง่ เปน็ แทบ็ โดยแต่ละ แท็บยังแบง่ คาส่งั เอาไว้ให้เป็นกลุ่มยอ่ ย เพือ่ สะดวกตอ่ การใชง้ าน •·Navigation Pane จะแสดงชื่อฐานข้อมูล และแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของ Access เช่น ตาราง คิวรี ฟอรม์ รายงาน ฯลฯ •Tabbed Documents ในกร ณีท่ี เร าเปิดตาร าง ฟอ ร์ม คิ รี ราย งา น รว มถึ ง Object อื่นๆ เราจะพบเห็นแสดง Object ที่ถูกเปิดอยู่ท้ังหมด เมื่อเราคลิกท่ีแท็บจะ เป็นการสลับไปทางานในสว่ นนนั้ ๆ ทนั ที • Status bar จะแสดงขอ้ มลู บางอย่าง และปมุ่ สาสลบั มุมมอง • แท็บ File มีลักษณะเหมือนเมนู File ท่ีพบในโปรแกรมอ่ืนท่ัวๆ ไป เช่น File > Open, File > Save หรือ File > Close ซึ่งใช้เพ่ือไฟล์ บันทึกไฟล์ หรือปิดไฟล์ ตามลาดบั

กำรเปิดไฟล์ฐำนข้อมูลใน Access 2010 การเปดิ ไฟล์ฐานขอ้ มลู ทเี่ คยสรา้ งไวข้ ้ึนมาใชง้ านทาได้หลายวิธีด้วยกัน ไดแ้ ก่ วธิ ที ี่ 1 การเปิดฐานข้อมลู ด้วยปมุ่ แฟม้ (File) มีขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1 คลิกปมุ่ แฟม้ (File) > เปดิ (Open) 2. คลิกทางลัดในกล่องโต้ตอบ เปิด หรือในกล่องมองหาในให้คลิกไดรฟ์หรือโฟลเดอร์ท่ีมี ฐานข้อมูลท่คี ุณต้องการแลว้ คลกิ ปมุ่ เปดิ 3. ในรายการโฟลเดอรใ์ หค้ ลกิ สองครง้ั ทโ่ี ฟลเดอรจ์ นกวา่ คุณจะเปิดโฟลเดอรท์ ม่ี ีฐานข้อมูลได้ 4. เมื่อคุณพบฐานขอ้ มูลแลว้ ให้เลือกทาอยา่ งใดอย่างหน่งึ ตอ่ ไปนี้

วิธที ่ี 2 การเปดิ ไฟลท์ ถี่ กู เปิดใชง้ านล่าสดุ มขี ้ันตอนดังตอ่ ไปนี้ 1. กดป่มุ แฟ้ม (File) แลว้ เลือกไฟล์ที่ต้องการเปิดข้นึ มา 2. ไฟลฐ์ านข้อมูลที่เลอื กไวก้ ็จะแสดงขึน้ มา กำรบนั ทกึ ไฟลฐ์ ำนขอ้ มลู ใหมใ่ น Access 2010 ข้ันตอนสุดท้ายในการใช้งานเบ้ืองต้นเป็นการนาไฟล์ฐานข้อมูลมาบันทึกเป็นไฟล์ฐานข้อมูล ใหมซ่ ่ึงการบันทึกไฟลใ์ นลกั ษณะนที้ าไดโ้ ดยวธิ ีการบันทึกไฟล์ข้อมูลใหม่จากไฟล์เก่าที่มีอยู่ 1.กดปมุ่ แฟม้ (File) > บันทกึ ฐานขอ้ มลู เป็น (Save Database As) 2. เลอื กตาแหนง่ ทจ่ี ดั เกบ็ ไฟลฐ์ านขอ้ มูล 3. กาหนดชื่อไฟล์ฐานขอ้ มลู 4. คลกิ ปุม่ บันทึก (Save)

บทท่ี 4 กำรสร้ำงตำรำง กำรสร้ำงตำรำง เปน็ วตั ถุฐาน ขอ้ มูล ใชใ้ นการเกบ็ ข้อมลู เกี่ยวกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง เช่น พนักงาน หรือผลิตภัณฑ์ ตารางประกอบด้วยระเบยี นและเขตขอ้ มูลแตล่ ะระเบยี นจะมีข้อมูลเกย่ี วกบั หนง่ึ อินสแตนซ์ของ ชอ่ื เรอ่ื งตาราง เช่น พนักงานรายใดรายหน่ึง ระเบียนมักเรียกว่า แถวหรืออินสแตนซ์แต่ละเขต ข้อมูลจะมีข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบของชื่อเร่ืองตาราง เช่น ช่ือ หรือที่อยู่อีเมล หน่ึงรูปแบบ เขต ขอ้ มลู มกั เรยี กว่าคอลัมน์หรอื 1. คณุ สมบตั ิของตำรำง 2. คุณสมบตั ิของเขตข้อมูล ในฐานข้อมูล Access คุณสมบัติของตารางจะเป็นแอตทริบิวต์ของตารางที่มีผลต่อ ลกั ษณะทปี่ รากฏหรือลักษณะการทางานของตารางท้งั หมด คณุ สมบตั ขิ องตารางจะถูกต้ังค่า ในแผ่นคุณสมบัติของตารางในมุมมองออกแบบ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถตั้งค่าคุณสมบัติ มุมมองเริ่มตน้ ของตาราง เพ่อื ระบวุ ธิ ีแสดง ตารางตามคา่ เริ่มต้นหลงั การสร้างตาราง คุณสมบัติของเขตข้อมูลจะนาไปใช้กับเขตข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงในตาราง และกาหนดหน่ึง ฟีเจอร์ของเขตข้อมูลหรือรูปแบบของลักษณะการทางานของเขตข้อมูล คุณสามารถตั้งค่า บางคุณสมบัติของเขตข้อมูลใน มุมมองแผ่นข้อมูล คุณยังสามารถตั้งค่าคุณสมบัติของเขต ข้อมูลในมมุ มองออกแบบได้โดยใช้บานหนา้ ต่าง คุณสมบตั ขิ องเขตข้อมลู

กำรกำหนดโครง้ สร้ำงตำรำง แตล่ ะตารางมีข้อมลู เกย่ี วกับเนอื้ เรือ่ งเดียวกนั เช่น ตารางขอ้ มูลสมาชิกห้องสมุดประกอบด้วย เขตข้อมูลรหัสสมาชิก เขตข้อมูลชื่อ เขตข้อมูลเลขประจาตัว และเขตข้อมูลชั้นเรียนในการ กาหนดโครงสร้างตาราง จะต้องกาหนดช่ือที่เราจะใช้แทนแต่ละเขตข้อมูลชนิดของ ข้อมูล ขนาดที่ใช้ในการจัดเก็บไว้ในส่วนที่เป็นพจนานุกรมข้อมูลของระบบการจัดการ ฐานขอ้ มูล ึซงิ ในบางระบบเราสามารถรอกคาอธิบายสั้นๆ ใหก้ ับแตล่ ะเขตข้อมูลเพื่อประโยชน์ ในการแก้ไขระบบในภายหลังได้ ตัวอย่ำงกำรสรำ้ งตำรำง 1. คลกิ แทป็ แทรก 2. คลิก ตาราง แทรกตาราง คลิกและตารางปรากฏในเอกสารถ้าคุณจาเป็นต้องทาการปรับปรุงคุณสามารถเพิ่ม แถวของตารางและคอลัมน์ลบแถวของตารางและคอลัมน์หรือผสารตารางเซล์เป็นเซล์เดียว เม่อื คณุ คลกิ ตารางเคร่อื งมือตาราง จะปรากฏขนึ้ ใช้เคร่ืองมือตาราง เพื่อเลือกสีท่ีแตกต่างกัน สไตล์ตารางเพ่ิมเส้นขอบตารางหรือเอา เส้นขอบออกจากตาราง คุณสามารถลองใช้คู่แทรกสูตรเพื่อแสดงผลรวมสาหรับคอลัมน์หรือ แถวของตวั เลขในตาราง ถ้าคุณมีข้อความในเอกสารของคุณท่ีจะดูดียิ่งขึ้นเป็นตาราง Word สามารถแปลง ขอ้ ความลงในตาราง

กำรสรำ้ งตำรำงใน มุมมองออกแบบ สาหรับเนื้อหา การเรียนรู้พ้ืนฐานการออกแบบและสร้างฐานข้อมูลด้วย ตนเอง ผ่านโปรแกรม MS Access ในตอนน้ี จะเป็นการสร้างตารางฐานข้อมูลจาก มุมมองออกแบบ หรือ Design View โดยผูส้ นใจสามารถทาตามข้ันตอน ดังน้ี บนแถบเมนูคาสั่งของ MS Access ด้านบน ให้คลิก สร้าง และ คลิก ออกแบบตาราง ในหน้าตา่ งถัดมา ให้เรากาหนดค่าต่างๆ ดงั น้ี Phone ID ชนิดของขอ้ มูลเปน็ AutoNumber และคลกิ Primary Key รปู ไอคอ่ นกญุ แจ

1.กำรแทรกฟิลด์ทำ้ ยตำรำง ALTER TABLE 'ชอ่ื ตาราง' ADD 'ช่อื ฟลิ ด์ท่ีต้องการแทรกเพ่ิม' ชนิดของฟิลด์(ขนาดของฟิลด์) การกาหนดลักษณะของฟิลด์; 2.กำรแทรกฟิลด์ท่จี ุดเรมิ่ ตน้ ของตำรำง ALTER TABLE 'ชือ่ ตาราง' ADD 'ชอื่ ฟิลดท์ ีต่ อ้ งการแทรกเพิ่ม' ชนิดของฟิลด์(ขนาดของฟิลด์) การกาหนดลกั ษณะของฟิลด์ FIRST; 3.กำรแทรกฟิลด์หลังฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่ง ALTER TABLE 'ช่ือตาราง' ADD 'ชื่อฟิลด์ที่ต้องการ แทรกเพม่ิ ' ชนิดของฟิลด์(ขนาดของฟิลด์)การกาหนดลักษณะของฟิลด์ AFTER 'ช่ือฟิลด์ที่อยู่ ข้างหนา้ ’; ตวั อยำ่ ง customers(customer_id,customer_name,customer_age,Address,email) แลว้ ตอ้ งการแทรกฟิลด์เบอร์ศัพท์ (phone) ไปไวท้ ้ายตาราง กรณีท1ี่ ALTER TABLE 'customers’ ADD'phone'VARCHAR(15)NOTNULL; กำรลบฟิลด์ รูปแบบการใช้คาสั่ง SQL ALTER TABLE 'ช่ือตาราง' DROP 'ชื่อฟิลด์ท่ีต้องการลบ' การลบตาราง รูปแบบการใช้คาสั่ง SQL DROP TABLE 'ชื่อตารางที่ต้องการลบ' คีย์ (key) ในการอ้างอิง การค้นหา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือการกาหนดความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลจะเกิดข้ึนอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องกาหนด คีย์ (Key) ให้กับ Table ก่อน นอกจากนี้การกาหนดคีย์จะทาให้การอ้างอิงและการประมวลผลข้อมูลได้สะดวกข้ึนและยัง ช่วยประหยัดเน้ือที่ในการจัดเก็บ คีย์ท่ีใช้ในระบบฐานข้อมูลแบ่งออกได้หลาย ประเภท ดังต่อไปนี้ 1. Primary Key หมายถึง คีย์หลักที่กาหนดจากฟิลด์ที่ไม่มีข้อมูลซ้าซ้อน (unique) ใน Table เดียวกันโดยเด็ดขาด และจะต้องมีค่าเสมอ จะเป็นค่าว่าง (Null) ไม่ได้ สามารถ นามาจดั เรยี งลาดับและแยกแยะข้อมูลแต่ละรายการออกจากกันไดเ้ ป็นอย่างดี

กำรทำเคร่ืองหมำยรำยกำรดชั นีและสร้ำงดัชนี เมื่อต้องการสรา้ งดชั นี ใหค้ ณุ ทาเคร่อื งหมายรายการ เลือกการออกแบบ แล้วสรา้ งดัชนี ขัน้ ตอนท่ี 1 ทาเครอื่ งหมายรายการดัชนี เมอื่ ตอ้ งการทาเครอ่ื งหมายรายการดชั นี ใหเ้ ลอื กทาอย่างใดอย่างหนึ่งตอ่ ไปน้ี •ทาเคร่ืองหมายคาหรอื วลี •ทาเคร่อื งหมายรายการให้ข้อความทยี่ าวครอบคลมุ หลายหนา้ กระดาษ ทำเครอื่ งหมำยคำหรอื วลี 1.เมอ่ื ต้องการใช้ข้อความทม่ี อี ยเู่ ป็นรายการดชั นี ใหเ้ ลือกข้อความนั้น เมอ่ื ตอ้ งการใสข่ ้อความ ของคุณเองเปน็ รายการดชั นี ใหค้ ลกิ ตาแหน่งท่ีคณุ ตอ้ งการแทรกรายการดชั นี 2.บนแท็บการอา้ งองิ ในกลมุ่ ดัชนี คลกิ ทาเครอ่ื งหมายรายการ 5.เม่ือต้องการจัดรูปแบบหมายเลขหน้าทจ่ี ะปรากฏในดชั นี ให้เลือกกล่องกาเครือ่ งหมาย ตัวหนา หรือกล่องกาเครื่องหมาย ตัวเอยี ง ใต้ รูปแบบหมายเลขหนา้ 6.เมือ่ ต้องการจดั รปู แบบข้อความสาหรับดชั นี ใหเ้ ลอื กขอ้ ความในกล่อง รายการหลกั หรือ รายการย่อย คลิกขวา แล้วคลกิ แบบอักษร เลอื กตวั เลอื กการจดั รปู แบบตวั อกั ษรทค่ี ุณต้องการใช้ 7.เมอ่ื ต้องการทาเคร่อื งหมายรายการดชั นีให้คลิก ทาเครอื่ งหมาย เมือ่ ต้องการทาเครื่องหมาย การปรากฏท้ังหมดของข้อความน้ใี นเอกสาร ให้คลกิ ทาเครอ่ื งหมายทัง้ หมด 8.เม่ือตอ้ งการทาเครอื่ งหมายรายการดชั นเี พิ่มเติม ใหเ้ ลือกขอ้ ความ คลิกในกลอ่ งโตต้ อบ ทา เครือ่ งหมายรายการดชั นี แล้วทาขัน้ ตอนท่ี 3 ถงึ 6 ซา้ ทำเคร่ืองหมำยคำหรือวลีสำหรบั ข้อควำมท่อี ยใู่ นช่วงหนึ่งของหน้ำกระดำษ 1.เลือกช่วงของขอ้ ความท่คี ณุ ตอ้ งการให้รายการดชั นอี ้างอิงถงึ 2.บนแท็บ แทรก ในกล่มุ การเชือ่ มโยง ให้คลกิ ที่คัน่ หนา้

3.ในกลอ่ ง ชอื่ ทคี่ ั่นหนา้ ใหพ้ ิมพช์ อื่ จากนัน้ คลกิ เพมิ่ ในเอกสาร ให้คลิกทจี่ ุดสนิ้ สดุ ข้อความที่คณุ ทาเครื่องหมายด้วยทค่ี นั่ หน้า 4.บนแท็บการอา้ งองิ ในกลุ่มดัชนี คลกิ ทาเครอ่ื งหมายรายการ 5.ในกลอ่ ง รายการหลัก ใหพ้ ิมพ์รายการดัชนีสาหรับข้อความทที่ าเครอ่ื งหมายไวเ้ มอ่ื ตอ้ งการจัดรปู แบบหมายเลขหนา้ ทจ่ี ะปรากฏในดชั นี ให้เลือกกล่องกาเคร่อื งหมาย ตัวหนา หรอื กล่องกาเครื่องหมาย ตวั เอยี ง ใต้ รปู แบบหมายเลขหนา้ เมอ่ื ตอ้ งการจดั รูปแบบข้อความ สาหรบั ดัชนี ให้เลอื กข้อความในกล่อง รายการหลกั หรือ รายการย่อย 6.คลกิ ขวา แลว้ คลกิ แบบอกั ษร เลือกตวั เลอื กการจดั รูปแบบตัวอกั ษรที่คุณตอ้ งการใช้ 7.ภายใต้ ตัวเลอื ก ให้คลิก ช่วงของหน้า 8.ในกล่อง ทคี่ ั่นหนา้ พิมพห์ รือเลือกช่อื ทค่ี ่นั หนา้ ทค่ี ณุ พมิ พใ์ นขั้นตอนที่ 3 แล้วคลิก ทา เครือ่ งหมาย

บทที่ 5 กำรสรำ้ งแบบสอบถำมใช้เลือกข้อมลู ควำมหมำยของแบบสอบถำม แบบสอบถาม คอื การกาหนดคาถามเก่ียวกับข้อมูลที่ถูกเก็บในตาราง หรือการขอดาเนินการ กับข้อมูลโดยแบบสอบถามสามารถนาเอาข้อมูลจากหลายตารางที่มีอยู่ในฐานข้อมูลเพ่ือเป็น แหลง่ ขอ้ มลู สาหรับ ฟอร์ม รายงาน หรอื Data Access Page เพ่ือแสดงผลขอ้ มลู ในฐานข้อมูลของ Microsoft Access (MDB) สามารถสร้างแบบสอบถามได้ โดยแบบสอบ ถามที่สร้างจะถกู เก็บเปน็ วัตถแุ ยกไว้ต่างหาก และจะแสดงรายการในหน้าต่างฐานข้อมูลหรือผู้ใช้ สามารถสร้างแบบสอบถามเปน็ ค าส่งั SQL ในคุณสมบัติ แหล่งระเบียนของฟอร์ม รายงาน หรือ ในส่วนของ Data Access Page โดยค าส่ัง SQL จะไม่ถูกแสดงในหน้าต่างฐานข้อมูล แต่จะถูกเก็บในฟอร์มหรือรายงานในฐานข้อมูลของ Access หรือใน Data Access Page ภายนอกฐานขอ้ มูลของ Access ในโปรแกรม Microsoft Access สามารถสร้างแบบสอบถามเป็น “วิว” หรือ“กระบวน งานท่ีเกบ็ ไว้” ซงึ่ ถูกแสดงเป็นวัตถแุ ยกตา่ งหากในหน้าต่างฐานข้อมลู หรอื สรา้ งแบบสอบถามเป็น คาสัง่ SQL ในคุณสมบัติ แหลง่ ระเบียน ของฟอรม์ รายงาน หรอื ในส่วนของ Data Access Page โดยท่ี “วิว” หรือ “กระบวนงานที่เก็บไว้” จะถูกเก็บในฐานข้อมูลของ Microsoft SQL Server ไมใ่ ช่ในโครงการของ Access และค าส่ัง SQL จะถกู เกบ็ ในฟอร์มหรอื รายงาน ชนดิ ของแบบสอบถาม มีหลายแบบ ดงั นี้ 1. แบบสอบถามแบบใชเ้ ลอื กขอื้ มลู (Select Query) ใช้ในการเลอื กขอ้ มลู จากตารางๆ เดียว หรอื หลายตาราง ตามเงอื่ นไขทกี่ าหนด 2. แบบสอบถามแบบพารามเิ ตอร์ (Parameter Query) เปน็ การเรยี กใช้แบบสอบถามอันเดยี วกนั หลาย ๆ ครัง้ โดยใช้เง่อื นไขที่แตกต่างกนั ไป 3. แบบสอบถามแบบแท็บไขว้ (Crosstab Query)ใชใ้ นการสรุปผลจากตารางขอ้ มลู 4. แบบสอบถามแอกช้นั (Action Query)ใชใ้ นการเปลี่ยนแปลงขอ้ มลู ในตาราง ซงึ่ จะแบ่งเปน็ 4 แบบ คือ • แบบสอบถามสร้างตาราง (Make-Table Query) สร้างตารางขอ้ มลู ขึ้นใหม่ • แบบสอบถามปรบั ปรงุ (Update Query) นาขอ้ มลู ไปปรบั เปลย่ี นในตาราง • แบบสอบถามเชอ่ื ม (Append Query) นาข้อมลู จาก Dynast ไปตอ่ ท้ายข้อมูลในตารางเดมิ • แบบสอบถามลบ (Delete Query) ลบข้อมูลทเี่ ลอื ก ออกจากตาราง

แบบสอบถำม SQL (SQL Query) การสร้างแบบสอบถามจากตวั ชว่ ยสร้างแบบสอบถาม แบบสอบถาม (Query) ทีจ่ ะสรา้ งน้จี ะอยู่ในกลุ่มคาส่งั อน่ื ๆ ของแท็บเคร่ืองมอสรา้ งโดยมี ขนั้ ตอนในการสรา้ ง ดังตอไปน้ี 1.การสรา้ งแบบสอบถามจากตัวชว่ ยสรา้ งแบบสอบถามอย่างง่าย ท่ีแท็บสร้างกลุ่มคาส่ังอ่นื ๆ คลกิ ปุ่มตัวช่วยสร้างแบบสอบถาม จะประเมณิ งานการสร้าง แบบสอบถาม ที่ 4 รายการ คือ 1. ตวั ชว่ ยสร้างแบบสอบถามอย่างงา่ ย 2. ตัวชว่ ยสรา้ งแบบสอบถามแบบตาราง 3. ตวั ชว่ ยสรา้ งแบบสอบถามแบบคน้ หารายการท่ีซา้ 4. ตัวชว่ ยสร้างแบบสอบถามการคน้ หาขอ้ มลู ทไ่ี ม่ตรงกันมขี น้ั ตอนการสร้างแบบสอบถาม อยา่ งงา่ ยดังต่อไปน้ี 1. คลกิ เลือกรายการตวั ชว่ ยสรา้ งแบบสอบถามอยา่ งง่าย คลกิ ตกลง ให้เลือกรายการตัวช่วยสร้างแบบสอบถามอยา่ งง่าย ท่กี ลอ้ งโตต้ อบการสรา้ งแบบสอบถาม 2. คลกิ เลือกตารางจากรายการตาราง/แบบสอบถาม ซึง่ จะเรยี กเขต ข้อมลู ของตารางนั้นมา ไวใ้ นชอ่ งด้านซา้ ย ใหค้ ลิกเลอกเขตข้อมลู ทถ่ี กู ต้องการสร้างแบบสอบถาม แล้วคลกิ ปมุ่ เคร่ืองหมายเพอื่ เพ่มิ ทลี ะรายการ (>) หรือคลิกเพิม่ ทั้งหมด (>>) หากตอ้ งการเอารายการที่ ไดเ้ ลอื กไปแลว้ ออกให้คลิกป่มุ เครื่องหมายเอาออกทลี ะรายการ (<) หรือคลกิ เอาออก ท้งั หมด (<<) 3 .การเพิม่ เขตขอมลู ทีละรายการ 4 .การเอาเขตข้อมลู ออกทง้ั หมด 5.การเปลย่ี นตารางและเขตขอมูลจากตารางขอ้ มูลนักศกึ ษาเป็นตารางวิชา 6.การเลอื กเขตขอมลู จากทงั้ ตารางวิชาและตารางขอ้ มลนกั ศกึ ษา 7.ตัวเลอกแบบสอบถามทแี่ สดงรายละเอยี ดหรือแบบสรุป ใหค้ ลิก เลือกตัวเลือกทต่ี องการ

บวก - ลบ * คูณ / หาร 3. ตัวกระทาค่าทางตรรก And เลือกเรคอรด์ เม่อื เงื่อนไขทง้ั สองเปน็ จริง Or เลือกเรคอร์ดเมอ่ื เงอ่ื นไขใดเง่อื นไขหนง่ึ เปน็ จริง Xor เลอื กเรคอร์ดเมอ่ื มีเงือ่ นไขท่เี ปน็ จรงิ เพียงอันเดยี ว Not กลบั เงอื่ นไขเปนตรงข้าม

เรมิ่ ต้นกำรสรำ้ งแบบสอบถำม การสร้างแบบสอบถามในมมุ มองออกแบบ (DesignView) แบบสอบถาม (Query) สามารถสร้างได้หลายประเภทตามความต้องกาของผู้ใช้ ซึ่งในท่ีนี้จะ กล่าวถึงการสร้างแบบสอบถามเพื่อรวมหลายๆ ตาราง และหลายๆ แบบสอบถามใน แบบสอบถามหนึง่ มี วิธกี ำรดงั น้ี 1. สร้างแบบสอบถามโดยการ ใชค้ าสั่ง Create --> Query Design 2. จะมีหน้าต่างแสดงตารางทั้งหมด ท่ีมีอยู่ในฐานข้อมลู ใหเ้ ลือกฐานข้อมลู ท่ีต้องการ \"ในกรณี ตัวอย่างจะเลือกฐานข้อมลู ชื่อ Product\"

กำรแสดงเขตข้อมูลที่มีหลำยคำ่ ในแบบสอบถำม เมอื่ คุณแสดงเขตขอ้ มูลท่มี ีหลายคา่ ในแบบสอบถาม คณุ ตอ้ งตดั สินใจวา่ คุณตอ้ งการ แสดงเขตขอ้ มูลทมี่ หี ลายคา่ ทง้ั หมดทีป่ ระกอบด้วยค่าท้งั หมดท่ีแยกดว้ ยจุลภาค หรอื แถวแยกสาหรับแต่ละค่า ตัวอย่างเชน่ สมมตวิ า่ คณุ มีตารางประเดน็ ทีม่ ีเขตข้อมลู 'มอบหมายให้' ทีค่ ณุ ใชเ้ พอื่ มอบหมายประเด็นต่างๆ ให้บุคคล คณุ สามารถสร้าง แบบสอบถามทมี่ ีเขตข้อมูล 'มอบหมายให้' โดยใชว้ ิธีการต่อไปน้ี 1.คลิก ปมุ่ Microsoft Office รปู ปุ่ม จากนั้นคลิก เปดิ 2.ในกลอ่ งโต้ตอบ เปิด ให้เลือกและเปิดฐานขอ้ มลู 3.บนแทบ็ สร้าง ในกลมุ่ อนื่ ๆ ใหค้ ลิก ออกแบบแบบสอบถาม 4.ในกลอ่ งโตต้ อบ แสดงตาราง ใหค้ ลกิ ตาราง (ในตวั อย่างน้ี คือ \"ประเด็น\") ท่ีมีเขต ข้อมลู ทม่ี หี ลายคา่ แล้วคลกิ เพ่มิ 5.คลกิ ปิด 6.ลากเขตข้อมลู ทีค่ ณุ ต้องการใช้กับตารางออกแบบแบบสอบถาม ในตวั อยา่ งน้ี ให้ ลากเขตขอ้ มลู 'ชือ่ เรอ่ื ง' และเขตข้อมลู ทมี่ หี ลายคา่ ทต่ี ัง้ ช่อื ว่า 'มอบหมายให้' ให้กับตารางแบบสอบถาม 7.บนแท็บ ออกแบบ ในกลุม่ ผลลัพธ์ ใหค้ ลิก เรียกใช้ ผลลพั ธ์ของแบบสอบถามของคุณจะมลี กั ษณะดังรปู ตอ่ ไปนี้ กลา่ วคอื คอลัมน์หน่งึ จะแสดงชอื่ ประเดน็ และคอลมั นท์ ี่สองจะแสดงเขตข้อมลู ท่มี ีหลายคา่

บทที่ 6 กำรสรำ้ งแบบสอบถำมสรุปผลและจัดกำรข้อมลู ข้อมูลสาหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นอาจได้มาจากแหล่งข้อมูลภายใน หรือภายนอกองค์กร ซ่ึงควรมีคุณสมบัติพ้ืนฐานประกกอบด้วยความถูกต้อง มีความเป็น ปัจจุบันตรงตามความต้องการมีความสมบูรณ์และสามารถตรวจสอบได้ทั้งนี้ในการจัดการ ขอ้ มูลดว้ ยคอมพวิ เตอร์จะมีการจัดแบ่งข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการเรียกใช้ เช่น บดิ ไบต์ ฟีลด์เรคอร์ด ไฟล์ โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลท่ีจัดเก็บไว้บนส่ือบันทึกข้อมูลสารองมีอยู่ 3 ลักษณะคือแบบ เรียงลาดบั แบบสมุ่ และแบบลาดบั เชิงดรรชนี การเลอื กใชต้ ้องพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน สาหรับแฟ้มข้อมูลโดยท่ัวไปนั้นจะแบ่งได้ออกเป็น 3 ประเภทคือ แฟ้มหลัก ซึ่งเป็น แฟ้มข้อมูลที่เป็นความถี่ของการเปล่ียนแปลงข้อมูลไม่บ่อยมากนักและอีกประเภทหน่ึงคือ แฟม้ รายการเปลีย่ นแปลงซงึ่ เปน็ แฟ้มทีม่ กี ารเปลยี่ นหรือแกไ้ ขรายการข้อมลู ภายในคอ่ นขา้ ง บ่อยและทาแบบประจาตอ่ เนอ่ื งหรือเกิดขึน้ ทกุ วัน ข้อมูลจานวนมากที่เก่ียวข้องสัมพันธ์กันจะถูกเก็บรวบรวมไว้ที่เดียวกัน ฃเรียกว่า “ฐานข้อมูล” ซ่ึงช่วยในการประมวลผลมีความสะดวกและง่ายมากขึ้นโดยมีแนวคิดท่ีจะ จัดการกับข้อมูลเพ่ือลดความซ้าซ้อน ลดความขัดแย้งรักษาความคงสภาพอานวยความ สะดวกในการใช้ข้อมูลร่วมกัน ง่ายต่อการเข้าถึงและลดระยะเวลาพัฒนาระบบงาน เคร่ืองมือสาหรับการจัดการฐานข้อมูลน้ันเรียกว่า “DBMS” ซ่ึงเป็นเสมือนผู้จัดการ ฐานข้อมูลท่ีจะดูแลและอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้โดยไม่จาเป็นต้องทราบถึงโครงสร้าง ทางกายภาพของขอ้ มูลในระดับทลี่ ึกมากแตเ่ พียงใด กำรสรำ้ งแบบสอบถำมสรปุ ค่ำ การสรปุ ผลข้อมลู (Summary) การประมวลผลข้อมูลจานวนมาก ๆ พบวา่ จะตอ้ งมกี ารสรุปผลขอ้ มลู ในภาพรวมด้วยคา่ ทาง สถิตริ ปู แบบตา่ งๆ ซงึ่ จะอยใู่ นรปู ฟังกช์ ่นั สรุปค่า เชน่ การหาคา่ ผลรวม (Sum) ค่าเฉล่ยี (Average) การนับจานวน (Count) ค่าสงู สดุ /ตา่ สดุ (Max/Min) ฯลฯ โดยเฉพาะข้อมลู ประเภทตวั เลข ซ่งึ การสรุปผลด้วย Query

สร้ำงแบบสอบถำมสรปุ คำ่ ขอ้ มูลในมุมมองออกแบบ กอ่ นอื่น คุณจะใช้ตวั ช่วยสร้างสรา้ งแบบสอบถามโดยยึดตามตารางตัวอยา่ งทีค่ ณุ เพ่ิงจะสรา้ ง จากน้ันคณุ จะปรับปรงุ แบบสอบถามในมุมมองออกแบบ ในแึตล่ ะขัน้ ตอนคุณสามารถตรวจทาน คาสั่ง SQL ทขี่ ัน้ ตอนท่ีคุณใชส้ รา้ งขึ้นโดยอัตโนมัติ 1.บนแท็บ สรา้ ง ในกลุ่ม อ่นื ๆ ใหค้ ลิก ตวั ช่วยสร้างแบบสอบถาม 2.ในกลอ่ งโต้ตอบการสรา้ งแบบสอบถาม ให้คลกิ ตวั ช่วยสรา้ งแบบสอบถามอยา่ งง่าย จากนนั้ คลิกตกลง 3.ภายใต้ ตาราง/แบบสอบถาม ใหค้ ลกิ ตารางท่มี ขี อ้ มลู ซ่งึ คณุ ต้องการใช้ ในกรณนี ี้ ใหค้ ลิก ตาราง: ลูกคา้ โปรดสังเกตว่าแบบสอบถามสามารถใช้แบบสอบถามอน่ื เปน็ แหลง่ ระเบียนได้ ดว้ ย 4.ภายใต้ เขตขอ้ มูลท่มี ีอยู่ ใหค้ ลกิ สองครั้งทีเ่ ขตขอ้ มูล ทตี่ ดิ ต่อทอ่ี ยู่โทรศัพท์ และ เมือง เพอ่ื เพม่ิ เขตขอ้ มูลดงั กล่าวไปยังรายการ เขตข้อมูลทเี่ ลอื ก เึม่ือคณุ เพิม่ เขตข้อมลู ทงั้ สเ่ี ขตขอ้ มลู ให้ คลกิ ถดั ไป 5.ตั้งชือ่ แบบสอบถามวา่ ทต่ี ิดตอ่ ใน London จากนนั้ คลกิ เสร็จส้นิ Access จะแสดงระเบยี น ที่ติดต่อทง้ั หมดในมุมมองแผ่นข้อมูล ผลลัพธ์นี้จะแสดงระเบยี นทัง้ หมด แตแ่ สดงเฉพาะสี่เขต ข้อมูลท่คี ุณกาหนดไวใ้ นตวั ช่วยสร้างแบบสอบถาม ตรวจทานคาสง่ั SQL แต่แรก คลิก มมุ มอง SQL บนแถบสถานะของ Access หรอื คลกิ ขวาทึี่แทบ็ วตั ถแุ บบสอบถาม จากนน้ั คลกิ มุมมอง SQL Access จะเปิดแบบสอบถามในมุมมอง SQL และแสดงผลดังต่อไปนี้ SELECT Customers.[Contact], Customers.[Address], Customers.[Phone], Customers.[City] FROM Customers; ดงั ท่ีคุณเห็นในมุมมอง SQL แบบสอบถามมสี องสว่ นพ้ืนฐาน คอื คาสง่ั SELECT ทีแ่ สดง รายการเขตข้อมลู ทีร่ วมอยใู่ นแบบสอบถาม และสว่ นคาสงั่ FROM ซ่งึ แสดงรายการตารางทม่ี ี เขตข้อมูลดงั กล่าว

  1. ตวั ชว่ ยสร้างแบบสอบถามอยา่ งงา่ ย (Simple Query Wizard) หมายถงึ การออกแบบท่ี ตอ้ งการตวั ช่วยสรา้ ง (Wizard) ในการออกแบบ ข้ันตอนการออกแบบ - เลือกเมนู สร้าง (New) เลอื ก ตัวช่วยสรา้ งแบบสอบถาม (Query Wizard) - เลือก ตวั ชว่ ยแบบสอบถามอยา่ งง่าย (Simple Query Wizard) เลอื ก ตาราง/แบบสอบถามท่ี ตอ้ งการนามาสรุป - จะปรากฏเมนกู ารออกแบบเพอื่ กาหนดค่าตา่ งๆ ไดแ้ ก่ - เลือกเขตข้อมูลที่จัดกลมุ่ เลือกเขตขอ้ มลู ทน่ี ามาสรุปผล - เลอื กเมนู สรปุ เลอื ก ตัวเลอื กสรปุ - เลอื กฟงั กช์ ั่นใหก้ บั เขตข้อมลู ทน่ี ามาสรุปผล เชน่ Sum, Avg, Max, Min ฯลฯระบชุ ือ่ แบบสอบถาม ในการบนั ทกึ เลอื ก เสรจ็ สิ้น ตวั อยา่ ง ต้องการสรปุ ค่าผลรวมเงนิ เดอื นและคา่ เฉล่ียเงนิ เดอื นโดยตอ้ งการจดั กลมุ่ ตามเพศและ แผนก ขั้นตอนกำรสรุป - เลือกเมนู สร้าง เลือก ตวั ช่วยสร้างแบบสอบถาม - เลือกตาราง goods เลอื กเขตข้อมลู g_code, g_type, g_name price และ stock - เลือก ตวั เลือกสรุป เลือก Sum, Avg สาหรบั เขตข้อมลู stock และ เลือก Min, Max สาหรับ เขตขอ้ มลู price - ระบชุ ื่อแบบสอบถาม ทีต่ ้องการบันทึก เลือก เสร็จสิ้น
  1. ออกแบบด้วยคำสัง่ ผลรวม หมำยถึง กำรสรปุ ผลที่ต้องกำรเขำ้ ไปออกแบบ ด้วยออกแบบแบบสอบถำม ขน้ั ตอนกำรออกแบบ - เลอื กเมนู สรา้ ง เลือก ออกแบบแบบสอบถาม - เลอื ก ตาราง/แบบแบบสอบถาม ทีต่ อ้ งการ - เลือกเขตข้อมลู ทีต่ ้องการจดั กลุ่มและสรุปผลมาวางบนตารางออกแบบ - เลอื ก Total หรือกดปุม่ บนแถบ Ribbon - จะปรากฏบรรทัด ผลรวม บนตารางออกแบบแตล่ ะเขตข้อมลู ประกอบด้วย - Group By หมายถึง ให้จดั กลุ่มรายการตามเขตข้อมูลทเ่ี ลือก โดยจะมีการ จดั เรยี งเพื่อใหข้ อ้ มลู เหมือนกันมาแสดงเป็นกลุ่มต่อเนือ่ ง - ฟังกช์ ันสาเรจ็ รูป 9 ฟงั ก์ชัน ไดแ้ ก่ Sum (ผลรวม) Avg (ค่าเฉลี่ย) Min (คา่ ต่าสุด) Max (คา่ สงู สุด) Count (นบั จานวน) StDev (ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน),Var (ค่า ความแปรปรวน) First (ค่าแรกของรายการ) Last (ค่าสุดทา้ ยของรายการ) ** Expression ใช้กาหนดเขตข้อมลู ที่เกดิ จากการคานวณ ** Where ใชก้ าหนดเง่ือนไขเพือ่ ให้แสดงตามเง่ือนไขทีไ่ ด้กาหนดในเขตขอ้ มลู ที่ เลือกโดยเขตข้อมูลดังกล่าวจะไมส่ ามารถนามา แสดงได้ - เลอื กคุณสมบตั ขิ องแต่ละเขตข้อมลู ตามความหมาย - ระบุช่ือ Query ทต่ี ้องการบันทกึ เพอ่ื จะนามาสรุปในครั้งต่อไป

ตัวอย่ำง ตอ้ งการนาตาราง Person มาสรปุ ผลข้อมลู ตามขอ้ กาหนดต่อไปนี้ 1. จดั กลุ่มตาม sex และ pos ตามลาดบั 2. สรปุ ผลค่าผลรวมเงินเดอื น และค่าเฉลีย่ เงินเดือน 3. นาผลรวมเงินเดอื นมาคานวณ ภาษี/เดอื น โดยคดิ ที่อตั รารอ้ ยละ 5 4. ต้องการสรปุ ผลเฉพาะตาแหน่งการเงิน และธุรการ เท่าน้นั ขน้ั ตอนการออกแบบ - เลือกเมนู สรา้ ง เลอื ก ออกแบบแบบสอบถาม เลอื ก ตาราง Person - นาเขตขอ้ มลู sex, dep, sal มาวางบนตารางออกแบบ - เลอื ก ผลรวม หรอื บนแถบ Ribbon - กาหนดการออกแบบบรรทัดผลรวม คานวณ tax, และสร้างเงื่อนไขดงั รูปที่ 6.3 - เลอื ก มุมมอง เลอื ก มมุ มองแผ่นขอ้ มูล ก็จะแสดงผลการสรปุ ตามตอ้ งการ

บทที่ 7 กำรสรำ้ งฟอรม์ ประโยชน์ของฟอร์ม - สามารถกาหนดรายละเอยี ดตา่ งๆของฟอรม์ ใหเ้ หมาะสมกับจุดประสงค์ในการใช้งานได้ทาให้การใช้งาน ฟอรม์ ทางานกับขอ้ มูลในฐานขอ้ มลู ทาได้ดกี ว่ามุมมองแผ่นข้อมลู เชน็ ถา้ ไม่ต้องการให้พนักงานทั่วไปเปิดดู ข้อมูลเงินเดือนของพนักงานคนอื่นๆได้ในฟอร์มเราสามารถกานดให้พนักงานคนนี้ดูได้เฉพาะข้อมูล เงนิ เดือนของตวั เองเท่านน้ั - จั ด ร ะ เ บี ย บ ใ น ก า ร แ ส ด ง ผ ล ต่ า ง ๆ ไ ด้ ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง เ ร า เ อ ง ซึ่ ง เ ร า จ ะ ไ ด้ แสดงฟิลด์นี้ในตาแหน่งไหนบนฟอร์มก็ได้อย่างอิสระ เช่น ฟิลด์ช่ือลูกค้าควรจะอยู่บนฟิลด์ที่อยู่ลูกค้า - สามารถเพิ่มความสนใจให้แก้การแสดงส่ือข้อมูลบางอย่างได้ เช่น การแสดงรูปภาพชนิดสินค้า - เราสามารถควบคุมการทางานกับข้อมูลในฟอร์มได้ด้วยแมโครหรือคาสั่ง VBA (Visual Basic for Applications) เชน่ ในฟอร์มอาจจะมีคอนโทรลปุม่ คาส่ังซ่ึงถ้าเราคลิกเมาส์และวจะเรียกแมโครท่ีสั่งพิมพ์ รายงานออกมา มุมมองของฟอร์ม 1.มมุ มองออกแบบ (Design View) 2.มมุ มองแผ่นข้อมูล (Datasheet View) 3.มมุ มองฟอรม์ (Form View) ประเภทของฟอร์ม แบ่งเป็น 6 ชนดิ 1. ฟอร์มสาหรับป้อนข้อมูล 2. ฟอรม์ แบบกาหนดเอง 3. ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล 4. Main / Sub forms 5. Pivot Table Form 6. Pivot Chart Forms กำรสรำ้ งฟอรม์ ทำได้ 3 วธิ ี คือ 1. การสร้างฟอร์มด้วยเคร่ืองมอื ช่วยสร้างฟอรม์ 2. การสรา้ งดว้ ยตวั ช่วยสรา้ ง 3. การสรา้ งฟอร์มข้นึ เองดว้ ยมมุ มองออกแบบ

กำรสรำ้ งฟอร์มด้วยตวั ช่วยสร้ำง( Form Wizard) 1.คลกิ ที่แท็บ สร้าง (Create) 2.คลกิ ไอคอนคาสง่ั ฟอร์มเพม่ิ เติม (More Form) เลอื กตวั ชว่ ยสรา้ งฟอรม์ 3. คลิกเลอื กตาราง tbl_product 4. เลอื กฟิลดท์ ัง้ หมด 5. ถัดไป (Next) 6. เลอื กแบบคอลัมน์ (Columnar) 7. ถัดไป (Next)

8. เลือกรูปแบบ 9. ถดั ไป (Next) 10. ตั้งชอ่ื ฟอรม์ Frm_product 11. คลกิ ปุ่ม เสร็จสิน้ (Finish)

กำรสรำ้ ง ฟอรม์ อัตโนมัติ การสร้างฟอร์ม (Auto Form) โดยใช้ เป็นการสร้างแบบอัตโนมัติเม่ือกาหนดช่ือ แหล่งกาเนดิ ข้อมลู ตาราง หรอื แบบสอบถามให้แกฟ่ อร์มแล้วโปรแกรมจะดาเนินการกาหนด สิ่งอ่ืน ๆในการสร้างฟอร์มให้เองส่วนการสร้างฟอร์มโดยใช้ตัวช่วยสร้าง ฟอร์ม หรือ (Formwizard) โปรแกรมจะให้ผู้ใช้กาหนดส่ิงทีต้องการให้เป็นส่วนประกอบในฟอร์มมากข้ึน เช่นเขตข้อมูลรูปแบบและลักษณะของฟอร์มเพ่ิมแต่ยังไม่สามารถเพิ่มตัวควบคุม (control) ถ้าต้องการเพ่ิมเติมตัวควบคุมต้องมาทาการแก้ไขฟอร์มเหล่านั้นโดยใช้มุมมองออกแบบทา การแก้ไขแต่การสร้างฟอร์มด้วยตนเองโดยใช้มุมมองออกแบบ หรือ (Design View) ผู้สร้าง ต้องออกแบบฟอร์มเองทั้งหมด หรือเป็นส่วนมาก โดยการสร้างฟอร์มด้วยตนเองโดยใช้ มุมมองออกแบบ มขี ้ันตอน ดงั นี้ 1. ทีม่ ุมมองฟอรม์ ให้คลกิ ทป่ี ุ่มสร้าง จะปรากฏหนา้ ตา่ งการสร้างฟอรม์ ข้นึ มา 2.จากหน้าต่างการสร้างฟอร์มให้เลือก “มุมมองการออกแบบ” และเลือกแหล่งข้อมูลจาก ตาราง หรือ แบบสอบถามและคลกิ ป่มุ “ตกลง” 3.เข้าสู่หน้าต่างสาหรับการออกแบบ ซึ่งค่า Default ท่ีโปรแกรมกาหนดให้ช่ือ (Form1) พ้นื ทส่ี เี ทาคอื พืน้ ทีใ่ นการออกแบบฟอร์ม หน้าต่างทลี่ อยอยู่เป็นหน้าต่างของเขตข้อมูล 4.ปรับขนาดพื้นที่ฟอร์มเพ่ือให้กว้างขึ้นโดยนาเมาส์ไปชี้ที่มุมด้านล่างเม่ือเมาส์เปลี่ยนเป็น สญั ลกั ษณ์ ใหล้ ากเมาส์ในแนวเฉียงลงเมือ่ ได้พืน้ ทตี่ ามต้องการใหป้ ล่อยเมาส์ AutoForm: Columnar •รูปแบบของฟอรม์ ทไี่ ด้จะอยู่ในรูปแบบคอลมั น์ •เรียงข้อมูลแต่ละการจากบนลงล่างหนา้ •แสดงข้อมูลรายละ 1 รายการเทา่ น้ัน

AutoForm: Tabular •เรยี งลาดับ Record จากซ้ายไปขวา •แสดงขอ้ มูลหน้าละหลายรายการ AutoForm: Datasheet •รูปแบบการแสดงผลคลา้ ยกบั มุมมอง Datasheet ของตาราง สร้ำงฟอรม์ ดว้ ยตวั ชว่ ยสร้ำง (Form Wizard) กำรสรำ้ ง( Form Wizards ) เป็นการสร้างแบบฟอร์มที่งา่ ยกว่าการสร้างดว้ ยมือและมีรูปแบบของฟอร์มทค่ี ่อนข้าง แนน่ อนดงั นั้นวิธกี ารทด่ี ีท่ีสดุ คือการสร้างฟอร์มโดยใช้ (Form Wizards) ซึง่ เราสามารถนา (Form Wizards) มาแก้ไขโดยใช้ฟอร์มโดยการสร้างฟอร์มจากมือได้ 1.คลกิ ทแ่ี ท็บ สร้าง (Create) 2.คลกิ ไอคอนคาสั่ง ฟอร์มเพิ่มเติม (More Form) เลอื กตวั ช่วยสรา้ งฟอร์ม 3.คลิกเลือกตาราง 4.เลือกฟิลด์ 5.เลือกแบบคอลัมน์ (Columnar) 6.เลือกรูปแบบ 7.ต้งั ชอ่ื ฟอร์ม 8.คลกิ ป่มุ เสร็จส้ิน (Finish)