การจ ดระเบ ยบทางส งคมค ออะไร ม ความส าค ญอย างไร

หนว่ ยท่ี 2 การจดั ระเบยี บทางสงั คม

ความหมายของสังคม

ภาพที่ 2.1 สังคมมนษุ ย์

การจัดระเบียบทางสังคมเป็นวิธีการท่ีมนุษย์กําหนดข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการอยู่ร่วมกัน อย่างมี ระเบียบแบบแผน ทําให้สมาชิกท่ีอยู่ในสังคมรู้ว่าต้องประพฤติปฏิบัติอย่างไร มีการควบคุม ให้สมาชิกปฏิบัติ ตามระเบียบ กฎเกณฑข์ องสงั คม ถา้ ใครลว่ งละเมิดจะถูกลงโทษแตกตา่ งกนั ไป

ตามระดับความรุนแรงของการกระทาํ การจัดระเบียบทางสังคมจําเป็นต้องรจู้ ักสังคม ประเภทของ สังคม เพื่อให้การรวมตัวกันอยอู่ ยา่ งสงบสุข

ภาพที่ 2.2 การจัดระเบยี บทางสงั คม 1

วชิ า ชีวติ กบั สังคมไทย รหสั วิชา 30000-1501

สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่รวมกลุ่มกนั มากกวา่ สองคนขึ้นไปอยู่รวมกันเป็นระยะเวลานาน มีขอบเขตท่ี จํากัด มีความสัมพันธ์ติดต่อซ่ึงกันและกันโดยมีวัฒนธรรม หรือระเบียบแบบแผนใน การดําเนินชีวิตเป็นของ ตนเอง

ภาพที่ 2.3 แบบแผนการดาํ เนินชวี ิตในสงั คม

สังคม หรือ สังคมมนุษย์ คือการอยู่รวมกันของมนุษย์โดยมีลักษณะความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน หลาย รูปแบบ เชน่ อาชีพ อายุ เพศ ศาสนา ฐานะ ทอี่ ย่อู าศยั ฯลฯ สาํ หรบั ระบบสังคมท่รี วมถึง ส่ิงมชี ีวติ ประเภทอื่น นอกเหนือจากมนุษย์อาจใช้คําว่า ระบบนิเวศ ซ่ึงมีความหมายเก่ียวกับความสัมพันธ์ ของส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ กับ สภาพแวดล้อม สังคมของมนุษย์เกิดจากกลุ่มบุคคลท่ีมีความสนใจร่วมกัน ไม่ว่าจะในด้านใด เช่น ประเทศ จงั หวดั และอื่น ๆ และมักจะมีวัฒนธรรม หรือประเพณี รวมถึงภาษา การละเล่นและอาหารการกินของตนเอง ในแต่ละสังคม การที่มนุษย์รวมกันเป็นสังคมน้ัน ช่วยให้ มนุษย์สามารถสร้างและพัฒนาส่ิงต่าง ๆ ให้ประสบ ความสําเร็จได้ ซึง่ อาจเป็นไปไม่ได้ถ้าต้องทําส่งิ น้ัน โดยลําพัง ขณะเดียวกันสังคมท่ีพัฒนาหรือกําลังพัฒนาเป็น เมืองขนาดใหญ่ ซ่ึงมีการใช้เทคโนโลยี ช่วยในการทํางานอย่างมากนั้น ก็อาจส่งผลให้ประชากรที่ไม่สามารถ ปรับตัวตามสภาพสังคม ท่ีเปลี่ยนแปลง เกิดความรู้สึกโดดเด่ียวหรือเกิดความรู้สึกว่าตนเองไม่มีส่วนร่วมใน สังคมขน้ึ มาได้

ภาพท่ี 2.4 สังคมขนบธรรมเนียมประเพณีของมนุษย์ 2

วชิ า ชวี ติ กบั สังคมไทย รหสั วิชา 30000-1501

เสถียรโกเศศ ให้ความหมายไวว้ า่ “มนษุ ย์ท่ีรวมกนั อยู่เปน็ หมคู่ ณะ ทมี่ ีทัง้ หญงิ และชาย ต้ังภมู ลิ าํ เนา เปน็ หลกั แหลง่ ณ ทีใ่ ดทหี่ น่ึงเปน็ ประจาํ เปน็ เวลานานพอสมควร พอเรยี นรแู้ ละปรบั ปรุง ตนเองแต่ละคนได้ และประกอบการงานเข้ากนั ไดด้ ี มีความสนใจร่วมกันในส่งิ อันเปน็ มูลฐานแหง่ ชีวติ มกี ารครองชีพ ความ ปลอดภัยทางร่างกายกเ็ ป็นส่วนหน่งึ ของส่วนรวม มนุษย์ที่ร่วมกันเปน็ คณะ ตามเง่ือนไขท่กี ล่าวมานี้ เรยี กวา่ “สงั คม”

ตามความเหน็ ตร. ประสาท หลกั ศลิ า “สังคม คอื การท่ีมนษุ ย์พวกหนงึ่ ๆ ทมี่ ีอะไรสว่ นใหญ่ เหมือน หรือคล้ายคลงึ กนั เชน่ ทศั นคติ คณุ ธรรม ธรรมเนียมประเพณี ได้มาอยูร่ วมกนั ด้วยความร้สู กึ เปน็ พวกเดยี วกัน มคี วามสมั พนั ธ์กันและมาอยู่ในเขตเดยี วกนั อย่างถาวร”

ตามความเหน็ John F. Cuber “สังคมอาจใหค้ ําจํากดั ความว่า ในฐานะเปน็ กลมุ่ ของ ประชาชนท่ี อาศยั อย่รู วมกันเปน็ เวลานานพอท่มี กี ารจัดระเบียบรว่ มกนั และเห็นว่าพวกเขาแตกต่าง ไปจากกลมุ่ อื่น ๆ

สงั คม หมายถึง คนจาํ นวนหนึ่งท่ีมีความสัมพันธ์ตอ่ เน่อื งกันตามระเบียบกฎเกณฑ์ โดยมี วัตถุประสงค์ สําคัญร่วมกัน เช่น สังคมชนบท วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง เช่น สังคม ชาวบ้านที่เกี่ยวกับการ พบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน เช่น วงสงั คม งานสังคม คนจาํ นวนหนึ่งทม่ี ี ความสัมพนั ธต์ อ่ เนื่องกันตามระเบยี บ กฎเกณฑ์ โดยมีวัตถปุ ระสงคส์ ําคัญร่วมกนั เชน่ สงั คมชนบท

ประเภทของสังคม

สงั คมมนษุ ย์จากยคุ โบราณจนถงึ ปัจจุบันนี้มีสังคมหลายประเภท สามารถจดั ประเภทสงั คม ได้หลายวิธี ด้วยกัน สังคมเหล่านี้มีลักษณะแตกต่างกันออกไป บางสังคมมีลักษณะไม่ซับซ้อน บางสังคม กว้างไกลทาง เทคโนโลยี บางสังคมยงั คงใช้วิถชี วี ิตดง้ั เดิมแบบงา่ ย ๆ การจัดประเภทของสังคมอาจทาํ ได้หลายวธิ ี จําแนกตาม ลกั ษณะการครอบครอง ปัจจัยการผลิต อาทิ สังคมระบบทาส สังคมศักดินา สังคมทุนนิยม สังคมคอมมิวนิสต์ เผด็จการ สังคมแบบสงั คมนยิ ม

ภาพที่ 2.5 สงั คมชนเผา่ ของมนษุ ย์ 3

วิชา ชีวิตกับสงั คมไทย รหสั วิชา 30000-1501

1. สงั คมตามลักษณะความสัมพันธ์ของสมาชิก Ferdinand Tonnies นักสังคมวิทยาชาวเยอรมนั ไดแ้ บง่ สงั คมออกเปน็ 2 แบบ คือ

  1. สังคมแบบปฐมภูมิ (Gemeinschaft) เป็นสังคมที่สมาชิกมีความเป็นอยู่อย่าง ทําการเกษตร จับ ปลา ล่าสัตว์ มักอยู่รวมกันเป็นหมู่บ้าน สมาชิกรู้จักกันอย่างท่ัวถึง และมีความสัมพันธ์กัน แบบพ่ีน้อง สมาชิก ในสังคมจะมีฐานะความเป็นอยู่ท่ีคล้ายคลึงกัน ยึดถือจารีตประเพณีเป็นแบบอย่างใน การติดต่อสัมพันธ์และ ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ กลา่ วไดว้ า่ เป็นลกั ษณะของสังคมชนบทหรือประเพณี

ภาพท่ี 2.6 สงั คมปฐมภูมิการประมงพื้นบ้าน

  1. สงั คมแบบทตุ ยิ ภูมิ (Gesellchaft) เป็นสงั คมแบบชาวเมอื ง คือ สมาชิกมีการประกอบอาชีพท่ี แตกตา่ งกันตามความสามารถหรือตามความถนัดของแต่ละคน มีการแบ่งงานกนั ทำ สมาชิกสังคมจะติดต่อต่อ สมั พันธ์กันอย่างผิวเผิน ตามตำแหนง่ หน้าทีก่ ารงาน โดยมีผลประโยชนเ์ ปน็ แรงจงู ใจ การสร้างกฎเกณฑ์ ขอ้ บังคับ มีการสร้างขอ้ ตกลงหรอื กฏหมายขน้ึ มาควบคุมพฤตกิ รรมของสมาชกิ อย่างเป็นทางการ

ภาพที่ 2.7 สงั คมเรร่ ่อน

2. สงั คมตามลกั ษณะการดำรงชีพ ทำมาหากินประกอบอาชพี Ferdinand Tonnies นกั สงั คมวิทยาชาวเยอรมนั ได้แบ่งสงั คมออกเปน็ 2 แบบ คือ

  1. สงั คมล่าสตั ว์และเก็บอาหาร (Hunting and gath erring society) เป็นสงั คมในยคุ หนิ สมาชกิ

อยู่รวมเปน็ กลุ่มเล็ก ๆ ดำรงชีวติ อย่างง่ายๆ อาศยั เร่ร่อน หาพชื ผกั ผลไม้ ทีม่ ชี วี ิตอยตู่ ามธรรมชาติ มีเคร่ืองมือ ในการทำมาหากนิ เชน่ หิน บ่วง ธนู หอก สมาชิกเปน็ ญาตพิ น่ี ้องกนั เชน่ สังคมผตี องเหลอื งในประเทศไทย

วิชา ชีวิตกับสังคมไทย รหสั วิชา 30000-1501 4

ภาพที่ 2.8 สงั คมเล้ืยงสัตว์

  1. สังคมเลี้ยงสัตว์ (Herding Society) เป็นสังคมของคนทีม่ ชี วี ิตอยูก่ ับฝงู สตั วเ์ ลีย้ ง เช่น ชา้ ง มา้ ววั ควาย แพะ เป็นพวกเรร่ อ่ น มีความชํานาญในการรบพุ่งกับฝูงสตั ว์ เริ่มมกี ารสะสม ทรัพยส์ มบัติ สามารถขน ย้ายไปกับฝูงสตั ว์ แต่ละครอบครัวมฐี านะไมเ่ ท่าเทียมกนั สังคมประเภทนี้ ยังอาศัยแถบท่ีราบ ท่งุ หญา้ ภูเขา ที่ ราบสูง เหมาะแกก่ ารเล้ยี งสตั ว์
  1. สงั คมกสกิ รรม (Atarian society) เป็นสังคมเกดิ ข้ึนประมาณ 6,000 ปมี าแลว้ ปจั จัยสําคัญทาํ ให้ เกิดสงั คมประเภทนี้ข้ึน การค้นพบบันไดมาใช้ในการเพาะปลกู ใหม้ ีประสิทธภิ าพสูงขึน้ กวา่ การเพาะปลูกแบบ ด้งั เดมิ ไดผ้ ลผลิตมากขน้ึ จนสามารถเลยี้ งคนจํานวนมากได้ เกิดเมืองขนึ้ ในสงั คมประเภทน้ี กล่มุ คนที่อาศยั อยู่ ในเมืองประกอบอาชีพแตกตา่ งกนั ไป เชน่ อาชพี พ่อค้า อาชีพ ช่างฝีมือ ข้าราชการ ทหาร นกั ปกครอง วัฒนธรรมของชาวเมอื งเพ่ิมพูนข้ึนจนเปน็ อารยธรรมสังคม กสิกรรมมีขนาดใหญ่จนเปน็ อาณาจักร
  1. สังคมทําไร่ (Horticultural Society) หรอื เรยี กอกี อยา่ งหนึ่งวา่ สงั คมพืชสวน เปน็ สงั คมทม่ี ีมานาน 12,000 ปีมาแลว้ การดํารงชีวติ อยู่ด้วยการเพาะปลูกแบบด้งั เดิม มเี คร่ืองมือง่าย ๆ ในการทาํ มาหากนิ สมาชกิ ของสังคมเป็นญาตพิ ่นี ้องกัน มกี ารต้ังถ่ินฐานค่อนขา้ งถาวร อยูเ่ ป็นหมู่บา้ น ขนาดใหญ่ หลายหมบู่ ้านในอาณา บรเิ วณมสี มาชกิ จํานวนมากข้ึน วัฒนธรรมของสังคมเร่ิมซํ้าซ้อน เมื่อเทียบกบั สังคมล่าสัตวแ์ ละเก็บอาหาร หรือ สงั คมเลี้ยงสตั ว์
  1. สังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) เร่ิมเกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ ปลายศตวรรษท่ี 18 อันเกิดจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม มีการคิดค้นใช้เคร่ืองจักร เทคโนโลยี ใช้พลังงาน ต่าง ๆ ในการผลิต แทนแรงงานคนและสัตว์ จัดทําโรงงานขนาดใหญ่ นําเอาเคร่ืองจักรทางอุตสาหกรรม เข้ามาใช้ เกิดเมือง ศูนยก์ ลางการค้าขายและอุตสาหกรรม กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ในสังคมอย่างมากมาย

ในยุคสังคมอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ในสังคมของคนแตกต่าง เหลื่อมล้ำกัน อย่างส้ินเชิง ละทิ้งไร่นา มาเป็นกรรมกรในเมือง ถกู เอารัดเอาเปรยี บจากนายทนุ ความเทา่ เทียม ในสงั คมอตุ สาหกรรมจงึ ลดนอ้ ยลง

วชิ า ชวี ิตกบั สงั คมไทย รหสั วชิ า 30000-1501 5

ภาพท่ี 2.9 สังคมอุตสาหกรรม

ความหมายของการจดั ระเบียบทางสังคม

พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้กล่าวถึงความหมาย ของการจัด ระเบียบสังคมดังนี้ การจัดระเบียบสงั คม หมายถึง การจดั หน่วยหรอื กลุ่มของสังคมเป็น ส่วนย่อยอย่างมีระบบ โดยคํานึงถงึ เร่ืองเพศ อาย เครือญาติ อาชีพ ทรัพย์สนิ เอกสิทธิ์ อํานาจ สถานภาพ ฯลฯ แต่ละส่วนย่อยย่อมมี หน้าที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน โดยมีแบบอย่าง กฎหมาย ระเบียบ รวมท้ังประเพณีเป็นแนวดําเนินหรือปฏิบัติ สังคมต่าง ๆ เมื่อมองในแง่สังคมวทิ ยาสามารถตคี วาม ได้วา่ สงั คมก็คอื ระบบองคก์ รท่ซี ับซ้อนนัน่ เอง

การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดข้ึนเพ่ือควบคุมสมาชิก ให้มี ความสมั พันธก์ ันภายใตแ้ บบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกนั เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย ในสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง การกระทําร่วมกันอย่างสงบในหมู่ชนที่แตกต่างกัน ในสังคม คน ส่วนมากทํางานโดยมีจุดมุ่งหมายท่ีเป็นอุปสรรคและการยอมรับตามบทบาทและ ตําแหน่งอันมีอยู่ เพ่ือความ เป็นระเบียบเรียบร้อยทางสังคม นอกจากนั้นสมาชิกของสังคมควรมี รูปแบบในจุดประสงค์ จุดมุ่งหมาย และ แผนต่าง ๆ รว่ มกนั

ตามความเห็นของ Ogburn and Nimkoff “การจัดระเบยี บทางสงั คมเป็นการรวม ส่วนทแี่ ตกตา่ งกัน ของคนให้ปฏบิ ตั ิหน้าที่กนั เป็นกลุ่ม การกระทาํ ทคี่ ิดขึน้ เพ่ือการไดม้ าบางส่ิงท่ีเราทํา”

มาร์วิน อ. ออลเซน (Marvin E. Olsen) กลา่ ววา่ การจดั ระเบยี บสงั คมเปน็ กระบวนการ ทนี่ าํ ไปสู่ ความมีระเบยี บในการดํารงชีวติ ของมนุษย์ในสังคม

ความหมายของการจัดระเบียบทางสงั คม การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง วิธีการท่ีคนในสังคมกําหนดขึ้นเพ่ือใช้เป็นกฎระเบียบ กฎเกณฑ์

แบบแผน ในการอยู่ร่วมกันของสมาชิก โดยสมาชิกได้ยอมรับเป็นแนวปฏิบัติร่วมกัน และปฏิบัติสืบทอดกันมา จนเป็นบรรทดั ฐานในการดําเนินชีวติ ร่วมกนั

ประเภทบรรทดั ฐานทางสงั คม

ในสังคมหรือกลุ่มย่อย ต้องมีกฎเกณฑ์ที่เรียกว่า บรรทัดฐานทางสังคม อาจจําแนกได้ มากมายตาม ลักษณะการควบคุมของผู้ปฏิบัติ ตามความหนักเบาของโทษที่กระทํา ประกอบกับ ลักษณะท่ีมาของ ความสาํ คัญของบรรทัดฐานน้ัน ๆ แต่ในท่นี ้แี บง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

วิชา ชีวิตกบั สังคมไทย รหสั วิชา 30000-1501 6

1. วถิ ีประชา (Folk ways) เปน็ แบบแผนท่ีเรา ยอมรบั ปฏิบัติตามจนเปน็ ประเพณี ธรรมเนียมนยิ ม ปฏิบัติ ในชวี ิตประจําวัน หรอื เรียกอีกชื่อหน่งึ วา่ “ธรรมเนยี ม” ปฏิบัติ จนเกิดความเคยชินเปน็ บรรทดั ฐานทาง สังคม การฝ่าฝนื ธรรมเนียม ไม่ถือว่าเปน็ เรื่องร้ายแรง การปฏิบตั ติ ามกไ็ มม่ ีกฎหมายหรือ ข้อบังคับ ข้อปฏิบัติ เครง่ ครัด เชน่ ไม่มีกฎหมายบังคบั ให้

แต่ละสังคมจะมีวิถชี าวบา้ น ยดึ ถือปฏบิ ัตสิ บื ต่อกันมา เปน็ ธรรมเนยี มนยิ ม หรอื การแต่งกายในโอกาส ตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ โดยมปี จั จยั เพศ วัย อายุ สถานภาพ เขา้ มาเกยี่ วข้อง การใช้คาํ พดู ภาษา ให้ถกู ต้องกับกาลเทศะ การยกมือไหว้ การกลา่ วคาํ ว่า “สวัสดี” ผนู้ อ้ ยทักทายผู้ใหญ่ มารยาทในการ รับประทานอาหาร ส่วนมากเป็นวถิ ปี ระชา เกย่ี วข้องกบั การดํารงชวี ิต

ภาพที่ 2.10 วถิ ปี ระชา การไหว้

การดาํ รงชวี ิตประจาํ วนั ของมนษุ ย์ ทกุ คนตอ้ งมวี ิถีประชาเพราะเปน็ บรรทดั ฐาน การปฏิบัติ ซึ่งถอื วา่ เปน็ ขอ้ ผกู พันในสถานการณ์บางอยา่ ง เปน็ แบบแผนบังคับทางอ้อม

2. กฎศีลธรรม หรือวินัยจรรยา (Mores) หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า “จารีต” เป็น บรรทัดฐานท่ีถือว่า สําคัญในความรู้สึกของคนท่ัวไปในสังคม กฎศีลธรรมต่างกับวิถีประชา เพราะมี ศีลธรรม จรรยา เข้ามามีส่วน รว่ มดว้ ย จึงเป็นกฎ มีความสําคัญต่อสวัสดภิ าพ มนุษยธรรมของ มนุษย์ในสังคม มีการบังคับให้ปฏิบัติ และจะ มีความรู้สึกรุนแรงถ้าใครฝ่าฝนื เป็นเรื่องความผิดถูก การกระทําใดเป็นกรอบดกี รอบช่ัว การฝ่าฝืนกฎศีลธรรม ยึดถือโดยคนท่ัวไป ผู้ฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ จากสังคม บางสังคมลงโทษประชาทัณฑ์ถึงตาย เช่น ห้ามทําร้าย พ่อแม่ ไม่ทารุณสัตว์ ข่มขืน กระทําชําเราหญิง ห้ามเปิดเผยความลับของคนป่วยโรคเอดส์ ห้ามไม่ให้เนรคุณ พอ่ แม่

กฎศีลธรรมเป็นสิ่งท่ีมนุษย์ท่ัวไปเชื่อว่า จําเป็นสําหรับการดํารงอยู่ของสังคม ดังน้ันมนุษย์ส่วนใหญ่ จงึ ยอมรบั หรือยึดถือปฏบิ ัติ ยดึ กฎศลี ธรรมเป็นสิง่ ที่แตะต้อง ไม่ได้ ห้ามวิพากษ์วิจารณ์ ผฝู้ า่ ฝืนจะกลายเปน็ คน ช่ัวคนเลว ที่ต้องถูกลงโทษจากสังคม การลงโทษผู้ละเมิด กระทําโดย ชาวบ้านและญาติพ่ีน้องผู้นั้นเอง การ ควบคุมให้ปฏิบัติ กฎศีลธรรมสามารถทําได้อย่างเคร่งครัด เข้มงวดใน สังคมเล็ก ๆ หรือในชนบท ซ่ึงในเมือง ใหญ่ ควบคมุ ได้ยาก เพราะต่างคนต่างอยู่ ทําให้ละเมดิ ศลี ธรรมได้งา่ ย ละเมดิ ศลี ธรรมได้งา่ ย

วชิ า ชีวติ กับสงั คมไทย รหสั วชิ า 30000-1501 7

ภาพท่ี 2.11 กฎศลี ธรรม วงเวียนกรรม

3. กฎหมาย (Laws) กฎหมายเป็นส่ิงสําคัญอย่างยิ่งในสังคม คนอยู่ในสังคมสมัยใหม่มักคุ้นเคยกับกฎหมายด กฎหมายจะ

เกิดในสังคมที่มีองค์กรทางการเมือง สังคมขนาดเล็ก ระดับด้ังเดิมยังไม่มีกฎหมายควบคุม แต่ในยุคปัจจุบันคน ในสังคมชับซอ้ น การใช้วถิ ปี ระชาหรอื กฎศีลธรรมไม่อาจจดั ระเบียบทางสังคมได้ จงึ จาํ เป็นตอ้ งมีองค์กรสภานิติ บัญญัติ ออกกฎหมายควบคุมบังคับ ให้ทุกคนในสังคมยอมรับปฏิบัติตาม แต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ตํารวจ ทหาร ดแู ลควบคมุ ความประพฤตขิ องบุคคลในสังคม

กฎหมายมีหลายรูปแบบ มีการบัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร ใครฝ่าฝืนทําความผิดก็จะถูกลงโทษตาม ความหนักเบาของการกระทํา กฎหมายมีมานานแล้ว ควบคุมบังคับให้แตกต่างจากวิถีประชาและ กฎศีลธรรม ใช้ใหท้ ันต่อสถานการณ์ทเ่ี กดิ ข้นึ ในยุคปจั จุบัน

ภาพที่ 2.12 กฎหมาย 8

วชิ า ชวี ิตกับสังคมไทย รหสั วชิ า 30000-1501

รปู แบบการจดั ระเบยี บทางสังคม สังคมและกลุ่มสังคมมีความสัมพันธ์ ติดต่อ ส่ือสารกัน มีการจัดระเบียบสังคม ธรรมเนียม จารีต

ประเพณี และกฎเกณฑ์ทางสังคมใช้ควบคุมสถานภาพ Broom และ Seizniek ได้แบ่งรูปแบบการจัดระเบียบ ทางสงั คมไวด้ งั น้ี

ภาพที่ 2.13 การจดั ระเบียบทางสังคม

1. แบบเครอื ญาติ (Kinship) ได้แก่ การจัดระเบยี บสังคม โดยใช้บรรทดั ฐานและ สถานภาพในระบบ ครอบครัวเปน็ หลกั เช่น เด็กตอ้ งให้ความเคารพผู้อาวโุ ส ลูกตอ้ งให้ความเคารพ พ่อแม่ กฎความสัมพันธ์ ฉันญาตพิ ีน่ ้อง ควบคมุ ความประพฤติ หรือลกั ษณะการจดั ระเบยี บ สงั คม ชนเผ่าในสังคมชนบท

2. แบบจงรักภักดี (Fealty) หรอื แบบนายปกครองบา่ ว โดยยดึ ถอื ความสัมพนั ธ์โดย ความผูกพัน นายกบั บ่าว หัวหนา้ กบั ลกู นอ้ ง ผรู้ ับใชต้ อ้ งซ่ือสัตย์ ระบบเจ้าขุนมูลนายในสมัยสุโขทยั อยุธยา ในสมัยโบราณ

3. แบบช้ันวรรณะหรือสถานภาพ (Status) เป็นการจัดระเบียบสังคมท่ีมีกฎเกณฑ์ท่ีแน่นอน ตามสถานภาพ ติดตัวมาแต่กําเนิด หรือติดตัวอย่างถาวร (Fixect status) เช่น สังคมอินเดียโบราณ แบ่งช้ัน วรรณะ สังคมญ่ีปุ่นโบราณ แบ่งเป็นเจ้าขุนมูลนาย หรอื ซามูไร แต่ละฝ่ายใช้ชีวิตของตน แต่จํากดั ขอบเขตการ ดาํ รงชวี ติ

4. แบบพันธสัญญา (Contract) ความสัมพันธ์เกิดจากข้อตกลงท่ีทั้งสองฝ่ายกระทํา สัญญาต่อกัน โดยมีการเปลี่ยนผลประโยชน์ซ่ึงกันและกัน เป็นสังคมอุตสาหกรรมซึ่งสมาชิกส่วนให. สัมพันธ์กันในฐานะ นายจ้างเป็นสําคัญ รัฐมีบทบาทเป็นผู้ประสานประโยชน์ หรือคนกลางระหว่าง กลุ่มผลประโยชน์ท่ีผูกพันด้วย สญั ญา

5. แบบองค์กรหรือระบบ (Bureaucracy) เป็นลกั ษณะสงั คมสมยั ใหม่ เชน่ บรษิ ัท หน่วยงานของรัฐ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นองค์กรขนาดใหญ่ ดําเนินงานอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ขององค์กร ผู้มีอํานาจจัดการแบบ มืออาชีพ สมาชิกแยกไปปฏิบัติงานตามกลุ่มต่าง ๆ มีความสัมพันธ์แบบสายงาน คนอยู่ในสังคมแบบนี้เรียกว่า “มนุษย์องค์กร” (Organization man) หรือเป็น “มนษุ ย์เงนิ เดือน”

วิชา ชวี ติ กับสังคมไทย รหสั วชิ า 30000-1501 9

สถานภาพและบทบาท

มนุษย์ทุกคนต้ังแต่เกิดจะมีสถานภาพติดตัวมาแต่กําเนิด ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม จะต้อง ปฏิบตั ิหนา้ ที่ความรับผิดชอบท่ีกําหนดตามคู่กับสถานภาพน้นั เราเรยี กว่า การแสดงบทบาท “บทบาท” (role) จึงเป็นสิ่งท่ีควบคู่กับสถานภาพ ส่วนบทบาทเป็น พฤติกรรมที่เห็นเป็นการกระทําของบุคคลตามบรรทัดฐานท่ี กําหนดไว้

- ครูมสี ถานภาพเป็นครู เม่อื อย่โู รงเรียนสอนหนังสือ เป็น บทบาทที่กระทําอยู่ - เด็กทุกคนมีสถานภาพนกั เรียน บทบาทต้องไปโรงเรยี น

ภาพที่ 2.14 สถานภาพเปน็ ครแู สดงบทบาทครู

1. สถานภาพ (Status) หมายถงึ ตําแหน่ง หรอื ฐานะ ที่ไดจ้ ากการเปน็ สมาชิกของกลุ่ม หรอื สงั คม สิทธิหนา้ ท่ที ง้ั หมดท่ีบคุ คลมอี ยู่ เก่ียวขอ้ งกับผู้อ่นื และสว่ นรวม เป็นหนา้ ท่ีตําแหน่งรบั ผดิ ชอบ ตอ่ สังคม

ภาพท่ี 2.15 สถานภาพบทบาทต่าง ๆ

ทุกคนมีตำแหน่ง มาน้อยแตกต่างกันออกไป บางตำแหน่งมีเกือบทุกคน เช่น พ่อ – แม่ – ลูก – พี่ – น้อง บางตำแหน่งมีสถานภาพเฉพาะบุคคล เช่น ทหาร ตำรวจ ครู หมอ พยาบาล คำนำหน้านามฐานันดร ศักดิ์ เป็นต้น ในบุคคลคนเดียวอาจมีหลายสถานภาพได้ข้ึนอยู่กับบทบาทในช่วงเวลา สถานการณ์นั้น ๆ สิ่งท่ี กาํ หนดวา่ บุคคลในสถานการณ์นั้นๆ จะตอ้ งปฏบิ ัติตนอย่างไรจึงจะถกู ต้องเหมาะสม ก็คือบรรทัดฐาน อันได้แก่ วถิ ปี ระชา จารีต กฎหมาย เป็นต้น ควบคุมสถานภาพด้วย ดงั น้นั บุคคล จงึ ไมส่ ามารถทาํ อะไรตามใจชอบ หรือ อสิ ระทางสงั คมได้ เพราะไม่สามารถหลีกเลยี่ งกฎเกณฑข์ อง สงั คมได้

วิชา ชวี ิตกบั สงั คมไทย รหสั วิชา 30000-1501 10

สถานภาพมีลักษณะค่อนข้างคงท่ี ทุกกลุ่มทุกสังคมจะมีการกําหนดสถานภาพอะไรบ้าง สถานภาพ เก่ียวกับครอบครัว สถานภาพตําแหน่งหน้าท่ีการงาน การอยู่ร่วมกันในสังคม บุคคล สามารถรับรู้สถานภาพ ของคนอ่ืนในสงั คมแลว้ จะสรา้ งปฏิสัมพนั ธอ์ ย่างราบรื่นได้

ประเภทของสถานภาพ

  1. สถานภาพโดยกําเนิด (Ascribed status) เป็นสถานภาพที่บุคคลได้รับมาจาก กําเนิด เช่น เกิดมา เป็นคนไทย เป็นลูกเศรษฐี เป็นลูกครึ่งต่างชาติ เจ้าขุนมูลนาย การนับถือศาสนา เป็นไพร่ ความเป็นชายและ หญงิ
  2. สถานภาพโดยความสามารถ (Achieved status) เป็นสถานภาพท่ีได้มาภายหลัง ต้องยอมรับ ความสําเร็จของตัวเอง บุคคลสามารถเลือกและกําหนดได้จากตัวเอง เช่น แพทย์ ทหาร ตํารวจ ครู นักการเมือง

ภาพท่ี 2.16 สถานภาพโดยกําเนดิ ภาพท่ี 2.17 สถานภาพโดยความสามารถ

2. บทบาท (Role) บทบาท หมายถึง การปฏิบัติหน้าท่ี และการแสดงพฤติกรรมตามสถานภาพ บทบาท เป็นส่ิงที่มี

ความสัมพันธ์เป็นตัวกําหนดบุคคลให้รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ บทบาทเป็นตัวกําหนด พฤติกรรมคาดหมาย ให้บุคคลมีหลายสถานภาพ เกิดบทบาทขัดกัน (Roles Confcts) หมายถึง การที่คนคนหน่ึงมีบทบาทหลาย อย่างในเวลาเดยี วกนั

บทบาท คือ การปฏิบัติตน หน้าท่ีตามสถานภาพท่ีได้รับ เช่น พ่อแม่มีบทบาท คือเลย้ี งดูลูก นักเรยี นมี บทบาท คือต้องเล่าเรียนหนังสือ บทบาทเกิดจากการเรียนรู้ และถ่ายทอดระหว่างสมาชิก ในสงั คม ในขณะยัง เด็กรบั รูบ้ ทบาทและสถานภาพตา่ ง ๆ โดยสังเกตจากบคุ คลอ่นื และสง่ิ แวดลอ้ มรอบตน

ความสาํ คัญของบทบาททางสังคม ก่อใหเ้ กิดการกระทําตามสทิ ธิและหน้าที่ของสม ตามสถานภาพท่ี ตนดาํ รงอยู่ มีการรับและเอ้ือประโยชนร์ ะหวา่ งกัน เชน่ ครอบครัวประกอบด้วย มารดา และบุตร แต่ละคน ตา่ งมีสทิ ธิหน้าท่รี ะหว่างกนั ตามบทบาททีก่ ําหนด

วชิ า ชวี ติ กับสงั คมไทย รหสั วิชา 30000-1501 11

ภาพที่ 2.18 บทบาทของครอบครวั

ประโยชนข์ องสถานภาพและบทบาท มีดังนี้ 1. ทําให้บุคคลร้ฐู านะของตนเองในสังคม 2. ทําให้เกดิ การแบ่งหน้าท่กี ันในกลมุ่ สมาชกิ 3. ทาํ ให้บคุ คลมีความรับผดิ ชอบในหน้าท่ีของตน 4. ช่วยใหส้ งั คมเป็นระเบียบเรียบร้อย

แบบประเมนิ การเรยี นรู้ หน่วยที่ 2

ตอนที่ 1 จงตอบคําถามตอ่ ไปน้ี

1. การจัดระเบยี บทางสังคม หมายถึงอะไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. นกั สังคมวิทยาชาวเยอรมนั ไดแ้ บง่ สงั คมตามลกั ษณะการดํารงชพี ไวก้ ่ปี ระเภท ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. บรรทดั ฐานทางสงั คมแบ่งออกเป็น 3 ประเภท อะไรบา้ ง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. สงั คมกล่มุ สงั คม จัดระเบียบทางสงั คมได้อย่างไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

วิชา ชวี ิตกับสงั คมไทย รหสั วชิ า 30000-1501 12

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. การขัดเกลาโดยการจัดระเบียบทางสงั คมสามารถทาํ ได้อย่างไรบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

6. บุคคลทมี่ สี ถานภาพหลาย ๆ ด้านพรอ้ มกนั จะเกิดปัญหาใดได้บา้ ง จงยกตัวอย่างประกอบ ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

7. สาเหตุใดจงึ ตอ้ งจัดระเบยี บทางสงั คม ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

8. บรรทัดฐานทางสังคม หมายถงึ อะไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

9. องคป์ ระกอบของการจดั ระเบยี บทางสงั คมมีอะไรบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………. 10. คนเรามสี ถานภาพแบบไหนบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ตอนที่ 2 จงเลือกคาํ ตอบท่ถี ูกทสี่ ุด

1. วิถชี าวบา้ นคือการกระทําตามขอ้ ใด ก. สมศรีใส่ชุดดาํ ไปงานศพ ข. สมทรงเปน็ ลูกกตัญญู ค. สมศักด์ิเคารพกฎจราจร ง. สมหมายไดร้ ับมรดก

2. ขอ้ ใดแสดงความหมายของบรรทัดฐานทางสังคมไดช้ ดั เจนทีส่ ุด ก. การทําบญุ ตักบาตร ข. รดน้ำผู้ใหญ่ในวนั สงกรานต์ ค. แบบเรียนวิชาหนา้ ท่ีพลเมือง

วิชา ชีวิตกับสงั คมไทย รหสั วิชา 30000-1501 13

ง. นทิ านชาดก

3. เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งมกี ารจัดระเบียบทางสงั คม ก. มีหลายอาชีพรวมกนั ข. มีการตดิ ต่อกบั สงั คมอนื่ ค. สมาชิกในสังคมต้องดาํ รงชีวิตรว่ มกัน ง. ถกู ทุกข้อ

4. ข้อใด ไมใ่ ช่ องคป์ ระกอบของการจดั ระเบยี บสังคม ก. ฐานะทางสงั คม ข. สถานภาพทางสงั คม ค. ช่วงชนั้ ทางสงั คม ง. บรรทัดฐานทางสังคม

5. ตยิ าพรใสช่ ุดดาํ ไปงานศพ แสดงว่าติยาพรปฏบิ ตั ิตามบรรทัดฐานทางสงั คมข้อใด ก.จารีต ข. กฎหมาย ค. ขอ้ บงั คับหม่บู า้ น ง. วิถชี าวบ้าน

6. ปรชี ามีลกู 3 คน ทกุ ๆ วัน เขาสง่ ลูกไปโรงเรยี น สง่ ภรรยาไปทาํ งานเป็นพยาบาล กอ่ นไปสอนหนังสือ ปรชี ามีสถานภาพ ไม่เก่ียวข้อง ขอ้ ใด

ก. พ่อ ข. ครู ค. อาจารย์ ง. นักศกึ ษา 7. บรรทัดฐานทาํ ให้สังคมเกิดประโยชนอ์ ย่างไร ก. สังคมก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ข. สงั คมเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย ค. สงั คมมคี ุณภาพชวี ิต ง. สังคมเป็นประชาธิปไตย

8. บรรทัดฐานทางสงั คมในข้อใด ได้กําหนดบทลงโทษอยา่ งชัดเจน ก. จารีต ข. กฎหมาย ค. วถิ ปี ระชา

วชิ า ชีวิตกับสงั คมไทย รหสั วิชา 30000-1501 14

ง. วถิ ชี าวบา้ น

9. ขอ้ ความดังกล่าวคือบ้าน ซึ่งประกอบด้วยพ้นื เสา ฝาผนัง หลงั คา สอดคล้องกับลักษณะของเร่ืองใด ก. โครงสร้างทางสังคม ข. บรรทัดฐานทางสังคม ค. องคป์ ระกอบของสังคม ง. การจัดระเบยี บทางสงั คม

10. การอยู่รวมกันเปน็ กลุ่มมีความเก่ียวข้องและมีความสมั พันธก์ นั น้ัน แสดงถึงลกั ษณะของมนุษย์ในข้อใด ก. มนุษยม์ ีวฒั นธรรม ข. มนษุ ย์เป็นสัตวส์ งั คม ค. มนษุ ย์เปน็ สตั ว์ประเสรฐิ ง. มนุษย์ต้องพงึ่ พาอาศยั กัน

วชิ า ชีวติ กบั สังคมไทย รหสั วิชา 30000-1501 15

ใบงานท่ี 2.1

เรื่อง บรรทดั ฐาน สถานภาพ และบทบาท คําสง่ั : ให้นักศึกษาจาํ แนกประเภทของบรรทดั ฐานทางสงั คม

ลำดับ พฤตกิ รรม วถิ ปี ระชา ประเภทบรรทัดฐาน กฎหมาย จารตี ประเพณี 1 ถอดหมวกในบา้ น 2 แต่งชุดดาํ ไปงานศพ 3 ข้ามถนนทางมา้ ลาย 4 ใสร่ องเท้าออกนอกบ้าน 5 ลูกทอดท้งิ พ่อแม่ 6 บวชเมื่ออายุ 20 ปี 7 เคารพกฎจราจร 8 บรโิ ภคเน้อื เสือ 9 เคารพธงชาติ 10 ทจุ รติ ในหน้าท่ี

วชิ า ชีวติ กบั สังคมไทย รหสั วิชา 30000-1501 16

การจัดระเบียบทางสังคมหมายถึงอะไร

การจัดระเบียบสังคม หมายถึง กระบวนการที่ควบคุมสมาชิกในสังคมหนึ่งๆ เพื่อให้ทุกคนได้ปฏิบัติใน แนวเดียวกัน การจัดระเบียบสังคมนี้จะแตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคม ทาให้แต่ละสังคมมีความแตกต่างกัน ไป ทั้งนี้เป็นผลมาจากความคิด ความเชื่อ ค่านิยม ประวัติศาสตร์สภาพภูมิศาสตร์และบรรทัดฐานของสังคม นั้นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการสร้างองค์ประกอบ ...

ระเบียบสังคมมีความสำคัญอย่างไรต่อสังคม?

1. เพื่อให้การติดต่อสัมพันธ์กันทางสังคมเป็นไปอย่างเรียบร้อย 2. เพื่อป้องกันความขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม 3. ช่วยให้สังคมดำรงอยู่อย่างสงบสุขและมั่นคงในสังคม

ระบบคุณค่าทางสังคมหมายถึงอะไร

คุณค่าทางสังคม (Social Value) หมายถึง อรรถประโยชน์ที่ได้รับจากความสามารถ ของผลิตภัณฑ์ที่สามารถสะท้อนค่านิยม รสนิยม หรือสร้างเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่ผู้ซื้อและผู้ใช้ได้ ตามที่ต้องการ

บรรทัดฐานทางสังคมแบ่งออกเป็น 3 ประเภทอะไรบ้าง

การจำแนกประเภทของบรรทัดฐานทางสังคมวิทยานั้น แยกเป็น 3 ประเภท คือ 1) วิถีประชา (Folkways) 2) วินัยแห่งจรรยา (Mores) 3) กฎหมาย (Laws)