การข นย อหน าใหม และการข นบรรท ดใหม ม ว ธ

คำนำ การฝึกทหารใหม่ของ ทบ. เป็นการฝึกท่ีมีความมงุ่ หมาย เพื่อให้ทหารกองประจาการทุกเหล่าใน ทบ. ท่ีเข้ามารับราชการทหารตาม พ.ร.บ.การรับราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗ ได้รับการฝึกในวิชาทหารเบื้องต้น เป็นรายบุคคลให้มีมาตรฐานเดียวกันท่ัวท้ัง ทบ. และนาไปใช้เป็นพื้นฐานในการเข้ารับการฝึกศึกษา ตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกของแต่ละเหล่าในข้ันสูงได้อย่างต่อเน่ือง และเป็นผลสาเร็จตามนโยบาย ทผ่ี บู้ ังคบั หน่วยกาหนด การฝึกทหารใหม่ในปัจจุบันหน่วยฝึกต้องยึดถือการฝึกตามระเบียบและหลักสูตรการฝึก และ ที่ได้รับ การแก้ไขเพ่ิมเติม เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายของผู้บังคับบัญชาและสภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตาม จากการตรวจ เยี่ยมการฝึก พบว่าส่วนท่ีเกี่ยวข้องยังมีการปฏิบัติท่ีไม่สอดคล้องกับนโยบายการฝึก, คาส่ัง และ คาชี้แจงตามท่ี ทบ. กาหนด ตลอดจนการพัฒนาคุณลักษณะของครูฝึก ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการฝึกทหารใหม่ ให้ได้รับความรู้ทาให้ การฝึกมีประสิทธภิ าพลดลง ไมเ่ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ซึ่งเป็นผลเสียตอ่ ภาพลักษณ์ที่ดีต่อ ทบ. คาแนะนาการฝึกทหารใหม่ฉบับน้ีได้ยึดถือตามระเบียบและหลักสูตรการฝึก การฝึกทหารใหม่ เบื้องต้นทั่วไป สาหรับทหารทุกเหล่าของ ทบ. (๑๐ สัปดาห์) พ.ศ. ๒๕๖๒ เพ่ิมเติมเร่ืองที่ทาการฝึกบุคคล ท่าเบื้องต้น ตามคู่มือการฝึก ว่าด้วย แบบฝึกบุคคลท่ามือเปล่า และบุคคลท่าอาวุธ โรงเรียนทหารมหาดเล็ก ราชวัลลภรักษาพระองค์ พ.ศ.๒๕๖๐ โดยได้กาหนดรายละเอียดท่าฝึกเพิ่มเตมิ และหัวข้อในการสอนอบรม จานวน ๗ หัวข้อ, เพิ่มเติมแนวทางการพัฒนาความสมบูรณ์แข็งแรงทางร่างกายสาหรับทหารใหม่ เพ่ือให้ ผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการฝึก ได้ศึกษาและทาความเข้าใจได้อย่างเป็นลาดับขั้น, เพ่ิมเติมตารางการตรวจสอบรายวิชา การฝึกจานวน ๕๐๐ ช่ัวโมง เพ่ือให้ผู้ฝึกทหารใหม่สามารถตรวจสอบและกากับดูแลรายวิชาการฝึกสอน ให้เป็นไปตามระเบียบและหลักสูตรการฝึกฯ ในส่วนของระเบียบ, คาสั่ง, คาชี้แจง, แนวทางการปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกทหารใหม่ และการจัดต้ัง บก.หน่วยฝึกทหารใหม่ ในเอกสารเล่มนี้ ตลอดจนตัวอย่างคาส่ังการฝึก, แผนบทเรียน ตาม รส.๒๑ – ๖ ได้เพิ่มเติมข้อเน้นย้าท่ีสาคัญ คือ การคัดเลือกผู้ท่ีจะต้องมาปฏิบัติหน้าท่ี ครฝู ึกทหารใหม่ ต้องผ่านการตรวจสอบอยา่ งเข้มงวด รายละเอียดตามท่แี นบในเล่มแลว้ ส่วนนอกนนั้ ยงั คงไว้เชน่ เดิม ทั้งนี้คาแนะนาการฝึกทหารใหม่เล่มนี้ เป็นเพียงแนวทางในการจัดการฝึก ผู้บังคับหน่วยจะต้องนาระเบียบและ หลักสูตรการฝึก, คู่มือการฝึก, คู่มือราชการสนาม ตลอดจนคาแนะนา และเอกสารหลักนิยมที่เกี่ยวข้อง มาพิจารณาประยุกต์ใช้ ในการวางแผนจัดการฝึกให้เหมาะสมและสอดคล้องกับภาระหน้าที่ของทหารใหม่ ที่จะต้องปฏิบัติตามภารกิจของหน่วย รวมถึงสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เพื่อฝึกทหารใหม่ให้มีทักษะ และมีความ ชานาญ จนสามารถปฏิบัติหน้าที่ตอบสนองภารกิจของหน่วย ให้บรรลุผลสาเร็จได้อย่างดียิ่ง ยศ.ทบ. หวังว่าเอกสารเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บังคับบัญชาทุกระดับต้ังแต่ ผู้ฝึก, ผู้ช่วยผู้ฝึก, ครูนายสิบ และครูทหารใหม่ ได้เข้าใจถึงการจัดการฝึกและการดาเนินการฝึกได้ถูกต้อง ตลอดจนเป็นแนวทาง การแก้ไขปัญหาในด้านการฝึก ให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามนโยบายของ ทบ. โดยจะไม่ กอ่ ให้เกดิ บาดเจบ็ และการสญู เสยี จากการฝกึ และนาไปสภู่ าพลกั ษณท์ ี่ดีตอ่ ทบ. ตอ่ ไป ยศ.ทบ.

บญั ชีรายการแจกจา่ ย ลำดับ รำยกำร อัตรำจ่ำย หมำยเหตุ หน่วยละ ๑ กรมฝ่ำยเสนำธิกำร (๖), กรมฝำ่ ยกจิ กำรพิเศษ (๖), กรมฝ่ำยยทุ ธบรกิ ำร (๙) ๑ ๒ ทภ. (๔) ๒ ๓ ทน. (๔), นสศ., นปอ., นรด., รร.จปร., ๑ ๔ พล.ร. (๑๐), พล.ม.(๓), พล.ป. ๒ ๕ พล.พฒั นำ (๔), พล.ปตอ., พล.รพศ., พล.ช., ๑ ศสพ., ขกท., ศบบ., ศสร. ๑ ๖ มทบ. (๓๕), บชร. (๔) ๒ ๗ กรม ร. (๒๗), กรม ม. (๗), กรม ป. (๑๐) ๑ ๘ กรม ช. (๕), กรม ส. (๑), กรม ขส.รอ. (๑), ๓ กรม ปตอ. (๒), กรม พฒั นำ (๔), กรม สน. (๔), ๑ ศปภอ.ทบ. (๔), ๑ ๙ ศร., ศม., ศป. ๑ ๑๐ ศฝยว.ทบ., รร.นส.ทบ. ๒๐ ๑๑ นขต.บก.ยศ.ทบ. ๖๐๐ ๑๒ หนว่ ยฝกึ ทหำรใหม่ ๑๓ อะไหล่ รวมทัง้ สิน้ หมำยเหตุ ๑. หนว่ ยจะได้รับเอกสำรตำมรำยกำรแจกจ่ำย ๒. สำมำรถคัดลอกขอ้ มลู ไดจ้ ำก www.atc-rta.com ตรวจถูกตอ้ ง (ลงช่ือ) พ.อ.เฉลิมพล จันดำ (เฉลมิ พล จันดำ) ผอ.กตฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.

สารบญั คานา หนา้ ๑–๑ บทที่ ๑ กล่าวทวั่ ไป บทที่ ๒ การจดั การฝกึ ๒-๑ ตอนที่ ๑ การเตรียมการฝึก ๒-๑ ๑. การจัดตง้ั หน่วยฝึก ๒-๑ ๒. ผ้บู ังคับหนว่ ยทกุ ระดบั ชัน้ ๒-๑ ๓. เจ้าหนา้ ท่ีในหนว่ ยฝกึ ทหารใหม่ ๒-๑ ๔. คณุ ลกั ษณะพึงประสงค์ของ ผฝู้ ึก , ครนู ายสบิ และครทู หารใหม่ ๒-๒ ๕. การจดั เตรียมเครือ่ งชว่ ยฝึก , แผน่ ภาพเคร่ืองช่วยฝกึ และอปุ กรณก์ ารฝึก ๒ - ๓ ๖. พื้นท่กี ารฝกึ และสนามฝกึ ๒-๓ ๗. การจดั ทาคาสั่งการฝกึ ๒-๔ ๘. การดาเนินกรรมวธิ ดี ้านธรุ การตอ่ ทหารใหม่ ๒-๗ ๙. ตัวอย่าง การวางแผนการจดั ทาตารางกาหนดการฝกึ เป็นสปั ดาห์ ผลดั ท่ี ๒/๖๓ ๒ - ๘ ๑๐. ตัวอยา่ ง การวางแผนการจดั ทาตารางกาหนดการฝึกเปน็ สปั ดาห์ ผลัดที่ ๑/๖๔ ๒ - ๙ ๑๑. การปฏบิ ัตใิ นการสง่ กาหนดการฝกึ ๒ - ๑๐ ๑๒. ตวั อย่างคาส่งั การฝึกทหารใหม่ ๒ - ๑๒ ๑๓. การฝึกทหารใหม่เฉพาะหนา้ ที่ ๒ - ๓๓ ๑๔. แผนบทเรยี น ๒ - ๓๓ ๑๕. เร่อื งอ่นื ๆ ๒ - ๔๑ ๑๖. การเตรยี มการรับตรวจการฝกึ ทหารใหม่ ๒ - ๔๓ ๑๗. รายการแผนบทเรียนทจี่ ะตอ้ งจัดทาในการฝึกแต่ละหลกั สูตรการฝกึ ๒ - ๔๗ ๑๘. แนวทางการจัดบอร์ด/ข้อมูล/เอกสารใน กอ.ฝึกทหารใหม่ ๒ - ๔๙ ตอนที่ ๒ การดาเนนิ การฝกึ ๒ - ๖๐ ๑. รปู แบบและลักษณะการฝกึ ๒ - ๖๐ ๒. การฝึกที่เน้นผลการปฏิบัติ ๒ - ๖๑ ๓. วธิ กี ารฝกึ ๒ - ๖๑ ๔. การทบทวนหลังการปฏบิ ัติ (ทลป.) ๒ - ๖๒ ๕. การประเมนิ ผลการฝกึ โดยต่อเนอ่ื ง ๒ - ๖๓ ๖. เร่อื งที่ทาการฝึก ๒ - ๖๓ ตอนที่ ๓ การประเมนิ ผลการฝกึ ทหารใหม่ ๒ - ๖๘ ๑. การประเมินผล ๒ - ๖๘ ๒. เจ้าหนา้ ที่ประเมินผล ๒ - ๖๘

-๒- ๓. วธิ ดี าเนนิ การประเมินผล ๒ - ๖๘ ๔. การรายงานผลการประเมิน ๒ - ๖๙ ๕. แบบฟอรม์ การประเมินผลการฝกึ เปน็ บุคคล ๒ - ๗๐ ๖. แบบฟอร์มตารางแสดงผลการฝกึ เป็นส่วนรวม ๒ - ๗๒ ตอนที่ ๔ การสนับสนนุ การฝกึ ๒ - ๗๓ ตอนที่ ๕ ตารางตรวจสอบรายวิชาจานวน ๕๐๐ ชัว่ โมง ๒ - ๗๕ บทที่ ๓ นโยบาย, คาส่งั , วทิ ยุฯ สงั่ การและคาแนะนาท่เี ก่ียวข้องกบั การฝึกทหารใหม่ ๓-๑ ตอนที่ ๑ นโยบายการฝึก ๓-๑ ๑. นโยบายการฝึกทหารใหม่กองทพั บก ๓-๑ ๒. นโยบายการฝกึ ทหารใหม่ จก.ยศ.ทบ. ๓-๖ ๓. คาสั่ง ทบ.(เฉพาะ)ท่ี ๕๐๕/๕๗ ลง ๑๗ พ.ค.๕๗ เรือ่ ง การป้องกนั และเฝา้ ระวงั การ บาดเจ็บจากความร้อน ในการฝึกทหารใหม่ ๓–๙ ๔. คาสงั่ ทบ.(เฉพาะ)ที่ ๕๐๖/๕๗ ลง ๑๗ พ.ค.๕๗ เร่ือง การปอ้ งกนั และเฝา้ ระวัง การบาดเจ็บจากความร้อน ในการฝกึ ๓ - ๑๒ ๕. คาสัง่ ทบ.ที่ ๖๕/๒๕๔๒ ลง ๓ ก.พ. ๔๒ เรอื่ ง การพฒั นาคุณภาพชีวิตทหาร กองประจาการ ๓ – ๑๔ ๖. ขอ้ เน้นยา้ มาตรการนิรภัยในการฝึก (เพอื่ พลาง) ๓ – ๒๓ ตอนท่ี ๒ แนวทางป้องกันทหารใหม่เจ็บป่วย ๓ – ๒๖ ตอนท่ี ๓ คาอธิบายเพม่ิ เตมิ การใช้เครือ่ งช่วยฝกึ และอาวุธ ๓ – ๓๕ ๑. วิธกี ารใช้เคร่ืองช่วยฝกึ คานเลง็ , ชอ้ นเล็ง, หีบเลง็ และสนามยงิ ปืนเบอ้ื งตน้ ๓ – ๓๕ ๒. ตวั อย่างชอ้ นเลง็ และคานฝกึ เล็งท่ปี รบั ปรุงแกไ้ ข ๓ – ๓๗ ๓. ข้อเนน้ ยา้ การใช้อาวุธประจากาย/ประจาหน่วย ๓ – ๔๐ ตอนท่ี ๔ เคร่ืองช่วยฝึกปืนเล็กยาว เอ็ม.๑๖ จาลองประกอบอปุ กรณ์การเล็งด้วยแสงเลเซอร์ ๓ – ๔๑ ตอนท่ี ๕ การฝกึ ยิงปืนประกอบการเคลอ่ื นท่ี ๓ – ๔๓ ๑. คาอธบิ ายเพิม่ เติมประกอบการสร้างสนามฝกึ ยิงปืนประกอบการเคลือ่ นที่ ๓ – ๔๓ ๒. ภาพรวมสนามฝึกยิงปืนประกอบการเคลอื่ นที่ ๓ – ๔๔ ๓. รปู ภาพตัวอย่างเครอ่ื งกาบงั ประกอบการสร้างสนามยงิ ปืนประกอบการเคลอื่ นที่ ๓ – ๔๕ ๔. การปฏิบัติในการฝึกยงิ ปนื ประกอบการเคล่อื นท่ี ๓ – ๔๖ ๕. การฝึกยงิ เปน็ คู่ ๓ – ๔๗ ๖. ภาพสงั เขปการยิงปืนเปน็ คู่ ๓ – ๔๙

-๓– ๓ – ๕๐ ๓ – ๕๓ ตอนท่ี ๖ การฝกึ ศลิ ปะการตอ่ สปู้ อ้ งกันตัว ๓ – ๖๐ และการพฒั นาความสมบรู ณแ์ ขง็ แรงทางรา่ งกายของทหารใหม่ ตอนที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ ท่เี กย่ี วข้องกับการฝึกทหารใหม่ *****************************************

๑–๑ บทท่ี ๑ กล่าวทัว่ ไป ๑. ความมุ่งหมาย คำแนะนำกำรฝกึ ทหำรใหม่ ยศ.ทบ. ฉบับน้ี กำหนดข้นึ โดยมีควำมมุง่ หมำยดงั นี้ ๑.๑ เพื่อใช้เป็นแนวทำงสำหรับกำรฝึกอบรมทหำรใหม่ในทุกเหล่ำของ ทบ.ท่ีเข้ำมำรับรำชกำรทหำร ตำม พ.ร.บ.รับรำชกำรทหำร พ.ศ. ๒๔๙๗ ๑.๒ เพ่ือที่จะให้ทหำรใหม่ทุกเหล่ำของ ทบ. ได้ฝึกศึกษำวิชำกำรทหำรเบื้องต้นเป็นรำยบุคคลได้อย่ำง ถูกต้องและมมี ำตรฐำนเดยี วกนั ทัง้ ทบ. ๑.๓ เพื่อให้ทุกหน่วยฝึกทหำรใหม่ของ ทบ. ได้ดำเนินกำรฝึกทหำรใหม่ให้มีประสิทธิภำพตำมมำตรฐำน ท่กี ำหนด และสำมำรถเขำ้ รบั กำรฝึกในเบื้องสงู ได้อย่ำงตอ่ เนอ่ื ง ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชำตำมลำดับชั้นจนถึงผู้ฝึกทหำรใหม่ เข้ำใจข้ันตอนและวิธีกำรปฏิบัติในกำรฝึก ทหำรใหมอ่ ย่ำงถูกต้อง และสอดคล้องกับนโยบำยกำรฝึก, คำสั่งกำรฝกึ ฯ คำช้แี จงต่ำง ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกับกำรฝึก ทหำรใหม่ ตำมท่ี ทบ.กำหนด โดยเคร่งครัด ๒.๒ เพื่อให้หน่วยฝึกทหำรใหม่ทุกหน่วยใน ทบ. ได้มีแนวทำงในกำรปฏิบัติกำรฝึกทหำรใหม่ท่ีถูกต้อง และ เปน็ มำตรฐำนเดียวกันทั้ง ทบ. ๒.๓ เพื่อใช้เป็นแนวทำงในกำรตรวจและประเมินผลกำรฝึกทหำรใหม่สำหรับผู้บังคับบัญชำ ฝ่ำยอำนวยกำร และ ผฝู้ ึกทหำรใหม่ ๓. หลักฐานการฝกึ ๓.๑ ระเบียบและหลักสูตรกำรฝึก กำรฝึกทหำรใหม่เบ้ืองต้นท่ัวไป สำหรับทหำรทุกเหล่ำของ ทบ. (๑๐ สัปดำห์) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓.๒ คู่มือกำรประเมินผลกำรฝึกทหำรใหม่เบื้องต้นทั่วไป สำหรับทหำรทุกเหล่ำของ ทบ. (๑๐ สัปดำห์) พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓.๓ คำแนะนำกำรฝึกทหำรใหม่ ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๔ (๑ ต.ค. ๖๓ – ๓๐ ก.ย. ๖๔) ๓.๔ คำส่งั ทบ.(เฉพำะ) ท่ี /๖๓ ลง ก.ย. ๖๓ เรอ่ื ง กำรฝกึ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓.๕ เอกสำรประกอบกำรฝกึ ทหำรใหม่ โดย ยศ.ทบ. ฉบบั ปรบั ปรุงใหม่ปี ๒๕๕๐ ๓.๖ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั คำส่งั คำช้แี จง ประกำศ และวิทยุสงั่ กำรตำ่ ง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ งกับกำรฝึกทหำรใหม่

๒-๑ บทที่ ๒ การจดั การฝก ตอนท่ี ๑ การเตรยี มการฝก ๑. การจัดตั้งหนวยฝก : การจัดตั้งหนวยฝกทหารใหมมีความมุงหมาย เพ่ือใหมีคณะบุคคลท่ีมี ความรูความสามารถ และเขาใจในนโยบายดานการฝกทหารใหมของ ทบ. ไดอยางถองแทดําเนินการฝกอบรม อํานวยการ กํากับดูแล รวมถึงการเตรียมการดานธุรการ และการประสานงานท่ีเกี่ยวของกับการฝกทหารใหม ใหบรรลุผลตามความมุงหมายของ ทบ. อันจะทําใหทหารใหมทุกนายในทุกเหลาของ ทบ. ไดรับการฝกศึกษา วิชาการทหารเบ้ืองตนท่ีเปนมาตรฐานเดียวกัน และเปนพื้นฐานที่เหมาะสมในการฝกศึกษาหลักสูตร การฝกของแตละเหลา ตอไปไดอยางตอเนื่อง และมีประสิทธิภาพสูงสุดตอไป ท้ังนี้ การเรียกชื่อหนวยฝกทหารใหม ใหใ ชช ่ือวา “หนว ยฝก ทหารใหม (นามหนวย)” เชน “หนวยฝกทหารใหม ร.๒๒ พัน.๒” เพ่ือใหเปนแบบอยาง เดยี วกันทงั้ ทบ. การจัดต้ังหนวยฝกทหารใหม นขต.ทบ. เปนผูพิจารณา จัดตั้งหนวยฝกทหารใหมของหนวยรอง ของตน ระดับหนวยท่ีรับผิดชอบการฝกทหารใหม ควรเปนหนวยระดับกองพันหรือเทียบเทาข้ึนไป นขต.ทบ. ทีไ่ มมีหนว ยรองใหพจิ ารณาฝากการฝก กบั หนว ยขางเคียง โดยหนวยฝกทหารใหมจะตองมคี ุณสมบัติ ดังนี้ ๑.๑ ในการจัดต้ังหนว ยฝกทหารใหม ตอ งมีการบรรจุทหารใหมภ ายในหนวยฝกอยางนอ ยทส่ี ุด ๘๐ นาย ตอ ๑ หนวยฝก และไมควรบรรจุทหารใหมมากกวา ๑๖๐ นาย/หนวยฝก เน่ืองจากขอจํากัดของอาคารที่พัก และส่ิงอํานวยความสะดวกตาง ๆ อาจไมเพียงพอ มีความแออัด และการกํากับดูแลใหท่ัวถึงกระทําไดยาก เปน ผลเสยี ตอ การจดั การฝก เปน ตน ๑.๒ มีพ้ืนที่ฝก/สนามฝก สนามยิงปนของหนวยเอง สามารถดําเนินการฝกไดทุกเวลา โดยไมตอง ขอรบั การสนบั สนุนจากหนวยอ่นื ๑.๓ มีอาคารสถานที่ และส่ิงอํานวยความสะดวกเปนสัดสวน มีเอกภาพในการควบคุมบังคับบัญชา และตองไดตามเกณฑมาตรฐานตามคําสั่ง ทบ. ท่ี ๖๕/๒๕๔๒ ลง ๓ ก.พ. ๔๒ เรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตทหาร กองประจําการ ๑.๔ มีเครื่องชว ยฝก เพยี งพอ และเหมาะสมตอ จํานวนทหารใหมท รี่ บั การฝก ๑.๕ หนวยฝกท่ีไดรับการจัดต้ังจะตองดําเนินการฝกครูทหารใหม และทหารใหมทั้งสองผลัด คือ ผลัดท่ี ๒/๖๓ และ ผลัดที่ ๑/๖๔ โดยไมเปล่ยี นแปลงหนว ยฝก เวน ในปง บประมาณตอไป ๒. ผูบังคับหนวยทุกระดับชั้น : จะตองใหความสําคัญตอการฝกทหารใหม ตั้งแตการมอบนโยบาย การฝกทหารใหม, การเตรยี มการฝก, การดําเนินการฝก ตลอดจนการสนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณเครื่องชวยฝก และทรัพยากรในการฝก รวมทั้งตองทําการตรวจและกํากับดูแลการฝกอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอ ทั้งน้ีหนวยฝก ทหารใหมจะตองรวบรวมนโยบายการฝกทหารใหมแตละระดับและนํามาใชเปนแนวทางในการฝก เพ่ือให การฝก ทหารใหมข องหนว ยเปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ ๓. เจาหนาที่ในหนวยฝกทหารใหม : ประกอบดวย ผบ.หนวยฝก, เจาหนาที่ธุรการประจําหนวยฝก, ผูฝก , ผชู ว ยผูฝก , ครูนายสบิ และครทู หารใหม

๒–๒ ๓.๑ ผบ.หนวยฝก : จัดจากนายทหารชั้นสัญญาบัตรภายในหนวยที่มีอาวุโสดวยคุณวุฒิ โดยปกติ แลวควรจะเปน ผูบังคับกองรอย หรือบุคคลที่มียศสูงกวาผูฝกฯ โดยมีหนาที่ อํานวยการ, ประสานงาน และ กํากับดูแลใหการฝกเปนไปตามความมุงหมายตามที่ ทบ.กําหนด และดําเนินงานดานธุรการ, การสนับสนุน กจิ การดา นการฝก รวมถึงการจดั เตรียมสง่ิ อปุ กรณ, เคร่ืองชวยฝก และสนามฝก เพอ่ื ใหการฝก มีประสิทธิภาพสงู สดุ ๓.๒ เจาหนาท่ีธุรการประจําหนวยฝก : จัดจากกําลังพลภายในหนวยโดยไมเก่ียวของกับงานการฝก โดยตรง เพ่ือชวยเหลือ ผบ.หนวยฝก ในการปฏิบัติงานดานธุรการ และการสนับสนุนการฝกทหารใหม รวมถึง งานดานการบริการ และการรักษาความปลอดภยั ดว ย ๓.๓ ผูฝก : จัดจาก ผบ.มว.อาวุโสท่ีมีประสบการณในการฝก หรืออยางนอยไดผานการทําหนาที่ เปน ผชู ว ยผูฝกมาแลว โดยมีหนา ท่เี ปน ผูรบั ผิดชอบการฝก และทําหนา ทป่ี กครองทหารใหมพรอม ๆ กันไปดวย ๓.๔ ผูชวยผฝู ก : จัดจาก ผบ.มว. ท่ีมีอาวุโสตํา่ กวาผูฝก หรือ จ.ส.อ. อาวุโสท่ีมีประสบการณในดาน การฝก ทหารใหมมาแลว โดยใหจัดตามความเหมาะสมอยา งนอ ย ๑ นาย ๓.๕ ครูนายสิบ : จดั จากนายสิบทีม่ ีความรู ความสามารถ มีลักษณะทา ทางทดี่ ี เพ่อื ทําหนาทฝ่ี กสอน ตามวิชาที่ไดรับมอบ และดูแลทหารใหมอ ยางใกลชิด โดยใหจดั ครูนายสิบ ๑ นาย ตอครูทหารใหม ๑ นาย เชน ครูทหารใหมท้ังส้ิน จํานวน ๑๕ นาย ใหจัดครูนายสิบ จํานวน ๑๕ นาย ดวยเชนกัน (ยอดครูนายสิบจะไมรวม ยอดอะไหลร อ ยละ ๒๐ ของจาํ นวนครูทหารใหม) ๓.๖ ครูทหารใหม : จัดจากพลทหารท่ีสําเร็จการฝกหลักสูตรครูทหารใหม เพื่อทําหนาที่ชวยเหลือ ครูนายสิบ โดยจํานวนครูทหารใหมใหถอื เกณฑ จํานวนทหารใหม ๘ นาย ตอครูทหารใหม ๑ นาย เศษให ตดั ทิ้งและใหม ียอดอะไหลรอยละ ๒๐ ของจํานวนครทู หารใหมของหนว ย ตัวอยาง หนวยฝกทหารใหม ร.๒๒ พัน.๒ มีจํานวนทหารใหม ๑๒๑ นาย ตองจัดให มคี รทู หารใหม จํานวน ๑๘ นาย เทานัน้ (๑๒๑  ๘ = ๑๕.๑๒ เศษตดั ทง้ิ เหลือ ๑๕ + ยอดอะไหล จาํ นวน ๒๐ % ของ ๑๕ นาย = ๓) และจะตองมีครูนายสบิ จํานวน ๑๕ นาย สรุป สดั สวนครูนายสิบ : ครทู หารใหม : ทหารใหม เปน ๑ : ๑ : ๘ ๔. คุณลักษณะพงึ ประสงคของ ผฝู ก , ครูนายสบิ และครูทหารใหม ๔.๑ ผฝู ก ๔.๑.๑ มคี ุณลักษณะของผูน าํ มลี ักษณะทหารทด่ี ี และความประพฤติเรียบรอ ยอยใู นระเบยี บ วนิ ยั อยางเครงครดั ๔.๑.๒ การแตงกายเรียบรอยถูกตองตามระเบยี บและเหมาะสมตามกาลเทศะ ๔.๑.๓ มีความรูความสามารถ และกระตือรือรนในการฝก ๔.๑.๔ มีความมงุ มัน่ จรงิ จงั จริงใจ ตัง้ ใจในการฝก ๔.๑.๕ มีการควบคุมบงั คับบัญชาครูฝก อยางแนนแฟน คุนเคย และเปน อนั หน่ึงอนั เดียวกัน ๔.๑.๖ อยูใกลชิดทหารใหมตลอดเวลา ดแู ลทกุ ขสขุ ของทหารใหมอยา งท่วั ถงึ เอาใจใสต อการ เจบ็ ปว ยของทหารใหม ๔.๑.๗ มีการเตรยี มการในเร่ืองทจ่ี ะฝกสอนเปน อยางดีและพรอมท่ีจะแกไขปญ หาขอขดั ของตา ง ๆ ใหลุลว งไปดว ยดไี ด

๒–๓ ๔.๑.๘ มีความเขา ใจในแนวทางการฝก ท่ีมงุ เนนผลการปฏบิ ตั ิ ๔.๑.๙ เปนตวั อยางที่ดแี กครูนายสบิ , ครูทหารใหมและทหารใหมไดเ ปน อยา งดใี นทุก ๆ เรื่อง ๔.๒ ผช.ผูฝก , ครนู ายสบิ และครูทหารใหม มีคุณลกั ษณะเชนเดยี วกับผูฝก ๕. การจัดเตรียมเคร่ืองชวยฝก, แผนภาพเคร่ืองชวยฝก และอุปกรณการฝก หนวยฝกทหารใหมจ ะตอง เบกิ –รบั เคร่ืองชว ยฝก, แผน ภาพเคร่ืองชวยฝก และอปุ กรณก ารฝกใหเ รียบรอ ยกอนดาํ เนินการฝก โดยใหปฏิบัติ ดังนี้.- ๕.๑ เตรียมไวใหเ พียงพอกบั การใชใ นการฝกทหารใหม ทุกวชิ าทกุ เร่อื ง ๕.๒ ตรวจสภาพใหเ รยี บรอย มีการเกบ็ รักษาท่เี หมาะสม และมีการซอมบํารงุ ใหพรอมใชงาน ๕.๓ มบี ญั ชีคุม และสมุดยมื เรยี บรอ ย ๕.๔ นาํ มาใชใ หเ กิดประโยชนอ ยางแทจรงิ โดยนาํ มาใชป ระกอบการฝก หรือสอนทุกครงั้ ๖. พน้ื ท่กี ารฝกและสนามฝก สนามฝก ตาง ๆ หนว ยฝก ทหารใหมจ ะตอ งเตรียมไวใหอยูในสภาพทเ่ี รียบรอ ย พรอมทาํ การฝก และมคี วามปลอดภัยเมื่อใชทาํ การฝก สนามฝกที่ใชท าํ การฝกทหารใหมมดี งั นี้ ๖.๑ สนามฝกบุคคลเบ้ืองตน และแถวชิด ควรเปนสนามหญา พ้ืนเรียบมีแทนสูงสําหรับผูฝก สามารถรองรับทหารใหมขณะทําการฝกไดเพียงพอ การฝกทาอยูกับที่และการฝกทาเคล่ือนที่ตาง ๆ รวมถึง การฝกแบบรวมการไดท ้งั หนวยฝก ๖.๒ สนามฝก กายบริหาร ๖.๒.๑ กายบริหารอยูกับที่ เปนลานพื้นเรียบ มีแทนสูงสําหรับผูฝก พ้ืนท่ีเพียงพอสําหรับการขยาย ระยะตอ และระยะเคียงของทหารใหมทัง้ หนวยฝกไดด ี ๖.๒.๒ ราวดึงขอใชทอเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง ๑ ๑/๒ น้ิว มีการยึดตรึงแข็งแรง มีความ ปลอดภัยขณะปฏิบตั ิ มชี อ งดงึ ไมนอ ยกวารอยละ ๑๐ ของจาํ นวนทหารใหม ๖.๒.๓ สนามฝกวิ่ง มีระยะทางรวม ๒,๐๐๐ เมตร ขนาดความกวางเพียงพอ และการจราจร ไมพลุกพลาน (หากมีการแขงขันควรใชพ้ืนท่ีราบเสมอ) มีมาตรการปองกันอุบัติเหตุจากการจราจร เชน มีปาย กําหนดความเร็วยานพาหนะ มีเจาหนาทป่ี ระจําจุดแยก, มีไฟสญั ญาณหรือวตั ถสุ ะทอนแสงในแถวทหาร ๖.๓ สนามฝก ยิงปนเบ้อื งตน ตั้งอยใู นทีโ่ ลง ไดร ะยะตามคมู อื การฝก (แบบวงกลม หรือ แบบคูขนาน) ๖.๔ สนามฝกทางยุทธวิธี ใหเลือกพ้ืนท่ีท่ีสามารถทําการฝก ใหมีความเหมาะสมกับภูมิประเทศ ในการรบ มีความกวางดานหนา และความลึกในระดับหมู ปล. ลักษณะการวางเคร่ืองกีดขวางใหวางสลับ มิใชวางเปนแถวตรงกัน, ปอมสนาม และหลุมบุคคล ควรอยูในพ้ืนที่ท่ีมีการกําบัง และซอนพราง การดัดแปลง ภูมปิ ระเทศตา ง ๆ ใหค าํ นงึ ถงึ ความเหมาะสมในการฝก เพ่ือใหเกิดความเขา ใจ เมื่อตอ งนําไปใชปฏิบัติทางยทุ ธวิธี และหนวยตองจัดทําโตะทรายหรือภูมิประเทศจําลอง อธิบายใหทหารใหมเขาใจภาพการปฏิบัติทางยุทธวิธี ในระดับ บคุ คล, การปฏบิ ตั เิ ปน ค,ู ชดุ ยิง และ หมู ๖.๕ สนามฝกยิงปนระยะ ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ น้ิว) ตองเนนกฎความปลอดภัยของสนามฝกยิงปน และบริเวณโดยรอบ ขณะทําการฝก ชองยิง แนวยิง และเปาตองมีความสมบูรณพรอมใชงาน รวมท้ังหนวยตอง กาํ หนดใหใ ชมาตรการรักษาความปลอดภัยในการใชส นามฝกยงิ ปน ดว ยกระสนุ จรงิ อยางเครงครดั

๒–๔ ๖.๖ สนามฝก ขวา งลกู ระเบิด ตองอยใู นท่โี ลง จํานวน ๔ ทา ขวา ง รปู แบบตามคูม ือการฝก ฯ ๖.๗ สนามฝกการใชดาบปลายปน ตั้งอยูในพื้นท่ีท่ีสามารถทําการฝกไดอยางเหมาะสม ตามระยะ ทีก่ ําหนด และตองตรวจสอบเครื่องชว ยฝก ใหใ ชงานได และมคี วามปลอดภยั อยูตลอดเวลา ๖.๘ สนามฝก เดินทางดว ยเขม็ ทศิ ลักษณะพนื้ ทเี่ ปน ปาโปรง ควรอยูแยกตา งหากจากสนามฝก อน่ื ๆ ๖.๙ สนามฝกบุคคลทําการรบ ใหสามารถทําการฝกไดทั้งเวลากลางวัน และกลางคืน มีความ เหมาะสม ใกลเคยี งกับความเปนจริงของการรบใหมากทสี่ ดุ หากมีการดัดแปลงภูมปิ ระเทศตอ งใหม ีความสมจรงิ ๖.๑๐ สนามฝกสรางเครื่องกีดขวาง ใหมีลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมสําหรับเปนการรั้งหนวง หยดุ การเคลอ่ื นทขี่ องขาศกึ ๖.๑๑ พื้นที่การฝกลาดตระเวน ใหพิจารณาภูมิประเทศที่มีทั้งที่โลง แจง, ปาเขา, ลําธารและเสนทาง สามารถทาํ การฝก ไดท ้ังเวลากลางวนั และกลางคนื ๖.๑๒ พน้ื ท่ีการฝกปอ มสนามควรมีระยะที่สามารถปฏบิ ัติในระดับ หมู ปล. ได เมื่อดัดแปลงภูมปิ ระเทศแลว ตอ งกลมกลนื กับสภาพแวดลอ มในพ้ืนท่ีนน้ั ๆ ๖.๑๓ พื้นท่ีการฝกเคลอ่ื นที่ทางยุทธวิธี และการพักแรมในสนาม เปนพ้ืนท่ีท่ีหางจากหนวยประมาณ ๔ ชม. เดิน และมีความพรอมสาํ หรับการคา งแรมในสนาม เชน แหลง นํา้ เสนทางสงกาํ ลังบาํ รุง เปน ตน หมายเหตุ ๑. กรณีหนว ยฝก ทหารใหมม ีสนามฝก/พ้ืนทฝ่ี กไมครบท้งั ๑๓ สนาม จะตองขอรับการสนบั สนุน หรอื ขอใชสนามฝก /พื้นท่ฝี กจากหนว ยขา งเคยี ง เพ่ือใหทหารใหมไ ดท าํ การฝก ไดครบถวน ๒. ใหทุกหนวยฝกฯ จัดทําแผนผังสนามฝก/พ้ืนท่ีฝกแสดงไวท่ีหนวยฝกทหารใหม สําหรับสนามฝก ทีข่ อใชจากหนวยขางเคียง ใหเ ขยี นลงในแผนผังดวยวาใชจากหนวยใด ๗. การจัดทําคําสั่งการฝก : หนวยที่รับผิดชอบการฝกทหารใหมตองดําเนินการจัดทํา คําสั่งการฝก ของหนวย เพื่อใหสวนท่ีเก่ียวของปฏิบัติและประสานการปฏิบัติ ซ่ึงอยางนอยควรระบุรายละเอียดดังตอไปนี้ (ตามตัวอยาง) ๗.๑ คาํ ส่ังการฝก ประจําป ของ ทบ. ๗.๒ หลักฐานการฝก ตา ง ๆ ทีต่ องใชในการฝกทหารใหม ใหจดั ไวเปน ผนวก ประกอบคําส่ังอยา งถูกตอง แนนอน ชัดเจน และครบถวน เพอ่ื สะดวกตอการนํามาใชแ ละผูฝ กจะตอ งดําเนนิ การ เบกิ – รบั และจัดเตรยี มหลกั ฐาน การฝกทหารใหมใ หเรียบรอ ย กอนดาํ เนนิ การฝก ดังน้ี ๗.๒.๑ มคี รบตามทจ่ี ะตองใชในการสอนอบรม ๗.๒.๒ มสี ภาพเรยี บรอย มีการเกบ็ รักษาที่ดี เหมาะสม คน หางาย ๗.๒.๓ มบี ญั ชีคุมและสมดุ ยมื แยกกัน และคมุ เฉพาะหลกั สูตรการฝก ทหารใหม ๗.๓ วันเร่ิมและวันจบการฝก ๗.๓.๑ ทหารใหม ผลัดท่ี ๒/๖๓ เรม่ิ ๑ พ.ย. ๖๓ จบ ๑๓ ม.ค. ๖๔ ทหารใหม ผลดั ท่ี ๑/๖๔ เรมิ่ ๑ พ.ค. ๖๔ จบ ๙ ก.ค. ๖๔

๒-๕ ๗.๓.๒ การนับวัน เวลา ในการฝกตามระเบียบและหลักสูตรการฝก ใหเริ่มนับตั้งแต วันที่ ๑ พ.ย. ๖๓ (ผลัดที่ ๒/๖๓) และวันท่ี ๑ พ.ค. ๖๔ (ผลัดที่ ๑/๖๔) โดยในหวง ๑ – ๓ วันแรกของแตละผลัด จะเปนการดําเนินกรรมวิธดี านธุรการตอทหารใหม และเริ่มทําการฝกต้ังแตวันพฤหัสบดีที่ ๕ พ.ย. ๖๓ (ผลัดท่ี ๒/๖๓) และ ในวนั พฤหัสบดีที่ ๖ พ.ค. ๖๓ (ผลัดท่ี ๑/๖๔) ตัวอยาง ในผลัดท่ี ๒/๖๓ ทหารใหมเขารายงานตัว ณ หนวยฝกฯ การดําเนินกรรมวิธี คือ วันอาทิตยที่ ๑ พ.ย. ๖๓ ถึง วันพุธที่ ๔ พ.ย. ๖๓ เพราะฉะนั้นการนับวันแรกของการฝกตามระเบียบหลักสูตร คอื วันจันทรท่ี ๒ พ.ย. ๖๓ และใหเ ริม่ ทําการฝกทหารใหมตัง้ แต วันพฤหสั บดีที่ ๕ พ.ย. ๖๓ เปน ตน ไป ๗.๔ การจัดทําตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห) คือ ตั้งแตสัปดาหแรก ทที่ หารใหมเ ขา รายงานตัวจนทําการฝก จบ ๑๐ สัปดาห เวลาการฝก ๕๐๐ ชวั่ โมง ๗.๕ กําหนดเจาหนาท่ีในการฝกซ่ึงประกอบดวย ผอ.ฝก, รอง ผอ.ฝก, ผูชวย ผอ.ฝก., ผบ.หนวยฝก, เจาหนาท่ีธุรการประจําหนวยฝก, ผฝู ก , ผูชว ยผฝู ก , ครนู ายสิบ และครูทหารใหม ๗.๖ ตารางกาํ หนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห) มีรายละเอียด ดังนี้ ๗.๖.๑ เร่ืองและวชิ าทีท่ ําการฝกสอนอบรมครบตามระเบยี บหลกั สตู รที่กาํ หนดไว ๗.๖.๒ จาํ นวนเวลาเปน ชั่วโมง ของแตละเรอ่ื งท่ีทําการฝก ครบตามจํานวนทร่ี ะเบียบหลักสตู รกาํ หนดไว ๗.๖.๓ การนับวงรอบสัปดาห ใหนับตามวงรอบสัปดาหสากลเร่มิ ตั้งแตทหารใหมเขาหนวยและ เร่ิมทําการฝกในผลัดท่ี ๒/๖๓ มีวันหยุดราชการอยู ๔ วัน คือ วันเสารที่ ๕ ธ.ค. ๖๓ (วันพอแหงชาติ), วันพฤหัสบดีท่ี ๑๐ ธ.ค. ๖๓ (หยุดวันรัฐธรรมนูญ), วันพฤหัสบดีท่ี ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวันศุกรท่ี ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุดวันส้ินปและวันข้ึนปใหม) โดยในวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ ธ.ค. ๖๓ ไมนับเปนวันหยุด การฝกใหทําการฝกตามปกติ สําหรับวันพฤหัสบดีที่ ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวันศุกรท่ี ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุดวนั ส้ินป และวันขนึ้ ปใหม) ใหนับเปนวันหยุดการฝก ใหงดทําการฝก เพื่อเปนขวัญและ กาํ ลังใจใหกบั ทหารใหม ๗.๖.๔ จํานวนช่ัวโมงรวมชองสุดทาย ถูกตองตามเวลาการฝกท่ีมีอยูในสัปดาหน้ัน ๆ การกําหนด ในแตล ะสปั ดาหจะมชี วั่ โมงการฝกเทาใดนัน้ ขอใหหนวยพิจารณา ดงั น้ี ๗.๖.๔.๑ สัปดาหท ่ี ๑ - ๔ เวลา ๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ ๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ ๑๓๐๐–๑๖๐๐ ๑๖๐๐–๑๗๐๐ ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ วัน (๒๐๐๐ - ๒๒๐๐) จันทร- พฤหสั บดี การพัฒนา ฝก ประจาํ วนั ฝก ประจําวนั ทักษะการตอสปู องกันตัว การสอนอบรม (๑) (วนั ละ ๙ ชม.) สมรรถภาพรา งกาย (๔ ชม.) (๓ ชม.) และกฬี า และ(การฝกกลางคนื ) (๑ ชม.) ศุกร การพัฒนา ฝก ประจาํ วัน ฝกประจาํ วนั ทักษะการตอสูปอ งกนั ตวั การสอนอบรม (๑) (๙ ชม.) สมรรถภาพรา งกาย (๔ ชม.) (๓ ชม.) และกีฬา และ(การฝกกลางคนื ) (๑ ชม.) เสาร (๕ ชม.) การพัฒนา ฝกประจําวัน การ ปบ.อาวธุ , คลัง, อาคารทพ่ี ัก/เวลาผบู งั คับบญั ชา สมรรถภาพรา งกาย (๔ ชม.) (๑ ชม.) หมายเหตุ การทดสอบสมรรถภาพรา งกาย เริ่มทําการทดสอบในวนั เสารสปั ดาหท ่ี ๔ เวลา ๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ และใหทาํ การ ปบ.อาวุธยทุ โธปกรณฯ ในวันศุกร เวลา ๑๖๐๐ – ๑๗๐๐ แทน

๒–๖ ๗.๖.๔.๒ สัปดาหท ี่ ๕ – ๑๐ เวลา ๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ ๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ ๑๓๐๐–๑๖๐๐ ๑๖๐๐–๑๗๐๐ ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ วนั (๒๐๐๐ - ๒๒๐๐) จันทร-พฤหสั บดี (วันละ ๙ ชม.) การพฒั นา ฝกประจาํ วัน ฝกประจาํ วัน ทกั ษะการตอ สปู อ งกนั ตัว การสอนอบรม (๑) สมรรถภาพรา งกาย (๔ ชม.) ศุกร (๓ ชม.) และกีฬา และ(การฝกกลางคืน) (๙ ชม.) (๑ ชม.) ฝกประจําวัน การพฒั นา (๔ ชม.) ฝก ประจาํ วัน การ ปบ.อาวธุ , คลัง, การสอนอบรม (๑) เสาร (๕ ชม.) สมรรถภาพรา งกาย (๑ ชม.) ฝกประจาํ วนั (๓ ชม.) อาคารท่พี กั และ(การฝกกลางคนื ) การพัฒนา (๔ ชม.) สมรรถภาพรา งกาย เวลาผบู งั คบั บญั ชา (๑ ชม.) การจัดตารางกําหนดการฝกหลัก(ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห) คือการจัดทําแผนการฝก ทหารใหมใหเปนไปตามระเบียบและหลักสูตรการฝกฯ จํานวน ๕๐๐ ชั่วโมง โดยฝายยุทธการและการฝก ของหนวยเปนผูรับผิดชอบ ตารางการฝกดังกลาวน้ี เพ่ือใหหนวยฝกทราบวา ในแตละสัปดาหมีรายวิชาและ ชั่วโมงการฝกเทาใด ครอบคลุมการฝกครบทุกวิชาทุกเร่ืองหรือไม มีจํานวนช่ัวโมงการฝกครบถูกตองตามท่ี ระเบยี บและหลักสูตรฯ กําหนด ดังตวั อยา งในการวางแผน การจดั ทําตารางกําหนดการฝก หลัก (หนา ๒ – ๑๙) ๗.๗ ตารางกําหนดการฝก ประจําสัปดาห (จากแผนการจัดการฝกที่วางไวตามตัวอยา งในหนา ๒ – ๒๒ ถงึ ๒ – ๒๓) ๗.๗.๑ แบบของตาราง ใชตามระเบียบและหลักสูตรการฝกทหารใหม ฯ ๗.๗.๒ มีความถกู ตอง และตรงกับตารางกาํ หนดการฝก หลัก (ตารางกาํ หนดการฝก เปนสัปดาห) ๗.๗.๓ รายการสอน กาํ หนดรายละเอียดของวชิ าเปน ทา และ เร่ืองที่จะใหสอนอบรม เชน - การฝก บุคคลทา มือเปลา - ทา ตรง, ทาพกั - การตดิ ตอ สอ่ื สาร - เร่อื งหลกั การติดตอส่ือสาร - การอบรมแบบธรรมเนียมของทหาร - เรือ่ งการรักษาการณ ฯลฯ ๗.๗.๔ หลักฐานจะตองกําหนดใหล ะเอียด สมบรู ณ ชดั เจน งายตอการคนหามาใชใ นการสอนอบรม ๗.๗.๕ ทุกชองของตารางจะตองมรี ายละเอยี ดทีถ่ ูกตองและเรยี บรอ ย ๗.๗.๖ การกําหนดวชิ าและชว่ั โมงทาํ การฝกจะตองยึดถอื ระเบียบและหลกั สตู รการฝก ฯ และ ใหเ ปน ไปตามคําส่งั การฝก ประจําปของ ทบ. โดยจะตองระบุไวในคาํ สงั่ การฝก ของหนวยดว ย ๗.๗.๗ ในกรณีท่ีหนวยจัดต้ังสถานีฝก เพื่อหมุนเวียนการฝกน้ัน ใหหนวยกําหนดลงในตาราง การฝกประจําสัปดาห และแยกออกเปนสถานีในแตละวัน โดยที่ชั่วโมงการฝกรายวิชาที่ทหารใหมแตละคน เขารบั การฝกตองเทา กบั จํานวนชว่ั โมงที่กําหนดไวในตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกาํ หนดการฝก เปน สัปดาห)

๒–๗ ๗.๘ ตารางกําหนดการฝก เม่ือสภาพอากาศเปล่ียนแปลง (ตามตวั อยา งหนา ๒ - ๒๔ ) เปนตาราง กําหนดการฝก ฯ ที่ออกมาพรอมกับตารางกําหนดการฝกประจําสัปดาห โดยฝายยุทธการและการฝกของ หนวยเปน ผจู ดั ทํา ๗.๘.๑ แบบของตาราง ใชตามระเบยี บและหลกั สูตรการฝก ฯ ๗.๘.๒ เร่ืองทีส่ อนหรืออบรมในหอ งเรยี นอยแู ลว ในวันเดยี วกันนั้น ไมต องมกี ารเปล่ียนแปลง ๗.๙ กําหนดเจา หนาที่ตรวจการฝก เปนมาตรการในการกํากับดูแลของ ผบ.หนวย (แยกเปนผนวก) ๗.๑๐ มาตรการรกั ษาความปลอดภัยในการฝก ๗.๑๑ กาํ หนดการใช สป.๕ และวตั ถุระเบิด อยา งเหมาะสม (แยกเปน ผนวก) หมายเหตุ การกําหนดตารางการฝกประจําสัปดาหนั้น หนวยที่รับผิดชอบการฝกทหารใหม จะตองจัดทําใหเรียบรอย แลวแจงใหผูฝกทราบอยางนอย ๗ วัน และผูฝกจะตองจัดทํา ตารางกําหนด การฝกประจําวัน (ตามตัวอยาง หนา ๒ – ๒๕) ใหเรียบรอยและแจงใหครูฝก และหนวยบังคับบัญชาทราบ ลว งหนา กอ นวนั ทาํ การฝก ดังน้ี ๑. แบบของตาราง ใชต ามระเบียบหลกั สูตรการฝก ฯ ๒. รายการตรงกนั กับตารางกําหนดการฝก ประจาํ สัปดาห ๓. แยกเปนแตล ะชม. (แยกเนื้อหาของวิชาเปนรายชม. เชน ๐๘๐๐ - ๐๙๐๐, ๐๙๐๐ - ๑๐๐๐ เปนตน) ๘. การดําเนินกรรมวิธีดานธุรการตอทหารใหม : ในการรับทหารใหมการดําเนินงานดานธุรการ หรือ การแนะนําช้ีแจงทหารใหม ใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน ๑ – ๓ วันแรก ท่ีทหารใหมเขาหนวย ไมจาํ เปนตองรอใหท หารใหมเ ขาหนวยจนครบ ๘.๑ ในหว ง ๑ - ๓ วนั แรก ตั้งแตท หารใหมเ ขารายงานตวั ใหถ ือวาเปนเวลาในระเบียบหลักสตู ร ๘.๒ การดาํ เนนิ กรรมวธิ รี ับทหารใหม ใหด าํ เนนิ การในเร่ืองตอไปน้ี ๘.๒.๑ ชีแ้ จงระเบียบปฏิบัตปิ ระจาํ วันของหนวยฝก ๘.๒.๒ จัดทําประวัติและจัดทําขอมูลเพ่ิมเติม เชน ภูมิลําเนาทหาร, วุฒิการศึกษา, อาชีพ, โรคประจําตัว, ยาเสพตดิ และการรอ งขอสทิ ธลิ ดวนั รบั ราชการ ๘.๒.๓ แจกจา ยสง่ิ ของสว นตัวทหารใหม ๘.๒.๔ จา ยเครอื่ งแตง กาย และตัดผมทหารใหม ๘.๒.๕ ตรวจโรค และตรวจสารเสพตดิ ในรางกายโดยแพทย ๘.๒.๖ แนะนําผฝู ก, ผช.ผฝู ก, ครูนายสบิ , ครูทหารใหม, ผบู ังคับบัญชา และสถานที่ภายในหนวย ๘.๒.๗ ช้ีแจงวัตถุประสงคของการฝก นโยบายการฝก ระเบียบคําส่ังท่ีเก่ียวของท่ีทหารใหม ควรรู และอน่ื ๆ ที่มีความจาํ เปนทที่ หารใหมตอ งรู หมายเหตุ การตรวจโรคและสารเสพติดในรางกายโดยแพทย ควรกระทําใหเรียบรอยในหวง การดําเนินกรรมวิธีนี้ เพื่อใหการปองกันและแกไขปญหาการเสพยาเสพติด กระทําไดอยางสมบูรณ และ มีประสิทธิภาพสูงสุด กรณีไมสามารถดําเนินการไดในหวงดําเนินกรรมวิธีฯ ควรใชเวลานอกเหนือจากหวง กําหนดการฝก แตถ า จาํ เปนตองใชเ วลาในหว งการฝก จะตอ งมกี ารฝกชดเชยเทากับจาํ นวนเวลาท่ีขาดการฝก

๒–๘ ๙. ตัวอยาง การวางแผน การจัดทํา ตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปนสัปดาห) การฝก ทหารใหม ผลัดท่ี ๒/๖๓ เงอื่ นไข ๑. ทหารใหมร ายงานตวั ณ หนวยฝก ในวนั อาทิตยที่ ๑ พ.ย. ๖๓ ๒. วันหยุดราชการคือ วันเสารที่ ๕ ธ.ค. ๖๓ (วันพอแหงชาติ), วันพฤหัสบดีที่ ๑๐ ธ.ค. ๖๓ (หยุดวันรัฐธรรมนูญ) ในผลัดท่ี ๒/๖๓ ไมนับเปนวันหยุดใหดําเนินการฝกไดตามหนังสือ ยศ.ทบ ที่ กห ๐๔๖๑/ ๐๓๖๗ ลง ๑๑ ก.ค. ๔๔ เวน วันพฤหัสบดีท่ี ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวันศุกรที่ ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุดวันส้ินปและ วันข้ึนปใหม) ใหงดทําการฝก เพื่อเปนขวัญและกาํ ลงั ใจใหกบั ทหารใหมในชวงเทศกาลปใหม ๓. การดําเนนิ กรรมวธิ กี ําหนดใหกระทาํ ใน วนั ท่ี ๑ – ๕ พ.ย. ๖๓ ดังน้ี .- ๓.๑ วันท่ี ๑ – ๓ พ.ย. ๖๓ : จดั ทําประวัติฯ, จา ยสง่ิ ของ และเคร่ืองแตงกาย ๓.๒ วนั ที่ ๔ พ.ย. ๖๓ : นาํ ทหารใหมตรวจโรค และตรวจสารเสพตดิ ในรางกายโดยแพทย ๓.๓ วนั ท่ี ๕ พ.ย. ๖๓ : แนะนาํ ผบู งั คบั บัญชา, แนะนาํ สถานท,ี่ ชแ้ี จงนโยบายวัตถปุ ระสงค ของการฝก , ระเบยี บและคาํ ส่ังทีเ่ กย่ี วของ และทาํ การฝกฯ ๔. วันเรมิ่ การฝก วันศุกรท่ี ๖ พ.ย. ๖๓ การกาํ หนดวันฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓ เดือน พ.ย. – ธ.ค. ๖๓ อาทิตย จันทร อังคาร พธุ พฤหัสบดี ศกุ ร เสาร ๑๒ ๓๔ ๕ (3)/(6) ๖ ๗ สปั ดาหท ี่ ๑ การฝก ๕๐ ชม. (เร่มิ การฝก) ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ สัปดาหที่ ๒ การฝก ๕๐ ชม. ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ สปั ดาหท ี่ ๓ การฝก ๕๐ ชม. ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ สปั ดาหท ่ี ๔ การฝก ๕๐ ชม. ๒๙ ๓๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ สปั ดาหท ่ี ๕ การฝก ๔๕ ชม. (วนั พอ แหงชาต)ิ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ สัปดาหท ี่ ๖ การฝก ๕๐ ชม. (วนั รฐั ธรรมนญู ) หมายเหตุ : ๒๕ – ๒๖ พ.ย. ๖๓ อบรมสันทนาการ และทํากิจกรรมรวมกบั หนว ยฝกขางเคียง (หนว ยอาจเปลย่ี นแปลงวนั เวลาไดตามความเหมาะสม) การกาํ หนดวนั ฝกทหารใหม ผลัดที่ ๒/๖๓ เดอื น ธ.ค. ๖๓ - ม.ค. ๖๔ อาทติ ย จันทร องั คาร พธุ พฤหสั บดี ศุกร เสาร ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ สัปดาหท่ี ๗ การฝก ๕๐ ชม. ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ สปั ดาหท่ี ๘ การฝก ๕๐ ชม. ๒๗ ๒๘ ๓๔ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๑ ๒ สปั ดาหที่ ๙ การฝก ๓๒ ชม. ๑๐ ๑๑ (วนั หยดุ สน้ิ ป) (วันขึน้ ปใ หม) ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ สปั ดาหท ่ี ๑๐ การฝก ๕๐ ชม. ๑๒ ๑๓ (5) สัปดาหท่ี ๑๑ การฝก ๒๓ ชม. (จบการฝก )

๒–๙ สรปุ การจดั การฝกทหารใหม ผลดั ที่ ๒/๖๓ กาํ หนดได ดังน.้ี - ๑. การดาํ เนนิ กรรมวธิ ีตอทหารใหม กระทาํ ในวันที่ ๑ – ๕ พ.ย. ๖๓ ๒. วนั เริม่ ทําการฝก ตามตารางกาํ หนดการฝกคือ วนั ศกุ รที่ ๖ พ.ย. ๖๓ ๓. วันเสารที่ ๕ ธ.ค. ๖๓ (วันพอแหงชาติ) วันพฤหัสบดีท่ี ๑๐ ธ.ค. ๖๓ (วันรัฐธรรมนูญ) ไมนับเปน วันหยุด ใหดําเนินการฝกตามปกติ เวน วันพฤหัสบดีท่ี ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวันศุกรท่ี ๑ ม.ค. ๖๔ (หยุดวันสิ้นป และวนั ขึ้นปใหม) ใหน บั เปนวนั หยุด และงดทาํ การฝก เพ่ือเปน ขวัญและกําลังใจใหกบั ทหารใหม ๔. วันท่ี ๒๕ – ๒๖ พ.ย. ๖๓ อบรมสนั ทนาการและทํากิจกรรมรวมกับหนวยฝก ขางเคยี ง (หนวยอาจเปลยี่ นแปลงวันเวลาไดต ามความเหมาะสม) ๕. วนั จบการฝกจะเสร็จส้นิ ในวนั พธุ ท่ี ๑๓ ม.ค. ๖๔ รวมเวลา ๕๐๐ ชม. ตามทร่ี ะเบียบและ หลกั สตู รการฝกฯ กาํ หนด ๑๐. ตัวอยาง การวางแผน การจัดทํา ตารางกําหนดการฝกหลัก (ตารางกําหนดการฝกเปน สัปดาห) การฝกทหารใหม ผลดั ที่ ๑/๖๔ เง่อื นไข ๑. ทหารใหมรายงานตัว ณ หนวยฝก ในวนั เสารที่ ๑ พ.ค. ๖๔ ๒. วันหยุดราชการ คือ วันอังคารท่ี ๔ พ.ค. ๖๔ (วันฉัตรมงคล), วันพุธที่ ๒๖ พ.ค. ๖๔ (วันวิสาขบูชา), วนั พฤหสั บดีที่ ๓ มิ.ย. ๖๔ (วันเฉลมิ พระชนมพรรษาพระราชนิ ี) ในผลดั ที่ ๑/๖๔ ไมน ับเปนวนั หยุด ใหดําเนนิ การฝก ตามปกติ ๓. การดาํ เนินกรรมวธิ ี กําหนดใหก ระทําใน วันที่ ๑ – ๕ พ.ค. ๖๔ ดังนี้.- ๓.๑ วันท่ี ๑ – ๓ พ.ค. ๖๔ : จดั ทําประวัติ ฯ, จา ยสง่ิ ของ และเคร่ืองแตงกาย ๓.๒ วันที่ ๔ พ.ค. ๖๔ : นาํ ทหารใหมต รวจโรค และตรวจสารเสพติดในรางกายโดยแพทย ๓.๓ วันท่ี ๕ พ.ค. ๖๔ : แนะนาํ ผูบ ังคับบัญชา แนะนําสถานท่ี ชี้แจง นโยบาย วัตถุประสงค ของการฝก ระเบียบ คําสั่งท่ีเก่ียวของ และทาํ การฝกฯ ๔. วันเร่ิมทาํ การฝก คือ วันพฤหัสบดีที่ ๖ พ.ค. ๖๔ การกาํ หนดวันฝกทหารใหม ผลดั ที่ ๑/๖๔ เดอื น พ.ค. – ม.ิ ย. ๖๔ อาทติ ย จันทร องั คาร พธุ พฤหัสบดี ศกุ ร เสาร ๑ สัปดาหท ่ี ๑ การฝก ๕ ชม. สัปดาหท ี่ ๒ การฝก ๕๐ ชม. ๒๓ ๔ ๕ (7)/(3) ๖ ๗๘ สัปดาหท ี่ ๓ การฝก ๕๐ ชม. (วันฉัตรมงคล) (เรมิ่ การฝก ) สปั ดาหที่ ๔ การฝก ๕๐ ชม. สัปดาหท่ี ๕ การฝก ๕๐ ชม. ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ สัปดาหท่ี ๖ การฝก ๕๐ ชม ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๕ (วนั วิสาขบูชา) ๑๒ ๓๔ (วันเฉลิมพระราชินฯี ) หมายเหตุ : ๒๖ – ๒๗ พ.ค. ๖๔ อบรมสนั ทนาการและทาํ กิจกรรมรว มกับหนว ยฝก ขางเคยี ง (หนวยอาจเปลย่ี นแปลงวันเวลาไดต ามความเหมาะสม)

๒ – ๑๐ การกาํ หนดวันฝก ทหารใหม ผลัดที่ ๑/๖๔ เดอื น ม.ิ ย.- ก.ค. ๖๔ อาทิตย จันทร องั คาร พุธ พฤหสั บดี ศุกร เสาร ๖๗๘๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ สปั ดาหท่ี ๗ การฝก ๕๐ ชม. ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ สปั ดาหที่ ๘ การฝก ๕๐ ชม. ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ สัปดาหท ่ี ๙ การฝก ๕๐ ชม. ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๑ ๒๓ สปั ดาหที่ ๑๐ การฝก ๕๐ ชม. ๘ ๙ (9) ๑๐ ๔๕๖๗ สปั ดาหท ี่ ๑๑ การฝก ๔๕ ชม. จบการฝก สรุป การจดั การฝกทหารใหม ผลดั ที่ ๑/๖๔ กาํ หนดได ดังนี้.- ๑. การดาํ เนินกรรมวิธีตอทหารใหม กระทาํ ในวันที่ ๑ – ๕ พ.ค. ๖๔ ๒. วนั เร่ิมทําการฝก ตามตารางกําหนดการฝก วันพฤหัสบดีที่ ๖ พ.ค. ๖๔ ๓. วันอังคารที่ ๔ พ.ค. ๖๔ (วันฉัตรมงคล), วันพุธที่ ๒๖ พ.ค. ๖๔ (วันวิสาขบูชา), วันพฤหัสบดีที่ ๓ มิ.ย. ๖๔ (วันเฉลมิ พระราชนิ ี) ในผลัดท่ี ๑/๖๔ ไมนับเปน วนั หยุด ใหดาํ เนินการฝกตามปกติ ๔. วันท่ี ๒๖–๒๗ พ.ค. ๖๔ อบรมสันทนาการและทํากิจกรรมรวมกับหนวยฝกฯ ขา งเคียง (หนวยอาจ เปลี่ยนแปลงวนั เวลาไดตามความเหมาะสม) ๕. วนั จบการฝกจะเสร็จสิ้นในวนั ท่ี ๙ ก.ค. ๖๔ รวมเวลา ๕๐๐ ชม. ตามระเบียบและหลักสูตรการฝกฯ ทกี่ าํ หนด หมายเหตุ ๑. กรณีหนวยมีความจําเปนตองนําทหารใหมไปปฏิบัติภารกิจสําคัญเรงดวนหรือดําเนินกิจกรรม ที่ตองใชเวลาในหวงกําหนดการฝก เม่ือจบภารกิจแลวจะตองทําการฝกชดเชยตามเรื่องและระยะเวลาที่ขาด การฝก ไป โดยใชเวลานอกหลกั สูตรหรือวันหยุดราชการ ๒. การกําหนดวันเย่ียมญาติของทหารใหม สมควรใหญาติเยี่ยมไดเฉพาะวันอาทิตย ต้ังแตสัปดาหท่ี ๓ เปนตนไป หรือตามแตความเหมาะสมที่หนวยเห็นสมควร ท้ังนี้จะตองคํานึงถึงการรักษาความปลอดภัย, ความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยและภาพลักษณของตวั ทหารใหม, หนวย และ ทบ. ที่จะปรากฏตอญาตทิ หารใหม ๑๑. การปฏิบตั ใิ นการสง กําหนดการฝก ๑๑.๑ หนวยจัดการฝก จัดสงกําหนดการฝกกอนเร่ิมหวงการฝกอยางนอย ๑๕ วัน ถึง ยศ.ทบ. โดยตรง จาํ นวน ๑ ชดุ และหนว ยบงั คบั บัญชาระดับกองพล หรอื นขต.ทบ. จาํ นวน ๑ ชุด ๑๑.๒ หนวยบังคับบัญชาระดับกองพล หรือ นขต.ทบ. รวบรวมกําหนดการฝกของหนวยใน บงั คับบัญชาทไ่ี ดร ับตามขอ ๑๑.๑ เสนอ ยศ.ทบ.จํานวน ๑ ชุด ๑๑.๓ การสงกําหนดการฝกใหใชแบบฟอรมตามอนุผนวก ๑ ประกอบผนวก ค ในคําสั่งการฝก ประจาํ ป ๖๒ ดังน้ี

๒ – ๑๑ ตารางกําหนดการฝก หนว ยจัดการฝก..................................... หลกั ฐาน คาํ สงั่ การฝกของหนว ย................ท่.ี ....../...........ลง......................... ลาํ ดับ งานการฝก หนว ยรับการฝก กําหนดการฝก (ว. ด. ป.) หมายเหตุ ในท่ีตัง้ นอกทต่ี ้งั /พนื้ ทฝ่ี ก ๑ การฝก ทหารใหม

๒ – ๑๒ ๑๒. ตวั อยางคาํ ส่ังการฝกทหารใหม คาํ ส่ังกองพันทหารราบที่ ............กรมทหารราบท.ี่ ......... ท่ี /๒๕๖๓ เรื่อง การฝก ทหารใหม ผลดั ที่ ๒/๖๓ -- ๑. วันมีผลบังคับใช : ๑ พ.ย. ๖๓ – ๑๓ ม.ค. ๖๔ ๒. หลักฐาน : ผนวก ก ๓. ความมุง หมายในการฝก ๓.๑ เพ่ือใหทหารใหมเปนรายบุคคล ไดรับการฝกศึกษาวิชาการทหารเบื้องตนสําหรับนําไปใช ในการฝกขั้นตอไป จนมปี ระสทิ ธิภาพทําการรบตามหนาที่ของทหารแตละเหลา ได ๓.๒ เพือ่ ปรับสภาพรา งกายและจิตใจของทหารใหมจ ากการดําเนินชวี ติ แบบพลเรือนมาดําเนินชวี ิต แบบทหาร ๓.๓ เพอ่ื ปลูกฝง ลักษณะทหาร ๓.๔ เพอื่ ปลกู ฝง ใหเกิดทัศนคตทิ ดี่ ีงามตอ ทบ. ๔. ระบบการฝก : ใชการฝก ทเี่ นน ผลการปฏบิ ัติ โดยมีช่ัวโมงการปฏิบตั ไิ มน อยกวารอยละ ๗๐ ดงั น้ี.- ๔.๑ การฝกแบบรวมการ ในการฝกสอนอบรม ดังตอไปน้ี ๔.๑.๑ การฝก แถวชิด ๔.๑.๒ การสอนอบรม ๔.๒ การฝกแบบแยกการ โดยจัดการฝกแบบหมนุ เวยี น ดังน้ี ๔.๒.๑ การฝกเบ้ืองตน (เวนการฝกแถวชิด) ๔.๒.๒ วชิ าทหารท่วั ไป ๔.๒.๓ การฝกใชอ าวธุ ประจํากาย ๔.๒.๔ การฝก ทางยทุ ธวธิ ี ๕. เจา หนาทฝ่ี กทหารใหม : ผนวก ข ๖. วนั ทําการฝก : ต้ังแต ๖ พ.ย. ๖๓ ถึง ๑๓ ม.ค. ๖๔ ๖.๑ จนั ทร - ศุกร ฝกวันละ ๙ ชม. ๖.๒ วนั เสาร ฝก วนั ละ ๕ ชม. - เวลา ๐๕๓๐ – ๐๖๓๐ ตั้งแตสัปดาหท่ี ๔ ใหทาํ การทดสอบสรรถภาพรางกาย) - เวลา ๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ ต้ังแตสัปดาหท่ี ๑ – ๗ ใหทําการฝกสอนในกลุม วิชาการชวยเหลือประชาชนและการสอนอบรม ๖.๓ การประเมินผลการฝกจํานวนชั่วโมง ๑๙ ช่ัวโมง ถือวาเปนเวลาในหลักสูตรแตใหประเมินผล เมื่อฝกจบเปนรายวิชา หรือตามที่หนวยพิจารณาเห็นสมควร และใหเร่ิมประเมนิ ผลไดต้งั แตสัปดาหท่ี ๕ เปน ตนไป หรอื ไมชา กวา สัปดาหท ี่ ๖ จนถงึ วันเสรจ็ สิ้นการฝก

๒ – ๑๓ ๗. มาตรฐานการฝก ๗.๑ การประเมินผลการฝกทหารใหม จะตองดําเนินการตอทหารใหมทุกนาย โดยปฏิบัติตามรายการ ของคูมือการประเมินผล การฝกทหารใหมเบ้ืองตนทั่วไป สําหรับทหารทุกเหลาของกองทัพบก (๑๐ สัปดาห) พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยใหยกเลกิ การตรวจสอบแบบจดั ตง้ั สถานีตรวจสอบ ๖ สถานี และการจําหนายยอดทหารใหม ๒๐ % ของยอดเต็ม ๗.๒ ผลการฝกเปนรายวชิ า จะตอ งผานเกณฑท่ีกาํ หนดไว ในคูมือการประเมินผล การฝกทหารใหม เบอื้ งตนทวั่ ไป สําหรับทหารทกุ เหลาของกองทัพบก (๑๐ สัปดาห) พ.ศ. ๒๕๕๕ ๘. สนามฝก และพ้ืนทกี่ ารฝก : ใหห นวยฝก ฯ จดั เตรียมใหเ รียบรอ ย ดังน.้ี - ๘.๑ สนามการฝก เบ้อื งตน และแถวชิด ๘.๒ สนามฝก กายบรหิ าร (ราวดึงขอ, สนามฝก ว่งิ ) ๘.๓ สนามฝกการใชด าบปลายปน ๘.๔ สนามฝกขวางลูกระเบิดซอมขวา ง ๘.๕ สนามฝกยิงปนเบื้องตน ๘.๖ สนามฝกทางยทุ ธวิธี ๘.๗ สนามฝก ยิงปน ๒๕ เมตร (๑,๐๐๐ นิ้ว) ๘.๘ สนามฝกบุคคลทําการรบ ๘.๙ สนามฝกการเดินทางดวยเขม็ ทิศ ๘.๑๐ สนามฝก สรา งเครอื่ งกีดขวาง ๘.๑๑ พ้นื ท่กี ารฝกการลาดตระเวน ๘.๑๒ พ้ืนทก่ี ารเคลอื่ นท่ีทางยุทธวิธี และการพักแรม ๘.๑๓ พ้ืนท่กี ารฝก ปอมสนาม ในสนาม ๙. เครอื่ งชว ยฝกตาง ๆ รวมทั้งแผนภาพเครือ่ งชว ยฝก ใหหนวยฝกเตรียมไวใหเ รียบรอ ย ๑๐. ตารางกาํ หนดการฝก ๑๐.๑ ตารางกาํ หนดการฝกหลัก(เปน สัปดาห) ตามระเบียบและหลักสตู รการฝก การฝกทหารใหม สาํ หรับทหารทุกเหลา ของ ทบ.๑๐ สัปดาห พ.ศ.๒๕๖๒ (ผนวก ค หนา ๒ – ๑๙ ถงึ ๒ – ๒๑) ๑๐.๒ ตารางกําหนดการฝก ประจําสัปดาห (ผนวก ง หนา ๒ – ๒๒ ถงึ ๒ – ๒๓) ๑๐.๓ ตารางกําหนดการฝกเม่ือฝนตก (อนุผนวก ๑ ประกอบผนวก ง หนา ๒ – ๒๔) ตาราง กําหนดการฝก ประจาํ วัน ( หนา ๒ – ๒๕ ) กาํ หนดขึ้นใหส อดคลองกับตารางกําหนดการฝกหลัก (เปนสัปดาห) ๑๑. การตรวจการฝก ๑๑.๑ ผบ.พันหรอื เทยี บเทา จะตรวจการฝกหรือใหมีผูรบั มอบอาํ นาจตรวจอยา งไมเปนทางการไดท กุ วัน ๑๑.๒ รายการกําหนดการตรวจประจําวันของเจา หนา ทต่ี รวจการฝกฯ (ผนวก จ หนา ๒ - ๒๖) ๑๑.๓ การตรวจการฝก ผูตรวจจะตองบันทึกผลการตรวจการฝกทหารใหมในสมุดรับตรวจ และ ตอ งรายงานให ผบ.พนั ทราบ ทกุ วนั ๑๒. บันทกึ และรายงาน : ใหด ําเนนิ การตามระเบียบและหลักสตู รโดยเครง ครัด ๑๓. คําแนะนาํ การฝก ๑๓.๑ ใหใชการฝก ในสนามฝก มากกวา การสอนในหอ งเรยี น ในอาคาร ๑๓.๒ ใหทหารใหมไดมีการฝกปฏิบัติมากกวาการสอนดวยการบรรยาย ตาม รส. ๒๑ – ๖ วาดวย วิธีเตรียมการและดาํ เนนิ การฝกท่ีเนน ผลการปฏิบตั ิ พ.ศ. ๒๕๓๑ ๑๓.๓ การฝกยิงปนดวยกระสุนจริงในสนามจะตองสวมหมวกเหล็กทุกคร้ังที่ทําการฝกยิง และ เมื่อทหารใหมสวนหน่ึงเขาแนวยิงแลว สวนท่ีเหลือใหทําการฝกทบทวนเรื่องตาง ๆ ของวิชาใชอาวุธประจํากาย เพื่อใหเ กิดความชํานาญ

๒ – ๑๔ ๑๓.๔ การฝกทางยุทธวิธี จะตอ งพยายามใหทหารใหมปฏิบัติไดทุกเรื่องท่ีไดรับการฝกสอนมาแลว ๑๓.๕ กายบริหารและศิลปะการตอสูปองกันตัว เนนทักษะการตอสูดวยมือเปลา อาวุธมีดสั้น และการใชดาบปลายปน ทง้ั นี้โดยการใชไมหุมนวมแทนปนติดดาบปลายปน เพ่ือใหทหารใหมไดรถู ึงมมุ โจมตี และ การปองกันใหเกิดความคลองแคลวเหมือนการฝกใชดาบปลายปน ตลอดจนใหทหารใหมจับคูกันทําการฝก การตอสูป องกนั ตัว เพือ่ ฝกทักษะการเขา โจมตแี ละการปองกนั การถกู โจมตีดว ย ๑๓.๖ การยิงประกอบการเคลื่อนท่ี (เปนคู) เปนการฝกพ้ืนฐานท่ีสําคัญของทหารใหม ผูฝกตอง ชี้แจงการปฏิบัติใหทหารใหมเขาใจทางยุทธวิธี ในเร่ืองความพรอมในการใชอาวุธระหวางการเคล่ือนท่ี, ความเร็วระหวางเคลื่อนที่ และการเลือกที่กําบังใหเหมาะสม ตามกฎความปลอดภัยซึ่งเปนหัวใจของการใชอาวุธ ในการปฏิบัติแตละแนวยิง จะตองฝกการเล็งและการลั่นไกโดยทําการยิงแหง (Dry Fire) เพ่ือใหเกิดความ ชาํ นาญจงึ จะใชกระสุนซอมรบทาํ การฝกยงิ ตอไป ทาํ การฝกยิง ๓ ครัง้ คร้ังละ ๖ นดั /คน รวม ๑๘ นดั ๑๓.๗ วิชาการขาวเบื้องตน, การสังเกตและการสะกดรอย เนนใหทหารใหมไดรูจักพิจารณา ภูมิประเทศ ลม ฟาอากาศ และขาศึก ซ่ึงมีความสําคัญตอการปฏิบัติการทหาร รวมถึงการซอนพรางและ รักษาความปลอดภยั ในการติดตอส่ือสาร, การสะกดรอยใหพจิ ารณารอยเทา การตรวจคนและจดจําขณะปฏบิ ัติ หนาที่เปน ลว.นาํ รวมถงึ รูปพรรณบคุ คล ยานพาหนะดว ย ๑๔. มาตรการรักษาความปลอดภัยในการฝก (กรณีหนวยมีระเบียบหรือคําส่ัง หรือ รปจ.เก่ียวกับ การรักษาความปลอดภัยในการฝก ใหอา งถึงการปฏิบตั ิดังกลา ว) เชน ๑๔.๑ โรคลมรอ น (หนว ยมีแนวทางปฏบิ ัตอิ ยางไร) ๑๔.๒ การฝกทางยทุ ธวธิ ี (หนว ยมีแนวทางปฏิบตั อิ ยา งไร) ๑๔.๓ การยงิ ปน / สนามยิงปน (หนวยมแี นวทางปฏิบตั ิอยางไร) ๑๔.๔ การเคลื่อนท่ที างยุทธวิธีและการพักแรมในสนาม (หนว ยมแี นวทางปฏบิ ตั อิ ยา งไร) ๑๔.๕ การใชกระสนุ วตั ถุระเบดิ (หนว ยมแี นวทางปฏิบตั อิ ยา งไร) ๑๔.๖ การใชเ คร่อื งมอื /เคร่อื งจักรท่ีมคี วามเส่ียง(หนว ยมมี าตรการควบคมุ อยางไร) ๑๔.๗ กรณีเกิดการสูญเสียจากการฝกใหรายงานดวน โดยปฏิบัติตามผนวกการรายงานการ สูญเสยี ประกอบคําสั่งการฝกประจาํ ป ๒๕๖๑(หนว ยมแี นวทางปฏบิ ตั ิอยา งไร) ๑๕. มาตรการปองกนั สป.๕ รว่ั ไหลจากการฝก (ตามวทิ ยุราชการสนาม กบ.ทบ. ดว นมาก ที่ กห ๐๔๐๔/๒๓๒๘ ลง ๑๐ ก.ค. ๕๕) ๑๖. การสนบั สนุน : ๑๖.๑ ให ฝยก.ฯ สนับสนุนคมู ือ, ตําราการฝก และเครื่องชวยฝก ใหหนวยฝกฯ ตามท่ีระบไุ ว ในระเบยี บและหลกั สูตรฯ ๑๖.๒ ฝกบ.ฯ สนบั สนุน กระสนุ และวัตถุระเบิด ผนวก ฉ ๑๖.๓ ฝอ. อื่น ๆ และ รอ ย.นขต.ฯ ใหการสนับสนุนการฝกทหารใหมในดานตาง ๆ เม่ือรอง ขอตามความเหมาะสม

๒ – ๑๕ ๑๗. รายละเอยี ดอน่ื ๆ ใหประสานกับ ฝยก.ร. ........... พนั . .......... ไดโ ดยตรง ทั้งน้ี ใหเตรียมการตงั้ แตบ ัดน้เี ปนตน ไป สงั่ ณ วันท่ี ๑๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (ลงช่ือ) พ.ท. (.....................................) ผบ.ร. ....... พนั . ......... ฝยก.ร. ........ พัน. .......

๒ – ๑๖ ผนวก ก (หลักฐาน) ประกอบ คาํ สง่ั ร. ....... พัน. ...........ที่ /๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ คาํ สั่ง ทบ. - คาํ สงั่ ทบ.(เฉพาะ) ที่ /๖๓ ลง ก.ย. ๖๓ เรอื่ ง การฝกประจาํ ป ๒๕๖๔ ระเบียบและหลักสูตรการฝก ๑. ระเบยี บและหลกั สูตรการฝก การฝกทหารใหมเ บื้องตน ทวั่ ไป สําหรบั ทหารทุกเหลา ของ ทบ. (๑๐ สปั ดาห) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒. คมู ือการประเมินผล การฝกทหารใหมเบ้ืองตนทวั่ ไป สําหรับทหารทุกเหลาของ ทบ. (๑๐ สัปดาห) พ.ศ. ๒๕๕๕ ๓. ระเบียบและหลกั สตู รการฝก ยิงปนทหาร การฝกยิงปน เลก็ ยาวประจําป สําหรับทหารทกุ เหลา ของ ทบ. พ.ศ. ๒๕๓๐ ๔. เอกสารประกอบการฝก ทหารใหม โดยยศ.ทบ. ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม พ.ศ. ๒๕๕๐ ๕. เอกสารประกอบการฝก ทหารใหมและการฝกทหารใหมเฉพาะหนาท่ี ปรับปรงุ ใหม ป ๒๕๕๑ ๖. เอกสารการฝกอบรม และประเมินผลการฝกทหารใหม ประกอบรางระเบียบและหลักสูตรการฝก การฝกทหารใหมเบอ้ื งตน สําหรับทหารทกุ เหลาของ ทบ. (๑๐ สัปดาห) พ.ศ. ๒๕๔๗ ๗. คําแนะนาํ การฝกทหารใหม ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ (๑ ต.ค. ๖๓ - ๓๐ ก.ย. ๖๔) คมู อื การฝก ๑. คมู ือการฝก วาดวยแบบฝก บคุ คลทา มือเปลา พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒. คูมือการฝก วา ดว ยแบบฝกบุคคลทามอื เปลา พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓. คูมือการฝก วา ดว ยแบบฝกบคุ คลทามือเปลา (คฝ.๗ - ๖) พ.ศ. ๒๕๔๔ ๔. คมู อื การฝก วา ดว ยแบบฝกบุคคลทาอาวธุ (คฝ.๗ - ๕) พ.ศ. ๒๕๔๔ ๕. คูมือการฝก วา ดวยแบบฝกบคุ คลทาอาวธุ ปลย.๕๐ ขนาด ๕.๕๖ มม. (TAVOR) พ.ศ. ๒๕๕๓ ๖. คมู อื การฝกวาดว ยการใชด าบปลายปนสําหรบั ปลย.เอม็ .๑๖ และ ปลย.๑๑ คฝ.๒๓ – ๕ – ๑ พ.ศ. ๒๕๒๗ ๗. คมู ือการฝก วาดวยรูปขบวนทาํ การรบ และการฝก ทาํ การรบ สาํ หรับหมแู ละหมวดปน เลก็ พ.ศ. ๒๕๓๒ ๘. คูมือวา ดว ยคําแนะนําการปองกันและการปฏบิ ัตยิ ามฉุกเฉนิ เม่ือเผชิญอันตรายจากนิวเคลยี ร-ชวี ะ-เคมี สาํ หรับทหารเปนบคุ คล พ.ศ. ๒๕๒๕ ๙. คมู ือการฝกวาดว ยคําแนะนําการทบทวนหลงั การปฏิบตั สิ ําหรบั ผบู งั คบั หนว ย (คฝ.๒๕ - ๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๔ คมู ือราชการสนาม ๑. คมู อื ราชการสนาม วา ดวย การฝก ทหาร (รส.๒๑ - ๕) พ.ศ. ๒๕๑๒ (จดั พมิ พใหมเ พม่ิ เติม พ.ศ. ๒๕๓๘) ๒. คมู ือราชการสนาม วา ดว ย วธิ เี ตรียมการและดาํ เนนิ การฝกท่ีเนน ผลการปฏบิ ัติ (รส.๒๑ - ๖) พ.ศ. ๒๕๓๑ ๓. คูมอื ราชการสนาม วา ดว ยการฝกยงิ ปน เลก็ ยาว เอ็ม ๑๖ เอ.๑ และปน เล็กยาว เอม็ ๑๖ เอ.๒ (รส.๒๓ - ๙) พ.ศ. ๒๕๔๑ ๔. คมู อื ราชการสนาม วาดว ย การฝก ยิงและการใชป นเล็กยาวแบบ ๑๑ (ปลย.๑๑) (รส.๒๓-๙-๑) พ.ศ. ๒๕๔๗ ๕. คูมือราชการสนามวาดวยการพราง (รส.๒๐ - ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๖. คมู อื ราชการสนาม วาดวย ทศั นะสญั ญาณ ( รส.๒๑ – ๖๐ ) พ.ศ. ๒๕๑๒ ๗. คมู อื ราชการสนาม วา ดว ย การติดตอสื่อสาร ( รส.๒๔ – ๕ ) พ.ศ. ๒๕๓๕

๒ – ๑๗ ๘. คาํ แนะนาํ การฝกบคุ คลในการรวบรวม และรายงานขาวสารทางทหาร พ.ศ. ๒๕๑๑ (จัดพมิ พใ หม เพมิ่ เติม พ.ศ. ๒๕๓๘) ๙. คูมือราชการสนาม วา ดวย การอา นแผนท่ี ( รส. ๒๑ – ๒๖ ) พ.ศ. ๒๕๑๕ ๑๐. คมู ือราชการสนาม วา ดวย การปฐมพยาบาลสาํ หรบั ทหาร ( รส. ๒๑ – ๑๑ ) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑๑. คมู ือราชการสนาม วา ดวย การฝกบุคคลทําการรบ ( รส. ๒๑ – ๗๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๒. คมู อื ราชการสนาม วาดว ย ลูกระเบดิ ขวา ง และพลสุ ญั ญาณ ( รส.๒๓ – ๓๐ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๑๓. คมู ือราชการสนาม วา ดว ย วตั ถุระเบดิ และการทําลาย ( รส.๕ – ๒๕ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ ๑๔. คมู อื ราชการสนาม วาดว ย ปอ มสนาม (รส.๕ – ๑๕) พ.ศ. ๒๕๓๔ ๑๕. คูมือราชการสนาม วาดว ย การเล็ดลอด และหลบหนี (รส.๒๑ – ๗๗) พ.ศ. ๒๕๑๖ (จดั พมิ พใหม เพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๓๓) ๑๖. (รา ง) คูมือราชการสนาม วาดวยการปฏิบตั กิ ารในความขดั แยงระดบั ต่ํา (รส.๗ – ๙๘) พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑๗. คมู ือราชการสนามวา ดวย การฝกกายบริหาร ( รส. ๒๑ – ๒๐ ) พ.ศ. ๒๔๙๗ ๑๘. คมู ือราชการสนามวา ดว ยการตอสดู วยมอื เปลา และอาวุธ (รส.๒๑ - ๑๕๐) พ.ศ. ๒๕๔๘ คมู ือพลทหาร ๑. คมู อื พลทหาร วาดว ยเรอื่ งท่ีทหารใหมควรทราบ พ.ศ. ๒๕๒๗ (จัดพิมพใ หมเ พิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๘) ๒. คมู ือพลทหาร วาดวยการปฏบิ ตั ใิ นเวลาปกติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ๓. คูมอื พลทหาร วาดว ยการปฏบิ ัตกิ ารในสนาม พ.ศ. ๒๕๑๗ (จัดพมิ พใหมเ พิม่ เติม พ.ศ. ๒๕๓๘) ๔. คูมือสอนอบรม วาดว ยการปลูกฝงอดุ มการณทางการเมืองในหนวยทหาร พ.ศ. ๒๕๒๕ เลม ๑, ๒ ๕. แนวทางการอบรมวิชาประวัติศาสตร สําหรับทหารใหม (เพ่ือพลาง) กรมยทุ ธการทหารบก ๖. คูมือการสอนอบรมวิชาประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย กองทัพบก พ.ศ. ๒๕๕๑ ๗. คมู ือพลทหารเสนารักษ หลกั สูตรเบ้ืองตน เฉพาะเหลา แพทย ๘ สปั ดาห พ.ศ. ๒๕๐๗ ๘. คมู อื การเฝา ระวงั ปองกันและการปฐมพยาบาลการเจบ็ ปวยเนือ่ งจากความรอน (สาํ หรับหนวยฝก) กรมแพทยท หารบก ๙. ความรูเบ้อื งตน เก่ียวกบั ยาเสพตดิ กรมยุทธศกึ ษาทหาร กองบัญชาการทหารสงู สดุ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๐. คมู อื การปลกู ฝงและสรา งเสริมอดุ มการณทหาร กองทัพบก กรมยทุ ธศึกษาทหารบก หลักฐานเตรียมการฝก ทหารใหมอนื่ ๆ ท่ีเก่ียวของ ๑. แผน ภาพเคร่อื งชว ยฝก และวดี ีทัศน ตามท่ี ทบ.กาํ หนดไวในระเบยี บหลักสตู ร ๒. คูม ือท่เี ก่ียวของกับการฝกทหารใหม อื่น ๆ พ.ต. (.................................) ฝอ.๓ .................

๒ – ๑๘ ผนวก ข (เจาหนาทฝ่ี ก ทหารใหม ผลัดท่ี ๒/๖๓) ประกอบคําสงั่ ร.... พนั ..... ท.ี่ ..../๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ๑. ผอู าํ นวยการฝก (ควรเปน ผบ.หนว ย) ๒. รองผูอาํ นวยการฝก (ควรเปน รอง ผบ.หนว ย) ๓. ผูชว ยผูอาํ นวยการฝก (ควรเปน ฝอ.๓) ๔. ผบ.หนว ยฝก (ควรเปน ผบ.รอย.) ๕. เจาหนาทปี่ ระจําหนวยฝก (จาํ นวนเจาหนาที่ ตามความเหมาะสม ) ๖. ผูฝก ๗. ผูชว ยผฝู ก ๘. ครูนายสบิ ............ ............ ............ ๙. ครูทหารใหม (พลทหาร) ............ ............ ............ ............ ตรวจถูกตอ ง พ.ต. (.............................) ฝอ.๓ ................ หมายเหตุ ๑. หนวยทีจ่ ัดต้ังหนวยฝก ๒ หนวยฝกหรือ ๓ หนว ยฝก ใหใ ชคําสง่ั การฝกทหารใหม ๑ คําส่ัง ๒. ผนวก ข (เจาหนาท่ฝี กทหารใหม ผลดั ที่ ๒/๖๓ ประกอบคาํ สัง่ ร....พัน......ท.่ี ......./๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ จะตองเพ่ิม ผนวก ข ๒ ชุดหรอื ๓ ชุด ตามที่หนวยจัดต้ังหนว ยฝก ) ๓. เจา หนาที่หนวยฝก จะไมเ หมือนกนั ใน ผนวก ข คอื ผฝู ก , ผูชวยผฝู ก, ครนู ายสิบและ ครทู หารใหม ๔. เอกสารตาํ ราทุกเลมที่อางอิงในการฝก จะตอ งมีครบทั้ง ๒ หนวยฝก หรือ ๓ หนว ยฝก ตาม ผนวก ก ๕. สนามฝก ๑๓ สนาม หนวยจะตองจดั ทาํ เพิ่มเติมตามสดั สว นและใหเหมาะสมในการ เตรียมการฝก , การจดั การฝก, การดําเนินการฝก , การประเมนิ ผลการฝก รวมถึงพื้นทกี่ ารฝกของหนวย

ลําดับ เรื่องทท่ี าํ การฝก สอน เวลา ๓๗ การสอนอบรม (ชม.) ๑ ๓๘ การทดสอบความสมบูรณแข็งแรงทางรางกาย ๓ ๓ รวม ๕๐๐ ๕๐ หมายเหตุ ๑. ในผลัดที่ ๒/๖๓ ทหารใหมร ายงานตวั เขา หนว ยในวันอาทิตยท ่ี ๑ พ.ย. ๖๓ หนว ยดําเนนิ ก ใหน ับเปนเวลาในการฝกตามระเบยี บและหลักสตู รฯ จํานวน ๓๐ ชม.ดวย ๒. วันหยุดราชการในผลดั ๒/๖๓ คือ วนั ท่ี ๕ ธ.ค.๖๓, วันท่ี ๑๐ ธ.ค.๖๓ ไมน บั เปนวนั หยดุ ใ ใหง ดทาํ การฝกเพือ่ เปนขวญั และกําลังใจใหก ับทหารใหม ๓. การประเมินผลการฝก มีเวลาท้ังสน้ิ ๑๙ ช่ัวโมง ใหท าํ การประเมินผลตอ ทหารใหมท ุกนาย โดยยกเลิกการจดั ตัง้ สถานตี รวจสอบ ๖ สถานี และเฉลยี่ จาํ นวนช่วั โมงของการประเมนิ ผลทัง้ ๑๙ สัปดาหท่ี ๖ จนจบสัปดาหส ุดทา ยของการฝก ในกรณีทหารใหมบางนายไมสามารถประเมนิ ผล อาน - เขียนหนงั สือไมได ใหค ณะกรรมการประเมินผลลงความเหน็ ไวใ นชองหมายเหตุ ๔. การจดั ทําตารางกําหนดการฝกหลัก (เปนสัปดาห ผนวก ค) ยศ.ทบ. ใหเ อกภาพแกหนว ย ต้งั แตสัปดาหที่ ๒ จนถงึ สปั ดาหส ดุ ทาย โดยจํานวนช่ัวโมงท่ีใชในการฝกสอนแตละเร่อื งจะตอ งเปน (๑๐ สัปดาห) พ.ศ.๒๕๖๒

๒ - ๒๑ สปั ดาห ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ตรวจถูกตอ ง พ.ต. (................................) ฝอ.๓……………... กรรมวธิ ีตอ ทหารใหมเปน เวลา ๓ วัน ดงั นั้นในสปั ดาหท่ี ๑ การดําเนินกรรมวธิ ตี อ ทหารใหม ใหด าํ เนินการฝก ตามปกติ เวนวนั ที่ ๓๑ ธ.ค. ๖๓ และวนั ท่ี ๑ ม.ค. ๖๔ หยดุ วนั ส้นิ ปแ ละวนั ปใหม ย (โดยไมมีการจาํ หนา ยยอด) เมอื่ จบการฝก สอนเปน รายวชิ าหรอื ตามทหี่ นวยพจิ ารณาความเหมาะสม ๙ ชัว่ โมงลงในแตล ะสัปดาห เรมิ่ ตง้ั แตสปั ดาหท่ี ๕ เปน ตนไป แตจ ะประเมินผลไมชา กวา ลไดในบางวิชา เนอ่ื งจากความผิดปกติทางรางกาย เชน แขนหรือขาดามเหลก็ ระบบหายใจไมป กติ ยในการลงรายละเอียดของจาํ นวนชั่วโมงท่ใี ชในการฝก , สอนอบรม และประเมนิ ผลการฝก นไปตามระเบียบและหลกั สตู รการฝก การฝก ทหารใหมเ บือ้ งตน ทว่ั ไปสําหรบั ทหารทกุ เหลา ของ ทบ.

ตัวอย่า ตารางกาหนดการฝกึ ผนวก ง ตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ หน่วย...................................................... หลักสูตรการฝกึ ทหารใหม่ หน่วยฝกึ ................................................................... วัน , วันที่ เวลา สถานที่ รายการ ต้ังแต่ - ถึง อาคารที่พัก - การดาเนินกรรมวิธีรับทหารใหม่ อาทิตย์ที่ ๑ พ.ย. ๖๓ - เวลาผู้บงั คบั บัญชา จันทรท์ ี่ \" ๒ พ.ย. ๖๓ อังคารท่ี \" ๓ พ.ย. ๖๓

าง กประจาสัปดาห์ ................. ประกอบคาส่ัง ................................................................................. สปั ดาห์ท่ี ๑ ตั้งแต่ ๑ พ.ย. ๖๓ ถึง ๘ พ.ย. ๖๓ วิธีสอน การแตง่ กาย ผู้สอน หลกั ฐาน เคร่อื งช่วยฝกึ สช., ป. ชุดลาลอง ผู้ฝกึ ๒ -๒๒ \" \" ครฝู ึก \"\"\" \"\"\"

วัน , วันท่ี เวลา สถานท่ี รายการ พุธท่ี ตั้งแต่ - ถึง สนามฝกึ การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๔ พ.ย. ๖๓ ๐๘๐๐ - ๑๒๐๐ \" การฝึกบุคคลทา่ มือเปลา่ ๑๓๐๐ - ๑๔๐๐ \" ๑๔๐๐ - ๑๖๐๐ \" การปฐมพยาบาล ๑๖๐๐ - ๑๗๐๐ กายบรหิ าร ๑๙๐๐ - ๒๐๐๐ หอ้ งอบรม การอบรม พฤหัสบดที ี่ ๐๘๐๐ - ๑๒๐๐ สนามฝึก การฝึกบคุ คลทา่ อาวุธ ๕ พ.ย. ๖๓ ๑๓๐๐ - ๑๖๐๐ \" การปฐมพยาบาล ๑๖๐๐ - ๑๗๐๐ \" ๑๙๐๐ - ๒๐๐๐ กายบริหาร หอ้ งอบรม การอบรม อาทติ ย์ท่ี ๐๘๐๐ - ๑๐๐๐ คลงั /อาคาร การปรนนิบัตบิ ารุงอาวุธยุทโธปกรณ์ คลงั อาคารที่พัก ๘ พ.ย. ๖๓ ท่ีพัก เวลาผู้บังคับบญั ชา ๑๐๐๐ - ๑๒๐๐ ห้องอบรม หมายเหตุ ในตารางกาหนดการฝกึ ประจาสปั ดาหใ์ ห้ลงเฉพาะเนื้อหาวิขา ตามเวลาในระเบียบและหลักสูตรกาหนดเท่าน้ัน สัปดาห์ที่ ๒ เป็นต้นไปใหเ้ ริ่มวันจันทร์ - วันเสาร์ ตามปกติ

วิธีสอน การแตง่ กาย ผู้สอน หลกั ฐาน เครื่องช่วยฝกึ ป. ชุดฝึก ผู้ฝึก คฝ.๗ - ๖ ภคฝ. วีดทิ ศั น์ ป. \" \" \" \" ป. \" \" รส.๒๑-๑๑ \" ป. ชุดคร่งึ ทอ่ น \" รส.๒๑-๒๐,รส.๒๑-๑๕๐ ภคฝ. วีดทิ ศั น์ สช. ชุดลาลอง \" คู่มือพลทหารว่าดว้ ย \" ทหารใหม่ควรทราบ \" ป. ชุดฝึก ผู้ฝึก คฝ.๗ - ๕ - ป. \" \" รส.๒๑-๑๑ - ๒ - ๒๓ ป. ชุดครงึ่ ท่อน \" รส.๒๑-๒๐,รส.๒๑-๑๕๐ สช. ชุดลาลอง \" คู่มือพลทหารว่าดว้ ย ทหารใหม่ควรทราบ ป. ชุดฝกึ ครูฝึก - \"\" สช. \" ผบช. - ตรวจถูกตอ้ ง พ.ต. (....................................) ฝอ.๓......................

อนุผนวก ๑ ประกอบผนวก ง ตารา หลักสตู รการฝกึ ทหารใหม่ หน่วยฝกึ ......................................................... วัน , วันท่ี เวลา วิชาเดมิ วิชาท่ีเปลี่ยนแปลง ต้ังแต่ - ถึง การอ่านแผนที่ และการใช วันพุธที่ ๔ พ.ย. ๖๓ ๐๘๐๐-๑๒๐๐ การฝกึ บุคคลทา่ มือเปลา่ หมายเหตุ ๑. การออกตารางกาหนดการฝึกเมอื่ สภาพอากาศเปลีย่ นแปลง ควรออกเปน็ ห้วงระยะเวลาเดียวกัน ประจาสัปดาหง์ า่ ยขึน้ ในกรณีเมอ่ื มีการเปลี่ยนแปลงวชิ าท่ที าการฝกึ ๒. วิชาเดิมท่ีตอ้ งการเปลีย่ นแปลงใหม่ จะตอ้ งเป็นวชิ าที่ไมส่ ามารถทาการฝึกหรอื ปฏบิ ตั ิในสนามฝกึ ๓. วชิ าทีเ่ ปลย่ี นแปลง จะตอ้ งไม่ใช่วิชาการอบรม และควรเปน็ วชิ าทอี่ ยใู่ นวนั ถดั ไป หรอื สัปดาหถ์ ัดไ ๔. ฝ่ายยทุ ธการฯ จะต้องวางแผน เตรียมการ และจดั ทาตารางกาหนดการฝึกเมือ่ สภาพอากาศเปล่ยี หลกั สูตร ฯ กาหนด

างการฝกึ เมื่อสภาพอากาศเปล่ียนแปลง สัปดาหท์ ่ี ๑ ต้ังแต่ ๑ พ.ย. ๖๓ ถึง ๘ พ.ย. ๖๓ สถานที่ ผู้สอน หลักฐาน เครือ่ งช่วยฝึก ช้เข็มทิศ จ.ส.อ.ทรหด ฯ รส.๒๑ -๒๖ ภคฝ. \" ภคฝ. ๒ - ๒๔ ตรวจถูกตอ้ ง พ.ต. (....................................) ฝอ.๓...................... นกับตารางกาหนดการฝึกประจาสัปดาห์ เพ่ือให้การแกไ้ ขตารางกาหนดการฝกึ กได้ ไป ท่ีสามารถทาการฝกึ ได้มาทดแทนการฝกึ ยนแปลงดว้ ยความรอบคอบ เพอื่ ป้องกันมิให้การฝกึ ฯ ไมค่ รบตามทร่ี ะเบยี บและ

ตารางกาหนดการฝึกประจาวันห วันพุธที่ ๔ เดือน พฤศจิก หน่วยฝึก ........... เวลา รายการ เวลาใน เวลาท่ี ต้ังแต่ - ถึง หลักสูตร ฝกึ มาแล้ว ๐๘๐๐ – ๐๙๐๐ การฝกึ ท่าตรง และท่าพัก ๒- ๒๑ ๐๙๐๐ – ๑๐๐๐ การฝึกท่าตรง และท่าพัก (ตอ่ ) ๒- ๒๑ ๑๐๐๐ – ๑๑๐๐ การฝกึ ท่าหนั อยู่กับที่ ๑- ๑- ๑๑๐๐ – ๑๒๐๐ การฝึกท่าหนั อยู่กับท่ี (ตอ่ ) ๒- ๓๔ - ๑๓๐๐ – ๑๔๐๐ การปฏิบตั ติ อ่ ผู้บาดเจ็บฯ ๒- ๑๔๐๐ – ๑๕๐๐ การพยาบาลฉุกเฉิน ๑๕๐๐ – ๑๖๐๐ การเข้าเฝือก ๑๖๐๐ – ๑๗๐๐ กายบรหิ าร/ศิลปการตอ่ สู้ปอ้ งกันตัว ๑๙๐๐ – ๒๐๐๐ อบรมเร่ืองคุณลกั ษณะของทหาร

หลักสูตรการฝึกทหารใหม่ กายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ................. สถานท่ี ผู้สอน หลักฐาน การแตง่ กาย หมายเหตุ สนามฝึก ผู้ฝกึ คฝ. ๗ – ๖ ชุดฝกึ ”” ” ” ”” ” ” ”” ” ” ๒ - ๒๕ ”” รส.๒๑-๑๑ ” ”” ” ” ”” ” ” ” ” รส.๒๑-๒๐,รส.๒๑-๑๕๐ ชุดครึง่ ท่อน หอ้ งอบรม ” คู่มือพลทหารว่าดว้ ย ชุดลาลอง ทหารใหม่ควรทราบ (ลงชอ่ื ) (...........................................) ตาแหนง่ ผฝู้ ึกทหารใหม่

๒ – ๒๖ ผนวก จ เจา้ หนา้ ทต่ี รวจการฝึกทหารใหม่ ประกอบ คาส่งั ร...... พนั . ..... ที่ ……/๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ลาดับ ผตู้ รวจ วันที่ตรวจ หมายเหตุ พ.ย. ๖๓ ธ.ค. ๖๓ – ม.ค. ๖๔ ๑ พ.ต.จักรกฤษณ์ จงสง่ากลาง ๑๑ ๒ ร.ท.ภาคี เขม็ กลัด ๓ ร.ท.วสนั ต์ บุตรสนทิ ๔ ร.ท.พรศกั ดิ์ บุตรเมอื ง ๕ ร.ท.สาธติ เหลอื น้อย ๖ ร.ท.โกศล ลุยตัน ๗ ร.ท.สมบตั ิ ภักด์ิชาติ ตรวจถกู ตอ้ ง พ.ต. (……......................) ฝอ.๓ ........... หมายเหตุ เร่ืองท่คี วรตรวจและกากบั ดูแล ดงั น้.ี - ๑. เรือ่ งท่เี กี่ยวข้องกับการฝึก ๑.๑ การฝกึ ประจาวนั ๑.๒ การอบรม ๑.๓ การออกกาลังกาย ๑.๔ กายบริหาร/ศิลปะการปอ้ งกนั ตัว ๑.๕ กฬี า ๑.๖ การทดสอบ ๒. เรือ่ งความเปน็ อย่ขู องทหาร ๒.๑ การรบั ประทานอาหาร ๒.๒ การนอน ๒.๓ การพกั ผอ่ น ๒.๔ น้าด่ืม ห้องน้า หอ้ งสุขา โรงนอน ๓. สวัสดกิ ารด้านอื่น ๆ ท่ีจาเป็นตามความเหมาะสม - เจ้าหนา้ ที่ที่ตรวจการฝึกทหารใหม่บนั ทกึ ผลการตรวจข้อบกพรอ่ ง ข้อควรแกไ้ ขลงในสมดุ ตรวจ การฝกึ ประจาวัน และใหร้ ายงานผ้บู งั คับบญั ชารับทราบทุกสัปดาห์

๒ – ๒๗ ผนวก ฉ อัตรากระสนุ และวตั ถรุ ะเบดิ ประกอบ คาสงั่ ร..... พนั . .....ท่ี ……/๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ลาดบั รายการ จานวน หมายเหตุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ตรวจถกู ตอ้ ง พ.ต. ( ...................... ) ฝอ.๓ ........... หมายเหตุ * ผนวก ฉ อัตรากระสุนและวัตถุระเบิดนัน้ จัดทาตามเครดิตท่หี น่วยไดร้ ับตาม ความเปน็ จรงิ * เครดิต ก.ปล.๕.๕๖ มม.ธด. และ ก.ปล.๕.๕๖ มม.ซร.(ผลดั ๒/๖๓ และ ๑/๖๔) ให้ใช้ตามที่ไดร้ บั การสนับสนนุ จาก ทบ. ทัง้ นี้ ยศ.ทบ.จะได้แจง้ ให้ทราบตอ่ ไป

๒ – ๒๘ ผนวก ช เจ้าหนา้ ที่รบั ผิดชอบสนามฝกึ (ส.๑, พล.ฯ ๑) ประกอบ คาส่ัง ร...... พนั . ..... ท่ี......../๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ลาดับ ผรู้ ับผดิ ชอบ ผช.ผ้รู บั ผดิ ชอบ พน้ื ที่ฝกึ และ สนามฝึก หมายเหตุ ๑ จ.ส.อ.รบดี รกั ดี พล. ฯ กล้า ชอบเรยี น สนามฝึกเบื้องต้น ๒ จ.ส.ต.สมชาย เพียรงาม พล. ฯ หนึง่ สมใจ สนามฝกึ กายบริหาร ๓ ........... ........... สนามฝกึ ยิงปนื เบ้อื งตน้ ๔ ........... ........... สนามฝกึ ทางยทุ ธวธิ ี ๕ ........... ........... สนามฝกึ ยิงปืน ๒๕ เมตร ๖ ........... ........... สนามฝึกลูกระเบดิ ขวา้ ง ๗ ........... ........... สนามฝกึ ใช้ดาบปลายปนื ๘ ........... ........... สนามฝกึ เดนิ ทางดว้ ยเข็มทิศ ๙ ........... ........... สนามฝกึ บคุ คลทาการรบ ๑๐ ........... ........... สนามสรา้ งเครื่องกดี ขวาง ๑๑ ........... ........... พื้นทกี่ ารฝกึ ลาดตระเวน ๑๒ ........... ........... พื้นที่ฝึกปอ้ มสนาม ๑๓ ........... ........... พ้นื ที่การฝึกเคล่อื นท่ีทางยุทธวิธี ตรวจถูกตอ้ ง พ.ต. (……......................) ฝอ.๓ ...........

๒ – ๒๙ ผนวก ซ เจ้าหนา้ ท่ีรกั ษาความปลอดภัยจาการฝึก ประกอบ คาส่งั ร...... พนั . ..... ท่ี /๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ลาดบั ผู้รบั ผิดชอบ สัปดาหท์ ่ี หมายเหตุ ๑ จ.ส.อ.รบดี รักดี ๑ ๒ จ.ส.ต.สมชาย เพยี รงาม ๒ ๓ ........... ๓ ๔ ........... ๔ ๕ ........... ๕ ๖ ........... ๖ ๗ ........... ๗ ๘ ........... ๘ ๙ ........... ๙ ๑๐ ........... ๑๐ ตรวจถกู ตอ้ ง พ.ต. (……......................) ฝอ.๓ ........... หมายเหตุ เร่ืองทค่ี วรตรวจและกากับดูแล ดังน้ี.- ๑. การฝกึ ประจาวัน ๒. การออกกาลงั กาย ๓. กายบริหาร/ศิลปะการปอ้ งกันตัว ๔. กีฬา

๒ – ๓๐ ผนวก ด แผนเผชิญเหตกุ ารณ์บาดเจ็บจากความร้อน ประกอบ คาสั่ง ร…... พนั . ….. ท่ี ……./๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ให้หน่วยฝกึ จดั ทาแผนผงั การเคลอ่ื นย้ายทหารใหม่ทีบ่ าดเจ็บจากลมร้อน โดยกาหนด เส้นทางหลกั และ เสน้ ทางรองในการเคล่ือนยา้ ยจากหน่วยฝึกไปยงั โรงพยาบาลทใี่ กล้ที่สดุ พรอ้ มทง้ั ระบุ ขนั้ ตอนการปฐมพยาบาลในขั้นต้น และการตดิ ตอ่ กบั ทางโรงพยาบาล ตรวจถูกตอ้ ง พ.ต. (……......................) ฝอ.๓ ...........

๒ – ๓๑ ผนวก ต เจ้าหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบการฝกึ สอน ประกอบ คาสงั่ ร...... พนั . .....ท่ี ……/๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ลาดับ ผูร้ บั ผดิ ชอบ เรือ่ งทีท่ าการฝกึ สอน หมายเหตุ ๑ จ.ส.อ.รบดี รักดี การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ๒ จ.ส.ต.สมชาย เพยี รงาม การฝึกบุคคลท่าอาวุธ ๓ ........... ........... ๔ ........... ........... ๕ ........... ........... ๖ ........... ........... ๗ ........... ........... ๘ ........... ........... ๙ ........... ........... ๑๐ ........... ........... ตรวจถกู ตอ้ ง พ.ต. (……......................) ฝอ.๓ ...........

๒ – ๓๒ ผนวก ถ เจา้ หนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบดูแล คชฝ./เอกสารตารา ประกอบ คาสัง่ ร...... พนั . ..... ท่ี ………./๒๕๖๓ ลง ๑๕ ต.ค. ๖๓ ลาดบั ผู้รับผดิ ชอบ รายการ หมายเหตุ ๑ จ.ส.อ.รบดี รักดี เครอ่ื งช่วยฝึกถาวร ๓๖ รายการ ๒ จ.ส.ต.สมชาย เพียรงาม เอกสารตาราที่ใช้ในการฝึก ๓ ……………. ........... ตรวจถูกต้อง พ.ต. (……......................) ฝอ.๓ ...........

๒ – ๓๓ ๑๓. การฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าท่ี ทบ.กาหนดให้ทหารใหม่ต้องรับการฝึกเฉพาะหน้าท่ีตามระเบียบ และหลกั สูตรการฝึกทหารใหม่เฉพาะหนา้ ทข่ี องเหลา่ โดยให้ดาเนินการ ดังน้ี.- ๑๓.๑ จะต้องทาการฝึกภายหลงั จบการฝกึ ทหารใหม่แล้ว ไมเ่ กนิ ๑๕ วัน โดยในการฝกึ ทหารใหม่ ผลัดที่ ๒/๖๓ อนุโลมให้ทาการฝกึ ภายหลังจากจบการฝึกทหารใหม่แล้วไม่เกิน ๓๐ วัน ท้ังนี้เพ่ือแก้ไขปัญหา หว้ งการฝึกตรงกับการซักซอ้ มการสวนสนาม กระทาสัตยป์ ฏญิ าณตนตอ่ ธงชยั เฉลมิ พล ๑๓.๒ การจัดทาคาส่ังการฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าท่ี หน่วยต้องจัดทาคาสั่งแยกจากคาส่ังการฝึก ทหารใหม่ ๑๓.๓ หน่วยจะต้องจัดทาบัญชีบรรจุกาลังพลของทหารใหม่ตามตาแหน่งหน้าที่ และ จัดทหารใหม่เข้ารับการฝึกในวิชาที่กาหนดตาม ชกท.น้ัน ๆ โดยปฏิบัติตามระเบียบและหลักสูตรการฝึก ทหารใหม่เฉพาะหน้าท่ีของเหล่า และในกรณีหน่วยที่ฝากการฝึกทหารใหม่ ให้หน่วยท่ีฝึกทหารใหม่ สง่ ตวั ทหารใหมค่ นื หนว่ ยต้นสังกดั เพอื่ ออกคาสง่ั การฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าท่ขี องหน่วยเองตอ่ ไป ๑๓.๔ กาหนดการฝึกทหารใหม่เฉพาะหน้าท่ีในสัปดาห์ที่ ๒ เฉพาะ พัน.ร.,พัน.ม.ที่เป็น นขต.กรม.ร., กรม.ม., นขต.พล.ร.และ นขต.พล.ม. ให้ใช้ สป.๕ ตามท่ีได้รับการสนับสนุนจาก ทบ. คนละ ๑๐๙ นัด/นาย และกาหนดการยิงปืนในลกั ษณะต่าง ๆ ตามเอกสารประกอบการฝึกทหารใหมแ่ ละทหารใหม่ เฉพาะหน้าท่ี ปรบั ปรงุ ใหม่ ปี ๒๕๕๑ และคาส่ังการฝกึ ประจาปี ๒๕๖๔ ประกอบการฝึกดว้ ย ๑๔. แผนบทเรียน : ครูฝกึ ซึง่ รบั ผิดชอบในการฝึก การสอน และการอบรม ในเรอ่ื งน้ัน ๆ จะตอ้ ง จัดทาแผนบทเรียนด้วยตนเอง โดยจัดทาตามเน้ือหาวิชาท่ีได้รับมอบหมาย/เรื่องท่ีทาการฝึก, การสอนหรือ อบรม รูปแบบของแผนบทเรยี น ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามคมู่ ือราชการสนามวา่ ด้วยวธิ เี ตรยี มการและดาเนินการฝึกท่เี น้น ผลการปฏิบัติ (รส.๒๑ – ๖) พ.ศ. ๒๕๓๑ ท้ังนี้ครูผู้สอนจะต้องทาด้วยตนเอง เพื่อให้มีความเข้าใจในเน้ือหา ขอบเขตการฝึกของวิชาน้ัน ๆ และเป็นการเตรียมการในเร่ืองเครื่องช่วยฝึกหรือสิ่งอุปกรณ์ประกอบการฝึก ให้ได้ตามมาตรฐานการฝึกท่ี ทบ.กาหนด โดยอยู่ภายใต้การอานวยการ กากับดูแลของผู้ฝึก และ ผบ.หน่วย เพอ่ื ให้การฝึกเป็นไปตามคาสั่งและนโยบายที่ ทบ.กาหนดอยา่ งเปน็ รูปธรรม ๑๔.๑ หัวข้อการจัดทาแผนบทเรยี น มีหัวขอ้ ดังนี้ ๑๔.๑.๑ วัตถปุ ระสงคก์ ารฝึก ๑๔.๑.๒ วตั ถุประสงค์การฝึกตามลาดบั ข้ัน ๑๔.๑.๓ คาแนะนาทางธุรการ ๑๔.๑.๔ ลาดบั ขนั้ ของการปฏิบัติและเวลาที่ใช้ ๑๔.๑.๕ ขอ้ จากัดเก่ยี วกบั การรกั ษา ๑๔.๑.๖ ขอ้ คิดเหน็ และรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ความปลอดภยั ๑๔.๑.๗ การประเมนิ ผลการฝกึ (ผูส้ อนและผ้รู บั การฝกึ ) ๑๔.๒ คาอธบิ ายการจดั ทาแผนบทเรยี น ๑๔.๒.๑ วัตถุประสงค์การฝึก คือ เรื่องหลักที่กาหนดให้ทาการฝึก กาหนดในรูปกิจเฉพาะ เง่ือนไข มาตรฐาน ๑๔.๒.๒ วตั ถุประสงค์การฝึกตามลาดับขน้ั คือ เรื่องย่อยของเรื่องหลักที่กาหนดให้ทา การฝกึ โดยแบ่งเปน็ ลาดับขนั้ ทจ่ี ะฝึกสอน/อบรมจากง่ายไปหายาก กาหนดในรปู กิจเฉพาะ เงือ่ นไข มาตรฐาน ๑๔.๒.๒.๑ กิจเฉพาะ คือ เรื่องที่จะต้องปฏิบัติให้สาเร็จลุล่วงไป ดูได้จากแถลง หลักสูตร การฝกึ ในระเบียบหลกั สูตรการฝึก หวั ข้อเรื่องและรายละเอียดท่ีฝึกสอน

๒ – ๓๔ ๑๔.๒.๒.๒ เง่ือนไข คือ กิจเฉพาะหรือเร่ืองที่จะต้องปฏิบัติน้ัน จะต้องกระทาให้สาเร็จ ลลุ ่วงภายใตเ้ งื่อนไขอยา่ งใด ดไู ด้จากคู่มือการประเมนิ ผลการฝกึ ๑๔.๒.๒.๓ มาตรฐาน คือ เกณฑ์มาตรฐานของการปฏิบตั ิทีย่ อมรับแล้ว ดไู ด้จากคมู่ ือ การประเมินผลการฝึก ๑๔.๒.๓ คาแนะนาทางธุรการ เปน็ การกาหนดรายละเอยี ดในการฝึก อาจประกอบด้วย ห้วงเวลาการฝกึ , สถานที่ฝกึ , ผรู้ ับการฝกึ , ผู้ฝกึ และผู้ช่วย, เคร่ืองช่วยฝกึ , หลกั ฐานอ้างอิง ฯลฯ ๑๔.๒.๔ ลาดับขั้นของการปฏิบัติและเวลาท่ีใช้ เป็นการกาหนดหัวข้อเร่ืองย่อยท่ีจะทา การฝกึ สอน แต่ละเรือ่ งตามวัตถปุ ระสงคก์ ารฝกึ ตามลาดบั ขั้น พร้อมท้ังจัดแบ่งเวลาตามที่ไดร้ ับมอบ เพื่อเป็น การกาหนดขอบเขต การฝึกอบรมได้อย่างครบถ้วน ควรประกอบด้วยขอ้ ย่อย เช่น กลา่ วนา, หัวเร่ืองย่อยท่ี จะทาการฝึกตามเนื้อหา, การฝึกปฏิบัติ,การทดสอบความรู้ความเข้าใจ/การปฏิบัติ, การสรุปในท้ายชั่วโมง กอ่ นจบการฝึก ฯลฯ ๑๔.๒.๕ ข้อจากัดเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัย เป็นข้อพึงระมัดระวังในการฝึกทุก ๆ ด้าน เช่น ความปลอดภัยในการฝึก, ข้อระมัดระวังในการใช้ยุทโธปกรณ์/เคร่ืองช่วยฝึก, การชารุดเสียหาย ของยทุ โธปกรณ์, การปฏิบัตติ าม รปจ. ของหนว่ ย เป็นต้น ๑๔.๒.๖ ข้อคิดเห็นและรายละเอียดเพิ่มเติม เป็นการกาหนดรายการกิจเฉพาะท่ีผู้รับ การฝึกจะตอ้ งรหู้ รือปฏิบัตไิ ดเ้ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์การฝกึ ตามลาดับขัน้ ๑๔.๒.๗ การประเมินผลการฝึกสอนจากครูทหารน้ัน เป็นการประเมินผลการฝึกสอน ของครูผู้รับผิดชอบและผู้รับการฝึกในวิชาที่ทาการฝึกโดยอาจสอบถามความเข้าใจ หรือทดสอบจากปัญหา สอบแบบอตั นยั หรือปรนยั ตามท่กี าหนด หรือทดสอบการปฏบิ ตั ิจากผูเ้ ขา้ รับการฝกึ -----

๒ – ๓๕ ตัวอย่าง แผนบทเรียน แผนบทเรียน เรือ่ งการอา่ นแผนทแี่ ละการใช้เข็มทศิ ๑. วัตถุประสงค์การฝึก เพื่อสอนให้ทหารใหม่มีความรู้ในเร่ืองการอ่านแผนที่ และการใช้เข็มทิศ ใหส้ ามารถนาไปปฏบิ ัตหิ นา้ ทขี่ องพลทหารได้ กจิ เฉพาะ : การใช้แผนที่ และการใชเ้ ขม็ ทศิ ในหนา้ ทข่ี องพลทหาร เง่ือนไข : ทหารใหม่ได้รบั แผนท่ี มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ เขม็ ทศิ , บรรทัดวดั มุม MR-1 หรอื P-67 จานวน ๑ แผน่ , ดินสอดาและยางลบ มาตรฐานการฝกึ : ๑. ทหารใหมม่ ีความรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื ง สญั ลักษณ์, สี และลกั ษณะ ภูมปิ ระเทศท่ีใช้บนแผนท่ไี ดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๒. ทหารใหมส่ ามารถกาหนดจดุ ท่ีอยเู่ ปน็ พิกัดทางทหาร และสามารถ คานวณ และวัดระยะทาง ในแผนท่ีได้ถกู ตอ้ ง ๓. ทหารใหมม่ ีความรู้ คณุ ลกั ษณะของเขม็ ทศิ เลนเซตคิ รวมถึงการใช้ เขม็ ทิศไดถ้ กู ต้อง ๔. ทหารใหม่สามารถบอกจดุ ที่อยู่ของสง่ิ ซ่งึ ไมท่ ราบท่ตี ง้ั โดยการเล็งสกัดตรง และการเล็งสกดั กลบั ด้วยวิธใี ชแ้ ผนท่แี ละเขม็ ทศิ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ๕. ทหารใหม่สามารถเดินทางด้วยเขม็ ทิศในเวลากลางวนั และกลางคืน ไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี ๒. วตั ถุประสงค์การฝกึ ตามลาดบั ขน้ั (ครฝู กึ กาหนดเร่ืองย่อย จากงา่ ยไปหายาก) ๒.๑ วัตถุประสงคก์ ารฝึกตามลาดบั ขนั้ ๑ กิจเฉพาะ : การอ่านสญั ลกั ษณ์ สี และเครอ่ื งหมายบนแผนที่ เงอ่ื นไข : ทหารใหม่ ได้รับแผนท่ี มาตราสว่ น ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบบั มาตรฐานการฝึก : ๑. อ่านสญั ลกั ษณ์แผนทไี่ ดถ้ ูกตอ้ ง ทนั ทที ่ีมองเห็นภาพสญั ลกั ษณน์ น้ั ๆ ภายใน ๑ นาที ๒. บอกความหมายของสีท่ีใช้บนแผนทไี่ ด้ครบทง้ั ๕ สีและสามารถอ่าน ลกั ษณะภมู ิประเทศบนแผนทไ่ี ดถ้ ูกตอ้ งว่าที่ใดเปน็ น้า, ส่ิงกอ่ สรา้ งที่ มนษุ ยส์ ร้างขึ้น, ป่า, ท่ีสูง, ภเู ขา, ถนน และเส้นทางคนเดินทใี่ ดบ้าง ตามคาบอกของครทู ี่กาหนดให้ภายใน ๑ นาที ๒.๒ วัตถปุ ระสงคก์ ารฝึกตามลาดับขั้น ๒ กิจเฉพาะ : การกาหนดจุดท่อี ยูเ่ ป็นพกิ ดั ทางทหารโดยอาศยั เสน้ กรดิ เงอื่ นไข : ทหารใหมไ่ ดร้ บั แผนที่ มาตราสว่ น ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบบั บรรทัดวดั มมุ MR-1 หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดนิ สอดาและยางลบ มาตรฐานการฝกึ : กาหนดจดุ ทอ่ี ยู่เป็นพกิ ดั ทางทหารใกลเ้ คียง ๑๐๐ เมตรไดถ้ ูกต้อง ตามคาบอกของครทู กี่ าหนดให้ ภายใน ๑ นาที

๒ – ๓๖ ๒.๓ วตั ถุประสงคก์ ารฝกึ ตามลาดับขั้น ๓ กิจเฉพาะ : การคานวณและวดั ระยะทาง โดยใช้มาตราสว่ นและระยะทางของแผนท่เี สน้ กริด เงือ่ นไข : ทหารใหมไ่ ดร้ ับแผนที่ มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบบั บรรทดั วัดมมุ MR-1 หรือ P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดนิ สอดาและยางลบ มาตรฐานการฝึก : สามารถคานวณ และวัดระยะทาง ในแผนที่ไดถ้ ูกตอ้ งตามคาบอกของครู ที่กาหนดให้ ภายใน ๑ นาที ๒.๔ วตั ถปุ ระสงค์การฝกึ ตามลาดบั ขน้ั ๔ กจิ เฉพาะ : การหาคา่ มมุ ภาคทศิ เหนอื เง่ือนไข : ทหารใหมไ่ ด้รบั แผนท่ี มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ บรรทดั วดั มุม MR-1 หรอื P-67 จานวน ๑ แผน่ , ดนิ สอดา และยางลบ มาตรฐานการฝกึ : ๑. เมอ่ื กาหนดจดุ ท่ีอย่แู ลว้ สามารถวดั มมุ ภาคทิศเหนอื (กรดิ ) ไปยังตาบลที่ กาหนดให้และอ่านคา่ มุมภาคทศิ เหนือได้ถูกต้องในเวลาไม่เกิน ๒ นาที ๒. หามุมภาคทิศเหนอื ได้ถกู ต้อง ภายใน ๒ นาที หลงั จากทราบคา่ ของ มุมภาคทศิ เหนอื และจดุ ทอ่ี ยูแ่ ล้ว ๒.๕ วัตถุประสงคก์ ารฝกึ ตามลาดบั ขนั้ ๕ กิจเฉพาะ : การอธิบายความเข้าใจเกีย่ วกับส่วนประกอบของเข็มทิศ และการใช้เขม็ ทศิ เงอื่ นไข : ทหารใหม่ได้รบั เข็มทิศเลนเซติค จานวน ๑ เรอื น มาตรฐานการฝกึ : ๑. บอกชนิ้ สว่ นที่สาคญั ของเขม็ ทศิ เลนเซตคิ ไดถ้ กู ต้อง ทั้ง ๑๒ ช้นิ ส่วน ภายใน ๓ นาที ๒. อธิบายจากส่งิ ต่างๆ ทมี่ ีอิทธิพลทาให้เขม็ ทศิ คลาดเคลื่อนได้ถกู ท้ัง ๕ หวั ขอ้ ภายใน ๒ นาที ๓. อา่ นคา่ มมุ ภาคทิศเหนือทห่ี นา้ ปดั เขม็ ทศิ ได้ถูกตอ้ งทนั ทที เี่ ล็งเข็มทิศ ตรงท่ีหมาย ภายใน ๑ นาที ๔. ตัง้ เข็มทิศสาหรบั ใชใ้ นเวลากลางคนื ได้ถกู ตอ้ ง ๒.๖ วัตถุประสงคก์ ารฝกึ ตามลาดับขั้น ๖ กจิ เฉพาะ : การวัดมมุ และกรยุ ทิศทางบนแผนท่ี เงอื่ นไข : ทหารใหมไ่ ด้รบั แผนท่ีมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบบั บรรทัดวดั มุม MR-1 หรอื P-67 จานวน ๑ แผ่น, ดนิ สอดาและยางลบ และเขม็ ทศิ เลนเซติค จานวน ๑ เรอื น มาตรฐานการฝกึ : ๑. ทาการวัดมุมภาคทิศเหนือกรดิ หรือทศิ เหนือแม่เหลก็ ไดอ้ ย่างถูกวธิ ี และ สามารถบอกคา่ ของมมุ ได้อย่างถกู ตอ้ งในเวลา ๑ นาทีจากจดุ ที่กาหนดให้ ๒ จุด ๒. สามารถกรยุ ทศิ ทางลงบนแผนท่ีไดอ้ ย่างถกู วธิ แี ละเสร็จเรยี บร้อย ภายใน ๑ นาที หลังจากทไ่ี ด้รับคาส่ังให้ปฏบิ ตั ิ

๒ – ๓๗ ๒.๗ วตั ถุประสงค์การฝกึ ตามลาดบั ขน้ั ๗ กิจเฉพาะ : การกาหนดจดุ ท่ีอยู่ โดยการเล็งสกดั ตรง และการเล็งสกัดกลับ เงอ่ื นไข : ทหารใหม่ได้รับแผนที่มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ จานวน ๑ ฉบับ บรรทดั วดั มมุ MR-1 หรือ P-67 จานวน ๑ แผน่ , ดนิ สอดาและยางลบ และเขม็ ทศิ เลนเซตคิ จานวน ๑ เรือน มาตรฐานการฝึก : ๑. สามารถบอกจดุ ทอี่ ย่ขู องสิ่งซง่ึ ไม่ทราบท่ตี ง้ั โดยการเล็งสกัดตรง ดว้ ยวธิ ีใช้ แผนทแี่ ละไมบ้ รรทัดอยา่ งถกู วิธี โดยใชเ้ วลาไม่เกิน ๕ นาที (จุดเดน่ ๒ แห่ง อยู่หา่ งกนั ไมเ่ กิน ๑๐๐ ม.) ๒. สามารถบอกจุดที่อยขู่ องตนเองบนแผนท่ี โดยวิธเี ล็งสกดั กลบั ไดอ้ ย่างถูกวธิ ี โดยใช้ เวลาไม่เกิน ๒ นาที หลงั จากไดร้ ับคาสัง่ ใหห้ าจดุ ท่อี ยู่ของตนเอง ๒.๘ วตั ถุประสงคก์ ารฝกึ ตามลาดับขน้ั ๘ กิจเฉพาะ : การเดนิ ทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางวนั เงื่อนไข : ๑. ทหารใหมไ่ ดร้ ับเข็มทศิ เลนเซตคิ จานวน ๑ เรือน ๒. ใช้สนามฝึกเดินทางด้วยเข็มทศิ (ยอ่ ระยะ) ขนาดกวา้ ง ๑๐๐ เมตร ลกึ ๑๒๐ เมตร แบง่ เปน็ ๔ ระยะ ดงั น้.ี - - ระยะที่ ๑ ปักหลกั หมายเลขไว้ ๓ หลัก - ระยะที่ ๒ ปกั หลักหมายเลขไว้ ๔ หลัก - ระยะท่ี ๓ ปกั หลักหมายเลขไว้ ๗ หลัก - ระยะที่ ๔ ปกั หลักหมายเลขไว้ ๖ หลัก ๓. ทหารใหมจ่ ะต้องเดนิ จากจดุ เริ่มตน้ ในเวลากลางวนั ผา่ นหลักหมายเลขต่าง ๆ ในสนามไม่น้อยกวา่ ๖ หลัก มาตรฐานการฝึก : เดนิ ทางดว้ ยเข็มทศิ ในเวลากลางวนั ถูกวธิ ีและพบที่หมายถกู ตอ้ งครบถว้ นใชเ้ วลา เหมาะสม (ไม่เกิน ๒๐ นาที ตง้ั แต่เริ่มใหป้ ญั หาจนถงึ ที่หมายหลกั สุดทา้ ย) ๒.๙ วตั ถปุ ระสงค์การฝกึ ตามลาดับขน้ั ๙ กิจเฉพาะ : การเดนิ ทางโดยใช้เขม็ ทิศในเวลากลางคืน เงื่อนไข : ๑. ทหารใหมไ่ ดร้ ับเข็มทศิ เลนเซติค จานวน ๑ เรอื น ๒. ใชส้ นามฝึกเดนิ ทางดว้ ยเข็มทิศ (ย่อระยะ) ขนาดกวา้ ง ๑๐๐ เมตร ลึก ๑๒๐ เมตร แบง่ เป็น ๔ ระยะ ดังนี.้ - - ระยะที่ ๑ ปกั หลกั หมายเลขไว้ ๓ หลัก - ระยะท่ี ๒ ปักหลกั หมายเลขไว้ ๔ หลัก - ระยะที่ ๓ ปักหลักหมายเลขไว้ ๗ หลกั - ระยะที่ ๔ ปักหลักหมายเลขไว้ ๖ หลกั ๓. ทหารใหม่จะต้องเดนิ ในเวลากลางคนื จากจดุ เร่ิมต้นผา่ นหลกั หมายเลขต่าง ๆ ในสนามไม่นอ้ ยกวา่ ๔ หลัก มาตรฐานการฝึก : เดนิ ทางด้วยเขม็ ทศิ ในเวลากลางคืนถูกวิธแี ละพบท่หี มายถูกต้องครบถ้วน ใชเ้ วลา เหมาะสม (ไมเ่ กนิ ๓๐ นาที ต้ังแต่เรมิ่ ให้ปัญหาจนถงึ ที่หมายหลักสดุ ท้าย)

๒ – ๓๘ ๓. คาแนะนาทางธรุ การ ๓.๑ หว้ งเวลาการฝกึ : ๓.๒ สถานท่ีฝกึ : ๓.๒.๑ หอ้ งเรียน ๓.๒.๒ สนามฝกึ เดินทางดว้ ยเขม็ ทศิ (ย่อระยะ) ๓.๓ ผู้รบั การฝึก : ทหารใหม่ ผลัดที่ ๓.๔ ผฝู้ ึกและผูช้ ว่ ยผู้ฝกึ : ๓.๕ เคร่ืองช่วยฝึกและยทุ โธปกรณ์ : ๓.๕.๑ แผนทีม่ าตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ๑ ระวาง/คน ๓.๕.๒ เข็มทิศเลนเซตคิ ๑ เรอื น/คน ๓.๕.๓ บรรทดั วดั มุม MR-1 หรือ P-67 ๑ แผน่ /คน ๓.๕.๔ ดินสอดา และยางลบ ๓.๕.๕ เขม็ ทศิ จาลอง ๓.๖ หลักฐานอา้ งองิ : ๓.๖.๑ คู่มอื ราชการสนามวา่ ด้วยการอ่านแผนที่ (รส. ๒๑ – ๒๖) ๓.๖.๒ คู่มือพลทหารว่าดว้ ยการปฏบิ ตั ิการในสนาม พ.ศ.๒๕๑๗

๒ – ๓๙ ๔. ลาดับขัน้ ของการปฏบิ ตั ิและเวลาท่ีใช้ ลาดับขนั้ การปฏบิ ตั ิ เวลาทีใ่ ช้ ๑๐ นาที ๑ แจ้งใหท้ หารใหม่ทราบถงึ ความจาเป็นต้องเรยี นรู้วิชาการอา่ นแผนที่และการใช้เข็มทิศ ๓๐ นาที ๓๐ นาที แล้วจึงแจ้งให้ทราบขีดความสามารถหรือมาตรฐานท่ีต้องการให้ทหารใหม่จะต้อง ๓๐ นาที ๓๐ นาที ปฏิบตั ิได้ แล้วจงึ แจง้ เร่ืองตา่ ง ๆ ทจ่ี ะตอ้ งเรียนรู้ตามลาดบั ขั้นให้ทหารใหมท่ ราบ ๓๐ นาที ๒ ทาการสอนในเร่ืองสัญลักษณ์และสีต่างๆ บนแผนท่ีและวิธอี ่านเคร่ืองหมายแผนที่ท่ีขอบ ๓๐ นาที ระวาง โดยการแนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตามเม่ือทาการสอนเป็นที่เข้าใจแล้ว จึงให้ ครูฝึกทาการประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกท่ีกาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีท่ีมี ทหารใหมไ่ ม่ผา่ นให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไวแ้ ละนาทหารใหมค่ นน้ันทาการฝกึ ซ้าในโอกาสต่อไป ๓ ครฝู กึ ทาการสอนความหมายของเส้นกริด และการอา่ นพิกดั ทีต่ ้ังของจุดใดจดุ หน่ึง โดยการ แนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตาม เม่ือทาการสอนเป็นท่ีเข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการ ประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกที่กาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีที่มีทหารใหม่ ไมผ่ า่ น ใหค้ รูฝกึ เก็บขอ้ มลู ไว้และนาทหารใหม่คนน้ันทาการฝกึ ซ้าในโอกาสต่อไป ๔ ครูฝึกทาการสอน มาตราส่วนเส้นบรรทัด การอา่ น และการหาระยะในภูมปิ ระเทศโดยการ แนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตาม เม่ือทาการสอนเป็นที่เข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการ ประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกท่ีกาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีที่มีทหารใหม่ ไมผ่ า่ น ใหค้ รฝู ึกเกบ็ ข้อมูลไว้และนาทหารใหมค่ นน้ันทาการฝึกซา้ ในโอกาสต่อไป ๕ ครูฝกึ ทาการสอน ความหมายและลักษณะของมุมภาคทิศเหนือและมุมภาคทิศเหนือ กลับ โดยการแนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตามเพื่อให้ทราบถึงทิศทางต่างๆ เมื่อ ทาการสอน เป็นท่ีเข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการประเมินผล ตามมาตรฐานการฝึกท่ี กาหนดแล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณีที่มีทหารใหม่ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และ นาทหารใหมค่ นนน้ั ทาการฝกึ ซา้ ในโอกาสตอ่ ไป ๖ ครูฝึกทาการสอน ในเร่ือง เข็มทิศเลนเซติค, การใช้เข็มทิศโดยการแนะนาและให้ทหาร ใหม่ปฏิบัติตามเพื่อให้ทราบถึง คุณลักษณะของเข็มทิศ มุมภาคทิศเหนือและการใช้ เข็มทิศ เมื่อทาการสอนเป็นท่ีเข้าใจแล้วจึงให้ครูฝึกทาการประเมินผลตามมาตรฐาน การฝึกทีก่ าหนดแลว้ ทาการบนั ทึกไว้ ในกรณีที่มีทหารใหม่ไม่ผ่านให้ครูฝึกเก็บขอ้ มูล ไวแ้ ละนาทหารใหมค่ นนัน้ ทาการฝกึ ซ้าในโอกาสต่อไป ๗ ครฝู ึกทาการสอนในเร่ือง วธิ วี ดั มมุ บนแผนท่ี และการกรยุ แนวทิศทางลงบนแผนท่โี ดย การแนะนาและให้ทหารใหม่ปฏิบัติตามเพื่อให้ทราบ วิธีการวัดมุมภาคทิศเหนือหรือ ทิศเหนือแม่เหล็ก และวิธีกรุยแนวทิศทางลงบนแผนท่ี เม่ือทาการสอนเป็นที่เข้าใจ แล้วจึงให้ครูฝึก ทาการประเมินผล ตามมาตรฐานการฝกึ ที่กาหนดแล้วทาการบันทกึ ไว้ ในกรณที ่มี ีทหารใหม่ ไม่ผ่าน ใหค้ รูฝึกเก็บข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนนั้นทาการฝึก ซา้ ในโอกาสตอ่ ไป

๒ – ๔๐ ลาดบั ขนั้ การปฏบิ ัติ เวลาทใี่ ช้ ๘ ครูฝึกทาการสอนในเรื่อง การกาหนดจุดทอ่ี ยู่ โดยการเล็งสกัดตรงและการกาหนดทีอ่ ยู่ ๖๐ นาที โดยการเล็งสกัดกลับ ด้วยวิธกี ารใชแ้ ผนท่ีและเขม็ ทิศ โดยการแนะนาและให้ทหารใหม่ ปฏบิ ตั ติ ามโดยใหท้ หารใหม่ใช้เขม็ ทิศประกอบแผนที่ในการกาหนดท่ีตง้ั ต่าง ๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เม่ือทาการสอนเปน็ ท่ีเข้าใจแลว้ จงึ ให้ครูฝึกทาการประเมนิ ผลตามมาตรฐานการฝึกท่ี กาหนด แล้วทาการบันทึกไว้ ในกรณที ี่มีทหารใหม่ไมผ่ า่ น ให้ครฝู ึกเก็บขอ้ มลู ไว้และ นาทหารใหมค่ นน้นั ทาการฝึกซ้าในโอกาสต่อไป ๙ ครูฝึกนาทหารใหม่ปฏิบตั กิ ารเดินทางดว้ ยเขม็ ทิศในเวลากลางวนั โดยจดั ทหารใหม่ ๑๒๐ ออกเป็นชุดๆละ ๒-๓ นาย เดนิ ทางด้วยเขม็ ทิศในสนามฝึกเดนิ ทางดว้ ยเข็มทิศ นาที (ย่อระยะ) โดยใหท้ หารใหม่พบที่หมายถูกต้องครบถว้ น ภายในเวลาทกี่ าหนด ในกรณี ทม่ี ีทหารใหม่ไม่ผ่าน ให้ครฝู ึกเกบ็ ข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนนน้ั ทาการฝึกซา้ ในโอกาสต่อไป ๑๐ ครูฝึกนาทหารใหม่ปฏิบัติการเดินทางด้วยเข็มทิศในเวลากลางคืน โดยจัดทหารใหม่ ๑๒๐ ออกเป็นชุดๆ ละ ๒-๓ นาย เดินทางด้วยเข็มทิศในสนามฝึกเดินทางด้วยเข็มทิศ นาที (ย่อระยะ) โดยให้ทหารใหม่พบท่ีหมายถูกต้องครบถ้วน ภายในเวลาท่ีกาหนด ในกรณี (ใช้เวลานอก ที่มีทหารใหม่ไม่ผ่าน ให้ครูฝึกเก็บข้อมูลไว้และนาทหารใหม่คนน้ันทาการฝึกซ้า หลกั สูตรต้งั แต่ ๒๐๐๐-๒๒๐๐) ในโอกาสต่อไป ๑๑ ครูฝึกทาการทบทวนและประเมินผลอีกครั้งหนึ่ง ในกรณีที่มีทหารใหม่บุคคลใดไม่ผ่าน ๑๑๐ ในเร่ืองใด ใหค้ รฝู ึกทาการฝกึ ซ้า, นาที ประเมินผล และพจิ ารณาแกไ้ ขเป็นรายบคุ คลตอ่ ไป รวมเวลาท้งั ส้นิ ๑๐ ชั่วโมง ๕. ขอ้ จากดั เก่ียวกับการรกั ษาความปลอดภัย : ๕.๑ ให้ระมดั ระวงั ในการใชเ้ ข็มทศิ และแผนท่ี ซึ่งจะทาให้เกดิ การชารุดได้ ๕.๒ ตามระเบยี บปฏิบตั ปิ ระจาของหน่วย ๖. ขอ้ คิดเหน็ และรายละเอยี ดเพม่ิ เติม ๖.๑ ทหารใหมจ่ ะตอ้ งทราบชอื่ ระวางของแผนทีแ่ ละสามารถต่อแผนทไ่ี ด้ ๖.๒ ทหารใหม่สามารถระบคุ วามสูงและทรวดทรงของภูมิประเทศได้เมื่ออา่ นจากแผนท่ี ๖.๓ ทหารใหม่ทราบวิธีการรกั ษาแผนท่ีและเขม็ ทศิ ๗. การประเมินผลการฝกึ (ผสู้ อนและผู้รับการฝึก)ให้ปฏบิ ัตติ ามคมู่ ือการประเมินผลการฝึกทหารใหม่ฯ พ.ศ. ๒๕๕๕ ใน ๒ ลกั ษณะ ดังนี้ ๗.๑ ใหค้ รูฝึกไดท้ ดสอบความร้โู ดยวิธีสอบถามทหารใหมโ่ ดยสุม่ ตัวอย่างว่าเข้าใจหรอื ไม่ ๗.๒ ใหท้ หารใหม่ปฏบิ ัติในเรือ่ งการอ่านแผนท่ี และการใชเ้ ขม็ ทศิ ในสนามฝกึ เดนิ เขม็ ทิศ เพม่ิ เตมิ รายละเอยี ดเนื้อหาการสอนของแต่ละวิชา ตามจานวนช่ัวโมงที่ได้แบ่งมอบ