การประเม นตนเอง ระด บหล กส ตร ม.ราชภ ฏจ นทรเกษม

- อาจารยป์ ระจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบคุ คล หรอื รายกลุม่ ตามความตอ้ งการ ๒ ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์ ทกุ

วันจันทร์ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ณ ห้อง ๑๐๔ ช้นั ๑ อาคาร ๑๐๐ สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร)

(เฉพาะรายทตี่ อ้ งการ)

- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรกึ ษาผา่ นเว็บไซต์ มจร. วิทยาเขตขอนแกน่ หรือที่สำนักงาน

หมวดท่ี ๔ การพฒั นาการเรียนรู้ของนสิ ิต

๔.๑ การพฒั นาคุณลักษณะพเิ ศษของนิสิต

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธห์ รอื กิจกรรมของนิสติ

ด้านบุคลิกภาพ - มกี ารสอดแทรกเรื่องการสำรวมในสมณภาวะ การครองจีวรหรือการแตง่ กาย การเข้า

สงั คมและศาสนพิธี เทคนคิ การเจรจาสื่อสาร การมีมนุษยสมั พนั ธ์ทีด่ ี และการวางตวั ในการ

ทำงานในบางรายวิชาที่เก่ยี วข้องและในกิจกรรมปัจฉมิ นเิ ทศ กอ่ นท่นี ิสิตจะสำเร็จการศกึ ษา

ด้านภาวะผนู้ ำ และความ - กำหนดใหม้ ีรายวิชาซ่ึงนสิ ติ ตอ้ งทำงานเปน็ กลุ่ม และมีการกำหนดหัวหนา้ กลุ่มในการทำ

รบั ผิดชอบตลอดจนวินัย รายงานตลอดจน กำหนดให้ทกุ คนมีสว่ นร่วมในการนำเสนอรายงานเพือ่ เปน็ การฝึกให้นิสติ

ในตนเอง ไดส้ ร้างภาวะผ้นู ำและการเป็นสมาชกิ กลมุ่ ทด่ี ี

- มกี จิ กรรมนิสติ ทม่ี อบหมายใหน้ สิ ติ หมุนเวียนกนั เปน็ หวั หนา้ ในการดำเนนิ กิจกรรมเพอ่ื ฝกึ

ให้นิสิตมีความรับผดิ ชอบ

- มกี ติกาที่จะสร้างวนิ ยั ในตนเอง เชน่ การเขา้ เรียนตรงเวลา เขา้ เรยี นอยา่ งสมำ่ เสมอ การมี

ส่วนร่วมในชน้ั เรียน เสรมิ สร้างความกล้าในการแสดงความคิดเหน็

จริยธรรม และ - มีการให้ความรแู้ กน่ ิสติ ในการนำเอาความรู้ทางด้านภาษาบาลีไปใชใ้ นการทำงานทจี่ ะทำ

จรรยาบรรณวชิ าชีพ ให้นิสิตอยู่รว่ มกับคนอ่ืนและคนในสงั คมได้

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วข.ขอนแก่น

๔.๒ การพัฒนาการเรียนรูใ้ นแต่ละดา้ น (จาก มคอ. ๒ หลกั สูตรพุทธศาสตรบัณฑิต หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑.ทักษะดา้ น ๒.ทักษะดา้ น ๓.ทกั ษะทาง ๔.ทักษะความสัมพันธ์ ๕.ทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ

คณุ ธรรมจริยธรรม ความรู้ ปัญญา ระหว่างบคุ คลและความ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้

รบั ผิดชอบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒๓

⚫   ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ 

๔.๒.๑ ทกั ษะดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม

ผลการเรียนรดู้ ้านคณุ ธรรม กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้พฒั นาการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้

จริยธรรม ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม

ความรับผดิ ชอบหลกั ๑) ขณะบรรยาย หรอื ทำกจิ กรรมใดๆ ๑) ประเมนิ โดยผสู้ อนและเพือ่ น

(๑) มีศีลธรรม และศรัทธาอุทิศ ผู้บรรยายจะสอดแทรกเรื่องคุณธรรม สงั เกตพฤตกิ รรมผู้เรียน

ตนเพือ่ พระพุทธศาสนา จรยิ ธรรม จิตสาธารณะและการ ๒) ประเมินจากผลงานและความ

ความรบั ผิดชอบรอง เสียสละเพื่อสว่ นรวม รับผิดชอบในงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย

(๒) มจี ิตสาธารณะและเสยี สละ ๒) การเป็นต้นแบบท่ีดีของผ้สู อน ๓) ประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมของ

เพือ่ ส่วนรวม ๒) ยกกรณีตวั อยา่ งประเดน็ ปัญหา บณั ฑติ ที่สำเรจ็ การศกึ ษาโดย

(๓) เคารพสทิ ธิ ศกั ดิ์ศรีความ ทางดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม จติ หนว่ ยงานผูใ้ ชบ้ ณั ฑติ

เป็นมนษุ ย์ และรับฟังความ สาธารณะและเสียสละเพือ่ ส่วนรวมให้

คิดเห็นของผ้อู ื่น นสิ ติ แสดงความคดิ เหน็ ในการ

แก้ปัญหา

๔.๒.๒ ทกั ษะด้านความรู้ กลยทุ ธก์ ารสอนทใี่ ชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรูด้ า้ นความรู้ ด้านความรู้ ดา้ นความรู้ ความรบั ผดิ ชอบหลัก (๑) มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การ ๑) บรรยาย ๑) สอบ ทฤษฎีและเนื้อหา ความรบั ผดิ ชอบรอง ๒) มอบหมายใหน้ ำความรู้ท่ีไดไ้ ป ๒) สมดุ บนั ทึก (๒ ) ใชค้ วามรูม้ าอธิบายปรากฏการณ์ ท่เี กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล ปฏิบัตจิ ริงในชวี ิตประจำวัน ๑ เรื่อง ๓) รายงาน (๓) สามารถนำความรูม้ าปรับใช้ใน การดำเนินชวี ิตได้และแสวงหาความรู้ ๓) กจิ กรรมในช้นั เรยี น ๔) การสังเกตพฤตกิ รรม

๔) สอนแบบบรรยายและใชโ้ จทย์

ปัญหา

๕) สอนโดยใช้กรณีศึกษา

๖) เรียนรโู้ ดยการปฏบิ ัติ

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วข.ขอนแก่น

ผลการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ กลยทุ ธก์ ารสอนท่ใี ช้พฒั นาการเรียนรู้ กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้

อย่างต่อเนอ่ื งเปลย่ี นแปลงทง้ั ของไทย ดา้ นความรู้ ด้านความรู้ และของโลก ๗) เรยี นรู้แบบร่วมมอื

๔.๒.๓ ทักษะทางปัญญา กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้าน ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะทางปญั ญา เรียนรดู้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา ทกั ษะทางปญั ญา ๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ ๑) ประเมนิ จากผลงานและการของ ความรบั ผดิ ชอบหลัก ภาพประกอบ ผ้เู รียนท่ีเกดิ จากการใช้กระบวนการ (๑) สามารถค้นหาขอ้ มูล ทำความ ๒) สอนโดยใชก้ รณีศกึ ษา เรียนรู้อยา่ งเป็นเหตุเป็นผล ศกึ ษา เขา้ ใจ และประเมนิ ข้อมลู จาก ๓) เรยี นรู้โดยการปฏิบตั ิ คน้ ควา้ วเิ คราะห์ วิจารณ์ และนำเสนอ หลกั ฐาน ๔) เรยี นรแู้ บบรว่ มมอื อยา่ งเป็นระบบ ความรบั ผิดชอบรอง ๕) ศึกษาดูงาน ๒) ประเมนิ ผลจากขอ้ สอบกลางภาค / (๒ ) สามารถวเิ คราะห์และสังเคราะห์ ปลายภาค ท่ีมงุ่ เนน้ ให้ผู้เรียนตอบโดย อย่างเปน็ ระบบและมีเหตผุ ล การคิดวเิ คราะห์ ดว้ ยการนำความรูท้ าง (๓) สามารถประยุกตค์ วามรู้และ หลกั การ ทฤษฎีไปประยกุ ต์เพือ่ ทกั ษะเพอ่ื แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แกป้ ัญหาอยา่ งเหมาะสมมีเหตุผล

๔.๒.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ

ผลการเรียนรูด้ ้านทักษะ กลยุทธ์การสอนทใ่ี ช้พฒั นาการ กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้าน

ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและ เรยี นรู้ด้านทักษะความสมั พันธ์ ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและ

ความรบั ผดิ ชอบ ระหวา่ งบคุ คลและความ ความรับผิดชอบ

รบั ผดิ ชอบ

ความรับผดิ ชอบหลัก ๑) มอบหมายงานให้ผู้เรียน ๑) ประเมนิ จากพฤตกิ รรมและการ

(๒ ) มมี นุษยสัมพันธ์ ร้จู กั ควบคมุ ทำงานเปน็ กล่มุ เพอ่ื เรียนรคู้ วาม แสดงออกของผู้เรียนระหว่างการเรียน

อารมณ์ และยอมรบั ความแตกต่าง รบั ผิดชอบและการเป็นสมาชิกทีด่ ี การสอนและการทำงานร่วมกบั เพ่อื น

ระหว่างบคุ คล ของกลมุ่ ๒) ประเมินจากผลงานของผ้เู รยี นที่

ความรบั ผดิ ชอบรอง ๒) กำหนดกจิ กรรมแบ่งกลมุ่ ตอบ นำเสนอตามทไี่ ด้รับมอบหมาย

(๑) สามารถทำงานเปน็ ทีมทั้งในฐานะ คำถามในชั้นเรยี น

ผนู้ ำและผู้ตาม

(๓) รับผิดชอบตอ่ ตนเองและสงั คม

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วข.ขอนแก่น

๔.๒.๕ ทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์ กลยทุ ธก์ ารสอนทใ่ี ช้พัฒนาการ กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้าน

เชงิ ตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้ เรยี นร้ดู ้านทักษะการวิเคราะห์ ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การ

เทคโนโลยสี ารสนเทศ เชงิ ตวั เลข การสื่อสาร และการ สื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี

ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ

ความรบั ผดิ ชอบหลกั ๑) มอบหมายกจิ กรรมให้ผูเ้ รยี น ๑) ประเมินจากความสามารถในการ

(๒) ใชภ้ าษาในการติดตอ่ สื่อ ไดใ้ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ นำเสนอต่อชน้ั เรยี นโดยใช้เทคโนโลยี

ความหมายได้ดี ท้ังการฟงั พูด อ่าน การสืบค้นสอ่ื สารทีห่ ลากหลาย สารสนเทศ

และเขียน รปู แบบ ๒) ประเมินจากผลงานตามกจิ กรรมการ

ความรบั ผิดชอบรอง ๒) มอบหมายงานให้ศึกษา เรียนการสอนท่ผี ้สู อนมอบหมาย

(๑ ) ใชท้ ักษะวเิ คราะห์ เชิงตัวเลขได้ คน้ คว้าด้วยตนเอง จาก website

(๓) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ ส่ือการสอน e-learning และทำ

เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รายงาน โดยเนน้ การนำตัวเลข

หรอื มสี ถติ อิ า้ งอิง จากแหลง่ ท่ีมา

ขอ้ มูลท่นี า่ เชอื่ ถือ

หมวดท่ี ๕ แผนการสอนและการประเมนิ ผล

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ หวั ขอ้ /รายละเอียด จำนวน กจิ กรรมการเรยี น การ ผู้สอน

ท่ี ช่วั โมง สอน สือ่ ทใี่ ช้ (ถา้ มี)

๑ คำชีแ้ จง ๓ - แนะนำ ช้แี จง อธิบาย พระมหาอธิวัฒน์ ภทรฺ กวี

- ชแี้ จงแนวการเรียนการสอน รายวชิ า และแผนการสอน

- แจง้ จุดประสงคร์ ายวิชา เอกสารประกอบการ

- แนะนำแหล่งค้นคว้าและเอกสาร เรยี นการสอน

บทที่ ๑ ความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกบั - บอกแหลง่ คน้ คว้าขอ้ มูล/

ภาษาบาลี แนะวิธีการสบื คน้ ข้อมูล

๑.๑ ความหมายและความสำคัญของ สารสนเทศ การทำเอกสาร

ภาษาบาลี สำหรับการนำเสนอ การ

๑.๒ การเขียนและการอา่ นภาษาบาลี ใชโ้ ปรแกรมนำเสนอข้อมูล

- ศึกษาจากปัญหา

โครงงาน Problem base

learning

ภาควชิ าพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วข.ขอนแก่น

สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอียด จำนวน กิจกรรมการเรยี น การ ผู้สอน ท่ี ชว่ั โมง สอน ส่ือทใ่ี ช้ (ถ้ามี) พระมหาอธิวฒั น์ ภทรฺ กวี ๒ บทท่ี ๒ อกั ขรวิธี - บรรยาย ยกตวั อย่าง ๒.๑ อกั ขระในภาษาบาลี ๓ ประกอบ อภิปรายกลุ่ม ๒.๒ ฐานกรณ์ของอักขระ จากกรณีศึกษา ๒.๓ อกั ขระทเ่ี กิดในฐานเดียว - การเรียนการสอนแบบ ๒.๔ อักขระเกิดในสองฐาน e-Learning ระบบ ๒.๕ เสยี งอกั ขระ Google Classroom ๒.๖ พยญั ชนะสงั โยค และระบบออนไลนอ์ น่ื ๆ ตามความเหมาะสม

๓ บทท่ี ๓ สนธิ ๓ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระมหาอธิวัฒน์ ภทฺรกวี ๓.๑ สระสนธิ ประกอบ อภปิ รายกลุม่ ๓.๒ พยัญชนะสนธิ จากกรณศี ึกษา ๓.๓ นิคคหิตสนธิ - การเรียนการสอนแบบ e-Learning ระบบ ๔ บทที่ ๔ นามศพั ท์ Google Classroom ๔.๑ นามนาม และระบบออนไลนอ์ ื่นๆ ๔.๒ คณุ นาม ตามความเหมาะสม ๔.๓ สัพพนาม ๔.๔ องค์ประกอบของนามศัพท์ ๓ - บรรยาย ยกตวั อย่าง พระมหาอธิวฒั น์ ภทฺรกวี - ลิงค์ ประกอบ อภปิ รายกลุม่ - วจนะ จากกรณีศึกษา - วิภัตติ - การเรียนการสอนแบบ - อายตนิบาต e-Learning ระบบ - การนั ต์ Google Classroom ๔.๔ การแจกนามศพั ท์ และระบบออนไลนอ์ นื่ ๆ - การแจกนามศัพท์ในปุงลิงค์ ตามความเหมาะสม - การแจกนามศพั ท์ในอิตถีลิงค์ - การแจกนามศัพท์ในนปุงสกลิงค์

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วข.ขอนแก่น

สัปดาห์ หัวขอ้ /รายละเอียด จำนวน กจิ กรรมการเรียน การ ผสู้ อน ท่ี ชั่วโมง สอน สอ่ื ทใ่ี ช้ (ถา้ มี) พระมหาอธวิ ัฒน์ ภทฺรกวี ๕ บทท่ี ๕ กตปิ ยศพั ท์ - บรรยาย ยกตวั อยา่ ง ๕.๑ การแจกกตปิ ยศัพท์ ๓ ประกอบ อภิปรายกล่มุ พระมหาอธวิ ัฒน์ ภทฺรกวี ๕.๒ การแจกสงั ขยา จากกรณีศึกษา ๕.๓ การแจกสัพพนาม ๓ - การเรยี นการสอนแบบ พระมหาอธวิ ฒั น์ ภทรฺ กวี e-Learning ระบบ ๖ บทที่ ๖ อัพยยศพั ท์ ๓ Google Classroom พระมหาอธิวฒั น์ ภทฺรกวี ๖.๑ อปุ สัค และระบบออนไลนอ์ น่ื ๆ ๖.๒ นิบาต ๓ ตามความเหมาะสม ๖.๓ ปจั จยั ๓ - บรรยาย ยกตัวอยา่ ง ประกอบ อภิปรายกลมุ่ ๗ บทที่ ๗ อาขยาต จากกรณีศกึ ษา ๗.๑ องค์ประกอบของอาขยาต ๘ - การเรียนการสอนแบบ อย่าง e-Learning ระบบ -วภิ ัตต,ิ กาล, บท Google Classroom -วจนะ, บรุ ษุ , ธาตุ และระบบออนไลนอ์ นื่ ๆ -วาจก, ปัจจัย ตามความเหมาะสม - บรรยาย ยกตวั อย่าง ๘ สอบกลางภาค ประกอบ อภิปรายกลมุ่ ๙ บทที่ ๙ กริ ยิ ากิตก์ จากกรณศี ึกษา - การเรยี นการสอนแบบ ๙.๑ องคป์ ระกอบของกิรยิ ากิตก์ e-Learning ระบบ -วภิ ตั ต,ิ กาล, ปัจจัย Google Classroom ๙.๒ การแจกธาตุลงในกติ ปจั จัย และระบบออนไลน์อืน่ ๆ ๙.๓ การแจกธาตุลงในกิจจปัจจัย ตามความเหมาะสม ๙.๔ การแจกธาตุลงในกติ กิจจปัจจยั - ขอ้ สอบ - บรรยาย ยกตวั อยา่ ง ประกอบ อภิปรายกลมุ่ จากกรณศี ึกษา - การเรียนการสอนแบบ e-Learning ระบบ Google Classroom

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วข.ขอนแก่น

สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอยี ด จำนวน กจิ กรรมการเรยี น การ ผสู้ อน ท่ี ชัว่ โมง สอน สอ่ื ทใี่ ช้ (ถา้ ม)ี พระมหาอธิวัฒน์ ภทรฺ กวี และระบบออนไลน์อืน่ ๆ ๑๐ บทท่ี ๑๐ นามกิตก์ ๓ ตามความเหมาะสม พระมหาอธิวฒั น์ ภทรฺ กวี ๑๐.๑ สาธนะ - บรรยาย ยกตัวอยา่ ง ๓ ประกอบ อภิปรายกลุ่ม พระมหาอธิวฒั น์ ภทรฺ กวี ๑๐.๒ ปจั จัยแหง่ นามกติ ก์ จากกรณีศึกษา ๑๐.๓ วเิ คราะหใ์ นกติ ปัจจัย ๓ - การเรียนการสอนแบบ ๑๐.๔ วิเคราะห์ในกิจจปัจจัย e-Learning ระบบ Google Classroom ๑๐.๕ วเิ คราะหใ์ นกติ กิจจปัจจยั และระบบออนไลน์อ่นื ๆ ตามความเหมาะสม ๑๑ บทท่ี ๑๑ สมาส - บรรยาย ยกตวั อย่าง ๑๑.๑ กมั มธารยสมาส ประกอบ อภิปรายกลุ่ม ๑๑.๒ ทคิ ุสมาส จากกรณีศกึ ษา ๑๑.๓ ตัปปุริสสมาส - การเรียนการสอนแบบ ๑๑.๔ ทวนั ทวสมาส e-Learning ระบบ ๑๑.๕ อัพยยภี าวสมาส Google Classroom ๑๑.๖ พหพุ พิหิสมาส และระบบออนไลน์อ่ืนๆ ตามความเหมาะสม ๑๒ บทท่ี ๑๒ ตัทธติ - บรรยาย ยกตัวอย่าง ๑๒.๑ สามัญญตทั ธติ ๑๓ ประกอบ อภปิ รายกล่มุ - โคตตตัทธิต จากกรณีศกึ ษา - ตรตั ยาทิตัทธิต - การเรียนการสอนแบบ - ราคาทิตัทธติ e-Learning ระบบ - ชาตาทิตัทธติ Google Classroom - สมุหตทั ธติ และระบบออนไลนอ์ ื่นๆ - ฐานตทั ธิต ตามความเหมาะสม - พหลุ ตัทธิต - เสฏฐตัทธิต - ตทสั สัตถิตัทธติ - ปกติตทั ธิต - สังขยาตัทธิต

ภาควชิ าพระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วข.ขอนแก่น

สปั ดาห์ หวั ข้อ/รายละเอยี ด จำนวน กิจกรรมการเรียน การ ผ้สู อน ท่ี ช่ัวโมง สอน ส่ือทใ่ี ช้ (ถ้าม)ี พระมหาอธิวัฒน์ ภทฺรกวี ๑๓ - ปรู ณตัทธติ - วภิ าคตทั ธติ ๓ - บรรยาย ยกตวั อยา่ ง พระมหาอธวิ ฒั น์ ภทรฺ กวี ๑๔ ๑๒.๒ ภาวตทั ธิต ประกอบ อภิปรายกลมุ่ ๑๒.๓ อัพยยศัพท์ จากกรณีศึกษา บทที่ ๑๓ หลักไวยากรณ์เพ่อื การ - การเรียนการสอนแบบ แตง่ -แปลบาลี e-Learning ระบบ ๑๓.๑ ประโยคในภาษาบาลี Google Classroom - ประโยคทีจ่ ัดตามโครงสรา้ งทาง และระบบออนไลนอ์ ื่นๆ ไวยากรณ์ ตามความเหมาะสม - ประโยคที่จัดตามเนอ้ื หา - ประโยคทีจ่ ดั ตามหลักสัมพันธ์ ๓ - บรรยาย ยกตัวอยา่ ง ๑๓.๒ ความสมั พันธ์ของบทใน ประกอบ อภปิ รายกลุ่ม ประโยค จากกรณศี กึ ษา - ความสมั พันธ์ระหวา่ งบท - การเรยี นการสอนแบบ ประธานกับบทขยายประธาน e-Learning ระบบ - ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบท Google Classroom ประธานกบั บทกริ ิยาในระหว่าง และระบบออนไลนอ์ ืน่ ๆ - ความสมั พันธ์ระหว่างบท ตามความเหมาะสม ประธานกับบทกริ ยิ าในคุมพากย์ - ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบทกรรม กับบทกริ ิยา ๑๓.๓ หลักสมั พนั ธ์ บทท่ี ๑๔ หลักการแปลบาลี ๑๔.๑ ประเภทการแปล -การแปลโดยพยัญชนะ -การแปลโดยอรรถ ๑๔.๒ หลกั การแปลและลำดบั การ แปลบาลี ๑๔.๓ หลกั การแปลประโยคเลขนอก- เลขใน ๑๔.๔ หลกั การแปลประโยคอปุ มา-

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วข.ขอนแก่น

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอยี ด จำนวน กจิ กรรมการเรยี น การ ผสู้ อน ท่ี ชัว่ โมง สอน สอ่ื ทใ่ี ช้ (ถ้ามี) อปุ ไมย ๑๕ บทท่ี ๑๕ หลกั การแต่งบาลี ๓ - บรรยาย ยกตวั อย่าง พระมหาอธิวัฒน์ ภทฺรกวี ๑๕.๑ หลกั การเรยี งนิบาต ประกอบ อภปิ รายกลุ่ม ๑๕.๑ หลกั การเรียงบทนามนาม จากกรณศี กึ ษา ๑๕.๑ หลักการเรียงบทวเิ สสนะ - การเรยี นการสอนแบบ ๑๕.๑ หลักการเรยี งบทกริ ยิ า e-Learning ระบบ ๑๕.๑ หลักการวางบทกริ ิยาวิเสสนะ Google Classroom ๑๕.๑ หลักการเรยี งวกิ ตกิ ัตตา และระบบออนไลนอ์ ่ืนๆ ตามความเหมาะสม ๑๖ สอบปลายภาค ๓ - ขอ้ สอบ

๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ท่ี ผลการ วธิ ีการประเมนิ สปั ดาหท์ ี่ประเมิน สัดสว่ นของการ เรยี นรู้ ประเมินผล

๑ ๔.๒.๒ (๑) สอบกลางภาค ๘ ๒๐ % ๔.๒.๓ (๑) สอบปลายภาค ๑๖ ๒๐ %

๔.๒.๑ (๑) วเิ คราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน

๒ ๔.๒.๒ (๑) การทำงานและผลงาน ตลอดภาค ๕๐ % ๔.๒.๓ (๑) การสง่ งานตามที่มอบหมาย การศกึ ษา

๔.๒.๕ (๒) ทดสอบย่อยแต่ละบท

๔.๒.๑ (๑) การเข้าชนั้ เรียน

๓ ๔.๒.๔ (๒) การมีสว่ นรว่ ม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้น ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ %

๔.๒.๕ (๒) เรียน

หมวดท่ี ๖ ทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอน

๑. เอกสารและตำราหลกั พระเทพปรยิ ัตโิ มล.ี (๒๕๖๐). หลักสูตรบาลีไวยากรณ์และหลกั สมั พันธ์. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑๓. กรุงเทพฯ: สำนักเรยี น

วัดโมลีโลกยาราม.

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วข.ขอนแก่น

พระมหาธิตพิ งศ์ อุตฺตมปญโฺ . (๒๕๕๖). ไวยากรณบ์ าลีเบอ้ื งตน้ พ้นื ฐานเพื่อการเรียนภาษาบาลเี ปน็ ประเพณี ของชาวไทย. พิมพค์ ร้ังที่ ๑. กรุงเทพฯ: มหาบาลีวชิ ชาลัย.

พระมหานยิ ม อุตฺตโม. (๒๕๔๔). หลักสตู รยอ่ บาลีไวยากรณ.์ พมิ พ์ครง้ั ที่ ๔. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพค์ ลงั นานา วิทยา. ๓. เอกสารและขอ้ มลู สำคัญ

กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า. (๒๕๔๗). บาลีไวยากรณ์วจวี ิภาค ภาคที่ ๒ นามและ อัพยยศัพท.์ นครปฐม: โรงพมิ พม์ หามกุฏราชวิทยาลยั .

กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจา้ . (๒๕๔๗). บาลไี วยากรณ์วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาตและ กิตก.์ นครปฐม: โรงพมิ พม์ หามกฏุ ราชวทิ ยาลัย.

กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า. (๒๕๔๗). บาลไี วยากรณ์วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ สมาส และตัทธิต. นครปฐม: โรงพมิ พม์ หามกฏุ ราชวิทยาลยั .

กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า. (๒๕๔๗). บาลีไวยากรณ์วจวี ิภาค ภาคที่ ๒ สมญั ญาภิธาน และสนธิ. นครปฐม: โรงพิมพม์ หามกุฏราชวิทยาลัย.

พระมหานยิ ม อตุ ฺตโม. (๒๕๔๗). บนั ทกึ บทเรียนบาลไี วยากรณ์. ขอนแกน่ : หจก.โรงพมิ พ์คลงั นานาวิทยา. ๔. เอกสารและข้อมูลแนะนำ

เว็บไซต์ท่ีเกีย่ วข้องกบั หัวข้อในรายวิชา เชน่ google, wikipedia, คัมภรี อ์ ภิธานัปปทีปิกา และคัมภรี ์อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง, คำอธบิ ายศัพท์เฉพาะทางภาษาบาลี

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา ๑. กลยุทธ์การประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของรายวิชาโดยนักศกึ ษา

การประเมินประสทิ ธิผลในรายวิชานี้ ที่จดั ทำโดยนกั ศกึ ษา ไดจ้ ัดกิจกรรมในการนำแนวคดิ และความเหน็ จาก นกั ศึกษาได้ดังน้ี

การสนทนากลมุ่ ระหว่างผสู้ อนและผเู้ รียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมนิ ผู้สอน และแบบประเมนิ รายวิชา ขอ้ เสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารยผ์ ู้สอนได้จัดทำเปน็ ชอ่ งทางการส่อื สารกับนักศกึ ษา ๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเกบ็ ขอ้ มูลเพ่อื ประเมินการสอน ไดม้ กี ลยทุ ธ์ ดงั น้ี การสังเกตการณ์สอนของผูร้ ว่ มทีมการสอน ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ๓. การปรบั ปรงุ การสอน หลังจากผลการประเมนิ การสอนในข้อ ๒ จงึ มีการปรับปรงุ การสอน โดยการจดั กิจกรรมในการระดมสมอง และหา

ภาควชิ าพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วข.ขอนแก่น

ข้อมูลเพิม่ เตมิ ในการปรบั ปรุงการสอน ดงั น้ี สมั มนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชนั้ เรยี น ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องนักศกึ ษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหวั ข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรยี นรใู้ น วิชา ไดจ้ าก การสอบถามนกั ศกึ ษา หรือการสมุ่ ตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และ หลังการออกผลการเรยี นรายวชิ า มีการทวนสอบผลสัมฤทธโิ์ ดยรวมในวิชาได้ดงั นี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสมุ่ ตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรอื ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ทไ่ี ม่ใช่ อาจารยป์ ระจำหลักสูตร

มีการตง้ั คณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมนิ การเรยี นร้ขู องนกั ศกึ ษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธกี ารให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤตกิ รรม ๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรงุ ประสทิ ธผิ ลของรายวิชา

จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสมั ฤทธิป์ ระสทิ ธผิ ลรายวิชา ได้มกี ารวางแผนการปรับปรุงการสอน และ รายละเอยี ดวิชา เพอื่ ให้เกดิ คณุ ภาพมากขึน้ ดังน้ี

ปรบั ปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรอื ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิต์ ามขอ้ ๔ เปล่ียนหรอื สลับอาจารยผ์ ูส้ อน เพ่ือให้นกั ศึกษามีมมุ มองในเรือ่ งการประยกุ ต์ความรนู้ ้ีกบั ปญั หาที่มาจากงานวจิ ยั ของ อาจารย์หรือแนวคิดใหมๆ่

ช่ืออาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบรายวิชา/อาจารยผ์ ู้บรรยาย พระมหาอธิวฒั น์ ภทฺรกวี

ลงชอ่ื _______________________________ วันท่รี ายงาน ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕

ชือ่ อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร พระมหาภริ ัฐกรณ์ อสํ ุมาลี, ผศ.ดร.

ลงช่ือ _______________________________ วันที่รบั รายงาน ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕

ภาควชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วข.ขอนแก่น

รายละเอยี ดของรายวิชา (มคอ.๓)

รายวิชา ๑๑๒ ๓๑๐ศาสนาพราหมณ์- ฮนิ ดู

ชอื่ สถาบันอุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควิชา ขอนแกน่ / คณะพทุ ธศาสตร์ / ภาควชิ าศาสนาและปรชั ญา

หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป

๑.รหัสและชอ่ื รายวชิ า

๑๑๒ ๓๑๐ ศาสนาพราหมณ์- ฮนิ ดู (Brahmanism-Hinduism)

๒.จำนวนหนว่ ยกิต

๓ หนว่ ยกิต ๓ (๓ ๐ ๖)

๓.หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา

หลักสูตรพุทธศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าปรชั ญา หมวดวิชาเฉพาะด้านปรชั ญา (วชิ าเลือกเฉพาะสาขาปรัชญา)

๔.อาจารย์ผ้รู ับผดิ หลักสตู ร, อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พระครูปริยัติธรรมวงศ์,รศ.ดร., พระมหาปพน กตสาโร/แสงย้อย, พระมหาประทีป

สญญโม ดร. ผศ,ดร.พลเผ่า เพง็ วภิ าศ พระสมบัติ ฐติ ญาโณ,ดร.

อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบรายวชิ า พระมหาประทีป สญญโม/พรมสิทธิ์

อาจารยผ์ ูส้ อน พระมหาประทีป สญญโม/พรมสทิ ธ์ิ, นธ.เอก, ปธ.๗, พธ.บ.ปรชั ญา, ศศ.ม.(ปรชั ญา),พธ.ด.(พุทธศาสนา)

๕.ภาคการศึกษา / ชั้นปีทีเ่ รียน

ภาคการศกึ ษาที่ ๑ / ๒๕๖๕ ชน้ั ปีท่ี ๑

๖.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถา้ มี)

ไมม่ ี

๗.รายวชิ าทตี่ ้องเรยี นพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)

ไมม่ ี

๘.ทวนสอบผลสัมฤทธก์ิ ารเรยี นรู้

ไม่มี กำหนดการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ในรายวิชานี้

๙. สถานทเ่ี รยี น มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตขอนแก่น

ภาคปกติ ทกุ วนั พฤหัสบดี ๐๘.๓๐ น.ถงึ ๑๑.๓๐ น.ห้องเรียน ๓๐๙ ชัน้ ๓

หอ้ งอาจารยท์ ีป่ รึกษา หอ้ ง ๒๐๑ เวลา ๑๒.๐๐ น. -๑๗.๐๐ น. ทกุ วันพธุ

ภาคปกติ เร่ิมต้นวนั ท่ี ๑๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๕ สิ้นสดุ วนั ที่ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๕

ภาคสมทบ เริม่ ต้นวนั ที่ ๑๘ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕ สนิ้ สุดวนั ท่ี ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๕

ทกุ วันอาทติ ย์ หอ้ งเรียน ๓๐๒-๓๐๓ ชนั้ ๓ เวลา๑๒.๐๐น.ถึง๑๕.๐๐ น.

๑๐. วันทจ่ี ดั ทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลา่ สุด วันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๕

หมวดท่ี ๒ จดุ มงุ่ หมายและวัตถปุ ระลงค์

๑. จดุ ม่งุ หมายของรายวิชา นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะ ความสำคัญ คุณค่าของศาสนา ประวตั ิ พัฒนาการ หลักใน

การศกึ ษาศาสนา หลกั คำสอน พธิ กี รรมและจดุ มุ่งหมายของศาสนาต่าง ๆ สามารถวเิ คราะหล์ กั ษณะที่เป็นสากล รว่ มกันและ ต่างกนั ของศาสนาปัจจบุ นั อิทธิพลของศาสนาต่อสงั คมโลก วธิ ีการเผยแผศ่ าสนา ความรว่ มมอื ระหว่าง ศาสนา และท่าทขี อง ศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย

๒. วตั ถุประสงคใ์ นการพัฒนา/ปรบั ปรงุ รายวิชา เพื่อพัฒนาและปรับปรุงเน้ือหาของรายวิชาให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายวิชา สามารถ จัดการ

เรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจความหมาย ลักษณะ ความสำคัญ คุณค่าของศาสนา ประวัติ พัฒนาการ หลักในการศึกษาศาสนา หลักคำสอน พิธีกรรมและจุดมุ่งหมายของ ศาสนาต่าง ๆ สามารถวิเคราะห์ ลักษณะท่ีเป็นสากลร่วมกันและต่างกันของศาสนาปัจจุบัน อิทธิพลของศาสนา ต่อสังคมโลก วิธีการเผยแผ่ศาสนา ความ ร่วมมือระหว่างศาสนา และท่าทีของศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย และ เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตาม มาตรฐาน สกอ.

หมวดท่ี ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวชิ า

ศึกษากำเนิด พัฒนาการ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ ประเด็นสำคัญของคัมภีร์คัมภีร์พระเวท คัมภีร์อุปนิษัท ภควัทคีตา

พิธกี รรม การเผยแผ่ และโครงสร้างการบรหิ ารของนิกายต่างๆ ในศาสนาพราหมณ์ ฮินดู

๒. จำนวนชั่วโมงทีใ่ ช้ต่อภาคการศกึ ษา

บรรยาย สอนเสริม การรึเกปฏบิ ัติ/งาน การศกึ ษาดว้ ยตนเอง ภาคสนาม/การรเึ กงาน

บรรยาย ๓๐ ช่วั โมงตอ่ ภาค สอนเสรมิ ตามความ ไม่มีการ'ฟิกปฏบิ ตั ิงาน การศึกษาดว้ ยตนเอง ๔ ชัว่ โมงต่อ การศกึ ษา ตอ้ งการของนสิ ิต ภาคสนาม สัปดาห์ เฉพาะราย

๓. จำนวนช่ัวโมงต่อสปั ดาหท์ อ่ี าจารยใ์ หค้ ำปรกึ ษาและแนะนำทางวชิ าการแกน่ ิสิตเปน็ รายบุคคล

- อาจารยป์ ระจำรายวชิ า ประกาศเวลาใหค้ ำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ หรอื ส่วนงาน

- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายท่ี

ต้องการ)

หมวดท่ี ๔ การพัฒนาการเรยี นรู้ของนิสติ ๔.๑ การพฒั นาคณุ ลกั ษณะพเิ ศษของนสิ ติ

คณุ ลกั ษณะพิเศษ กลยทุ ธห์ รือกิจกรรมของนสิ ิต ด้านบุคลิกภาพ มีการสอดแทรกเร่ือง การสำรวมในสมณภาวะ การครองจีวรหรือการแต่ง กายการเข้าสังคมและศาสนพิธี เทคนิคการเจรจา ส่ือสาร การมีมนุษย

ด้านภาวะผู้นำ และความรับผิดชอบ สัมพันธ์ท่ีดีและการวางตัวในการทำงานในบางรายวิชาท่ีเก่ียวข้อง และใน ตลอดจนวนิ ยั ในตนเอง กิจกรรมปจั ฉิมนิเทศก่อนท่นี ิสิตจะสำเร็จการศึกษา

จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี - กำหนดให้มรี ายวิชาซ่ึงนิสิตต้องทางานเป็นกลุ่ม และมีการกำหนดหัวหน้า กลุ่มในการทำรายงานตลอดจน กำหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ รายงาน เพื่อเป็นการฝึกให้นิสิตได้สร้างภาวะผนู้ ำและการเปน็ สมาชกิ กลุ่มท่ี ดี - มีกิจกรรมนิสติ ท่ีมอบหมายใหน้ ิสิตหมุนเวียนกนั เป็นหัวหน้าในการดำเนิน กจิ กรรม เพอ่ื ฝกึ ให้นสิ ิตมีความรบั ผิดชอบ - มีกติกาท่ีจะสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลาเข้าเรียนอย่าง สม่ำเสมอ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เสริมความกล้าในการแสดงความ คิดเห็น

มีการให้ความรู้ถึงแก่นิสิตในการนำเอาความรู้ทางด้านภาษาบาลีสันสกฤต ไปใช้ในการทำงานทีจ่ ะทำใหน้ ิสติ อยู่รว่ มกบั คนอน่ื และคนในสงั คมได้

๔.๒ การพัฒนาการเรียนรู้ในแต่ละด้าน (จาก มคอ.๒ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ปรัชญา

(หลกั สูตรปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๕)

๑. คณุ ธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทาง ๔. ทกั ษะ ๕. ทกั ษะการ

จริยธรรม ปัญญา ความสัมพนั ธ์ วิเคราะห์เชงิ ตัวเลข

ระหว่างบคุ คล การสอ่ื สารและการ

และความ ใชเ้ ทคโนโลยี

รบั ผดิ ชอบ สารสนเทศ

๑ ๒๓๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๒๓๔๕๑๒๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔

● o o ● ● ● ● o ● o ●o ●o o ●o ●o o ● ●●

๔.๒.๑ คณุ ธรรม จริยธรรม

ผลการเรยี นรดู้ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กลยุทธก์ ารสอนทใ่ี ช้ กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นร้ดู า้ น

พัฒนาการเรียนรูด้ ้านคณุ ธรรม คุณธรรม จริยธรรม

จรยิ ธรรม

ความรบั ผิดชอบหลัก ๑) บรรยายเชงิ วิชาการ ๑) ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน ความ

๑) มีศีลธรรมและศรัทธาอุทิศตน เพื่อ ๒) การมอบหมายงาน รบั ผิดชอบงาน ความตรงตอ่ เวลา

พระพุทธศาสนา ๓) กำหนดให้นิสิตฝึกอภิปราย ๒) ประเมินผลจากการนำเสนอหรือส่งงานท่ี

๓) เคารพสิทธิ ศักดิ์ศรีความเป็นคน และ วิเคราะห์เนื้อหาด้านคุณธรรม มอบหมายตามกรอบเวลาทีก่ ำหนดไว้

รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืน จรยิ ธรรม ๓) การสงั เกตพฤติกรรม

ความรบั ผิดชอบรอง ๔) การฝึกทักษะการศึกษา ๔) ประเมินผลจากการทดสอบกลางภาค

ผลการเรยี นร้ดู า้ นคุณธรรม จริยธรรม กลยุทธ์การสอนที่ใช้ กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ น

พัฒนาการเรียนร้ดู า้ นคุณธรรม คุณธรรม จริยธรรม

จรยิ ธรรม

๒ ) มีจิ ตสาธารณ ะและเสียสละเพ่ื อ ค้ น ค ว้ าเนื้ อ ห าส ารัต ถ ะ ใน และสอบปลายภาค

ส่วนรวม พระไตรปิฎก โดยเฉพาะเนื้อหา

๔) เห็นคุณค่าศิลปวัฒนธรรมและภูมิ สารัตถะในพระสตุ ตนั ตปฎิ ก

ปญั ญาทอ้ งถิ่น

๕) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีต่อสังคม

ชาติศาสนา

๔.๒.๒ ความรู้

ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ช้พัฒนาการ กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ น

เรียนรู้ดา้ นความรู้ ความรู้

ความรับผดิ ชอบหลัก ๑) บรรยาย อภปิ ราย ๑) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบ

๑) มีความรู้ความเข้าใจหลักการทฤษฎีและ ๒) การทำงานกลุ่ม/การนำเสนอใบ ปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นท้ังด้าน

เนื้อหา งาน ศกั ยภาพและสมรรถภาพ

๓) สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการ ๓) การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ ๒) สมุดบันทึก

ดำเนินชีวติ ได้ ม อ บ ห ม าย ให้ ค้ น ค ว้ า ข้ อ มู ล ที่ ๓) รายงาน/ใบงาน

ความรับผิดชอบรอง เก่ยี วขอ้ ง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ๔) การสังเกตพฤติกรรม

๒) ใช้ความรู้มาอธิบายปรากฏการณ์ท่ี ๔) เน้นการศึกษาโดยใชบ้ ททดสอบ ๕) ประเมนิ การนำเสนอสรปุ การศึกษา

เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างมเี หตผุ ล ๕) เน้นการศึกษาโดยใช้ปัญหา และ คน้ ควา้ ขอ้ มูล

๔) มีความรอบรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทั้ง โ ค ร ง ง า น ( Problem base

ของไทยและของโลก learning)

๕) รู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ๖) เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการ

อย่างต่อเน่ือง เรียนรู้ (Student Center)

๔.๒.๓ ทักษะทางปัญญา

ผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา กลยุทธ์การสอนทใ่ี ชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้าน

ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา ทักษะทางปัญญา

ความรับผดิ ชอบหลกั ๑) การบรรยาย/อภปิ รายเชงิ วชิ าการ ๑) ประเมินจากผลงานและการของ

๑) สามารถค้นหาข้อมูลทำความเข้าใจ ๒) การมอบหมายงานให้นิสิตศึกษา ผู้เรียนที่เกิดจากการใช้กระบวนการ

และประเมินข้อมลู จากหลกั ฐาน คน้ คว้าข้อมูลและนำเสนอผลการศกึ ษา เรียนรู้อย่างเป็นเหตุเป็นผ ล ศึกษา

๓) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะ ๓) การให้นิสิตศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาใน ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์ และนำเสนอ

เพอื่ แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม พระสุตตันตปิฎก จนเกิดทักษะสามารถ อยา่ งเป็นระบบ

ผลการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรยี นรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้าน ด้านทักษะทางปัญญา ทักษะทางปัญญา ความรบั ผิดชอบรอง ๒) สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ นำไปถา่ ยทอดได้ ๒) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย การ อย่างเปน็ ระบบและมีเหตผุ ล สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบท่ีแสดงถึงทักษะทาง ปัญญาเก่ียวกบั พระสุตตันตปฎิ ก

๔.๒.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ กลยุทธก์ ารสอนที่ใชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ น

ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ ด้านทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ ง ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและ

บุคคลและความรบั ผิดชอบ ความรับผดิ ชอบ

ความรบั ผดิ ชอบหลัก ๑) จัดกิจกรรมกลุ่มภายในห้องเรียน ๑ ) ป ระเมิ น ต น เองและเพ่ื อ น ด้ วย

๓) มีมนุษยสัมพันธ์รู้จักควบคุมอารมณ์ หรือห้องสมุด เพ่ือการศึกษาค้นคว้า แบบฟอรม์ ทก่ี ำหนด

และยอมรบั ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ขอ้ มลู ๒) การสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล/กลุม่

๔) รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ๒) มอบหมายงานเป็นรายบุคคลหรือ ๓) การประเมินผลงานทนี่ ำเสนอ

ความรับผิดชอบรอง กลุม่ ๔) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย การ

๑) สามารถทำงานเป็นทมี ๓) การนำเสนอหรือส่งใบงาน/รายงาน สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

๒) เป็นสมาชิกท่ีดีของกลุ่มทั้งในฐานะ ท่ีได้ศึกษาค้นคว้า

ผู้นำและผู้ตาม

๔.๒.๕ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสอื่ สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรดู้ ้านทักษะการ กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้าน

วิเคราะหเ์ ชิงตวั เลขการสือ่ สาร ด้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลขการ ทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลขการสอ่ื สาร

และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ สอ่ื สารและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

ความรับผิดชอบหลัก ๑) อภิปราย ๑) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อ

๑) ใชท้ กั ษะวเิ คราะห์เชิงตัวเลขได้ ๒) มอบหมายงานให้นิสิตศึกษาค้นคว้า เทคโนโลยี ความรับผิดชอบรอง ดว้ ยตนเอง จาก website สื่อการสอน e- ๒) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการ

๒ ) ใช้ ภ า ษ า ใน ก า ร ติ ด ต่ อ ส่ื อ learning สอน

ความหมายได้ดีท้ังการฟัง พูด อ่าน ๓) ทำรายงาน โดยเนน้ การนำตวั เลข หรือ และเขยี น มีสถิติอ้างอิงจากแหล่งท่ีมาของข้อมูลที่ ๓) มีทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ น่าเชือ่ ถอื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๔) นำเสนอ/ส่งใบงานหรือรายงานโดยใช้

รปู แบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

หมวดท่ี ๕ แผนการสอนและการประเมินผล

๑. แผนการสอน

สัปดา หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน กิจกรรมการเรียน การ สอน ผสู้ อน พม.ประทีป ห์ที่ ชว่ั โมง สอื่ ที่ใช้ (ถา้ มี) สญญโม,ดร.

หนว่ ยที่ ๑. ทดสอบกอ่ นเขา้ บทเรียน พม.ประทีป สญญโม,ดร. ๑ ๒. แนะนำแผนการสอน พม.ประทีป ๒.๑ คำอธบิ ายรายวิชา การบรรยายการอภปิ ราย สญญโม,ดร.

๒.๒ วัตถปุ ระสงคร์ ายวชิ า ๓ งานมอบหมายการนำเสนอ

๒.๓ กิจกรรมการเรียนการสอน หน้าชน้ั Power

๒.๔ วธิ กี ารประเมินผล PointProjector

๒.๕ งานมอบหมาย

๓.การเรยี นการสอนในระบบอีเลนิ นงิ่

๔.การสอบวดั ผลประเมนิ ผลในระบบอี

เทสตง้ิ

หน่วยที่ ศาสนาคืออะไร

๑ ความหมายของคําวา่ ศาสนา

คาํ ว่า ศาสนากับคําว่า Religion

คุณคา่ ของศาสนา ๓ การบรรยายการอภปิ ราย

คาํ สอนท่ีถือวา่ เปน็ ศาสนา งานมอบหมายการนำเสนอ

มูลเหตุทเ่ี ปน็ ปัจจัยใหเ้ กิดศาสนา หนา้ ช้นั Power

มูลเหตุการเกดิ ศาสนาประเภทต่าง ๆ PointProjector

ลาํ ดบั ประวัติศาสตร์ทางศาสนา

ประเภทของศาสนา

ประเภทผนู้ ับถือศาสนา

ยคุ การเกิดและววิ ัฒนาการของศาสนา

หลักในการศึกษาศาสนา

สรุป

แบบฝึกหัดทา้ ยบท

หน่วยที่ ความเช่อื และความสําคัญของศาสนา

2 ความเปน็ มาของความเช่ือ

ววิ ัฒนาการของความเชอ่ื

จุดเรม่ิ ต้นของความเช่ือ ๓ การบรรยายการอภปิ ราย

มลู เหตุแห่งความเชื่อ งานมอบหมายการนำเสนอ

มูลเหตแุ ห่งความเช่ือในเทพเจ้าตา่ ง ๆ หน้าช้นั Power

ประเภทของความเช่ือ PointProjector

หนว่ ยท่ี อิทธพิ ลของความเช่ือ ๓ การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป 3 ความเชื่อพน้ื ฐานของสังคมในชมพทู วปี ๓ งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. ก่อนสมัยพทุ ธกาล หน้าช้ันPower หน่วยท่ี ความสาํ คญั ทจี่ ําเป็นของศาสนาตอ่ PointProjector 4 สังคมมนุษย์ ประโยชน์ของศาสนาที่มตี ่อสังคมมนุษย์ จุดมงุ่ หมายสําคัญทีส่ อดคลอ้ งกับของ การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป ศาสนาตา่ ง ๆ งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. ศาสนากับลัทธิ หน้าชัน้ Power สรุป แบบฝกึ หัดทา้ ยบท

ศาสนาในอดีตกาล ศาสนาโบราณ ศาสนาที่ตายแล้ว ลักษณะศาสนาปฐมภูมิ ลักษณะศาสนาโบราณ ศาสนาบาบิโลน ศาสนาของชาวฟนิ เิ ซยี น ศาสนามน้ี ศาสนามิถรา ศาสนาของพวกฮทิ ไทท์ ศาสนาอียิปตโ์ บราณ ศาสนากรีกโบราณ ศาสนาโรมนั โบราณ ศาสนาติวตันโบราณ ศาสนาสแกนดเิ นเวยี นโบราณ ศาสนาเปรโู บราณ ศาสนาเมก็ ซิกันโบราณ สรปุ แบบฝึกหัดทา้ ยบท

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูในสงั คมอินเดีย ความหมายของคําวา่ ศาสนาพราหมณ์- ฮนิ ดู ทม่ี าของความหมายของคําวา่ ศาสนา พราหมณ-์ ฮินดู การแบง่ ยุคสมัยของความหมายของคํา

ว่าศาสนาพราหมณ์- ฮินดู PointProjector

สมยั อริยกะ

สมัยพระเวท

สมยั พราหมณ์

สมยั พราหมณ์ฮินดู เก่า

สมัยอนุ ิษทั

สมยั พระสูตร

สํานักของครูทง้ั ๖ สำนกั ในปรัชญา

อินเดยี

สรุป

แบบฝกึ หัดทา้ ยบท

หน่วยท่ี สํานักของครทู ้งั ๖ ในปรชั ญาอนิ เดีย

5 กลมุ่ คำสอนของศาสนาพราหมณ์ฮินดู ๒

สาย

-ฝา่ ยนาสติกะ ปฏิเสธพระเจ้า ๓ การบรรยายการอภปิ ราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. -ฝ่ายอาสตกิ ะ ยอมรบั ความมีอย่ขู อง หน้าชนั้ Power PointProjector พระเจา้

ปรัชญาจารวาก

ความหมายของคำว่าจารวาก

ญาณวทิ ยาของปรชั ญาจารวาก

อภปิ รชั ญาของปรชั ญาจารวาก

จรยิ ศาสตร์ของจารวาก

ลทั ธิจารวากขดั ต่อความเช่อื ของชาว

ชมพูทวีป

ปรัชญาจารวากปฏิเสธพระเวทและ

ความเช่อื ฝา่ ยอาสติกะ

ปรัชญาจารวากปฏิเสธศาสนา

ปรัชญาจารวากกับลัทธิอุจเฉททฐิ ิ

ปรชั ญาจารวากกับโลกปจั จุบัน

สรุป

แบบฝึกหัดท้ายบท

หน่วยที่ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดนู ิกายเซน

6 ความหมายของคาํ เซน

ญาณวิทยาของปรชั ญาเซน

อภิปรชั ญาของปรัชญาเซน ๓ การบรรยายการอภปิ ราย พม.ประทีป

จริยศาสตรข์ องปรัชญาเซน งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. หลกั ธรรมคาํ สอนของศาสนาเซน หนา้ ชัน้ Power หลกั จริยธรรมของศาสนาเซน PointProjector คัมภีร์ของศาสนาเชน่ นกิ ายในศาสนาเซน ๓ การบรรยายการอภปิ ราย พม.ประทีป ปรัชญาเซนเร่อื งกรรม งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. ปรัชญาเซนเรื่องชั้นวรรณะ หนา้ ชนั้ Power ปรชั ญาเซนเรื่องการศึกษา PointProjector ปรชั ญาเป็นเรือ่ งการถ่อมตน ลักษณะพเิ ศษของเซน สรุป แบบฝกึ หัดทา้ ยบท

หน่วยที่ ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดูนิกายนยายะ 7 ความหมายขี องนยายะ

ผกู้ ่อต้งั และวรรณกรรมสาํ คญั ญาณวทิ ยาของนยายะ ตรรกศาสตร์ อภิปรัชญาของนยายะ จรยิ ศาสตรข์ องนยายะ สรุป แบบฝึกหัดท้ายบท

หน่วยที่ ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดนู ิกายไวเศษิก ๓ การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป 8 ความหมายของไวเศษิก งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. หน้าช้ันPower ญาณวทิ ยาและตรรกวทิ ยาของปรัชญา PointProjector ไวเศษิก อภิปรัชญาของไวเศษิก ทฤษฎปี รมาณตาํ รับแรกท่ีสดุ ของโลก เปรียบเทยี บทฤษฎปี รมาณของปรชั ญา ตะวนั ตก ทฤษฎีเรื่องโลก ทฤษฎวี วิ ฒั นาการของโลก สรปุ แบบฝกึ หัดท้ายบท

หน่วยท่ี ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดูนิกายมมี างสา ๓ การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป 9 ผู้ก่อตงั้ และวรรณกรรมสาํ คัญของ งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. หนา้ ชน้ั Power ปรัชญามมี างสา PointProjector ญาณวทิ ยาของปรชั ญามีมางสา อภปิ รชั ญาของปรชั ญามมี างสา จดุ หมายสงู สดุ ของปรชั ญามีมางสา สรปุ แบบฝึกหดั ท้ายบท

หนว่ ยท่ี ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดนู ิกายเวทานตะ

10 ความหมายของคา่ เวทานตะ

อปุ นิษทั คืออะไร

พรหมสูตร

มูลกาํ เนิดของปรชั ญาเวทานตะ

อภปิ รชั ญาของเวทานตะ

จรยิ ศาสตร์ของเวทานตะ

ปรัชญาอไทวตะเวทานตะ

อภิปรัชญาของอไทวตะเวทานตะ

มายาของอไทาตะเภทานตะ การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. จริยศาสตรข์ องปรชั ญาอไทวตะ ๓ หนา้ ชั้นPower PointProjector เวทานตะ

ปรชั ญาวิศิษฎไทวตะเวทานตะ

ญาณวิทยาของปรัชญาวศิ ิษฎไทวตะ

เวทานตะ

อภิปรชั ญาของปรชั ญาวศิ ิษฎไทวตะ

เวทานตะ

จรยิ ศาสตร์ของปรชั ญาวิศิษฏไทวตะ

เวทานตะ

ทรรศนะทข่ี ัดแย้งของฟังกราจารยก์ บั

รามานชุ

สรปุ

แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท

หนว่ ยที่ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู สางขยะ

11 ความเป็นมาของสางขยะ

ผ้กู ่อตั้งปรัชญาสางขยะ

ญาณวทิ ยาของปรัชญาสางขยะ

๑๐

อภปิ รัชญาของปรัชญาสางขยะ การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. ทรรศนะเร่ืองประกฤตแิ ละบุรุษของ ๓ หน้าชนั้ Power PointProjector ปรัชญาสางขยะ

ทฤษฎีววิ ัฒนาการของปรัชญาสางขยะ

จริยศาสตร์ของปรัชญาสางขยะ

สรุป

แบบฝึกหดั ท้ายบท

หน่วยที่ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดนู ิกายโยคะ

12 ความหมายของโยคะ

ญาณวทิ ยาและอภิปรัชญาของปรชั ญา

โยคะ

สรปุ แนวปฏิบตั ขิ องโยคะสูตร จิตวทิ ยา การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. ของโยคะ ๓ หนา้ ชั้นPower PointProjector จิตกับปรษุ

ทรรศนะเกี่ยวกบั พระผเู้ ปน็ เจ้าของโยคะ

จริยศาสตรข์ องปรชั ญาโยคะ

โมกษะของโยคะ

สรปุ

แบบฝกึ หัดท้ายบท

หน่วยท่ี พฒั นาการของศาสนาพราหมณ์ ศาสนา

13 พราหมณ์ – ฮนิ ดจู นถงึ ปัจจบุ ัน

ความเปน็ มา

สมัยอวตาร

สมัยเสอื่ ม

สมัยฟ้นื ฟู ๓ การบรรยายการอภปิ ราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. สมัยภักดี หน้าชัน้ Power PointProjector คัมภรี ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

หลักอาศรม ๔

พิธีกรรมทีส่ ำคัญของศาสนาพราหมณ์

สรปุ

แบบฝึกหดั ทา้ ยบท

หนว่ ยที่ แนวคดิ หลักคำสอนท่ีสำคัญในศาสนา

14 พราหมณ-์ ฮินดู

หลักคำสอนในคมั ภีรม์ นญู ศาสตร์

แนวคิดเร่ืองพรหมในคมั ภรี ์อุปนิษัท

๑๑

แนวคิดเร่ืองเรื่องพรหมมัน การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป แนวคดิ เรื่องโมกษะในคัมภีรภ์ คทั คตี า ๓ งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. แนวคิดเรือ่ งอตาร หน้าชัน้ Power แนวคิดเร่ืองเทพเจา้ ในคมั ภีร์รามยณะ PointProjector สรปุ แบบฝกึ หัดท้ายบท การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. หนว่ ยท่ี การเผยแผ่ของศาสนาพราหมณ์ฮนิ ดมู า หนา้ ช้ันPower 15 สู่ประเทศไหย PointProjector

ร่องรอยศาสนาพราหมณใ์ นสมยั หวั เลี้ยว รอยตอ่ ทางประวตั ิศาสตร์. เส้นทางการค้าและการเผยแพร่ศาสนา ศาสนาพราหมณส์ มยั หวั เลย้ี ว ประวัติศาสตรไ์ ทย ศาสนาพราหมณท์ เ่ี มอื งอู่ทอง จงั หวดั ๓ สุพรรณบรุ ี ศาสนาพราหมณ์ที่เมืองศรเี ทพ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ โบราณสถานเนอื่ งในศาสนาพราหมณใ์ น เมอื งต่างๆ โบราณสถานเน่ืองในศาสนาพราหมณท์ ี่ เมืองศรเี ทพ. ข้ออา้ งองิ ท่เี ป็นหลักฐานจารึกทีเ่ กีย่ วกบั การนับถือศาสนาในสมยั ลทบุรี. รอ่ งรอยศาสนาพราหมณใ์ นอาณาจักร สุโขทัย

รอ่ งรอยศาสนาพราหมณ์ใน อาณาจักรอยธุ ยา ประวตั ิความเบ็นมาของอาณาจกั ร อยุธยา ศาสนาพราหมาที่เกีย่ วข้องกับ พระมหากษัตริย์ หลกั ฐานสถาปตั ยกรรมเน่ืองในศาสนา พราหมณ์ที่เกาะเมืองอยุธยา. อทิ ธิพลศาสนาพราหมณ์ท่ีปรากฎในวดั พทุ ธศาสนาท่เี กาะเมืองอยธุ ยา

๑๒

การวเิ คราะห์ศิลปสถาปัตยกรรมสมัย

อยุธยา

สรุป

แบบฝกึ หัดท้ายบท

หนว่ ยท่ี พิธกี รรมทางศาสนาพราหมณ์ ฮนิ ดู ที่

16 มอี ิทธพลตงั้ แตย่ ุคสมยั อยุธยา จนถึง

ปจั จุบัน

พระราชพิธีพระบรมราชาภเิ ษก.

พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกท่ีไดม้ ีการ การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. เปล่ียนแปลง. ๓ หนา้ ช้นั Power PointProjector การแต่งต้งั เครื่องพระบรมราชาภิเษกบน

พระแทน่ มณฑล

พระราชพธิ ีถือน้ำพิพัฒนส์ ัตยา.

พระราชพิธีตรยี มพวาย-ตรปี วาย.

พระราชพิธีตรียัมปวาย-ตรปี วายใน

ปัจจุบนั

พระราชพธิ ีจรดพระนังคลั แรกนาขวัญ

หรอื พระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนังคลั

แรกนาขวญั .

พระราชพธิ ีจองเปรยี ง.

พระราชพธิ เี สดจ็ ออกรับแขกเมอื ง.

สรุป

แบบฝึกหัดทา้ ยบท

บทที่ คณุ ค่าของ ชีวิตตามทัศนะศาสนาฮินดู

16 ความรทู้ ั่วไปเกีย่ วกับศาสนาฮินดู

ความหมายของชวี ิตตามทัศนะศาสนา

ฮินดู

หลกั ธรรมในการดำเนนิ ชีวติ ตามหลัก การบรรยายการอภิปราย พม.ประทีป งานมอบหมายการนำเสนอ สญญโม,ดร. ศาสนาฮนิ ดู ๓ หนา้ ชนั้ Power PointProjector เปา้ หมายชวี ติ ตามทัศนะศาสนาฮินดู

ศาสนากับการพฒั นาคณุ ภาพ

ชีวิต

การศึกษาศาสนาอย่างเปน็ วิชาการ

ความเขา้ ใจเบ้ืองดน้ เกี่ยวกบั คุณภาพ

ชวี ติ

๑๓

หลักธรรมกับแนวคดิ ท่ีอยู่เบ้ืองหลัง หลักธรรมในศาสนา สรุป บรรณานกุ รม

รวม ๔๘

๒. แผนการประเมนิ ผลการเรียนรู้

ที่ ผลการเรียนรู้ วธิ กี ารประเมิน สัปดาห์ทปี่ ระเมิน สัดสว่ นของการ ประเมินผล ๑ ๑.๑,๑.๖, ๑.๗, ๒.๑, ทดสอบย่อยครั้งที่ ๑ ๔ ๑๐% ๒.๔-๒.๖, ๓.๒ ทดสอบยอ่ ยคร้งั ท่ี ๒ ๘ ๑๐ % ๑๒ 0-% สอบกลางภาค ๑๖ ๕๐% ตลอดภาคการศึกษา ๒๐ % สอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา ๑๐% ๒ ๑.๑,๑.๖, ๑.๗, ๒.๑, วิเคราะหก์ รณีศกึ ษา คน้ คว้า การนำเสนอ

๒.๔-๒.๖, ๓.๒ ๔.๑- รายงานการทำงานกลุ่มและผลงาน

๔.๖,๓-๕.๔ การอ่านและสรุปบทความ

การส่งงานตามทมี่ อบหมาย

๓ ๑.๑- ๑.๗, ๓.๑ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนรว่ ม อภปิ ราย

เสนอความคดิ เห็นในชั้นเรียน

หมวดท่ี ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. เอกสารและตำราหลัก การศาสนา, กรม. พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบบั หลวง. เล่มที่ ๑๐, กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์กรมการศาสนา, ๒๕๒๑. . พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง. เล่มที่ ๑๒, กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ รมการศาสนา, ๒๕๒๑. . ประมวลการสอนวชิ าประวตั ิพุทธศานา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์กรมการศาสนา, ๒๕๒๔. กรี ติ บญุ เจอื . ศาสนศาสตร์เบ้ืองตน้ . กรุงเทพมหานคร: ไทบวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๒. จินดา จันทร์แกว้ , ผสดร. ศาสนาปจั จบุ นั . กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๒. เสฐียร พันธรงั ษ.ี ศาสนาเรียบเทียบ เล่ม ๑ ๒. พระนคร: แพรว่ ิทยา, ๒๕๑๓. แสง จนั ทร์งาม. ศาสนศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๓๑.

๒.เอกสารและข้อมูลสำคัญ พระญาณวโรดม. ศาสนาต่าง ๆ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๘. เสถียร โพธนิ ันทะ. ประวตั ศิ าสนา. พระนคร: สภาการศกึ ษามหามกุฏราชวทิ ยาลยั ,๒๕๑๔. สุชพี ปุญญานุภาพ. ศาสนาเปรียบเทยี บ. กรุงเทพมหานคร: เกษมบรรกิจ, ๒๕๒๓.

๒. เอกสารและขอ้ มลู สำคัญ

๑๔

๓.เอกสารและขอ้ มลู แนะนำ กรมการศาสนา, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. เอกสารเผยแพรเ่ กี่ยวกับองค์การศาสนาต่าง ๆ. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์การศาสนา,

๒๕๓๕. คูณ โทขนั ธ.์ พุทธศาสนากับสังคมและวฒั นธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส. พรนิ ติ้งเฮาส์, ๒๕๔๕.๘ โจเซฟ แกร์ (แต่ง). ศาสนาทั้งหลายนับถอื อะไร ?. แปลโดย ฟื้น ดอกบวั . กรงุ เทพมหานคร: โอ.เอส.พรนิ ตงิ้ เฮาส์, ๒๕๓๓. ปรชี า ช้างขวัญยนื และสมภาร พรมทา. มนษุ ยก์ บั ศาสนา. พิมพ์คร้ังที่ ๓, กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์

จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๗. พทุ ธทาสภกิ ขุ. คริสตธรรม พทุ ธธรรม. กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์ธรรมสาร, ๒๕๔๒. มนต์ ทองชัช. ศาสนาสาคัญของโลก. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส. พรน้ิ ตงิ้ เฮาส์, ๒๕๓๓. สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ (พมิ พ์ ธมมฺ ธรเถร). สากลศาสนา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย,๒๕๔๘. สุเมธ เมธาวทิ ยากลุ . ศาสนาเปรยี บเทียบ. กรุงเทพมหานคร: หจก. ทิพย์อกั ษร, ๒๕๓๒.

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรงุ การดำเนินการของรายวชิ า ๑. กลยุทธ์การประเมินประสทิ ธผิ ลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลในรายวิชาน้ี ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจาก นักศึกษาได้ดงั นี้

- การสนทนากล่มุ ระหว่างผูส้ อนและผู้เรยี น - การสงั เกตการณ์จากพฤติกรรมของผ้เู รียน - แบบประเมนิ ผสู้ อน และแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผูส้ อนไดจ้ ัดทำเปน็ ชอ่ งทางการสื่อสารกบั นักศึกษา ๒. กลยุทธ์การประเมนิ การสอน ในการเก็บขอ้ มลู เพอื่ ประเมนิ การสอน ได้มีกลยทุ ธ์ ดงั น้ี -การสงั เกตการณ์สอนของผู้รว่ มทมี การสอน -ผลการสอบ -การทวนสอบผลประเมนิ การเรียนรู้ ๓. การปรบั ปรงุ การสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหา ข้อมลู เพม่ิ เติมในการปรับปรงุ การสอน ดงั นี้ - สมั มนาการจัดการเรียนการสอน -การวิจัยในและนอกชั้นเรียน ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนักศึกษาในรายวชิ า ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามท่ีคาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้ จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการส่มุ ตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออก ผลการเรียนรายวิชา มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธ์โิ ดยรวมในวชิ าได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่

๑๕

อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการต้ังคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ

รายงาน วธิ ีการให้คะแนนสอบ และการใหค้ ะแนนพฤตกิ รรม ๕. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสทิ ธผิ ลของรายวิชา

จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธ์ิประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และ รายละเอียดวิชา เพ่ือใหเ้ กิดคณุ ภาพมากขึ้น ดงั นี้

- ปรับปรงุ รายวิชาทกุ ๓ ปีหรอื ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธต์ิ ามข้อ ๔ - เปล่ียนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพ่ือให้นักศึกษามีมุมมองในเร่ืองการประยุกต์ความรู้น้ีกับปัญหาท่ีมาจาก

งานวจิ ยั ของอาจารย์หรือแนวคดิ ใหม่ๆ ๖.ขอ้ เสนอแนะของอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบรายวชิ า ตอ่ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู รไมม่ ี

ช่อื อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวิชา ลงช่อื (พระมหาประทปี สญญโม,ดร.) อาจารยป์ ระจำรายวิชา

วนั ที่รายงาน.....๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๕..... ช่ืออาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร................................................................................

ลงชือ่ ..(พระมหาปพน กตสาโร,ผศ,ดร.) ประธานหลกั สตู รพทุ ธศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าศาสนาและปรชั ญา

วนั ทีร่ ายงาน.......๙ มิถุนายน ๒๕๖๕

๑๖

มคอ ๓

รายละเอยี ดของรายวชิ า

ชือ่ สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขคขอนแก่น วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะพุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศ์ าสตร์

คณะสงั คมศาสตร์

หมวดท่ี ๑ ข้อมูลโดยทัว่ ไป ๑.รหัสและชื่อรายวิชา

๐๐๐ ๑๐๑ มนษุ ยก์ บั สังคม (Man and Society)

๒.จานวนหน่วยกิต ๓ หนว่ ยกติ (๓-๐-๖)

๓.หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หมวดวชิ าศกึ ษทวั่ ไป

๔.อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบรายวชิ าและอาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.วิทยา ทองดี และอาจารยพ์ ันทวิ า ทับภมู ี

๕.ภาคการศึกษา / ช้ันปีที่เรยี น ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ สาหรับนิสิตช้ันปีที่ ๑ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

ปรัชญา รฐั ศาสตรบัณฑติ รฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต และนิสิตศาสตรบัณฑิต ๖.รายวิชาท่ตี อ้ งเรียนมากอ่ น (Pre-requisite)

- ๗.รายวิชาทตี่ ้องเรยี นพร้อมกนั (Co-requisites)

- ๘.สถานทีเ่ รยี น

มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ ๙.วนั ท่จี ัดทาหรือปรับปรงุ รายละเอียดของรายวิชาครง้ั ลา่ สุด

๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕

มคอ ๓

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมนุษย์และความสัมพันธ์กับผู้อ่ืนในสังคม รู้จัก

บทบาทหน้าที่ในฐานะพลเมือง มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองและปรับปรุงพฤติกรรม ในการอยู่ ร่วมกับผู้อื่นท่ามกลางความเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม วิเคราะห์ ปญั หาสังคม และนาเสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หาสงั คมได้อยา่ งมเี หตุผล

๒. วัตถุประสงคใ์ นการพฒั นา/ปรบั ปรุงรายวชิ า ๒.๑ เพอ่ื พฒั นาและปรับปรุงรายวชิ าให้สอดคลอ้ งกับเกณฑ์มาตรฐานของสานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา ๒.๒ เพ่ือใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์และปรชั ญาการศกึ ษาของมหาวิทยาลัย ๒.๓ เพอื่ พัฒนาเนอ้ื หาสาระใหม้ คี วามทนั สมยั ๒.๔ เพอ่ื พฒั นาแผนการจัดการเรียนรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกับความเปล่ยี นแปลงของกระบวนการ

เรยี นการสอน

หมวดท่ี ๓ ลกั ษณะและการดาเนนิ การ

๑. คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาความหมายและความเป็นมาเก่ียวกับมนุษย์กับสังคม ตามหลักการทางมนุษย์

ศาสตร์และสังคมศาสตร์ พฤติกรรมมนษุ ย์กบั การพัฒนาตน การปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างมนษุ ย์กับสังคม สถาบันสังคม ประชาสังคม กระบวนการทางสังคมและวัฒนธรรม การวิเคราะห์ปัญหาสังคมและ แนวทางการแก้ไขปัญหาสังคมแบบสันติวิธี ความเป็นพลเมือง และการสื่อสารทางสังคมยุค New Normal

๒. จานวนช่ัวโมงทใี่ ช้ตอ่ ภาคการศกึ ษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏบิ ัต/ิ การศกึ ษา

งานภาคสนาม/ ด้วยตนเอง

การฝกึ งาน

บรรยาย ๔๕ ช่วั โมงตอ่ สอนเสรมิ ตามความ ไม่มีการฝกึ ปฏิบตั ิงาน การศกึ ษา

ภาคการศึกษา ตอ้ งการของนสิ ิตเฉพาะ ภาคสนาม ดว้ ยตนเอง

ราย ๖ ชั่วโมงต่อ

สปั ดาห์

๓. จานวนชั่วโมงตอ่ สัปดาหท์ ่อี าจารย์ให้คาปรกึ ษาและแนะนาทางวิชาการแกน่ ิสิตเป็น

รายบุคคล

- อาจารยป์ ระจารายวชิ า แจง้ ระยะเวลาใหค้ าปรึกษาแก่นิสติ

- อาจารยจ์ ดั เวลาให้คาปรึกษาแก่นิสติ เป็นรายบุคคล หรอื รายกลุ่มตามความตอ้ งการ ๑ ช่วั โมง

ต่อสัปดาห์

มคอ ๓

หมวดท่ี ๔ การพฒั นาการเรียนรู้ของนสิ ติ

๑. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

๑.๑ คุณธรรม จรยิ ธรรมท่ีตอ้ งพัฒนา (๑) มศี ีลธรรม และศรัทธาอุทศิ ตนเพอ่ื พระพุทธศาสนา (๒) มีจิตสาธารณะและเสียสละเพอื่ ส่วนรวม (๓) เคารพสิทธิ ศักดิศ์ รีความเปน็ มนษุ ย์ และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื

๑.๒ วิธกี ารสอน (๑) สอดแทรกเร่อื งศีลธรรม ศรัทธา จิตสาธารณะและการเสยี สละเพ่ือส่วนรวม ในการเรยี นการ สอน (๒) การเป็นต้นแบบท่ีดขี องผู้สอน (๓) เรยี นรจู้ ากกรณตี วั อย่างประเด็นปญั หาทางดา้ นศีลธรรม เพ่ือให้ผเู้ รียนฝกึ การแกป้ ญั หา (๔) เรียนรู้จากสถานการณจ์ รงิ และจดั กิจกรรมในช้นั เรียนหรอื นอกช้ันเรียน

๑.๓ วิธกี ารประเมินผล (๑) สังเกตพฤติกรรมของนิสติ ในช้นั เรียนหรือนอกช้ันเรียนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง (๒) อภปิ ราย รายงาน การนาเสนอและการตอบคาถาม (๓) พจิ ารณาจากผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมของนิสติ (๔) นิสิตประเมินตนเอง เพอ่ื นประเมินเพ่อื น ๒. ความรู้

๒.๑ ความรู้ทตี่ ้องได้รบั (๑) มีความรู้ ความเขา้ ใจหลกั การ ทฤษฎีและเน้อื หา (๒) ใช้ความรมู้ าอธบิ ายปรากฏการณ์ที่เกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งมเี หตุผล (๓) สามารถนาความรู้มาปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวติ ได้และแสวงหาความรูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง

๒.๒ วิธีการสอน (๑) สอนแบบบรรยายและใช้โจทย์ปัญหา (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา (๓) เรยี นรโู้ ดยการปฏบิ ตั ิ (๔) เรยี นรู้แบบรว่ มมือ

๒.๓ วิธีการประเมนิ ผล (๑) ทดสอบย่อย (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน (๓) ผลการรายงานหรืองานท่มี อบหมาย (๔) นาเสนอผลงาน ๓. ทกั ษะทางปัญญา

มคอ ๓

๓.๑ ทักษะทางปญั ญาท่ีต้องพฒั นา (๑) สามารถคน้ หาขอ้ มูล ทาความเขา้ ใจ และประเมินข้อมลู จากหลกั ฐาน (๒) สามารถวเิ คราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตผุ ล (๓) สามารถประยกุ ต์ความรู้และทักษะเพอ่ื แก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๓.๒ วธิ กี ารสอน (๑) สอนแบบบรรยาย (๒) สอนโดยใชก้ รณีศึกษา (๓) เรียนรู้โดยการปฏบิ ัติ (๔) เรียนร้แู บบรว่ มมอื (๕) อภิปรายกลมุ่

๓.๓ วิธีการประเมนิ ผล (๑) ทดสอบยอ่ ย (๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรยี น (๓) ผลงานท่มี อบหมาย (๔) นาเสนอผลงาน ๔. ทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ

๔.๑ ทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบทีต่ ้องพัฒนา (๑) สามารถทางานเปน็ ทีมทงั้ ในฐานะผู้นาและผตู้ าม (๒) มมี นุษยสัมพันธ์ ร้จู ักควบคุมอารมณ์ และยอมรบั ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล (๓) รบั ผิดชอบต่อตนเองและสงั คม

๔.๒ วิธกี ารสอน (๑) มอบหมายงานกลมุ่ (๒) สอนจากสภาพจริงที่เกดิ ขึน้ ในชมุ ชนและสงั คม (๓) จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในชั้นเรยี นและนอกชั้นเรยี น

๔.๓ วธิ กี ารประเมินผล (๑) สงั เกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างการเรียนการสอนและการทางานร่วมกบั เพ่อื น (๒) ประเมนิ ผลงานท่ีได้รับมอบหมาย (๓) พิจารณาจากผลการเขา้ รว่ มกิจกรรมของนิสิต

มคอ ๓

๕. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕.๑ ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทตี่ อ้ ง พัฒนา (๑) ใชท้ กั ษะวิเคราะห์เชงิ ตัวเลขได้ (๒) ใช้ภาษาในการติดต่อส่ือความหมายได้ดี ท้งั การฟัง พูด อ่านและเขียน (๓) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๕.๒ วิธกี ารสอน (๑) สอนโดยการฝกึ ปฏิบัติ (๒) มอบหมายงานค้นคว้าความรจู้ ากแหล่งขอ้ มลู ตา่ งๆ (๓) นาเสนองานโดยใช้คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๓ วธิ ีการประเมินผล (๑) ทดสอบยอ่ ย

(๒) สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน (๓) ผลการรายงานหรืองานทีม่ อบหมาย (๔) นาเสนอผลงาน

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมนิ ผล

๑. แผนการสอน

สปั ดาห์ หวั ขอ้ /รายละเอียด จานวน กจิ กรรมการเรียน ผู้สอน

ท่ี ช่วั โมง การสอน สือ่ ท่ใี ช้

(ถา้ มี)

๑-๒ บทท่ี ๑ ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกบั ๖ - แนะนำคำอธบิ ำย ผศ.ดร.วิทยำ

มนษุ ย์และสงั คม รำยวชิ ำ/แผนกำสอน ทองดี/อ.พัน

- ความรูเ้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับมนษุ ย์กับ - แนะนำ ทวิ ำ ทับภมู ี

สงั คมตามหลักการทางมนุษย์ศาสตร์ วตั ถปุ ระสงค์ของกำร

และสงั คมศาสตร์ เรยี นประจำบท

- ความสัมพันธร์ ะหว่างมนุษยก์ บั - ชแ้ี จงกำรวดั แล

สงั คม ประเมินผลรำยวชิ ำ

- พัฒนาการของสงั คมมนุษย์ - บรรยาย

- ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษยก์ ับสงั คม ยกตัวอยา่ งประกอบ

ในเชิงสงั คมศาสตร์

๓-๔ บทที่ ๒ แนวคิดและทฤษฎีสาคัญใน - แนะนำ ผศ.ดร.วิทยำ การศึกษามนุษย์กับสังคม วัตถปุ ระสงคก์ ำร ทองดี/อ.พัน ทวิ ำ ทับภูมี

มคอ ๓

สปั ดาห์ หัวขอ้ /รายละเอยี ด จานวน กจิ กรรมการเรียน ผสู้ อน ท่ี ชั่วโมง การสอน ส่อื ทีใ่ ช้

- ทฤษฎีโครงสรา้ งและหน้าที่ ๖ (ถ้าม)ี (Structural – Functional Theory) - ทฤษฎีความขดั แยง้ (Conflict ๓ เรยี น Theory) -บรรยำยประกอบสื่อ - ทฤษฎปี รวิ รรตนิยม (Exchange PowerPoint Theory) - มอบงำนไปศกึ ษำ ค้นควำ้ อภิปรำย - ทฤษฎีการกระทาระหวา่ งโดย - นำเสนออภิปรำย สัญลกั ษณ์ (Symbolic Interactionism) - แนะนำ ผศ.ดร.วทิ ยำ - ทฤษฎีปรากฏการณ์นยิ ม (Phenomenology) วัตถปุ ระสงค์ ทองดี/อ.พนั - ทฤษฎีการพึง่ พา (Dependency Theory) -บรรยำยประกอบสอ่ื ทิวำ ทับภูมี - การศึกษามนุษย์กับสังคมตามแนว พระพทุ ธศาสนา PowerPoint

๕-๖ บทท่ี ๓ พฤติกรรมและปฏสิ มั พนั ธ์ -มอบหมำยงำนไป ระหว่างมนษุ ยก์ ับสังคม ศึกษำค้นคว้ำเปน็ -ความหมายของพฤตกิ รรมมนุษย์ - ท่มี าของพฤตกิ รรมมนุษย์ กลมุ่ ยอ่ ย - ปัจจยั พ้นื ฐานทีท่ าใหเ้ กดิ พฤตกิ รรม มนุษย์ -นำเสนอผล - ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์ - ความสาคญั ของการศกึ ษาพฤติกรรม กำรศกึ ษำ มนุษย์ - ทฤษฎเี กี่ยวกับพฤตกิ รรมมนษุ ย์ -อภปิ รำยซกั ถำม

- การพฒั นาพฤติกรรมมนุษย์ -สรปุ เนอื้ หำ - การปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างมนษุ ย์กับ สังคม แนะนำวตั ถุประสงค์กำร ผศ.ดร.วทิ ยำ - พฤติกรรมการรวมหมู่ เรียน -บรรยำยประกอบสือ่ ทองดี/อ.พัน ๗ บทท่ี ๔ สถาบนั ทางสงั คมและการ -อภปิ รำยถำมตอบ ทิวำ ทบั ภูมี ขดั เกลาทางสงั คม -มอบหมำยงำนให้ - ความหมาย และความเปน็ มาของ สถาบันทางสงั คม

มคอ ๓

สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอยี ด จานวน กจิ กรรมการเรยี น ผ้สู อน ท่ี ชว่ั โมง การสอน ส่ือท่ใี ช้

- ลักษณะของสถาบนั ทางสังคม (ถ้ามี) - องค์ประกอบของสถาบันทางสังคม - ประเภทของสถาบันทางสงั คม คน้ คว้ำ - ประโยชน์ของสถาบนั ทางสงั คม -ทดสอบทำ้ ยบท - ความสมั พนั ธข์ องศาสนากับสถาบัน ทางสงั คม ๖ -แนะนำวัตถปุ ระสงค์ ผศ.ดร.วทิ ยำ - การขดั เกลาทางสงั คม - ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทาง กำรเรยี น ทองดี/อ.พัน สังคมกับการขัดเกลาทางสงั คม -บรรยำยประกอบสื่อ ทิวำ ทับภมู ี ๘-9 บทท่ี ๕ กระบวนการทางสังคมและ วฒั นธรรม PowerPoint

- กระบวนการ - อภปิ รำยชกั ถำม - กระบวนการทางสังคม - กระบวนการทางวฒั นธรรม ๖ แนะนำวัตถุประสงค์ ผศ.ดร.วิทยำ - ความสมั พนั ธ์ระหว่างสังคมกับ วฒั นธรรม กำรเรียน ทองดี/อ.พนั - ลักษณะกระบวนการทางสงั คมและ วัฒนธรรม - บรรยำย/ ทวิ ำ ทับภมู ี - ผลของกระบวนการทางสังคมและ วัฒนธรรม ประกอบสอ่ื

๑๐-๑๑ บทท่ี ๖ ประชาสังคม PowerPoint - ความหมายของประชาสงั คม - องค์ประกอบของประชาสังคม - อภิปรำยหน้ำชั้น - สาเหตกุ ารเกิดประชาสังคม - กระบวนการของประชาสงั คม เรียน/ชกั ถำม - คุณธรรมของประชาสังคม - กรณีศกึ ษากลุ่มประชาสังคม

สรปุ ทำ้ ยบท

๑๒-๑๓ บทท่ี ๗ ความเป็นพลเมือง ๖ แนะนำวตั ถุประสงค์กำร ผศ.ดร.วทิ ยำ - นิยามและความหมายของความเปน็ เรียน ทองดี/อ.พนั พลเมือง - บรรยำย/ประกอบส่ือ - ประวตั ศิ าสตรแ์ ละประเภทของความ ทิวำ ทับภูมี เปน็ พลเมือง PowerPoint

- อภิปรำยหน้ำช้นั

เรียน/ชักถำม

มคอ ๓

สัปดาห์ หวั ข้อ/รายละเอียด จานวน กจิ กรรมการเรียน ผ้สู อน ท่ี ช่ัวโมง การสอน สื่อท่ีใช้

- แนวคิดความเป็นพลเมือง ๖ (ถ้ามี) - คุณลกั ษณะของความเป็นพลเมือง - การพฒั นาความเปน็ พลเมอื งดี ๖ สรุปท้ำยบท - หลกั พทุ ธธรรมท่ีเกือ้ หนุนตอ่ การ พัฒนาความเป็นพลเมอื งดี แนะนำวัตถุประสงค์ ผศ.ดร.วทิ ยำ กำรเรยี น ทองดี/อ.พนั ๑๔ บทท่ี ๘ การวิเคราะห์ปัญหาสังคมและ ทิวำ ทับภมู ี แนวทางการแก้ไขปญั หาสงั คม - บรรยำย/ แบบสนั ตวิ ิธี ประกอบสือ่ - ความหมายของปญั หาสังคม PowerPoint - ลักษณะของปญั หาสังคม - ทมี่ าของปัญหาสงั คม - อภิปรำยหนำ้ ชนั้ - ประเภทของปญั หาสังคม เรยี น/ชักถำม - ทฤษฎีปญั หาสังคม - การวเิ คราะห์ปญั หาสงั คม สรปุ ทำ้ ยบท - แนวทางแก้ไขปัญหาสังคมแบบสนั ติวิธี แนะนำวัตถุประสงค์ ผศ.ดร.วิทยำ ๑๕ บทที่ ๙ การสื่อสารทางสังคมในยุค ทองดี/อ.พนั ความปกตใิ หม่ (New Normal ) กำรเรียน ทวิ ำ ทับภมู ี - สังคมยคุ ความปกติใหม่ (New - บรรยำย/ Normal ) ประกอบสื่อ - การดารงชีวิตของมนษุ ยใ์ นยุคความ ปกติใหม่ (New Normal ) PowerPoint - แนวคิดและทฤษฎีการสอ่ื สารทาง - อภิปรำยหนำ้ ชั้น สังคม - การส่ือสารทางสังคมยุคความปกติ เรียน/ชกั ถำม ใหม่ (New Normal ) สรุปทำ้ ยบท

๑๖ บทท่ี ๑๐ การพัฒนาคุณ ภาพ ชีวิต แนะนำวัตถุประสงค์ ผศ.ดร.วทิ ยำ มนุษย์กับสังคมในยุคความปกติใหม่ กำรเรยี น ทองดี/อ.พนั (New Normal) - ความหมายของคุณภาพชีวติ - บรรยำย/ ทิวำ ทับภูมี - การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ประกอบส่ือ - เทคโนโลยกี บั การพัฒนาคุณภาพ PowerPoint ชวี ิต - การพัฒนาคุณภาพชวี ิตตามแนว - อภปิ รำยหนำ้ ชน้ั เรยี น/ชักถำม

สรุปท้ำยบท

มคอ ๓

สปั ดาห์ หัวขอ้ /รายละเอยี ด จานวน กิจกรรมการเรียน ผ้สู อน ท่ี ช่ัวโมง การสอน สอ่ื ทีใ่ ช้

(ถา้ มี)

พระพุทธศาสนา ๒ - การสรา้ งภมู ิคุม้ กันชวี ติ มนุษย์กับ สังคมตามแนวพระพุทธศาสนา สอบปลายภาค

๒. แผนการประเมนิ ผลการเรียนรู้

ท่ี ผลการเรียนรู้* วิธีการประเมิน สัปดาหท์ ่ี สัดสว่ นของ ประเมิน การประเมินผล ๑ ๑.๑, ๒.๑, ๓.๑ สอบปลายภาค ๑๖ ๖๐%

๑.๑, ๑.๖, ๑.๗, การนาเสนองาน

๒ ๒.๑, ๒.๔-๒.๖, การทางานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาค ๓๐% ๓.๒, ๔.๑- การส่งงานตามที่มอบหมาย การศกึ ษา ๑๐%

๔.๖,๕.๓-๕.๔ ตลอดภาค การศกึ ษา การเข้าชัน้ เรียน

๓ ๑.๑-๑.๗, ๓.๑ การมีสว่ นรว่ ม อภิปราย

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรยี น

หมวดที่ ๖ ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน

มคอ ๓

1. เอกสารและตาราหลกั คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. มนุษย์กับสังคม. กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลง

กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑ 2. เอกสารและข้อมลู สาคัญ

ไม่มี 3. เอกสารและขอ้ มูลแนะนา โกศล วงศ์สวรรค์ และสถิต วงศส์ วรรค์. ปัญหาสังคมไทย. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท

รวมสาสน์ (๑๙๗๗) จากดั , ๒๕๔๓. ขบวน พลตร.ี มนษุ ย์กบั สังคม. กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์ โอเดยี นสโตร์ จากดั ,

๒๕๓๗. คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. สังคมและวฒั นธรรม : เอกสาร

ประกอบการศกึ ษาวชิ า ๓๑๓ – ๑๘๓. พิมพค์ รั้งที่ ๙. กรุงเทพมหานคร: โรงพมพ์จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๗. จรญั พรหมอยู่. การศกึ ษาปัญหาสงั คม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ โอเดียนสโตร์ จากัด ๒๕๒๘. จานง อดวิ ัฒนสทิ ธ์ิ. สังคมวิทยา. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑๓. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, ๒๕๔๙. ----. สงั คมวิทยาตามแนวพทุ ธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๕. ----.มนษุ ยก์ ับสงั คม.กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย,๒๕๓๔. จติ รกร ต้ังเกษมสุข และคณะ. คู่มือการศึกษาวถิ พี ุทธ. กรุงเทพมหานคร: เฟอื่ งฟา้ การ พิมพ์, ๒๕๔๗. ชยั วัฒน์ สถาอานนั ท์. สันตทิ ฤษฎี-วิถีวัฒนธรรม (Peace theory and cultural elements). กรงุ เทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, ๒๕๓๙ ----. ทา้ ทายทางเลือก : ความรุนแรง และการไมใ่ ช่ความรุนแรง. กรุงเทพมหานคร: มูลนธิ ิโกมลคีมทอง, ๒๕๓๓. ชชู ยั ศุภวงค.์ ประชาสงั คม : ทัศนนกั คิดในสงั คมไทย. พมิ พค์ รั้งท่ี ๒. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท มตชิ น จากัด, ๒๕๔๑. ไชยวัฒน์ คาบ,ู และคณะ. ธรรมาภบิ าล. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ นา้ ฝน จากัด, ๒๕๔๕. ณรงค์ เสง็ ประชา.มนษุ ยก์ ับสังคม.พิมพค์ ร้งั ท่ี๔.กรงุ เทพมหานคร: โอ.เอส.พรนิ้ ตง้ิ เฮ้าส์,๒๕๔๐. ณรงค์ เส็งประชา. ปัญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์ โอเดยี นสโตร์ จากดั , ๒๕๓๘. ณจั ฉลดา พชิ ิตบัญชาการ. ปญั หาสังคม. พิมพค์ รง้ั ท่ี ๕. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง, ๒๕๓๘.

มคอ ๓

ทศั นีย์ ทองสวา่ ง. สังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์ โอเดยี นสโตร์ จากัด, ๒๕๓๕. ธรี ยทุ ธ บญุ มี. ธรรมรฐั แห่งชาตยิ ุทธศาสตร์กหู้ ายนะประเทศไทย. กรงุ เทพมหานคร:

สานักพมิ พส์ ายธาร, ๒๕๔๑. ----. ประชาสงั คม. พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพ์ วิญญชู น จากดั , ----. สงั คมเข้มแขง็ . กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ มิ่งมิตร จากัด, ๒๕๓๙. ธีระพล อรุณะกสิกร และคณะ. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการสร้างระบบบรหิ าร

กจิ การบา้ นเมืองและสังคมทด่ี ี. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พว์ ญิ ญชู น, ๒๕๔๒. นงเยาว์ ชาญณรงค์. ศาสนากบั สังคม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามแหง, ๒๕๔๒. นเิ ทศ ตินนกุล. สงั คมและวฒั นธรรม. พมิ พ์คร้ังท่ี ๑๐. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์แห่ง

จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๙. บันเทิง พาพิจติ ร. สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โอเดยี นสโตร,์ ๒๕๔๗. บญุ สนอง บณุ โยทยาน ,มนุษยส์ ังคม, กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๑. บษุ บง ชยั เจรญิ วฒั นะ. ตวั ชี้วดั ธรรมาภบิ าล. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั พระปกเกล้า,

๒๕๔๔. ประเวศ วะสี. ยทุ ธศาสตรช์ าติ เพือ่ ความเขม้ แข้งทางเศรษฐกจิ สงั คมและศีลธรรม. ประสิทธ์ิ รตั นมณ.ี วารสารรสู ะมิแล. ปีท่ี ๒๗ ฉบบั ท๒่ี .(พ.ค.-ส.ค)๒๕๔๙. ปราณี รามสตู และคณะ. พฤติกรรมมนุษย์กับการพฒั นาตน. กรงุ เทพมหานคร:

ธนะการพมิ พ์, ๒๕๔๕. พรนพ พุกกะพันธ์. จรยิ ธรรมทางธุรกจิ . กรงุ เทพมหานคร: ศูนย์หนังสอื ดร.นพพร, ๒๕๔๕. พระครูภาวนาโพธิคณุ . การเมืองใหมว่ ถิ พี ทุ ธ. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพค์ ลงั นานาวิทยา,

ขอนแกน่ , ๒๕๕๓. พระเทพโสภณ พุทธวธิ ีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วนั ดาต้าโปรดักส์, ๒๕๔๘. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโต). มองสนั ติภาพโลก ผ่านภมู ิหลังอารยธรรมโลกาภวิ ตั น์.

กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์สหธรรมกิ จากดั , ๒๕๔๒. ----. สลายความขัดแยง้ . กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ สหธรรมกิ

จากัด, ๒๕๔๖. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต). หลกั แมบ่ ทของการพัฒนาตน. กรงุ เทพมหานคร: มหา

จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗. พระไพศาล วิสาโล. สนั ตวิ ธิ วี ถิ ีแห่งอารยะ. กรงุ เทพมหานคร: มูลนธิ โิ กมลคมี ทอง, ๒๕๔๙. พระมหาสนอง ปจั โจปการ.ี มนุษยก์ บั สังคม. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์

มหาวทิ ยาลยั ,๒๕๕๓. พระราชนนั ทมุนี (ปญั ญานนั ทภิกข)ุ . ยิ่งใหย้ งิ่ ได.้ ม.ป.ท., ๒๕๑๕. พชิ ัย ผกาทอง. มนุษยก์ ับสงั คม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ,

๒๕๔๗. พทุ ธทาสภิกข.ุ สนั ติภาพของโลก. กรุงเทพมหานคร: ธรรมทานมูลนิธ,ิ ๒๕๓๑. ไพฑรู ย์ มกี ุศล และคณะ. มนุษย์กับสังคม. พมิ พ์คร้ังที่ ๑๓. กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัย

มคอ ๓

สุโขธรรมาธริ าช,๒๕๔๕. ไพฑูรย์ มีกศุ ล. “การศกึ ษาทางสงั คมศาสตร์,” ใน เอกสารการสอนชุดวชิ ามนุษยก์ ับสงั คม

หนว่ ยท่ี ๑ – ๗. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๓๙. ----.มนษุ ยก์ บั สงั คม.พมิ พค์ ร้ังท่ี ๘.นนทบรุ ี:มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช,

๒๕๔๓. ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑยี ร. วาทะธรรม: ว่าดว้ นสันติภาพของพทุ ธทาสภกิ ขุ. กรุงเทพมหานคร:

สานักพมิ พ์ บ้านลานธรรม จากดั , ๒๕๔๙, ฟนื้ ดอกบวั . ศาสนาเปรยี บเทียบ. กรุงเทพมหานคร: โสภณการพิมพ,์ ๒๕๔๙. .---- ศาสนาเปรยี บเทียบ. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์โสภณการพมิ พ,์ ๒๕๔๓. มาณพ นกั การเรยี น. พระพทุ ธศาสนากบั ส่งิ แวดล้อมศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : มหาจุฬาลง

กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๖. มาร์ค ตามไท. การจดั การความขดั แยง้ ด้วยสันตวิ ธิ ีในสนั ติวธิ ี:ยทุ ธศาสตร์ชาตเิ พ่ือความ

ม่ันคง.กรุงเทพมหานคร: สถาบันยุทธศาสตร์ สานักงานสภาพความมั่นคงแห่งชาติ, ๒๕๔๓. ร่งุ ธรรม ศจุ ิธรรมรกั ษ.์ สนั ตศิ ึกษากบั สันติภาพ เอกสารการสอนชุดวิชา ๑๐๑๐๑ สันติ สันตศิ ึกษาหนว่ ยท่ี ๑-๗. นนทบรุ ี: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๓๓. วันชยั วฒั นศัพท์. ความขัดแยง้ : หลักการและเครือ่ งมอื แกป้ ัญหา. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๒. นนทบรุ ี: สถาบันพระปกเกล้า, ๒๕๔๗. ศักดไ์ิ ทย สุรกิจบวร. จิตวิทยาสังคม ทฤษฎีและปฏิบตั ิการ. กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ สุวีรยิ าสาส์น จากัด, ๒๕๔๕. สงวน สุทธเิ ลิศอรณุ . พฤตกิ รรมมนษุ ยก์ ับการพฒั นาคน, กรุงเทพมหานคร: อกั ษราพพิ ัฒน,์ ๒๕๔๓. สนธยา พลศร.ี หลกั สังคมวิทยา Principle of Sociology.กรุงเทพมหานคร:โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๕. --.หลักสงั คมวทิ ยา. กรุงเทพมหานคร: บริษทั โอ.เอส.พรินติ้งเฮา้ ส์ จากัด,๒๕๔๕. ----. กระบวนการพัฒนาชุมชน.กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์ โอเดยี นสโตร์ จากดั , ม.ป.ป. สน่ัน สุพิชญานนท.์ เอกสารประกอบคาบรรยายกระบวนวิชาการเมอื งและนโยบาย เศรษฐกจิ . ร้อยเอ็ด: วทิ ยาเขตร้อยเอ็ด มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๐. สัญญา สัญญาววิ ฒั น.์ สังคมวทิ ยาองค์การ. พิมพค์ รงั้ ที่ ๒.กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์ จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย,๒๕๔๙. ----. สังคมวิทยทศั น์. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพภ์ าพพมิ พ์ จากดั ,๒๕๓๙. ----. ทฤษฎีและกลยทุ ธก์ ารพฒั นาสงั คม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖. สิรภพ เหล่าตระกูล. พทุ ธศาสนากับการปกครอง. กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์ สหธรรม

มคอ ๓

มกิ จากดั , ๒๕๔๕. .---- พทุ ธศาสตร์การเมือง. กรงุ เทพฯ : สหธรรมกิ จากัด, ๒๕๔๕. สดุ า ภริ มย์แก้ว. มนษุ ยก์ บั สังคม. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์,

๒๕๔๔. สพุ รรณี ไชยอาพร และ สนทิ สมัครการ. การวเิ คราะหส์ งั คมเพ่ือการพัฒนา : แนวความคิด

และวธิ กี าร. โครงการสง่ เสริมเอกสารวิชาการ สถาบนั บัณฑิตพฒั นศาสตร์, กรงเทพ มหานคร:โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, ๒๕๔๗. สพุ ัตรา สุภาพ. ปัญหาสังคม.พิมพค์ ร้ังที่ ๑๖.กรงุ เทพมหานคร:บริษทั ไทยวัฒนาพานชิ จากัด, ๒๕๔๖. ----. สงั คมวทิ ยา. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒๒. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ไทยวฒั นาพานชิ จากดั , ๒๕๔๕. ----. สังคมวทิ ยา. พิมพค์ รงั้ ที่ ๗. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท ไทยวัฒนาพานิช จากัด, ๒๕๓๘. สุพศิ วง ธรรมพนั ทา. มนุษย์กบั สังคม. พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพภ์ ูมไิ ทย, ๒๕๔๓. สรุ ชาติ บารุงสุข. บทความ ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ : ปัญหาความม่นั คงใหม.่ (มตชิ น สดุ สปั ดาห์ ฉบับวนั ที่ ๒๕-๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ปที ี่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๕๕๗) สุวิทย์ วบิ ุลผลประเสริฐ. ประชาสังคมกบั การพฒั นาสขุ ภาพบทวิเคราะห์ทางวชิ าการ. พิมพ์ครั้งท่ี ๒. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั วิจยั ระบบสาธารณะสุข, ๒๕๔๐. สุวิทย์ ไพทยวัฒน์ และ สดุ จิต เจนนพกาญจน์. “มนุษยก์ บั วัฒนธรรม,” ใน เอกสารการสอน ชดุ วิชาสังคมมนุษย์ หนว่ ยท่ี ๑-๘. นนทบุรี: โรงพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, ๒๕๔๘. อดศิ กั ดิ์ ทองบญุ . ปรชั ญาอินเดียรว่ มสมัย. พมิ พ์ครงั้ ที่ ๓. กรงุ เทพมหานคร: สหมิตร พรนิ้ ติง้ , ๒๕๔๕. อนุชาติ พ่วงสาลี และวรี บูรณ์ วสิ ารทสกุล. ประชาสังคม:คา ความคดิ และความหมาย หนังสือชดุ ประชาสังคม ลาดับท่ี ๗. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั ชุมชนท้องถนิ่ พฒั นา, ๒๕๔๐. อเนก เหลา่ ธรรมทัศน.์ โครงการวจิ ัยและพฒั นาประชาสังคม ขบวนการประชาสังคมไทย : ความเคล่ือนไหวภาคพลเมือง. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั มหิดล, ๒๕๔๒. อานนท์ อาภาภิรม. รัฐศาสตรเ์ บอ้ื งต้น. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์โอเดียนสโตร์,๒๕๒๘. อดุ ม บวั ศร,ี รศ. นิตยสารสาระวิชาการธรรมทรรศน์ (ปที ี่ ๑๑ ฉบับที่ ๒) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, ๒๕๔๓.

หมวดที่ ๗ การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาเนนิ การของรายวชิ า

มคอ ๓

๑. กลยทุ ธก์ ารประเมินประสิทธผิ ลของรายวชิ าโดยนิสิต การประเมนิ ประสิทธิผลในรายวิชานี้ ทีจ่ ัดทาโดยนสิ ิต ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคดิ และ

ความเห็นจากนสิ ติ ได้ดังน้ี - แบบประเมินประสิทธิผลรายวิชาด้านกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน สิ่ง สนบั สนุนการเรยี นรู้ และผลการเรยี นรทู้ ่ไี ดร้ บั - แบบประเมินการสอนประจารายวิชา

๒. กลยทุ ธก์ ารประเมนิ การสอน ในการเกบ็ ขอ้ มลู เพอื่ ประเมินการสอน ไดม้ กี ลยุทธ์ ดงั นี้ - การสงั เกตการณ์จากพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น - การสังเกตการณ์สอนของผรู้ ว่ มทมี การสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมนิ การเรียนรู้

๓. การปรับปรุงการสอน หลงั จากผลการประเมินการสอนในขอ้ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมใน

การระดมสมอง และหาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ ในการปรับปรงุ การสอน ดังน้ี - สมั มนาการจัดการเรยี นการสอน - การวจิ ยั ในช้นั เรยี น

๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ขิ องนสิ ติ ในรายวชิ า ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิในรายหัวข้อ ตามที่

คาดหวังจากการเรียนร้ใู นวิชา ได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสติ รวมถึง พจิ ารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรยี นรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ โดยรวมในวชิ าไดด้ ังน้ี

- การต้ังคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดยตรวจสอบขอ้ สอบ รายงาน วธิ กี ารให้คะแนนสอบ และการใหค้ ะแนนพฤตกิ รรม

- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อ่ืน หรือ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ท่ีไม่ใช่อาจารย์ประจาหลกั สูตร

๕. การดาเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรบั ปรงุ ประสทิ ธผิ ลของรายวชิ า จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธ์ิประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการ

ปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพ่ือให้เกิดคุณภาพมากข้ึน โดยการปรับปรุงเน้ือหาหรือ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธต์ิ ามข้อ ๔

มคอ. 3 รายละเอยี ดของรายวิชา “บาลไี วยากรณ์ ๒”

ชือ่ สถาบนั อดุ มศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วทิ ยาเขต/คณะ/วิทยาลัยสงฆ์ วิทยาเขตขอนแกน่ /วิทยาลัยสงฆ์ขอนแกน่ /สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา

หมวดที่ 1 ข้อมลู โดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา SP ๑๐๒ บาลไี วยากรณ์ ๒ (Pali Gramma II)

2. จำนวนหน่วยกิต ๒ หน่วยกิต ๒ (๒-๐-๔)

3. หลกั สูตรและประเภทของรายวิชา พุทธศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา เปน็ วิชาภาษาบาลเี สริม

4. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบรายวชิ าและอาจารยผ์ ้สู อน พระมหาพิสิฐ วิสิฏฺฐปญโฺ ญ,ดร.

5. ภาคการศกึ ษา / ชน้ั ปที เ่ี รียน ภาคการศึกษาที่ 1 / ชัน้ ปที ี่ 1

6. รายวิชาท่ีต้องเรยี นมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) SP ๑๐๑ บาลไี วยากรณ์ ๑ (Pali Gramma I)

7. รายวิชาทตี่ ้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถา้ มี) ไมม่ ี

8. สถานท่เี รยี น มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่ อาคาร 100 ปี สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) 30 หมู่ 1 ต.โคกสี อ.เมือง จ.ขอนแก่น

9. วนั ทจ่ี ัดทำหรือปรับปรุงรายละเอยี ดของรายวิชาคร้ังล่าสุด พฤษภาคม 25๖๔

หมวดท่ี 2 จุดมงุ่ หมายและวัตถปุ ระสงค์

1. จุดมงุ่ หมายของรายวิชา ๑. เพื่อใหน้ ักศกึ ษารคู้ ำนามประเภทของนาม และนาม ลิงค์ วจนะ และการันต์ ๒. เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษาสามารถแจกนามนาม สรรพนาม และสงั ขยาได้ ๓. เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษาเขา้ ใจหลักการเปลีย่ นรูปวภิ ัตตินาม และสงั ขยาตา่ งๆ ๔. เพ่อื ให้นกั ศกึ ษาเขา้ ใจรูปอัพยยศพั ท์และการใช้อัพยยศพั ท์ อย่างถกู ตอ้ งในประโยค

2. วัตถปุ ระสงค์ วัตถปุ ระสงค์ในการการพฒั นา/ปรบั ปรุงรายวิชา เพื่อเพิ่มเติมเนื้อหา ปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงข้อมูล เพื่อการบรู ณาการกบั ศาสตร์อนื่ ๆ โดยอาศยั การประเมนิ จาก

ผู้เรียน และคณาจารยเ์ ข้าส่ขู บวนการสอนโดย E-Leaning

สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น 1

หมวดท่ี 3 ลักษณะและการดำเนนิ การ

1. คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาประเภทของคำนาม ลิงค์ วจนะ วิภัตติ การันต์ และวิธีแจกตามองค์ประกอบของคำนาม รวมท้ังศึกษา

สังขยาและอพั ยยศัพท์ 2. จำนวนช่วั โมงท่ีใชต้ ่อภาคการศกึ ษา

บรรยาย สอนเสริม การฝกึ ปฏิบตั /ิ งาน การศกึ ษาด้วยตนเอง การสอนเสริม ไม่มี ภาคสนาม/การฝึกงาน บรรยาย ๒ ช่วั โมง ศึกษาคนั ควา้ ด้วยตนเอง ๔ ต่อสปั ดาห์ การฝึกปฏิบตั งิ าน ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ ภาคสนาม ไมม่ ี

3. จำนวนช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ทอ่ี าจารยใ์ ห้คำปรกึ ษาและแนะนำทางวชิ าการแก่นักศึกษาเปน็ รายบุคคล จัดเวลาใหค้ ำปรึกษาเป็นรายบุคคล และรายกลุม่ ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยแจ้งใหท้ ราบลว่ งหนา้

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรขู้ องนักศกึ ษา

1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1.1 คณุ ธรรม จริยธรรมทตี่ อ้ งพัฒนา ๑. นสิ ิตเกดิ ความซาบซ้ึงในคุณคา่ ของการศึกษาภาษาบาลี ๒. นสิ ติ จะเห็นคณุ ค่าของภาษาบาลีที่มีอทิ ธพิ ลต่อภาษาไทย ๓. นสิ ิตเกดิ ความสำนึกท่จี ะดำรงคุณค่าของภาษาบาลใี ห้อยูค่ ู่กับพระพทุ ธศาสนา

1.2 วธิ กี ารสอน สอดแทรกการยกตัวอย่างประกอบเข้าไปในเน้ือหา เชื่อมโยงประเด็นเข้าสู่คุณธรรม จริยธรรม ตรงต่อเวลาต่อ

การเขา้ เรียนอยา่ งสม่ำเสมอ รับผิดชอบในการงานทีมอบหมาย พร้อมทัง้ ให้มคี วามซือ่ สตั ยใ์ นการสอบ

1.3 วิธกี ารประเมนิ ผล เข้าเรยี นตรงตอ่ เวลา ปฏิบตั ติ ามกำหนดของอาจารยผ์ ูส้ อน ไมท่ ุจริตในการสอบ

2. ความรู้

2.1 ความรทู้ ่ีตอ้ งไดร้ บั ๑. เพอื่ ให้นักศกึ ษารู้คำนามประเภทของนาม และนาม ลงิ ค์ วจนะ และการันต์ ๒. เพอื่ ให้นกั ศกึ ษาสามารถแจกนามนาม สรรพนาม และสังขยาได้ ๓. เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษาเข้าใจหลกั การเปล่ียนรูปวภิ ตั ตินาม และสังขยาต่างๆ ๔. เพอื่ ใหน้ ักศึกษาเข้าใจรปู อัพยยศัพทแ์ ละการใช้อัพยยศัพท์ อยา่ งถูกต้องในประโยค

2.2 วิธกี ารสอน บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ มีความคิดวิเคราะห์ถาม-ตอบในชั้นเรียน สามารถไปค้นคว้าเพ่ิมเติม และ

จดั ทำรายงานเสนอในชัน้ เรียน

สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ 2

2.3 วิธกี ารประเมนิ ผล ทดสอบโดยขอ้ เขยี น ประเมินจากผลของงานที่ได้รบั มอบหมาย ประเมนิ จากการมสี ่วนร่วมในชน้ั เรียน

3. ทักษะทางปัญญา

3.1 ทกั ษะทางปญั ญาท่ีต้องพัฒนา ความสามารถในการคิดและหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการประยุกต์ความรู้ในวิชาน้ีเพ่ือรู้คำนาม

ลิงค์ วจนะ วิภัตติ การันต์ และวิธีแจกตามองค์ประกอบของคำนาม หลักการเปล่ียนรูปวิภัตตินามรวมท้ังศึกษา สังขยา และอพั ยยศพั ท์

3.2 วธิ ีการสอน ฝึกใหว้ เิ คราะห์ คน้ คว้าข้อมลู จากฐานข้อมูล เชิญผเู้ ชย่ี วชาญด้านคมั ภรี ม์ าเสนอแนะแลกเปล่ียนการเรียนรู้

รว่ มกัน

3.3 วิธกี ารประเมินผล ทดสอบโดยขอ้ เขียน สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ ม การอภปิ รายนำเสนอรายงาน เสนอความคิดเห็น

4. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผิดชอบ

4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผิดชอบทต่ี ้องพัฒนา

มอบหมายงานเปน็ กล่มุ โดยมผี นู้ ำกลุม่ และสมาชกิ โดยมกี ารปรบั เปล่ยี นความรับผิดชอบเพ่ือพฒั นาการเปน็ ผู้นำ