การประเม นความพ งพอใจผ ม ส วนได ส วนเส ย กฟผ

ภาครัฐและผู้กำกับดูแล• การประชุม เสวนา และกิจกรรมร่วม (อย่างน้อยเดือนละ 1-2 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและ ความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • Call Center 1416• ข้อมูลการผลิตไฟฟ้าที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว • ปฏิบัติตามกฎหมายและ พรบ. • สนับสนุน/ร่วมมือในกิจกรรมของภาครัฐ การเสียภาษี/ค่าธรรมเนียมตามที่กำหนด • นโยบายภาครัฐส่งเสริมให้ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (IPP และ SPP) ในเรื่องของการผลิตไฟฟ้า • อยากได้ Account Officer (AO) ที่สามารถติดต่อและตอบข้อซักถามได้อย่างรวมศูนย์• มีหน่วยงานที่นำยุทธศาสตร์ พ.ร.บ. หรือกฎหมายมาปรับเป็นยุทธศาสตร์องค์การ • สื่อสารและสร้างความเข้าใจภารกิจ กฟผ. อย่างต่อเนื่อง • จัดทำโครงการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและผู้กำกับนโยบาย • ส่งเสริมการดำเนินงานตามมาตรฐานเพื่อนำองค์การไปสู่ความยั่งยืน • รายงาน EIA/EHIA • จัดทำแผนแม่บทบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และแนวทางการพัฒนาฐานข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Profile) • ปรับปรุง/ทบทวนกระบวนการ (Key Work Process) การสานสัมพันธ์กับกระทรวงพลังงานสื่อมวลชน• การประชุม เสวนา และกิจกรรมร่วมกัน (อย่างน้อยเดือนละ 5-10 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและ ข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • Call Center 1416• ข้อมูลข่าวสารถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์ข้อมูลมีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ • คาดหวังให้ปรับปรุง Protocol ขั้นตอนกระบวนการในการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร • ต้องการข้อมูลที่มีแหล่งอ้างอิงเชื่อถือได้ • สื่อสารและสร้างความเข้าใจภารกิจ กฟผ. อย่างต่อเนื่อง • กิจกรรมสานสัมพันธ์ • ปรับปรุงกระบวนการทำงานที่สำคัญเพื่อสามารถนำส่งข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง และรวดเร็วขึ้น ชุมชน• การประชุม เสวนา และกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์รอบพื้นที่ (อย่างน้อยเดือนละ 10-12 ครั้ง) • โครงการ CSR ต่าง ๆ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและ ข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อมวลชนท้องถิ่น • Call Center 1416• จัดการสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และบริหารการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • พัฒนาคุณภาพชีวิต เคารพต่อสิทธิชุมชน การส่งเสริมสาธารณสมบัติเทคโนโลยีอย่างง่ายในชุมชน • รับฟังความคิดเห็น การสื่อสารสองทาง การสานเสวนา การเปิดเผยข้อมูล• โครงการ CSR และชุมชนสัมพันธ์ในพื้นที่ที่ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต • มีคณะทำงานที่ส่งเสริมโรงไฟฟ้าเป็นที่ท่องเที่ยวและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงาน/ปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนักวิชาการและประชาสังคม• รับฟังและสื่อสารแลกเปลี่ยนผ่านเวทีเสวนา งานวิจัย หรือการทำงานร่วมกัน (อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและ ความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและ ข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • Call Center 1416• เปิดเผยข้อมูลตามข้อเท็จจริง/เหมาะสมตามช่วงเวลา • บริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม/การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • ประชาชนให้ความสำคัญในเรื่องของความมั่นคง เพียงพอ ของการจ่ายกระแสไฟฟ้า ระบบไฟฟ้ามั่นคง ไฟไม่ตกไม่ดับ• สื่อสารและสร้างความเข้าใจภารกิจ กฟผ. อย่างต่อเนื่อง • มีช่องทางที่เหมาะสมให้สามารถเข้าถึงข้อมูลการดำเนินงาน กฟผ. เช่น การจัดทำรายงาน EIA/EHIA • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงาน/ปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียลูกค้าและผู้ใช้ไฟฟ้า• การประชุม เสวนา และกิจกรรมร่วม (อย่างน้อยปีละ 2-4 ครั้ง) • การเยี่ยมเยียน พบปะลูกค้า หรือสัมภาษณ์ เพื่อสอบถามความต้องการ ความคาดหวัง (อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • Call Center 1416• ทำสัญญาที่เป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ • ให้บริการที่มีคุณภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การมีข้อมูลการบริการที่ถูกต้องครบถ้วน ตรงต่อเวลา บริการหลังการขายที่ดี • มีมาตรการรักษาความลับของลูกค้า มาตรการตอบสนองต่อข้อร้องเรียน • การสร้างความตระหนักเรื่องการบริโภคอย่างยั่งยืน • บุคลากรที่มีทักษะในการประสานงานและการสื่อสารให้เกิดความเข้าใจได้ • คุณภาพในการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน• พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ได้มาตรฐาน ทั้งคุณภาพความปลอดภัย และตอบสนองต่อความต้องการของตลาด • การบริหารจัดการต้นทุนผลิตภัณฑ์และบริการ • มาตรการตอบสนองต่อข้อร้องเรียน • สื่อสารและสร้างความเข้าใจภารกิจ กฟผ. รวมถึงสร้างความตระหนักเรื่องการใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ • จัดตั้งศูนย์กีฬากำธนสินธวานนท์เป็นศูนย์ฉีดวัคซีนเพื่อให้บริการประชาชนร่วมกับหน่วยงานความร่วมมือ • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงาน/ปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพันธมิตรธุรกิจ• การสัมมนา เยี่ยมเยียน พบปะคู่ค้า หรือสัมภาษณ์เพื่อสอบถามความต้องการ ความคาดหวัง (อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • Call Center 1416• การคัดเลือกและการบริหารสัญญาที่เป็นธรรม • ประเด็นความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทาน เช่น สิทธิมนุษยชน • ความสามารถในการส่งมอบ รวมถึงการมีสัญญาหรือเงื่อนไขจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นธรรม ความโปร่งใส ความเท่าเทียมในการจัดซื้อจัดจ้างและประมูลงาน • มีเกณฑ์การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบและประเมินที่คำนึงถึงสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม • เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมกับองค์การในการพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการ และการบริหารจัดการทรัพยากร การพัฒนาทักษะ การเคารพสิทธิและทรัพย์สินทางปัญญา• กำหนดนโยบายด้านการจัดหาอย่างยั่งยืน (Green Procurement) และแนวทางปฏิบัติสำหรับคู่ค้าธุรกิจ • ปรับปรุงแนวทางและกระบวนการ กฟผ. ให้ง่ายต่อการทำงานร่วมกับคู่ค้า เช่น จัดประชุมร่วมกับคู่ค้า เพื่อทำความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติงาน ของ กฟผ. เพิ่มช่องทางจ่ายเงินให้คู่ค้าโดยวิธีโอนเงิน • จรรณยาบรรณ กฟผ. และแบบประเมินจริยธรรมคู่ค้า • ส่งเสริมให้คู่ธุรกิจตระหนักในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม • การส่งเสริมผู้ส่งมอบ (ผลิตภัณฑ์ชุมชน) ในท้องถิ่นเป็นคู่ค้า • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงานหรือปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพนักงานและ สหภาพแรงงาน• ผู้บริหารพบปะผู้ปฏิบัติงาน (อย่างน้อยปีละ 2-4 ครั้ง) • กิจกรรม Synergy ระดับฝ่ายหรือสายงาน (อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • Call Center 1416• มีความมั่นคงในการจ้างงาน สัญญาจ้าง การปฏิบัติตามกฎหมายด้านแรงงาน • ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม และสวัสดิการนอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนด • มีโอกาสในการพัฒนาความสามารถและการทำงานอย่างมืออาชีพอย่างเท่าเทียม • การส่งเสริมการต่อต้านการทุจริต ทั้งในและนอกองค์การ รวมถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างรับผิดชอบ การเตรียมความคุ้มครองสำหรับกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ การเปิดโอกาสให้มีการรวมกลุ่มเพื่อเจรจาต่อรอง การเข้าถึงผู้บริหาร การกำหนดช่องทางรับและตอบสนองข้อร้องเรียน• นำหลักสิทธิมนุษยชน และมาตรฐานสากล เช่น ISO26000 ประกอบเป็นแนวปฏิบัติกับพนักงาน • สื่อสารแบบสองทางกับผู้ปฏิบัติงานผ่านผู้บังคับบัญชา • มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมกับงานที่ได้รับมอบหมาย ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนเข้าถึงได้ • มีการปรับปรุงสวัสดิการพนักงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน • จัดเตรียมวัคซีนโควิด-19 ให้กับผู้ปฏิบัติงาน • ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานตระหนักในเรื่องการมีจิตอาสา และความรับผิดชอบต่อสังคม • จัดให้มี Co-working Space สำหรับผู้ปฏิบัติงาน • มีนโยบาย Work From Home และ Work From Anywhere เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 • เพิ่มช่องทางสื่อสาร Social Media ระหว่างผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงานหรือปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการเงิน• การประชุม หรือกิจกรรมร่วม (อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง) • รายงานประจำปี หรือรายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social MediaCall • Center 1416• ชำระหนี้สินตรงตามกำหนด • ดำเนินกิจการด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ • บริหารจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม • การปฏิบัติตามสัญญางานธุรกรรมทางการเงินระหว่าง กฟผ. กับสถาบันทางการเงิน• ทบทวน และวางแผนการดำเนินงานในการจัดทำรายงานฯ และนำส่งงบการเงินให้แล้วเสร็จตามกำหนดโดยมีการกำหนดเป็นตัวชีวัด (KPI) ในการทำงาน และมีการประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงานหรือปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคณะกรรมการ กฟผ.• การประชุมคณะกรรมการ (รายไตรมาส) • กิจกรรมสานสัมพันธ์หรือรัฐกิจสัมพันธ์ (อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • ดำเนินกิจการด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ • การประชุมคณะกรรมการเป็นไปตามกรอบเวลา และมาตรฐานการประชุม • การรายงานผลการดำเนินงานของ กฟผ. ต่อที่ประชุมเพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามภารกิจ • การปรับตัวของ กฟผ. ที่รวดเร็วต่อความท้าทาย ความผันผวน และการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยภานอกต่าง ๆ • มีอิสระในการแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม• สื่อสารและสร้างความเข้าใจภารกิจ กฟผ. อย่างต่อเนื่อง • ปรับปรุงกระบวนการจัดประชุมให้เป็นไปตามมาตรฐาน • ดำเนินการแก้ไขตามข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นจากมติที่ประชุม • สนับสนุนข้อมูลการดำเนินงานเมื่อคณะกรรมการมีข้อซักถามหรือข้อสงสัย • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงาน/ปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียบริษัทในเครือ• การประชุมคณะผู้บริหาร กฟผ. และบริษัทในเครือ (ราย 2 เดือน) • กิจกรรมสานสัมพันธ์หรือรัฐกิจสัมพันธ์ (อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง) • การสำรวจความพึงพอใจและความผูกพันประจำปี • การประสานงานผ่านทางโทรศัพท์ในระดับปฏิบัติการ • รายงานประจำปี หรือรายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • Call Center 1416• ทิศทางการดำเนินธุรกิจที่ชัดเจน เพื่อพัฒนาธุรกิจให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ กฟผ. • สามารถดำเนินกิจการตามมาตรฐานของตลาดหลักทรัพย์ • กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารระดับสูงของ กฟผ. กับบริษัทในเครือ กฟผ. • อิสระในการตัดสินใจ และการบริหารในเชิงธุรกิจ• สื่อสารและสร้างความเข้าใจภารกิจ กฟผ. อย่างต่อเนื่อง • กิจกรรมสัมพันธ์ระหว่าง กฟผ. • จัดตั้งบริษัทนวัตกรรม “อินโนพาวเวอร์” ร่วมกับกลุ่ม กฟผ. เพื่อเป็นกลไกในการลงทุนและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ด้านพลังงานไฟฟ้า • การลงทุนในโครงการต่าง ๆ ระหว่าง กฟผ. และบริษัทในเครือ • เพิ่มการใช้ระบบเทคโนโลยี (Digital Transformation) เพื่อพัฒนาคุณภาพงาน/ปรับปรุงกระบวนการในการตอบสนองต่อประเด็นความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคู่แข่ง• รายงานประจำปีหรือรายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน • ช่องทางรับความคิดเห็นและข้อร้องเรียน • การสื่อสารผ่าน สื่อประชาสัมพันธ์ รวมถึง Social Media • Call Center 1416• เสนอขายไฟฟ้าตามเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ของ กฟผ. และมีราคาที่เหมาะสม • การแข่งขันทางการตลาดที่เป็นธรรม• นำหลักสิทธิมนุษยชนและ 7 หัวข้อหลักตามมาตรฐานสากลเช่น ISO 26000 เป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินธุรกิจ • ดำเนินกิจการด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ • สื่อสารและสร้างความเข้าใจภารกิจ กฟผ. อย่างต่อเนื่อง