กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

ปัญหาโลกแตกระหว่างนายจ้าง กับ ลูกจ้าง ที่เกิดขึ้นทุกหน่วยงาน มีข่าวออกมาให้ได้ยินอยู่บ่อยๆ ซึ่งส่วนมากก็จะได้ยินข่าวว่านายจ้างเอาเปรียบ หรือ กดค่าแรงลูกจ้าง ให้ทำงานเกินเวลา จนทำให้ลูกจ้างต้องลาออกจากงานเพราะทนถูกเอาเปรียบไม่ไหว ซึ่งจริงๆแล้ว หากลูกจ้างคนไหนที่คิดจะลาออกและได้อ่านบทความนี้ อยากบอกว่า ไม่ว่าหน่วยงานไหน บริษัทไหน ก็มีโอกาสเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นได้เสมอ การลาออกจึงไม่ได้การันตีว่า หน่วยงานหรือบริษัทใหม่จะดีกว่าเดิมเสมอไป หรืออาจจะเป็นการหนีเสือปะจระเข้ซะมากกว่า

ดังนั้น ทางที่ดีควรหันมาศึกษาหาความรู้เกี่ยว กฎหมายแรงงาน ที่จำเป็นในการทำงานจะดีกว่า เพื่อให้การทำงานอยู่ในกฎระเบียบ ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ และมีข้อโต้แย้งเจ้านาย โดยถือกฎหมายเป็นหลักจะปลอดภัย และน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่าการลาออกนะคะ การคุยด้วยเหตุผลและกฎหมายจะทำให้นายจ้างไม่กล้าเอาเปรียบเรา เพราะรู้ว่าลูกจ้างมีความรู้เรื่องกฎหมายแรงงาน ซึ่งบทความนี้จะสรุปกฎหมายแรงงานที่จำเป็น ที่ลูกจ้างจะต้องรู้ เพื่อให้ทำงานได้อย่างสบายใจมากขึ้น

ทำไมต้องรู้กฎหมายแรงงาน

เพราะ กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่ระบุถึงสิทธิของลูกจ้าง และ นายจ้าง ไว้อย่างชัดเจน เพื่อที่ไม่เกิดการเอาเปรียบไม่ว่าฝ่ายไหนก็ตาม ซึ่งใน กฎหมายแรงงาน จะระบุถึงสิทธิต่างๆ สวัสดิการ วันหยุด ค่าแรง และความปลอดภัยในการทำงาน ทำให้ลูกจ้างสบายใจ หากรู้กฎหมายแรงงาน ก็จะลดการถูกเอาเปรียบ หรือได้รับค่าแรงไม่เป็นธรรม และทำงานได้อย่างมีคามสุขทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างเอง

ลูกจ้างได้ประโยชน์อะไรจากกฎหมายแรงงานบ้าง

1 ได้ค่าแรงที่เป็นธรรม ไม่ถูกกดค่าแรง ได้ค่าแรงที่เหมาะกับคุณวุฒิและตำแหน่งในการทำงาน

2 ได้รับสวัสดิการที่ลูกจ้างทุกคนพึงจะได้รับตามกฎหมายระบุ ทำให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

3 มีเวลาทำงานและพักระหว่างทำงานตามกฎหมาย กฎหมายกำหนดให้ทำงานทั่วไปทำงานไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนงานที่เป็นอันตราย กำหนดให้ทำงานไม่เกิน 7 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 42 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทำให้ลูกจ้างไม่ถูกใช้แรงงานหนักจนเกินไป หรือหากทำงานในวันหยุดก็ได้รับเงินเพิ่มตามที่กฎหมายกำหนด

ส่วนเวลาพัก กฎหมายแรงงาน ก็กำหนดให้มีเวลาพักอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อวัน หากลูกจ้างต้องทำงานล่วงเวลาเกิน 2ชั่วโมง ก็ต้องจัดเวลาให้พักก่อนที่จะเริ่มงานอย่างน้อย 20 นาที

4 มีวันหยุดพักผ่อน กฎหมายแรงงานกำหนดให้มีวันหยุดอย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์ หรือจะรวมเป็นวันหยุดสะสมก็ได้ตามลักษณะของงาน และต้องมีวันหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่า 13 วัน และวันหยุดพักผ่อนประจำปีไม่ต่ำกว่า 6 วันต่อปี

5 มีระบบการทำงานที่ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ทำให้การทำงานเกิดความปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และไม่เสียงเกิดอุบัติจากความไม่ปลอดภัยของการทำงาน ส่งผลต่อสวัสดิภาพของลูกจ้าง

6 การทำงานวันหยุด สำหรับลูกจ้าง กฎหมายแรงงาน กำหนดลูกจ้างทำงานล่วงเวลาได้ แต่ต้องไม่เกิน 36 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งการทำงานล่วงเวลาในวันหยุดนี้ นายจ้างไม่มีความผิด หากลูกจ้างยินยอม และสภาพงานมีความจำเป็นที่ต้องทำต่อเนื่อง จนต้องทำงานล่วงเวลา

7 การลางานของลูกจ้าง ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาป่วยได้ แต่ถ้าหากลาติดต่อกันเกิน 3 วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์ และยังมีสิทธิ์ลาเพื่ออบรม ลากิจ ลารับราชการทหาร ลาคลอดบุตร

8 ค่าตอบแทนหรือค่าจ้างในการทำงาน ตามกฎหมายแรงงานมีการกำหนดค่าแรงขั้นต่ำไว้ ซึ่งนายจ้างห้ามจ่ายค่าแรงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด และหากลูกจ้างมีการทำงานล่วงเวลา นายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้าง 1.5 เท่าของค่าจ้างปกติ โดยคิดเป็นรายชั่วโมง และเกณฑ์ยังนำไปคิดค่าจ้างในกรณีทำงานวันหยุด

9 ค่าชดเชยการเลิกจ้าง หากมีการเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีที่ลูกจ้างไม่การกระทำความผิดใดๆ นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามอายุการทำงานและเงินเดือนของลูกจ้าง

เห็นไหมว่า หากเรารู้ ” กฎหมายแรงงาน ” ที่จำเป็น ก็ทำให้ลูกจ้างและนายจ้างทำงานร่วมกันได้ โดยไม่มีฝ่ายไหนเอารัดเอาเปรียบกัน เพราะมีกฎหมายแรงงานกำหนดข้อปฏิบัติต่างๆไว้ เพื่อเป็นแนวทาง และลดปัญหาต่างๆในการทำงานได้เป็นอย่างดี แต่ที่เกิดปัญหาระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างปัจจุบัน เพราะไม่รู้กฎหมายแรงงาน เสียสละเวลาสักนิด เรียนรู้และศึกษากฎหมายแรงงาน เพื่อคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ดีขึ้น

พ.ร.บ.รถยนต์ เป็นเรื่องสำคัญที่เจ้าของรถยนต์ต้องทำความเข้าใจ เนื่องจากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประกันในกรณีที่รถยนต์เกิดอุบัติเหตุไม่คาดฝัน รวมไปถึงการคุ้มครองแก่บุคคลที่ประสบอุบัติเหตุด้วย ซึ่งเรื่อง พรบ รถยนต์เป็นเรื่องใกล้ตัวและมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของเรามาก เพื่อให้ทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ในวันนี้ทาง CARSOME ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ พรบ รถยนต์ ที่ควรรู้ มาฝากค่ะ

ซื้อรถยนต์มือสอง กับ CARSOME การันตีคุณภาพรถยนต์ ผ่านการตรวจสภาพ 175 จุด พร้อมรับประกันสูงสุด 2 ปีเต็ม ราคาคงที่ ไม่มีค่าใช้จ่ายแอบแฝง ซื้อไปแล้วไม่พอใจ การันตีคืนเงินเต็มจำนวนภายใน 30 วัน นึกถึง รถยนต์มือสอง ต้อง CARSOME

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

สารบัญ

ต่อพ.ร.บ.รถยนต์

พ.ร.บ.รถยนต์ คืออะไร?

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

พ.ร.บ.รถยนต์ หรือ ประกัน พ.ร.บ. ที่เรามักจะได้ยินกันบ่อย ๆ นั้นหมายถึง พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ซึ่งเป็นกฎหมายบังคับที่ให้รถยนต์ทุกคันที่จดทะเบียนกับกรมขนส่งทางบกต้องจัดให้มีประกันภัยอย่างน้อยที่สุด คือ การทำประกันภัยภายใต้ข้อบังคับของพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ หรือที่เรียกกันว่า ประกันภัย พ.ร.บ.รถยนต์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความคุ้มครองแก่บุคคลผู้ประสบอุบัติเหตุจากการใช้รถได้อย่างทันท่วงที โดยไม่คำนึงถึงว่าบุคคลที่ประสบอุบัติเหตุดังกล่าวเป็นผู้กระทำผิดหรือไม่

โดยพรบ รถยนต์ นี้ได้กำหนดให้เจ้าของรถที่มีชื่อในเล่มทะเบียนรถยนต์หรือผู้ครอบครองรถในกรณีเป็นผู้เช่าซื้อรถ ต้องต่ออายุพรบ ในทุก ๆ ปี เนื่องจากเป็นประกันภาคบังคับ และยังเป็นหลักฐานที่จำเป็นต่อการต่อภาษีรถยนต์ในทุก ๆ ปีด้วย หากในกรณีที่ไม่ต่อพรบ จะถือว่ามีความผิดตามกฎหมาย

พ.ร.บ.รถยนต์ ทำยังไง ใช้เอกสารอะไรบ้าง?

การทำพ.ร.บ. หรือต่อพ.ร.บ.รถยนต์นั้นปัจจุบันสามารถทำได้ 2 ช่องทาง คือ กรมขนส่ง ที่ทำการไปรษณีย์ ห้างสรรพสินค้า และเคาน์เตอร์เซอร์วิส หรือช่องทางออนไลน์ โดยขั้นตอนของการต่อพรบ รถยนต์ สามารถแบ่งได้ตามกรณีของรถยนต์ใหม่ที่มีอายุไม่เกิน 7 ปีและรถยนต์ที่มีอายุเกิน 7 ปีขึ้นไป

ขั้นตอนการต่อพรบรถยนต์ของรถใหม่ที่มีอายุไม่เกิน 7 ปี

  • กรณีที่เป็นรถใหม่มีอายุไม่เกิน 7 ปี สามารถนำเอกสาร สำเนาทะเบียนรถ หรือเล่มจริง และสำเนาบัตรประชาชน ไปที่ทำการรับบริการต่อพรบรถใกล้บ้านได้เลยค่ะ

ขั้นตอนการต่อพ.ร.บ.รถยนต์ของรถที่มีอายุเกิน 7 ปีขึ้นไป

การต่อพ.ร.บ.รถยนต์ของรถที่มีอายุเกิน 7 ปีขึ้นไป จะต้องตรวจสภาพรถก่อน โดยสามารถตรวจได้ที่สถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ.) ทุกแห่ง ที่ได้การรับรองจากกรมการขนส่งทางบก รวมถึงที่กรมขนส่งทางบกง ส่วนอัตราค่าเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ. สำหรับรถยนต์ ขึ้นอยู่กับประเภทรถ โดยมีรายละเอียดต่อไปนี้

  • รถยนต์โดยสารที่นั่งไม่เกิน 7 คน 600 บาท/ปี
  • รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน ไม่เกิน 15 ที่นั่ง 1,100 บาท/ปี
  • รถยนต์โดยสารเกิน 15 ที่นั่ง ไม่เกิน 20 ที่นั่ง 2,050 บาท/ปี
  • รถยนต์โดยสารเกิน 20 ที่นั่ง ไม่เกิน 40 ที่นั่ง 3,200 บาท/ปี
  • รถยนต์โดยสารเกิน 40 ที่นั่ง 3,740 บาท/ปี
  • รถยนต์ไฟฟ้า 600 บาท/ปี

ซึ่งการต่อพ.ร.บ.รถยนต์ จะต้องใช้เอกสารที่ต่างจากการทำพรบ รถยนต์ใหม่ ได้แก่

  1. สมุดคู่มือจดทะเบียนรถตัวจริงหรือสำเนา
  2. เอกสาร พ.ร.บ.รถยนต์ ที่ยังไม่หมดอายุ
  3. ใบรับรองการตรวจสภาพรถ (กรณีที่รถมีอายุเกิน 7 ปีขึ้นไป)
  4. เงินสำหรับอัตราภาษีรถตาม พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ. 2522

พ.ร.บ. รถยนต์คุ้มครองอะไร ?

ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุรถยนต์ที่ทำประกันไว้ การคุ้มครอง พรบ จะถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

1. คุ้มครองค่าเสียหายเบื้องต้น

สำหรับผู้ประสบภัย ไม่ว่าจะเป็น ผู้ขับขี่ ผู้โดยสาร หรือคนเดินเท้า จะได้รับความคุ้มครอง เป็นค่ารักษาพยาบาลในกรณีบาดเจ็บ และค่าปลงศพในกรณีเสียชีวิต โดยไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ความผิด ซึ่งทางบริษัทประกันจะชดใช้ให้แก่ผู้ประสบภัย หรือทายาทโดยธรรมของผู้ประสบภัย ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่บริษัทได้รับคำร้องขอ ซึ่งแบ่งออกได้ 3 กรณี คือ

  • ค่ารักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 30,000 บาท/คน
  • กรณีผู้ประสบภัยสูญเสียอวัยวะ หรือเสียชีวิต จะได้รับค่าชดเชยจำนวน 35,000 บาท/คน
  • กรณีผู้ประสบภัยได้รับบาดเจ็บ และต่อมาได้สูญเสียอวัยวะ จะได้รับค่าชดเชยรวมกันแล้วไม่เกิน 65,000 บาท/คน
  • กรณีผู้ประสบภัยเสียชีวิตหลังจากเข้ารักษาพยาบาล จะได้รับค่าชดเชยไม่เกิน 65,000 บาท/คน

2. คุ้มครองค่าสินไหมทดแทน

เป็นค่าเสียหายที่นอกเหนือจากค่าเสียหายเบื้องต้น โดยบริษัทประกันจะจ่ายค่าสินไหมทดแทน ในกรณีผู้ประสบภัยได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นฝ่ายถูก จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเป็นจำนวนเงินดังนี้

  • ค่ารักษาพยาบาลและค่าเสียหายอย่างอื่นที่ผู้ประสบภัย สามารถเรียกร้องได้ไม่เกิน 80,000 บาท/คน
  • สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพอย่างถาวร บริษัทประกันจะจ่ายค่าสินไหมทดแทน 200,000 – 500,000 บาท/คน
  • กรณีเสียชีวิต บริษัทประกันจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 500,000 บาท/คน
  • ในกรณีที่เข้ารับการรักษา ณ สถานพยาบาลในฐานะผู้ป่วยใน บริษัทจะจ่ายค่าชดเชยรายวัน วันละ 200 บาท จำนวนรวมกันไม่เกิน 20 วัน

พ.ร.บ.รถยนต์ ต่อออนไลน์ได้มั้ย?

ดูวิธีต่อพ.ร.บ.รถยนต์ออนไลน์ได้ที่: วิธีต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ออนไลน์ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

ในปัจจุบันการต่อ พรบ รถยนต์ก็มีวิธีที่สะดวกสบายขึ้น เพื่อช่วยให้เจ้าของรถได้ต่อพรบ รถยนต์ ทันเวลา ประหยัดเวลา และช่วยหลีกเลี่ยงการเสียค่าปรับด้วย ซึ่งการต่อออนไลน์นั้นสามารถทำได้ที่เว็บไซต์กรมขนส่งทางบก (https://eservice.dlt.go.th)

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

ข้อมูลที่ต้องเตรียมสำหรับการต่อพรบ รถยนต์ออนไลน์

  • ข้อมูลทะเบียนรถ
  • ข้อมูลประกันภัยภาคบังคับ หรือ พ.ร.บ. ที่มีวันสิ้นอายุความคุ้มครองไม่น้อยกว่า 90 วัน

ซึ่งหากใครยังไม่เคยลงทะเบียน ให้ทำการลงทะเบียนสมาชิกใหม่ รวมไปถึงการกรอกข้อมูลการส่งเอกสาร ที่อยู่ต่าง ๆ ให้ครบถ้วน เมื่อทำการลงทะเบียนเสร็จแล้วก็สามารถทำการเข้าสู่ระบบได้ด้วยการกรอกเลขประจำตัวประชาชน

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

หลังจากเข้าสู่ระบบแล้วให้เลือกที่หัวข้อ ชำระภาษีรถประจำปี > ชำระภาษีรถประจำปีผ่านอินเตอร์เน็ต

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

เมื่อเข้าสู่หน้าค้นหาข้อมูลการลงทะเบียนรถ จะมีข้อมูล 3 ช่องให้กรอก ได้แก่ ประเภทรถ จังหวัด และเลขทะเบียนรถ หลังจากกรอกข้อมูลแล้วให้กดบันทึก จากนั้นรายการข้อมูลลงทะเบียนรถปรากฏด้านล่าง ให้คลิกช่องสี่เหลี่ยมด้านหน้ารายการแล้วกดชำระภาษี

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

ในกรณีที่รถจักรยานยนต์หรือรถยนต์ที่ไม่เคยลงทะเบียนมาก่อนให้คลิกที่ลงทะเบียนรถ จากนั้นก็ลงทะเบียนให้เรียบร้อยแล้วกดชำระภาษี

กฎหมาย เก ยวก บรถใหม ไม ม ป ายทะเบ ยน

  • เมื่อเข้าสู่หน้าข้อมูลการยื่นชำระภาษี จะมีข้อมูล 3 ช่องปรากฎ ได้แก่ รายละเอียดรถ ข้อมูล พ.ร.บ. และรายการที่ต้องชำระ สำหรับการต่อพรบรถจักรยานยนต์ออนไลน์ ให้เลือกหัวข้อ ข้อมูล พ.ร.บ. คลิกที่ช่องไม่มี (ซื้อผ่านระบบ) หลังจากนั้นจะมีหน้าต่างเด้งขึ้นมา ให้คลิกเลือก ต้องการซื้อ พ.ร.บ. ใหม่
  • หลังจากนั้นให้กรอกข้อมูลข้างล่างช่องซื้อ พ.ร.บ. เพิ่ม รวมไปถึงข้อมูลบริษัทประกันภัยและรายละเอียดสถานที่จัดส่งเอกสารให้ครบถ้วน
  • คลิกเลือกวิธีชำระเงิน สามารถเลือกวิธีชำระเงินต่าง ๆ ที่มีได้ตามสะดวก เมื่อชำระเงินเรียบร้อยแล้วจะมีใบเสร็จขึ้นเป็นหลักฐาน จากนั้นก็สามารถรอรับ พ.ร.บ. รถยนต์ตามที่อยู่ที่กรอกไว้ได้เลยค่ะ

ไม่ใช่เจ้าของรถเบิก พรบ ได้ไหม ?

มาถึงข้อข้อใจที่หลาย ๆ คนอาจสงสัยในกรณีที่ผู้ขับขี่รถยนต์และเจ้าของรถยนต์นั้นไม่ใช่คนเดียวกัน แต่หากรถยนต์เกิดอุบัติเหตุจะสามารถเบิกได้ไหม คำตอบก็คือ ได้ เนื่องจาก พรบ รถยนต์นั้นทำการคุ้มครองคนที่ประสบภัยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่ ผู้โดยสารหรือคู่กรณีก็ตาม โดยยังสามารถใช้สิทธิ์เบิกค่ารักษาพยาบาล รวมไปถึงค่าชดเชยต่าง ๆ อีกด้วย แต่การคุ้มครองของ พรบ รถยนต์นั้นก็ยังแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ

  • หากคุณเป็นฝ่ายผิด สามารถเบิกจากค่ารักษาพยาบาลที่เกิดจากการบาดเจ็บ (จ่ายตามจริง) สูงสุด 30,000 บาท การเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพอย่างถาวร สูงสุด 35,000 บาท
  • หากคุณเป็นฝ่ายถูก สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลจากการบาดเจ็บ หรือค่าเสียหายอื่นๆ สูงสุด 80,000 บาท การเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพอย่างถาวร สูงสุด 500,000 บาท ชดเชยรายวันวันละ 200 บาทไม่เกิน 20 วัน (ในกรณีที่เป็นผู้ป่วยใน หรือ IPD)

ดังนั้นการต่อพ.ร.บ.รถยนต์จึงเป็นเรื่องสำคัญ ในกรณีรถยนต์เกิดอุบัติเหตุ พรบ รถยนต์จะให้ความคุ้มครองทันทีทุกรณี ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ไม่ควรรอให้พรบ รถยนต์ หมดอายุ ไม่อย่างนั้น อาจทำให้เสียสิทธิ์ในการคุ้มครองอย่างต่อเนื่องได้ค่ะ โดยปัจจุบันก็มีแบบออนไลน์ที่สามารถทำให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้น ซึ่งถ้าหากต้องการความคุ้มครองเพิ่มเติมในกรณีอื่น ๆ เพื่อให้ครอบคลุมและได้วงเงินมากขึ้น ก็ควรสมัครประกันรถยนต์เพิ่มเติมด้วย

ต่อพรบรถกระบะแคปกี่บาท

- รถยนต์บรรทุก (รถกระบะ) น้ำหนักไม่เกิน 3 ตัน หรือ 3,000 กิโลกรัม เสียค่าต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ประมาณ 900 บาท - รถยนต์บรรทุก น้ำหนักเกิน 3 ตัน (3,000 กิโลกรัม) แต่ไม่เกิน 6 ตัน (6,000 กิโลกรัม) เสียค่าต่อ พ.ร.บ. รถยนต์ประมาณ 1,220 บาท

ต่อภาษีรถเก๋ง 1200 cc กี่บาท

ต่อมาสำหรับภาษีรถยนต์ 4 ประตู ขนาดเครื่องยนต์ 1200 cc มีอัตราที่ต้องจ่ายตลอดระยะเวลา 5 ปีแรกที่ 1,200 บาทต่อปี เมื่อเข้าสู่ปีที่ 6 อัตราภาษีจะมีการปรับราคาลงปีละ 10% สูงสุด 50% โดยภาษีรถยนต์ 4 ประตู​ ขนาดเครื่องยนต์ 1200 cc เมื่อเข้าสู่ช่วงปีที่ 6 จะมีอัตราที่ต้องจ่าย ดังนี้ 6 ปี ราคา 1,080 บาท 7 ปี ราคา 960 บาท

ทะเบียนรถขาดได้ไม่เกินกี่ปี

ขาดไม่เกิน 1 ปี สามารถต่อภาษีได้เลย โดยไม่เสียค่าปรับเพิ่มเติมในส่วนของ พ.ร.บ. แต่อาจโดนปรับในส่วนของภาษีรถยนต์ ขาดเกิน 2 ปี ต้องนำรถไปตรวจสภาพ และดำเนินเรื่องด้วยตนเองที่ขนส่ง โดยทำการต่อทะเบียนรถ และเสียค่าปรับ รวมถึงค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในส่วนของค่าจดทะเบียน ค่าต่อภาษี รวมไปถึงค่าเช็กสภาพ

ต่อพรบภาษีรถยนต์ต้องใช้อะไรบ้าง

สำหรับวิธีต่อพ.ร.บ. สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการเตรียมเอกสารสำหรับยื่นเรื่องทั้งการต่อ พ.ร.บ. และการยื่นขอต่อภาษีรถยนต์ ต้องเตรียมสมุดประจำรถหรือที่เราเรียกกันว่าคู่มือรถยนต์นั่นเอง โดยจะใช้เป็นตัวจริงหรือตัวสำเนาก็ได้ และนอกจากนั้นต้องเตรียมสำเนาบัตรประชาชนของผู้ยื่นเรื่องไปด้วย