ประเม นมาตรฐานว ชาช พกายภาพบำบ ด รพ.ม ญจาค ร ขอนแก น

รายงานปร2ะจ5ำ�6ป1ี สาํ นักสงำา�นนักเงลาขนาเลธขกิ าาธริกสาภรสาภกาากราศรึกศษึกษาา รายงานประจ�ำ ปี 2561 A

370.025 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ส 691 ร รายงานประจ�ำ ปี 2561 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กรุงเทพฯ : 2561 200 หน้า ISBN 978-616-270-184-9 1. รายงานประจำ�ปี 2. สภาการศกึ ษา 3. ชอื่ เร่ือง รายงานประจำ�ปี 2561 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ส่งิ พมิ พ์ สกศ. อันดับท่ี 5/2562 ISBN 978-616-270-184-9 พมิ พค์ ร้งั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2561 จ�ำ นวนทพ่ี ิมพ์ 2,000 เล่ม จำ�นวนหนา้ 200 หนา้ ผู้จดั พิมพ์เผยแพร่ สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 99/20 ถนนสโุ ขทัย แขวงดสุ ิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2668 7123 โทรสาร 0 2668 7975 Web Site: www.onec.go.th ผู้พิมพ ์ บริษทั แกรนด์พ้อยท์ จ�ำ กัด 74 ซ.บรมราชชนนี 6 แขวงบางบำ�หรุ เขตบางพลดั กรงุ เทพมหานคร 10700 โทร. 0 2001 9991, 0 8907 07744, 0 9836 98641 E-mail : [email protected] B ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

พระบรมราโชวาทด้านการศึกษา สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร “ความส�ำเรจ็ ในการศึกษาท่ีไดร้ บั น้ี กด็ ้วยทุกคนไดฝ้ ึกฝนเรียนรู้ วิชาการตา่ ง ๆ ทงั้ ดว้ ยการศึกษาคน้ คว้า การวิจัย และการวิเคราะห์วจิ ารณ์ ด้วยเหตผุ ลความถกู ตอ้ ง แลว้ สรปุ ลงเปน็ หลักวิชาทแ่ี นช่ ัดทั้งปฏบิ ัติทดสอบ ไดค้ รบถว้ นตามหลักสตู ร จึงได้รบั ปรญิ ญาบัตรเป็นเครอ่ื งรบั รองวทิ ยฐานะ การท�ำงานก็เช่นกัน ทกุ คนจะตอ้ งพยายามศกึ ษาพื้นฐาน โครงสรา้ งของงาน พรอ้ มกบั แนวทางปฏิบัติและเปา้ หมายใหเ้ ข้าใจกอ่ น แล้ววางลำ� ดับขั้นตอนการปฏบิ ตั ิให้รอบคอบ และลงมอื ปฏบิ ัติใหค้ รบถ้วน สิ่งใดควรปฏบิ ัตกิ ่อนก็ปฏิบตั กิ อ่ น ส่ิงใดควรปฏบิ ัตภิ ายหลงั กป็ ฏบิ ตั ภิ ายหลงั ใหพ้ อเหมาะ กับความตอ้ งการ แกส่ ถานการณ์และความจำ� เปน็ ถา้ ทุกคนศึกษางานที่ทำ� จนเขา้ ใจ ถ่องแท้ และปฏิบตั ไิ ดถ้ ูกต้อง พอเหมาะพอดี ตรงเปา้ หมาย ก็เชื่อไดว้ ่าแต่ละคน จะได้รบั ความส�ำเรจ็ ทีด่ ี ท่ีสูงยง่ิ กว่าปริญญาบตั ร คือความเจริญก้าวหน้าในชวี ิต และกจิ การงานอย่างแนน่ อน” พิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั รแกบ่ ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา และ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ประจ�ำปี 2557 - 2558 วนั พธุ ท่ี 28 กันยายน 2559 รายงานประจำ�ปี 2561 C

D ส�ำำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

สารบัญ สารบญั ประวตั สิ �ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา 59 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา Content สถานทตี่ ง้ั ประวัตแิ ละความเป็นมาของส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ก ค่านยิ มองค์การ 1 การบรหิ ารราชการและโครงสรา้ งองค์การ ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา 2 ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา 4.0 3 ภารกิจตามทกี่ ฎหมายก�ำหนด/อ�ำนาจหน้าที ่ 3 วสิ ัยทศั น์ 5 พนั ธกจิ 9 สารจากเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา 10 ผูบ้ ริหารระดับสงู 10 ผบู้ ริหาร 11 ความภาคภมู ใิ จของชาว สกศ. 11 สมรรถนะการศกึ ษาของประเทศไทยในเวทสี ากล ปี 2561 13 คณะกรรมการสภาการศึกษา 14 การประชมุ สภาการศึกษา ครัง้ ที่ 1/2560 16 การประชุมสภาการศกึ ษา ครัง้ ที่ 2/2560 20 การประชุมสภาการศกึ ษา คร้งั ท่ี 1/2561 21 การประชมุ สภาการศกึ ษา ครง้ั ที่ 2/2561 25 การประชุมสภาการศกึ ษา ครั้งที่ 3/2561 30 การประชุมสภาการศึกษา คร้ังท่ี 4/2561 32 คณะอนุกรรมการสภาการศึกษา 34 คณะท่ี 1 ด้านนโยบายและกลไกการขับเคลื่อนแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 35 คณะท่ี 2 ด้านระบบฐานข้อมลู และตวั ช้ีวัด 38 คณะท่ี 3 ด้านระบบทรพั ยากรและการเงนิ เพ่ือการศึกษา 42 คณะที่ 4 ดา้ นมาตรฐานการศึกษาและการจดั การเรียนร้ ู 46 คณะท่ี 5 ด้านการประเมนิ ผลการศึกษา 46 คณะท่ี 6 ด้านกฎหมาย 46 คณะที่ 7 ดา้ นการวิจยั การศกึ ษา 46 คณะที่ 8 ด้านบทบาทของภาคประชาสังคมเพื่อการศึกษา 46 คณะท่ี 9 ดา้ นศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กฬี าและภมู ปิ ญั ญา 47 47 47 Aก 48 48 รายงานประจ�ำ ปี 2561

สารบัญ Content การปฏิรูปการศกึ ษา 49 การรบั ฟังความคดิ เห็น เร่อื ง ข้อเสนอการปฏริ ูปการศกึ ษาเพื่อใหส้ อดคล้อง 50 กบั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย การจดั ประชุมระดมความคดิ เหน็ 50 การลงพน้ื ทีเ่ พ่อื รบั ฟังความคดิ เห็นจากกรณีศกึ ษาจากภมู ิภาคตา่ ง ๆ รวมทงั้ หมด 10 กรณีศกึ ษา 50 การน�ำผลการรบั ฟงั ความคิดเหน็ มาประกอบการพิจารณาจัดท�ำรา่ งกฎหมาย 53 การรับฟงั ความคดิ เหน็ ผา่ นเว็บไซต์สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 54 คณะกรรมการอิสระเพอื่ การปฏิรูปการศกึ ษา 55 คณะอนุกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศกึ ษา 61 คณะอนกุ รรมการเดก็ เล็ก 61 คณะอนกุ รรมการกองทุน 62 คณะอนกุ รรมการครแู ละอาจารย ์ 63 คณะอนุกรรมการจัดการเรยี นการสอน 64 คณะอนกุ รรมการปฏิรปู โครงสรา้ งหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การศึกษา 65 คณะอนุกรรมการรบั ฟงั ความคิดเห็น 66 คณะอนกุ รรมการส่ือสารสังคม 67 คณะอนุกรรมการเฉพาะกจิ ศึกษาแนวทางการจดั ท�ำพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ 68 คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจศึกษาแนวทางการมีสว่ นร่วมของภาคเอกชน ในการจดั การศกึ ษา 69 คณะอนุกรรมการเฉพาะกจิ เพอ่ื พิจารณาร่างพระราชบัญญัตกิ ารอดุ มศกึ ษา 70 คณะอนกุ รรมการเฉพาะกิจดา้ นอาชีวศึกษา 71 สรปุ ผลการประเมนิ สว่ นราชการส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 72 รายละเอียดตัวชวี้ ดั การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพฯ 72 ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 และเพ่ิมเติม องคป์ ระกอบท่ี 1 Function Base 72 องค์ประกอบที่ 2 Agenda Base 73 องค์ประกอบที่ 3 Area Base 73 องค์ประกอบท่ี 4 Innovation Base 74 องคป์ ระกอบที่ 5 Potential Base 74 ผลงานวจิ ัย/องคค์ วามรทู้ ่สี �ำคญั ของ สกศ. ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 79 1. การจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาความเปน็ ผู้ประกอบการ 79 2. แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวยั 84 3. พฤตกิ รรมของเด็กกลุม่ ตัวอยา่ งจ�ำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวยั ตามระดับควอไทล ์ 86 4. การสง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผูส้ ูงอายใุ นประเทศไทย 87 5. บทวิเคราะหแ์ นวทางการจัดท�ำข้อเสนอทศิ ทางการเรยี นรู้ ส�ำหรบั เยาวชนในยคุ ปัจจุบนั 90 Bข ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

สารบญั Content 6. สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทสี ากล ปี 2560 92 7. สภาวการณ์ การศึกษาไทยในเวทโี ลก พ.ศ. 2559/2560 101 8. สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2559/2560 103 สภาวะการศึกษาไทย ในปี 2559/2560 และแนวโนม้ ในชว่ ง 5 ปีที่ผ่านมา 104 นวัตกรรมด้านการศึกษาของกรณีศึกษาท่ีประสบความส�ำเรจ็ (Best Practice) 111 ความจ�ำเปน็ ทต่ี ้องปฏริ ูปการศึกษาในยุค Thailand 4.0 113 9. รายงานการถอดบทเรยี นศูนยก์ ารเรยี นรกู้ ารใช้ประโยชน์ 114 และอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายของทรัพยากรวถิ ีชวี ติ ภมู ปิ ญั ญาไทย 10. สภาการศกึ ษาเสวนา 2016/2017 บทบาทการศึกษาไทยในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 115 11. ความทว่ั ถงึ และเท่าเทียมของการจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 119 12. การจดั ท�ำรายละเอยี ดตัวช้วี ัดตามเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 126 13. การพัฒนาตวั ชีว้ ัดประสทิ ธภิ าพการจัดการเรียนร้ขู องสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 128 14. การพัฒนากลไกขบั เคล่ือนระบบการผลิตและพัฒนาครสู มรรถนะสงู ส�ำหรบั ประเทศไทย 4.0 130 15. แนวทางการจัดการศกึ ษาทางเลอื กเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพผูเ้ รยี นตามนโยบายประเทศไทย 4.0 133 16. การพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาให้รองรับการปฏิรปู ประเทศ 134 ด้านการศกึ ษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 17. แนวทางการจดั ท�ำมาตรฐานอิสลามศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต ้ 135 18. การพัฒนารูปแบบการจดั การศกึ ษาในพน้ื ท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ 137 19. ปกี ารศกึ ษาเฉลย่ี ของประชากรไทย ปี 2560 139 20. อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนาก�ำลงั คนอาชีวศึกษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน 140 และทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 21. บทสรปุ ส�ำหรับผ้บู รหิ ารในเอกสารองค์ความรู้ชดุ “การเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศึกษา 142 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน” 22. ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการเสริมสร้างวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 147 ท่สี อดคลอ้ งเหมาะสมกับบรบิ ทสงั คมไทย ปณธิ านและหลักการ 147 ข้อเสนอตอ่ หน่วยงานระดบั ก�ำหนดนโยบาย 148 ข้อเสนอตอ่ หนว่ ยงานระดบั นโยบาย ระดับจังหวดั / พน้ื ที่ 149 ขอ้ เสนอต่อหน่วยงานระดับสถานศึกษา 149 หนา้ ทีข่ องผอู้ �ำนวยการโรงเรยี น 150 หนา้ ทขี่ องคณาจารยแ์ ละเจ้าหนา้ ทีข่ องโรงเรียน 151 หน้าทข่ี องคร ู 151 หนา้ ที่ของผู้ปกครองและผู้ดแู ลนกั เรียน 151 รายงานประจ�ำ ปี 2561 Cค

สารบญั Content ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษาในเวทโี ลก 152 สกศ. เขา้ ร่วมการประชุมสมยั สามญั คร้งั ท่ี 59 ของสมาคมประเมินผลสัมฤทธ์ิ 152 ทางการศึกษานานาชาติ (IEA) 154 สกศ. รว่ มประชุมเครอื ขา่ ยนโยบายการพัฒนาความรแู้ ละทักษะของผูเ้ รยี น 157 ในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ณ กรงุ ฮานอย สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวียดนาม สกศ. เขา้ ร่วมการประชมุ สามัญประจ�ำปี คร้ังที่ 58 ของสมาคมประเมนิ 158 สมั ฤทธิผลการศึกษานานาชาติ (The International Association for the Evaluation 159 of Educational Achievement: IEA) 161 สกศ. ร่วมประชมุ คณะกรรมการกรอบคุณวฒุ ิอา้ งอิงอาเซยี น คร้ังที่ 3 161 และการประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ ณ มาเลเซีย 163 รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา รว่ มประชุมเครือข่ายวจิ ยั ดา้ นการศกึ ษาซี - เซิรน์ คร้ังที่ 4 164 ณ สาธารณรัฐประชาชนจนี 164 การสานพลังระหว่างภาคส่วนตา่ ง ๆ Collaboration 166 สกศ.สานพลงั ความร่วมมอื ด้านการศกึ ษา เพ่ือการบริหารจดั การระบบขอ้ มลู สคู่ วามเปน็ ดจิ ิทลั 168 ความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงาน 170 การสรา้ งนวัตกรรม Innovation 171 Thai EdResearch ฐานข้อมลู การวจิ ยั ทางการศึกษา 172 การปรบั เขา้ สคู่ วามเป็นดจิ ทิ ลั Digitization/Digitalization 174 การพฒั นาระบบคลังขอ้ มูลสารสนเทศส�ำหรบั การประเมินผล และการวางแผนการศกึ ษา 182 สกศ. เสริมความพรอ้ มขา้ ราชการ จดั ประชุมให้ความรู้ “รูเ้ ท่าทันดจิ ทิ ลั หา่ งไกลภัยไซเบอร”์ 183 สกศ. สานพลงั ความรว่ มมอื ด้านการศึกษา เพอ่ื การบรหิ ารจดั การระบบขอ้ มูลสคู่ วามเป็นดจิ ทิ ลั การพฒั นาบคุ ลากร การพัฒนาบุคลากรส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา รายงานสถานะการเงนิ ของส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 บรรณาธกิ าร Dง สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

ประวตั สิ �ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา The Story of Office of the Education Council เจ้าจอมอาบ เกิดที่จังหวัดเพชรบุรี เม่ือวันจันทร์ท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2424 เป็น ธิดาล�ำดบั ที่ 12 ของเจา้ พระยาสุรพนั ธ์พิสุทธ์ิ (เทศ บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอู่ ขณะที่ด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลราชบุรี ซ่ึงสืบเชื้อสายมาจากชาวเปอร์เซียที่เข้ามา รับราชการในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เจ้าจอมอาบ ถวายตัวรับราชการฝ่ายใน เป็นเจ้าจอมในสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง พร้อมกับเจ้าจอมมารดาอ่อน เจ้าจอมเอ่ียม เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมเอิบ “ในนามก๊กออ” และน้องต่างมารดาอีก 2 คน เจ้าจอมแก้ว และเจ้าจอมแส ก่อนที่พระพุทธเจ้าหลวงจะเสด็จ สวรรคต ได้สร้างเรือนให้กับเจ้าจอมก๊กออ ไว้ท่ีวังสวนสุนันทา วังบางประอิน และ พระราชวังบ้านปืน จังหวัดเพชรบุรี ส�ำหรับ พระราชวังบ้านปืนได้ให้เจ้าพระยาสุรพันธ์ พิสุทธิ์ (บิดา) เป็นคนเลือกสถานท่ีการสร้าง ทต่ี �ำบลบา้ นปนื พระราชทานทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ ซื้อที่ดินสร้างพระราชนิเวศน์เป็นที่ประทับแรม และมีแผนที่จะพระราชทานให้กับเจ้าจอมท้ัง 5 ภายหลังจาก ท่ีไม่ได้รับราชการฝ่ายในแล้ว แต่มิทันเสร็จก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน มาในรัชกาลท่ี 6 พระมารดาไม่ทรงโปรด ก๊กออ จึงปล่อยทิ้งร้างไปจนส้ินสมัย และเร่ิมปรับปรุงจนแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลท่ี 9 เม่ือครั้งที่เจ้าจอมอาบ ย้ายมาอยทู่ วี่ ังสวนสุนันทา (ปัจจบุ นั คอื มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สวนสนุ ันทา) พร้อมกบั เจา้ จอมพี่ ๆ น้อง ๆ ซึ่งตา่ ง ก็มีเรือนของตัวเอง เจ้าจอมอาบไปมาหาสู่กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา พระราชธิดา สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงกับเจ้าจอมมารดาชุ่ม เจ้าจอมอาบได้รับเลี้ยงดูบุตรชายของ คุณพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ ภายหลังจากมีการเปล่ียนแปลงการปกครอง 2475 รัชกาลท่ี 7 ได้พระราชทานอนุญาตให้เจ้าจอมก๊กออ สร้างต�ำหนักสวนนอก ติดคลองสามเสน ถนนราชสีมา และถนนสุโขทัย ปัจจุบันคือท่ีตั้งของส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา ส่วนพระองค์เจ้าอาทรทิพย์นิภา ได้ย้ายมาอยู่ท่ีต�ำหนักทิพย์ ถนนราชวิถี บริเวณ เชิงสะพานซงั ฮใี้ นปจั จบุ ัน รายงานประจำ�ปี 2561 1

วัด คลองสามเสน โบสถ์ เจา้ จอม เจา้ จอม เจา้ จอม เอ้อื น เอิบ เอย่ี มถนนสามเสน ถนนราช ีสมา เจา้ จอมมารดาออ่ น ถนนสุโขทัย แผนทส่ี �ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เจ้าจอมอาบ มีรูปร่างผอมบาง ไม่เลือกรับประทานอาหารท่ีวิจิตรพิสดารไปกว่าน้�ำพริก หรือพริกขิง หรือพริกกับเกลือ ชอบปลูกต้นไม้ ที่เหลือให้เห็นคือต้นจามจุรีสีทอง ในบั้นปลายชีวิต เจ้าจอมอาบสนุกอยู่ กับการเล้ียงหลานบุตรชายคนโตของคุณพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ ท่านมีชีวิตอยู่ท่ีต�ำหนักทิพย์ และขายที่ดินสวนนอก ให้กับรัฐบาลสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ กอ่ นจะถงึ แกอ่ นิจกรรม ในวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2504 เจ้าจอมอาบถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจวาย ณ โรงพยาบาลศิริราช รวมอายุได้ 80 ปี พระราชทานเพลิง ณ สุสานหลวง วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2504 อนุสาวรีย์ของเจ้าจอมอาบอยู่ใกล้กับอนุสาวรีย์เจ้าจอมมารดาชุ่ม และเสด็จพระองค์อาทรทิพย์นิภา ณ สสุ านหลวง วัดราชบพิตรสถติ มหาสีมาราม กรุงเทพฯ 59 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีพัฒนาการอันยาวนาน มีข้าราชการ โอน ยา้ ย ลาออก และเกษียณอายุ และมี ข้าราชการใหม่ ๆ เข้ามาแทนท่ี จากห้อง เล็ก ๆ ห้องหน่ึงในตึกคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั แพทยศ์ าสตร์ (มหาวิทยาลัย มหิดลในปัจจุบัน) ถนนศรีอยุธยา มาเป็น อาคาร 4 ช้ัน และ 5 ชั้น เลขท่ี 99/20 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต ในปัจจุบัน ในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงครามและจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ออกกฎหมายจัดตั้ง สภาการศึกษาในระยะนั้น เพ่ือพิจารณา ปรับปรุง วางแผนและโครงการศึกษาของชาติให้เหมาะสมแก่กาลสมัย และสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานจัดต้ัง สภาการศึกษาแห่งชาติ พัฒนาเร่ือยมาเป็น คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ และส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในปจั จบุ ัน 2 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

สถานทีต่ ง้ั 3 ในสมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัขต์ ได้ออกกฎหมายการศกึ ษา เห็นควรจัดตง้ั หน่วยงานการศึกษาขน้ึ โดยมี นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และซื้อท่ีดินจากเจ้าจอมอาบ ซ่ึงเป็นนางสนมฝ่ายในในสมัยพระพุทธเจ้าหลวง บริเวณถนนสุโขทัย เขตดุสิต จ�ำนวน 2 ไร่ 2 งาน 57 ตารางวา ในวงเงิน 6,206,700 บาท (หกล้านสองแสน หกพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) ได้ด�ำเนินการก่อสร้างอาคาร 1 และย้ายบุคลากรมาจากวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล เมอ่ื วันท่ี 14 กมุ ภาพันธ์ 2502 รวมระยะเวลา 59 ปี สป�รำนะวักัตงิแาลนะเคลวขาามธเกิ ปาน็ รมสาภขาอกงารศึกษา “สภาการศึกษาแห่งชาติ” มีจุดก�ำเนิดจาก “สภามหาวิทยาลัยแห่งชาติ” ซึ่งเร่ิมมีข้ึนในสมัยของ จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม เมือ่ วนั ที่ 11 มกราคม 2499 โดยมเี ลขาธกิ ารสภามหาวทิ ยาลยั แหง่ ชาตเิ ป็นผคู้ วบคมุ ส�ำนักงานฯ อันนับเป็นทบวงการเมืองฐานะเทียบเท่ากรม มีหน้าที่รับผิดชอบในราชการของสภามหาวิทยาลัย แห่งหนงึ่ ขึน้ ตรงตอ่ นายกรัฐมนตรีผบู้ งั คบั บญั ชามหาวทิ ยาลัยแหง่ ชาติ มีนายกรัฐมนตรีเปน็ ประธาน ในปี พ.ศ. 2501 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ข้ึน ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีและด�ำริให้มีคณะกรรมการ ปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือวางนโยบายปรับปรุง และวางแผนการศึกษาระดับต่าง ๆ ให้มีมาตรฐานดีขึ้น ดงั นนั้ จงึ ไดม้ กี ารตราพระราชบญั ญตั สิ ภาการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2502 ให้โอนกิจการและอ�ำนาจหน้าท่ีของ “สภามหาวิทยาลัยแหง่ ชาต”ิ มารวมไวใ้ น “สภาการศึกษา แห่งชาติ” ท่ีตั้งขึ้นใหม่ “ส�ำนักงานสภาการศึกษา แห่งชาติ” เป็นส่วนราชการในสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี มี นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รองนายกรัฐมนตรีเป็น รองประธาน และผู้ท่ีได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาแหง่ ชาตคิ นแรกคอื “ศาสตราจารย์ ดร.ก�ำแหง พลางกรู ” พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส ภา ก า ร ศึ ก ษา แ ห่ งช าติ พุทธศักราช 2502 น้ัน ได้รับการปรับปรุงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2512 โดยได้ปรับปรุงแก้ไขหน้าที่ของส�ำนักงานฯ ให้เด่นชัด โดยเฉพาะในเรื่องการวางแผนพัฒนาการศึกษา การกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา การวิจัยทางการศึกษา การบริหารงานบคุ คลในมหาวทิ ยาลยั และการส่งเสริม การด�ำเนนิ งานวทิ ยาลัยเอกชน บทบาทของสภาการศึกษาแห่งชาติ ได้เปลี่ยนแปลงคร้ังส�ำคัญในปี พ.ศ. 2515 ซึ่งเป็นสมัยรัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจร โดยได้มีการจัดต้ังทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐข้ึน เพื่อควบคุมและส่งเสริมการศึกษา รายงานประจ�ำ ปี 2561

ระดับอุดมศึกษาของรัฐ รวมทั้งได้ต้ังส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนขึ้นในกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือควบคุมและส่งเสริมการศึกษาเอกชน จึงมีการก�ำหนดหน้าท่ีและแบ่งส่วนราชการที่เก่ียวข้องใหม่ และได้ เปลีย่ นชื่อ “ส�ำนกั งานสภาการศกึ ษาแหง่ ชาต”ิ เปน็ “ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ” รับผิดชอบ นโยบายและแผนการศกึ ษาทุกระดับ ในปี พ.ศ. 2521 ประกาศใช้ พ.ร.บ. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2521 สาระส�ำคัญ คือ เน้นบทบาทของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติในด้านเสนอแนะนโยบายแผนการศึกษา แหง่ ชาติ แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ การวิจยั และการประเมินผล ก�ำหนดมาตรฐานและการประสานงาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 ไดม้ ีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ โดยทีเ่ ป็นการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายว่า ด้วยคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือให้เหมาะสม ชัดเจนและสอดคล้องกับการด�ำเนินงานด้าน การพฒั นาการศึกษาของชาตใิ นสถานการณ์ปัจจุบัน จึงจ�ำเป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญตั คิ ณะกรรมการการศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ข้นึ และใหย้ กเลิกพระราชบญั ญัตคิ ณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2521 พระราชบัญญัติฉบับใหม่นี้ได้มีการปรับปรุงและเพิ่มองค์ประกอบคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ท่ีมอี ยเู่ ดมิ ให้มจี �ำนวนมากข้นึ เพ่ือใหค้ รอบคลมุ หนว่ ยงานทางการศกึ ษาและก�ำหนดอ�ำนาจหนา้ ท่ีของส�ำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติไว้ชัดเจนย่ิงขึ้น โดยเฉพาะในส่วนของการประสานการด�ำเนินงานเกี่ยวกับ การจัดและพัฒนาการศึกษาของกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานของรัฐเก่ียวกับการศึกษาให้สอดคล้อง กับนโยบายและแผนทางด้านการศึกษาของชาติ ในปี พ.ศ. 2546 ในสมัยพันต�ำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมี นายปองพล อดิเรกสาร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ยกเลิกพระราชบัญญัติคณะกรรรมการ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 เปลย่ี นชอื่ ส�ำนักงานฯ เป็น “ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา” ตามระเบยี บ บรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รวม “ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา” เปน็ องค์กร 1 ใน 5 องค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 มีอ�ำนาจหน้าท่ี เสนอแผนการศึกษาของชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษาทุกระดับ นโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษา รวมท้งั การสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา 4 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

ค่านยิ มองคก์ าร OEC Obligation Excellence Collaboration พนั ธะผกู พัน ม่งุ ม่นั ความเป็นเลศิ เชิดชพู ลังความรว่ มมือ O Oพbันlธigะผatูกioพnนั หมายถึง พนั ธะผกู พันในการจัดท�ำและขบั เคล่ือน นโยบายด้านการศึกษา E Excellence มงุ่ ม่นั ความเป็นเลศิ หมายถงึ การมงุ่ ม่ัน ทมุ่ เทพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง เพ่อื สร้างเสรมิ ความเป็นเลิศในองค์ความรู้ ด้านการศกึ ษา C Collaboration เชดิ ชพู ลังความรว่ มมือ หมายถึง การท�ำงานแบบรวมพลังความร่วมมอื เชงิ รกุ จากทกุ ภาคส่วนดว้ ยความรู้สกึ เป็นเจา้ ของ รายงานประจ�ำ ปี 2561 5

ค่านิยมองค์การ O O bligพatันioธnะผกู พนั พันธะผกู พัน ในการจัดท�ำ และ ขับเคลื่อนนโยบาย ดา้ นการศกึ ษา 6 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

Excellence ม่งุ มั่นความเปน็ เลิศ การมุ่งมน่ั ทุ่มเท พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือสรา้ งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ในองค์ความร้ดู า้ นการศกึ ษา E รายงานประจ�ำ ปี 2561 7

C Collaเbชoิดraชtพูionลังความรว่ มมอื การทำ�งานแบบรวมพลงั ความร่วมมือเชิงรุก จากทกุ ภาคสว่ น ดว้ ยความรู้สกึ เปน็ เจา้ ของ 8 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

การบรสหิ �าำนรักรงาาชนกเาลรขแาลธะิกโคารรงสสภราา้ กงาอรงศคึก์กษารา Our Administration and Organization Structure กระทรวงศึกษาธิการ หนว ยงานภายใน สาํ นกั งานรัฐมนตรี หนว ยงานภายนอก (นอกสงั กัด ศธ./ในประเทศ) สังกัดกระทรวง คณะกรรมการสภาการศกึ ษา - ภาครัฐ - สป.ศศธธ. . สํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา - ภาครัฐวิสาหกิจ - สพฐ. - ภาคเอกชน - สกอ. เลขาธิการสภาการศึกษา - ภาคประชาชน - สอศ. - NGO รองเลขาธิการฯ ทีปรึกษาฯ คณะกรรมการ ชดุ ตางๆ ผชู ว ยเลขาธกิ ารสภาการศึกษา หนวยงานภายนอก (ในตางประเทศ) กลุมพัฒนาระบบบรหิ าร กลมุ งานตรวจสอบภายใน หนวยงาน/องคกร ดา นการศกึ ษาระหวางประเทศ หรือหนว ยงานอนื ๆ เชน UNESCO, UNICEF, OECD, IEA และ UNDP สํานักอํานวยการ สํานักนโยบายและแผนการศกึ ษา สาํ นักวิจยั และพฒั นาการศึกษา สํานักพัฒนากฎหมายการศึกษา สํานกั ประเมินผลการจดั การศกึ ษา สาํ นักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรียนรู สาํ นักสอื สารองคก ร สํานกั นโยบายความรวมมอื กับตา งประเทศ สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการอิสระ เพอื การปฏิรูปการศึกษา หมายเหตุ เสนทางการบงั คับบญั ชาตามโครงสราง เสน ทางการปฏบิ ตั ิงานของผชู ว ยเลขาธิการ เชอื มโยงกับผบู ริหารของหนวยงานภายในและภายนอก สกศ. ทังในและตา งประเทศ รายงานประจำ�ปี 2561 9

ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา 4.0 Office of the Education Council 4.0 ภารกจิ ตามทก่ี ฎหมายกำ� หนด/อ�ำนาจหน้าท่ี Main responsibilities ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา มีภารกิจเกี่ยวกบั การเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา ของชาติท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการกีฬากับการศึกษาทุกระดับ การเสนอนโยบายและแผน สนับสนุนทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา และการประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา โดยใหม้ อี �ำนาจหน้าที่ดงั ต่อไปนี้ 1. จัดท�ำแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและกีฬากับการศึกษาทุกระดับ รวมทัง้ จัดท�ำข้อเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนนุ ทรพั ยากรดา้ นการศกึ ษาของชาติ 2. ประสานการจดั ท�ำข้อเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาของชาติ 3. วิจัยและประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษา การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ และภูมิปัญญาของชาติ ตลอดจนการรวบรวมและพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการพัฒนา นโยบายและแผนการศึกษาของชาติ 4. ด�ำเนนิ การเกี่ยวกับการประเมินผลการจดั การศึกษาตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 5. ด�ำเนินการเกยี่ วกับการใหค้ วามเห็นหรือค�ำแนะน�ำในเรอ่ื งกฎหมายทเ่ี กยี่ วกับการศกึ ษา 6. ปฏิบัติงานอื่นใดท่ีกฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบของส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา หรอื ตามท่ีรัฐมนตรหี รือคณะรฐั มนตรีมอบหมาย 10 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

วสิ ัยทัศน์ Vision “ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษาเป็นองคก์ รน�ำขบั เคลอื่ นการศกึ ษา และการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยข์ องประเทศ เพือ่ ยกระดบั ความสามารถในการแข่งขนั ส่เู วทีโลก” พนั ธกิจ Mission 1. จัดท�ำและขับเคล่ือนนโยบาย แผน และมาตรฐานด้านการศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษา รวมทง้ั ส่งเสรมิ ความเสมอภาคของโอกาสทางการศกึ ษา และการมีงานท�ำ 2. ด�ำเนินงานวิจัย และส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยเพื่อจัดท�ำและพัฒนานโยบาย แผน และมาตรฐาน ดา้ นการศกึ ษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษยท์ ่มี คี ุณภาพ 3. ด�ำเนินงานติดตาม ประเมินผล และพัฒนาระบบประเมินผลด้านการจัดการศึกษา และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ 4. ด�ำเนินงานเกีย่ วกบั กฎหมายดา้ นการศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. สร้างการมีสว่ นร่วมในการจดั ท�ำและขบั เคลอื่ นดา้ นการศึกษาและการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ 6. เพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการองค์กร โดยใชห้ ลักธรรมาภบิ าล รายงานประจำ�ปี 2561 11

12 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (รา่ ง) วสิ ัยทศั น์ : เปน็ องค์กรนำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำและพฒั นำทรัพยำกรเพื่อกำรศึกษำแห่งชำติ (รา่ ง) พนั ธกจิ : จัดทำและขับเคลอื่ นแผนกำรศกึ ษำและกฎหมำยกำรศึกษำ ยกระดับคุณภำพกำรศกึ ษำของชำติ พฒั นำขีดควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ทรพั ยำกรมนุษย์ของประเทศ มงุ่ สูน่ วัตกรรมกำรพฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครฐั อย่ำงยง่ั ยืน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : ขับเคล่ือนแผนกำรศึกษำและกฎหมำยกำรศึกษำ ศูนย์กลำงข้อมูลสำรสนเทศดิจิทัลทำงกำรศึกษำ ลดควำมเหลื่อมลำในกำรเข้ำถึงบริกำรทำงกำรศึกษำ กำรปฏิรปู กำรศึกษำเพื่อพัฒนำทรพั ยำกรมนุษย์ นวตั กรรมกำรพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ กำรสรำ้ งควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจใหแ้ กป่ ระชำชน กลยทุ ธ์ : ขบั เคล่อื นศักยภาพในการดาเนินงานของภารกิจและการปฏริ ปู สกศ. กลยุทธท์ ี่ 1 ขบั เคลือ่ นและ กลยุทธ์ท่ี 2 ขับเคล่อื นแผนกำร กลยุทธ์ท่ี 3 ขบั เคล่ือน กลยุทธ์ท่ี 4 ผลักดันกำร กลยทุ ธ์ท่ี 5 กำรบรู ณำกำร กลยทุ ธ์ท่ี 6 กำรปรับสมดุล ส่งเสริมกำรบังคบั ใช้กฎหมำย ศกึ ษำและกฎหมำยกำรศึกษำ สภำกำรศกึ ษำให้เปน็ บริหำรทรัพยำกรเพ่อื ลด และพฒั นำเครอื ข่ำยกำร และนวตั กรรมกำรพัฒนำ กำรศึกษำรองรบั กำรพฒั นำ เพือ่ ยกระดับมำตรฐำนกำรศึกษำ ศูนยก์ ลำงขอ้ มลู สำรสนเทศ ควำมเหลือ่ มลำในกำรเขำ้ ถงึ เรียนรแู้ ละภูมิปญั ญำของชำติ ระบบกำรบรหิ ำรจัดกำร เทียบเคยี งมำตรฐำนสำกล และกำรวิจัยเพอ่ื พัฒนำไปสู่ บรกิ ำรทำงกำรศกึ ษำที่มี เพือ่ กำรเตบิ โตอย่ำงยั่งยนื ประเทศ นวตั กรรมทำงกำรศกึ ษำ ภำครฐั ส่กู ำร คุณภำพ บรู ณำกำรอยำ่ งยงั่ ยนื ระยะที่ 2 พ.ศ. 2566-2570 ระยะท่ี 4 พ.ศ. 2576-2580 เปน็ องค์กรคุณภำพในกำรขบั เคลอ่ื นกำรศกึ ษำและ เป็นผูน้ ำกำรพัฒนำกำรศกึ ษำเพอ่ื กำรพัฒนำ กำรพัฒนำทรพั ยำกรมนษุ ยข์ องประเทศเพอื่ ยกระดบั ขีดควำมสำมำรถทรพั ยำกรมนษุ ยไ์ ปสู่กำรแข่งขัน ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ในระดับภมู ภิ ำคอำเซยี น ในเวทรี ะดับโลก ส่งผลใหป้ ระเทศมนั่ คง มงั่ คง่ั ยัง่ ยืน สอดคลอ้ งตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 10 ปี 20 ปี แผนที่ขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) (Road Map) 4 ปี 6 เดือน 15 ปี ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2561-2565 ระยะที่ 3 พ.ศ. 2571-2575 เป็นองค์กรนำกำรขบั เคลือ่ นแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ คุณภำพกำรศึกษำของชำติและพฒั นำขีด เพ่ือยกระดบั คณุ ภำพกำรศึกษำด้วยนวตั กรรม ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของทรพั ยำกรมนษุ ย์ เพ่ือพฒั นำทรพั ยำกรมนษุ ย์ ภำยใตก้ ำรบงั คับใช้ เทียบเคยี งมำตรฐำนระดับภูมภิ ำคเอเชีย ของกฎหมำยกำรศกึ ษำฯ

สารจากเลขาธิการสภาการศกึ ษา Message from Secretary – General of the Education Council ในปี 2561 เป็นปีท่ีรัฐบาลได้เร่งวางระบบและยุทธศาสตร์ในการปฏิรูปประเทศ โดยส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา ได้มีโอกาสที่ส�ำคัญในการด�ำเนินการปฏิรูปการศึกษาเพื่อตอบสนองเจตนารมณ์ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและนโยบายของรัฐบาล ตลอดปี 2561 ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ไดด้ �ำเนนิ ภารกจิ ในฐานะเลขานกุ ารสภาการศกึ ษา โดยมีผลงานที่ส�ำคัญ ได้แก่ จัดท�ำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ การปรับปรุงระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบการศึกษาปฐมวัย การประเมินผลการศึกษาของชาติ การวิจัย และพฒั นาการศกึ ษา ตลอดจนการพัฒนากฎหมายตา่ ง ๆ นอกจากน้ี คณะรัฐมนตรี ยังได้มอบหมายให้ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ท�ำหน้าที่ เลขานุการของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งได้ด�ำเนินการประสบความส�ำเร็จอย่างดีย่ิง ทง้ั ดา้ นการจดั ท�ำกฎหมายเพอ่ื การปฏิรปู การศึกษาและการจัดท�ำแผนปฏิรปู ประเทศด้านการศกึ ษา การด�ำเนินการของส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ในปี 2561 เป็นพ้นื ฐานในการเปลี่ยนแปลง การศึกษาให้เป็นจริงและมีประสิทธิภาพ โดยมีฐานข้อมูลเชิงลึกจากพื้นท่ีช่วยสนับสนุนให้นโยบาย การศึกษาสอดคล้องกับบริบทท้ังด้านบุคลากร เทคโนโลยี และการจัดการเรียนการสอน เพื่อการพัฒนา ด้านการศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพตอ่ ไป ขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนสังคมท่ีร่วมระดมความคิด สนับสนุน และขับเคลื่อนภารกิจ ของส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาดว้ ยดมี าอยา่ งต่อเนือ่ งจนเหน็ ผลงานเชิงประจักษ์ (ดร.ชยั พฤกษ์ เสรรี ักษ)์ เลขาธิการสภาการศกึ ษา รายงานประจำ�ปี 2561 13

ผ้บู ริหารระดับสูง Senior Executives ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรกั ษ์ Dr.Chaipreuk Sereerak เลขาธิการสภาการศกึ ษา Secretary – General of the Education Council 14 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

ผู้บริหารระดับสงู Senior Executives ดร.ชัยยศ อิม่ สุวรรณ์ Dr.Chaiyosh Imsuwan รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา Deputy Secretary - General of the Education Council ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธ์ิ Dr.Somsak Donprasit รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา Deputy Secretary - General of the Education Council รายงานประจ�ำ ปี 2561 15

ผบู้ ริหาร Executives นายเฉลิมชนม์ แน่นหนา Mr.Chalermchone Nanna ทปี่ รกึ ษาด้านระบบการศึกษา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรปู การศึกษา - Advisor on the Educational System of the Education Council - Director of Independent Committee for Education Reform Secretariat นางเรอื งรัตน์ วงศ์ปราโมทย์ Mrs.Ruangrat Wongpramote ผูช้ ่วยเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา Assistant Secretary – General of the Education Council 16 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

ผู้บรหิ าร Executives นางเก้ือกลู ช่งั ใจ Mrs.Kuakul Changjai ผอู้ �ำนวยการส�ำนักมาตรฐานการศึกษาและ พัฒนาการเรียนรู้ รกั ษาการในต�ำแหนง่ ทปี่ รกึ ษาดา้ นวจิ ยั และประเมนิ ผลการศกึ ษา Director of Educational Standards and Learning Development Bureau นางสาวสมรัชนกี ร ออ่ งเอบิ Ms.Somratchaneekorn Ongerb ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนการศกึ ษา รกั ษาการในต�ำแหนง่ ทีป่ รกึ ษาดา้ นนโยบาย และแผนการศึกษา Director of Educational Policy and Planning Bureau นางศริ ิพร ศริพนั ธ์ุ Mrs.Siriporn Saripan ผ้อู �ำนวยการส�ำนกั วิจยั และพัฒนาการศึกษา Director of Educational Research and Development Bureau รายงานประจ�ำ ปี 2561 17

ผบู้ รหิ าร Executives นายกวิน เสือสกุล Mr.Kawin Sursakul ผอู้ �ำนวยการส�ำนักประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา Director of Educational Provision Evaluation Bureau นางกมลทพิ ย์ เมฆพกุ Mrs.Kamolthip Makepook ผอู้ �ำนวยการส�ำนักอ�ำนวยการ Director of General Administration Bureau นายสวัสดิ์ ภ่ทู อง Mr.Sawat Phuthong ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั พัฒนากฎหมายการศกึ ษา Director of Educational Law Development Bureau 18 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

ผ้บู ริหาร Executives นางพิจารณา ศริ ชิ านนท์ Mrs.Bhijarana Sirichanon นักวชิ าการศึกษาเชย่ี วชาญ ผู้อ�ำนวยการกล่มุ พัฒนาระบบบรหิ าร Director of Administrative System Development Office นางสาวพชั ราภรณ์ ศรคี ล้าย Ms.Patcharaporn Sriklai นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำนาญการพิเศษ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน Director of Internal Audit Unit นางสาวประภา ทนั ตศุภารกั ษ์ Ms.Prapa Tantasuparuk นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำนาญการพเิ ศษ ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั นโยบายความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ Director of Foreign Cooperation Policy Bureau นางสาวสุวณี า เกนทะนะศลิ Ms.Suweena Gaintanasilp นักวิชาการศกึ ษาช�ำนาญการพเิ ศษ ผ้อู �ำนวยการส�ำนักสื่อสารองคก์ ร Director of Public Communication Bureau รายงานประจ�ำ ปี 2561 19

ความภาคภูมิใจของชาว สกศ. ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาได้รบั รางวัลเลิศรฐั สาขาการบรหิ ารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจ�ำปี 2561 ประเภทรางวลั เปดิ ใจใกลช้ ิดประชาชน (Open Governance) ระดบั ดี 20 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

สมรรถนะการศกึ ษาของประเทศไทย ในเวทสี ากล ปี 2561 รายงานประจ�ำ ปี 2561 21

5 อนั ดับและค่ำคะแนนตัวชวี้ ัดขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ดำ้ นกำรศึกษำของ IMD ปี พ.ศ. 2560 -2561 ตัวชว้ี ัดดำ้ นกำรศึกษำ 18 ตวั ปี 2560 = 54 ปี 2561 = 56 ควำมตำ่ ง อันดบั คำ่ อนั ดับ ค่ำ ปี 60-61 1. งบประมำณด้ำนกำรศึกษำตอ่ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมของประเทศ 43 3.9 45 3.8 2. * งบประมำณด้ำนกำรศกึ ษำตอ่ ประชำกร 55 238 54 236 -2 3. งบประมำณด้ำนกำรศกึ ษำต่อนักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษำ 41 17.8 41 18.0 +1 40 16.88 -13 4. อัตรำสว่ นนกั เรียนต่อครรู ะดบั ประถมศกึ ษำ 27 15.39 62 28.15 +1 5. อตั รำส่วนนักเรียนต่อครูระดับมธั ยมศึกษำ 63 29.54 55 77.3 -2 6. อตั รำกำรเข้ำเรียนระดับมัธยมศกึ ษำ 53 83.6 41 33.2 -4 7. ผลสัมฤทธขิ์ องกำรอุดมศกึ ษำ 37 32.7 44 22.8 8. รอ้ ยละของผหู้ ญิงทจี่ บกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรีขน้ึ ไป 44 54.4 53 0.19 -1 9. นกั ศกึ ษำต่ำงชำติท่ีเข้ำมำเรียนระดับอุดมศกึ ษำในประเทศต่อ 53 0.19 +1 ประชำกร 1,000 คน 53 0.45 +3 10. * นักศึกษำที่ไปศึกษำต่อต่ำงประเทศในระดับอุดมศึกษำต่อ 53 0.39 -12 ประชำกร 1,000 คน 49 คณติ 415 +1 11. ผลกำรทดสอบ PISA 49 คณติ 415 วิทย์ 421 12. * ควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำอังกฤษ (TOEFL scores) วทิ ย์ 421 58 77 59 78 13. ควำมคิดเห็นต่อกำรตอบสนองควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 46 4.45 46 4.51 ทำงเศรษฐกจิ ของระบบกำรศึกษำ  14. ควำมคดิ เหน็ ต่อกำรเรียนกำรสอนวทิ ยำศำสตร์ในโรงเรยี น 46 4.48 45 4.60 15. ควำมคิดเห็นต่อกำรตอบสนองควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน 46 4.99 46 4.99 ทำงเศรษฐกจิ ของกำรอดุ มศกึ ษำ  16. ควำมคิดเห็นต่อกำรจัดกำรศึกษำสำขำบริหำรจัดกำรท่ี 46 4.99 43 5.56 ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของภำคธุรกิจ  17. อัตรำกำรไมร่ ู้หนังสอื ของประชำกรอำยุ 15 ปีข้ึนไป 47 3.3 59 7.1 18. ควำมคดิ เห็นตอ่ ทักษะทำงภำษำท่ีตอบสนองต่อควำมตอ้ งกำร 50 4.3 49 4.58 ของผ้ปู ระกอบกำร  * ตวั ชวี้ ัดที่ 2, 10 และ 12 เป็นตวั ช้วี ดั ข้อมูลพ้นื ฐำนท่ี IMD ไม่ได้นำมำคดิ คำนวณในกำรจัดอันดบั  ตวั ชี้วดั ทไี่ ด้จำกกำรสำรวจควำมคดิ เหน็ ของผู้บริหำรภำคเอกชน โดยสมำคมกำรจดั กำรธุรกจิ แหง่ ประเทศไทย (TMA) 22 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

อนั ดับสมรรถนะปจจยั หลกั ของประเทศไทย ป 2557-2561 สมรรถนะทางเศรษฐกจิ 12 13 13 10 10 ประสทิ ธภิ าพภาครัฐ 20 25 24 2253 25 22 28 27 25 ประสทิ ธภิ าพภาคธรุ กจิ 48 46 49 49 48 ปี 2557(60) ปี 2558 (61) ปี 2559 (61) ปี 2560 (63) ปี 2561 (63) ทมี า : IMD World Competitiveness Yearbook 2014 – 2018 สมรรถนะในการแขงขันของประเทศไทย ป 2561 จําแนกตามปจจัยหลกั และปจ จัยยอ ย ทีมา : IMD World Competitiveness Yearbook 2017-2018 รายงานประจ�ำ ปี 2561 23

80 60 40 20 0 24 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

คณะกรรมการสภาการศึกษา คณะกรรมการสภาการศึกษา ได้รับการแต่งต้ังตามประกาศส�ำนกั นายกรฐั มนตรี ณ วนั ที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2560 เรอ่ื ง แตง่ ตงั้ กรรมการในคณะกรรมการสภาการศกึ ษา จ�ำนวน 41 คน โดยมีองค์ประกอบดังนี้ 1. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นประธานกรรมการ ประธานกรรมการ คณะกรรมการสภาการศกึ ษานายแพทยธ์ รี ะเกียรติ เจรญิ เศรษฐศิลป์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. กรรมกากรโรดยรตม�ำกแหานรง่ โรดวมย1ต1าคแนหนง่ นายพฒุ พิ ัฒน์ เลศิ นเชาาวสงทิ สธ์ิ าวนอางจั สาฉวอรจั นิฉรนิททรร์ พ์ พัฒนฒั พันนธช์ พัย ันธ์ชนาัยยฉัตรชยั พรหมเลิศ นายจรินทร์ จกั กะพาก ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลแัดลกะรคะวทารมวมง่ันกคาปงรขพลอฒั งดั นมกานสุษรงั ยะค์ มทรวงดเพิจปือ่ ลทิเศัดัลรกษรเะฐพทกรจิอื่ วแเงลศดะิจสริทงัษัลคมฐกจิ และสปลงั ดั คกรมะทรวงมหาดไทย การประมสภาการศึกษา ครง้ั ที่ ๑/๒๕๕๘ 4 วันพฤหสั บดีท่ี ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร รศ.นพ.สรนิต ศลิ ธรรม นายการณุ สกุลประดิษฐ์ นายดิสทัต โหตระกติ ย์ ดร.บุญรักษ์ ยอดเพชร ปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการ และเทคโนโลยี การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน รายงานประจำ�ปี 2561 25

คณะกรรมการสภาการศกึ ษา ดร.สภุ ัทร จ�ำปาทอง ดร.สเุ ทพ ชติ ยวงษ์ ดร.ปรเมธี วิมลศิริ เลขาธิการคณะกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ การอดุ มศกึ ษา การอาชีวศึกษา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กร ประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรเอกชน, ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ, คคณณะะกกรรรมมกกาารรสสภภาากกาารรศศกึ ึกษษาา ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, ผู้แทนคณะสงฆ์, ผู้แทนคณะกรรมการกลางอิสลาม แห่งประเทศไทย, และผู้แทนองคก์ รศาสนาอืน่ กกรรรมมกกาารรททีเ่ ปี่เปน็ น็ พพรระะภผภแู้กิ ทิกนษคษซุณุซะ่งึ ส่งึเงปฆเ์ป็น็นผผแู้ ้แู ททนนคคณณะะสสงงฆฆ์ ์ พพระรพพะระพรพรหรหหมมมมนุ ีมนุ ุนี ี พพรพะรรระะราราชชาวชวรมรวนุ ีมรมุนุนี ี ผแู้ ทนคณแะหกง่ รปรรมะกเทาศรไกทลยาสงาอนสากัสิ นงาลกั นงกาาเลาวนมรกขนั เปลาวาพรรธขันฤปะิกาพหมราธฤัสสะรกิ หบมสภาสัภสดราบสกภาีทกภาดาี่ ๑รากาีทศรก๙า่ี ศ๑ึกรากึศกษร๙ศษมุึกากึกษภาคษุมาารพภาก้ังคารันทรพกะธี่ัง้ ๑ทรนัท์ ๒ะ/ธร่ี ๒๑๕ท์ว๒๕/๕รง๒๕๕วศ๘๕๕ง๘กึ ๕ศ๘ษ๘ึกาษธากิ ธาิกรผารแู้ ทนองคก์ รศาสนาอน่ื 17 17 รศ.วนิ ยั ดะห์ลัน นายปานชัย สงิ ห์สัจเทพ 26 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

คคณณะะกกรรรรมมกกาารรสสภภากาากราศรกึ ศษึกาษา ผแู้ ทนองคก์ รวชิ าชพี กรรมการทเ่ี ผปแู้ ทน็ นผองู้แคก์ทรเนอกอชนงคก์ รเอกชน ดร.วรชาติ เฉดิ ชมจันทร์ นายอรรนถายอกรราถกราร ตตฤษฤณาษรงั สณี ารังสี ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ การประมสภาการศึกษา ครงั้ ที่ ๑/๒๕๕๘ 14 วันพฤหัสบดที ี่ ๑๙ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๘ สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร นางสาวสมใจ สวุ รรณศภุ พนา 4. กรรมการผทู้ รคงคณณุ ควะฒุ ณกิ ซรงึ่ะแรตกมง่ ตรกง้ั รจาามกรผกสทู้ าม่ีภรคี วาสากมภราู้าครวกศามาึกสราษมศาาึกรถษดา้ านตา่ ง ๆ รวม 21 คน กรรมกกรารรมผกทู้ ารงผคู้ทดุณรา้ นงวกคฒุ าุณริ ศดวกึ า้ฒุ ษนาิ กดา้ รนศกกึ าษรศาึกษา คณะคกณรระมกกรารรมสกภาารกสาภราศกึกาษรศากึ ษคาณะกรรมการสภาการศึกษา กรรมกการรรผมศ้ทู .กดรารศง..รดชศครผตุ..ดชณุดู้ทมิ ตุรา้าิม.รวนชางุฒกุตสสคจัฎมิัจิจณุหาจดานมา้านัวนาสทนยฒุจัน์ กจทิ าฎ์ดนห้านั นมทพก์า.สฎยภุนนหกพพรม..สสภุาภุบกดยกรัวรา้สบวันาสบยาศัวยดสารา้ศาสนย.กดนศรรารา.รสอศนนม.วดาุชรกรัฒศวา..าอดตฒั รนนิร.อนชุพผธนธาุชวรูท้รตางรตริสริมพมพางวแลวงลคสีแงะำ�ุณภสลลมาีู ะวลปิ ีภญัฒุ ูมญิ ิปา ญั ญา การประมสกภารกปารศะมึกสษภาาคกราง้ั รทศี่ ึก๑ษ/า๒๕ค๕รง้ั๘ที่ ๑/๒๕๕๘ วันพฤหสั บดวันที พี่ ๑ฤ๙หัสกบุมดภทีาพ่ี ๑นั ๙ธ์ ก๒มุ ๕ภ๕า๘พนั ธ์ ๒๕๕๘ สานกั งานเลสขาานธกั กิ งาารนสเภลาขกาาธริกศาึกรสษภาากการระศทกึ รษวางศกึกรษะทาธริกวางรศึกษาธกิ าร 20 20 นายกิตตนิราัตยนกนาิต์ ยตมกติิรงั ตตัคิรนตัลน์ะ์ คมมงั รี งัคีลคะลคะรี ี คีรนี ายนอายภอนมิภิมุขาุขยสอสุขภขุปิมรปะขุ สริทะธสิ์ ิทขุ ธปิ์ ระสทิ ธิ์ ดร.อดาร.นอำ� นาาจจ บบัวศริวั ิ ศริ ิ การประมสภากกาารรศปกึ รษะามสคภรัง้าทกี่า๑รศ/๒ึก๕ษ๕า๘ครั้งท่ี ๑/๒๕๕๘ การประมสภาการศกึ ษา คร้ังรทา่ี ย๑/ง๒า๕น๕ป๘ระจ�ำ ปี 2561 27 วันพฤหัสบดีท่ี ว๑นั ๙พกฤมุหภสั าบพดันที ธี่ ๑์ ๒๙๕ก๕มุ๘ภาพันธ์ ๒๕๕๘ 21 21 วันพฤหสั บดีที่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ 2 สานักงานเลขาสธาิกนารักสงภานากเลาขราศธึกกิษาารสกภราะกทารรศวกึ งษศาึกษการธะกิ ทารรวงศึกษาธกิ าร สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คณะกรครณมะกการรรสมภกาารกสาภราศกึกาคษรณศาึกะษการรมการสภาการศกึ ษา มพกการาคผรกุณศ ู้ทรภ รกึร ามษงพกคคากาณุณแกราาลผรรวะดศศะทูุ้ฒกา้กึ นกึษรมราิษงาาแดรตลคราะร้ามกณุวฐแานารกัดลนววมแะดัลาฒุ แะกาแกรลิาตาละดสรปรปะรร้าภวระฐปเนะมกัดานิานกมรั ผคกนแะาลรณุ กเตลแารภามะรรรลามศพนิฐปศะกึ กาผษรกกึานะาลาษเแรกมรลผาปนิาละทู้รผรกูกศะลราเกึกรสงปันษาคือรราุณศะยลกึกดกูวุวา้ันษเสนุฒกอืกาายาริวุกดชกฬี าาชา้าากนดดจิ กแกลาแะรเานเยลตารรวะนกชานเรีฬนี าตรกนจิ ากราี รเยาว คณะกรรมการสคณภะากกรารรมศกากึ รษสาภาการศกึ ษา ดร.จรี เรดศช.ดรอ.ดจ่สูรศา้ีร.วดเนรดัส.จเีรชดกเศดาชิ์รรดอคอูส่ษา้ลู่สวนงัสักเศฐศวธาดรร์ิุรป.สักกรษดะจมิฐดิจสกรแภ์ิลจาิ .กศะาชกก.กรดศาากรกึนรรศา.ษชเบางรนติ.รนคิรติดรรกิัง้าเาทารงี่รม๑รกั./นิ๒ษชก๕์พร๕นล๘ากั เกมติ รอืษางาผพ์รทู้ ครลักรดลเมษงา้ ังคือนพ์ ดพงธุณลรุรเัฒกมว.กรจนือุฒรจิ างรมสดิวกแา้ดงั นรยาสค.ลพจทริ รพมฒัธวะผมยิแนพกู้ทรนาลรษุสราธยะงัรงคชรณธสนคมินบทิแรทณุลรธะรณ์ วิมกิ ุฒินนาิษุทรยรช์ น มการสภาการศึกษากาวรันปพรฤะหมสัสบภสดาากีทนาักี่ ๑รงศา๙นกึ เกษลวมุาขนั ภาพคธาฤริกพหง้ัานัสัทรบสธี่ ๑ภด์ ๒า/ที ๒ก๕่ี ๑า๕๕ร๙๕๘ศกึก๘ษุมภาาพกรนั ะธท์ ๒ร๕ว๕งศ๘ึกษาธกิ าร 24 สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 24 การประมสภาการศึกษา คร้ังท่ี ๑/๒๕๕๘ วันพฤหัสบดที ี่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ การผูท้ รงคุณวฒุ ิดร.กอบศักด์ิ ภูตระกลู ดร.นนทวัฒน์ สุขผล นายบดนินาทยรว์ ลัอนนู ลดาายา้ ภวนกลั สูลลอื่ ภตสตานังงัรคมคาณวยณาลสนชรุุกานักจิษน์ ุรอกั ุทษินท์ ุ น การคลงั ธุรกิจ และการบริการดร.กอบศกั ดิ์ ภูตระกูล ดร.นนทวัฒน์ สุขผล การประมสภาการศึกษา ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๘ วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ 26 สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ การประมสภาการศกึ ษา ครงั้ ที่ ๑/๒๕๕๘ วันพฤหสั บดที ี่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ 25 สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ณะกรรมกนาายรบดสินทรภ์ อนู าากกลู ารศึกนายษสกุ จิาอุทนิ ทคุ ณะกรรคมณกะากรนสรายภธราดมาา เศกกวตาศาิลรารศสึกภษาาการศกึ ษา วนทิ ์ ยสาุขผศกลารสรตนมารเกทย์ คเบาดโทนรดา้ โนลคผินวยทโทู้ทิีแนยรลราะ์ โกศงลอาาครสูนยสตณุาอื่ รี สก์แวาูลรลุฒะดินกา้ นาากยราสรสเุกม่อืจิอื งสกอาารทุ รดปินกา้ คทนรุ อทง รัพกยราดรกา้ มรนกธทรารรดมผา้พั นชูท้ทกยแรลารราพัะตสงรยกง่ิคิแาแมรกวณุลดรกธธละวรอร้าสรมฒุรรมง่ิ ชมผแิาตชูท้วิ าดรตงลคแิอ้ ณุมละวสุฒง่ิ แิ วดล้อม ะมสภาการศกึ ษา ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๘ ฤหสั บดีท่ี ๑๙ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๘ ธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ 25 ศ.ดร.สุพศจ.ดรน.ส์พุ จหน์ หาารรหหนอนงบอัว งบนาวัยเกยี รตริชศัย .โสดภราเส.บถยี ัณรพรงฑศศ์ ิต.ดรท.ริพบศ.ดาัณร.กบณัฑรฑิตติ ทิพาทดกรริพ.บากณั ดรร.ฑบณั ูรฑรู เเศศดรรษรฐษศ.ิโบฐรตศัณม์ ิโรฑตูรม์เศรษฐ 28 การประมสสำ�ภนากกั างราศนึกษเลาขคารธั้งิกทาี่ ๑ร/ส๒ภ๕า๕ก๘ารศึกษา การประมสภาการศกึ ษา คร้ังท่ี ๑/๒๕๕๘ 30 วนั พฤหัสบดที ี่ ๑๙ กุมภาพกันาธร์ ๒ป๕ร๕ะม๘สภาการศึกษา ครัง้ ท่ี ๑/๒๕๕๘ วันพฤหัสบดที ี่ ๑๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ 27 สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระวทนั รพวฤงหศสัึกบษดาีทธิก่ี ๑า๙ร กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๘ สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ด้านส่งเคสรณ ิม กะ ากรกปรร้อรรดกงมา้มานกรกสกปันง่ ารเสาารแรบผมิรปลกรูท้สะาารมรกปภกงอา้าคงรารกทุณปนักจุ รแรวติลาาะุฒรบิศปรึกาษมคกาณาคดรณา้ทะนจุกะกรกกริตารรรรรรผมมมลกกแติกลาะดาแพารา้ ฒัลนผรรกนะทู้สสาารพกรผภำภ� ลัฒงลตาิงัคาคนกนุณกาาวการุฒารศลิศึกังคษกึ นาษา พลเอกพลดเอกรด.พร.พหหลลสง่าสเนตงร่าเนตร นายกิตนาิ ยกมติ ิ มาาดดิลกลิ โกกวิทโกวทิ 5สา.นกั งาเนลกเลาวขรขนั ปาพารธฤะกิธหมาสัสริกบสภภดาากาที การ่ี ๑ราศสร๙ศึกกึกภษษมุาภาาคารกพกงั้ รันทาะธี่ ๑ท์ร๒/ร๒๕ศว๕๕งึก๕ศ๘๘ึกษษาาธิกเกปารรน็ รกมรกรามรกแลาะรเลแลขาะเนลกุ ขาา31รนกุกาวรนั าปพรรฤะหมสัสบภดากีทาี่ ๑รศ๙ึกกษมุาภคารพงั้ ันทธี่ ๑์ ๒/๒๕๕๕๕๘๘ 32 สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดร.ชยั พฤกษ์ เสรีรกั ษ์ เลขาธิการสภาการศกึ ษา …สภาการศกึ ษา มหี นา้ ท…ี่ 1. พิจารณาเสนอแผนการศกึ ษาแห่งชาตทิ ี่บรู ณาการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และกฬี ากับการศึกษา ทุกระดับ 2. พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษาเพื่อด�ำเนนิ การให้เปน็ ไปตามแผนการศึกษา แห่งชาติท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และกฬี ากบั การศึกษาทุกระดับ 3. พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนบั สนนุ ทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา 4. ด�ำเนนิ การประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหง่ ชาตทิ ี่บรู ณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกฬี ากบั การศึกษาทกุ ระดบั 5. ใหค้ วามเหน็ หรอื ค�ำแนะน�ำเกย่ี วกับกฎหมายและกฎกระทรวงท่อี อกตามความในพระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแหง่ ชาติ และมาตรฐานการศกึ ษาใหเ้ สนอตอ่ คณะรัฐมนตรี รายงานประจำ�ปี 2561 29

คณะกรรมการสภาการศกึ ษา การประชมุ สภาการศกึ ษา คร้งั ท่ี 1/2560 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ร่วมประชมุ สภาการศึกษา นดั 1 พรอ้ มตอ้ นรับ คกก. ชุดใหม่ มงุ่ กำ� หนดทศิ ทางการศกึ ษาชาติ เมอ่ื วนั ที่ 28 กนั ยายน 2560 รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายแพทยธ์ รี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป)์ ประธานการประชุมสภาการศึกษา ครั้งที่ 1/2560 โดยมีคณะกรรมการสภาการศึกษา และเลขาธิการ สภาการศึกษา (ดร.ชยั พฤกษ์ เสรีรักษ)์ กรรมการและเลขานกุ าร และมีผบู้ รหิ าร และขา้ ราชการ สกศ. เข้าร่วม ประชมุ ณ ห้องประชมุ ก�ำแหง พลางกูร ช้นั 3 อาคาร 56 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 12 กันยายน 2560 ได้มีการแต่งต้ังกรรมการในคณะกรรมการ สภาการศึกษา โดยมีอ�ำนาจหน้าท่ี คือ 1) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษาทุกระดับ 2) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา เพ่ือด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติ 3) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุน ทรัพยากรทางการศึกษา 4) ด�ำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ และ 5) ให้ความเห็นหรือค�ำแนะน�ำในเร่ืองกฎหมายและกฎกระทรวงท่ีเกี่ยวกับการศึกษา การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแหง่ ชาติ และมาตรฐานการศกึ ษา ให้เสนอตอ่ คณะรฐั มนตรี 30 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

นายแพทย์ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ กล่าวต้อนรับและแสดงความยินดีกับกรรมการสภาการศึกษา ชุดใหม่ พร้อมแนะน�ำบทบาทหน้าท่ีของ สกศ. ว่าเป็นหน่วยงานส�ำคัญระดับประเทศทางด้านนโยบาย การศึกษา ดูแลและก�ำหนดนโยบาย เสนอแนะแผนการศึกษาให้แก่หน่วยงานจัดการศึกษา คณะกรรมการ สภาการศกึ ษาชุดน้ีถือวา่ เปน็ ชดุ ที่รวมผเู้ ชยี่ วชาญและผูท้ รงคณุ วฒุ จิ ากหลากหลายด้าน จ�ำนวน 41 คน เปน็ ผทู้ ่ี สามารถตัดสินใจให้ข้อเสนอแนะทางการบริหารและข้อกฎหมายได้ รวมถึงสมาชิกในคณะกรรมการ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผ้บู รหิ ารระดับสงู ขององค์กรภาครฐั และภาคเอกชน นอกจากนี้ ฝากท้ิงท้ายพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 10 มี 4 ประเด็น ได้แก่ 1) การศึกษาต้องท�ำให้คนมีทัศนคติที่ถูกต้อง 2) การศึกษาต้องให้มีอุปนิสัยท่ีเข้มแข็ง 3) การศึกษาต้องท�ำให้มีงานท�ำ และ 4) การศึกษาต้องท�ำให้คนเป็นพลเมืองที่ดี และได้เน้นย�้ำการประชุม ทุกคร้ังต้องมุ่งการก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงานให้ถูกต้องตามแผนท่ีก�ำหนด และต้องสร้าง สกศ. ให้เข้มแข็ง เดินหน้าน�ำนโยบายการศึกษาสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จากน้ัน คณะกรรมการสภาการศึกษาได้เสนอ แนะแนวทางการด�ำเนินงาน โดยสรุปว่า 1) ท�ำอย่างไรให้แผนการศึกษาแห่งชาติเห็นเป็นรูปธรรม สามารถ วัดผลลัพธ์ได้ 2) การด�ำเนินการตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ต้องติดตามเป็นระยะ เช่น มีการทบทวน ติดตาม และประเมินผล ทุก 5 ปี สร้างตัวช้ีวัดลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม 3) สร้างระบบการรวบรวมข้อมูลด้วย การบูรณาการจากหน่วยงานจัดการศึกษา เพ่ือให้ สกศ. เป็นศูนย์รวมข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) 4) ควรมี การประชมุ สภาการศกึ ษามากขึน้ เพื่อขบั เคล่ือนการด�ำเนนิ งานอย่างมีประสิทธภิ าพ การจดั ตั้งคณะอนุกรรมการแบ่งออกเปน็ 7 คณะ โดยครอบคลมุ ในเร่อื ง 1) แผนการศกึ ษาแห่งชาติและ กลไกการขบั เคลือ่ นแผนการศึกษาแหง่ ชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ 2) ระบบฐานขอ้ มูล 3) จัดสรรทรพั ยากร 4) กฎหมาย การศกึ ษา 5) บทบาทภาคเอกชนกับการศึกษา 6) การประเมนิ ผลการศกึ ษา และ 7) การวจิ ยั การศกึ ษา ท้งั นี้ การประชุมครัง้ หน้าในช่วงเดอื นพฤศจิกายน มีวาระน�ำเสนอต่อที่ประชมุ เรอ่ื ง ความก้าวหน้าของ การปฏิรูปของประเทศไทย เพ่ือน�ำข้อมลู มาประกอบการพจิ ารณานโยบายดา้ นการศกึ ษา และน�ำเสนอแผนการ ด�ำเนนิ งานของคณะกรรมการต่อไป รายงานประจำ�ปี 2561 31

การประชุมสภาการศกึ ษา ครงั้ ท่ี 2/2560 เมอ่ื วนั ที่ 23 พฤศจิกายน 2560 รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร (หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล) ประธานการประชมุ สภาการศกึ ษา ครง้ั ท่ี 2/2560 โดยมีคณะกรรมการสภาการศกึ ษา เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์) กรรมการและเลขานุการ รวมทั้งผู้บริหาร และข้าราชการ สกศ. เข้าร่วมประชุม ณ หอ้ งประชมุ ก�ำแหง พลางกูร ช้นั 3 อาคาร 56 ปี ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล กล่าวเปิดการประชุมและเน้นย้�ำเรื่องการน้อมน�ำพระราโชบาย ด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 10 โดยเฉพาะใน 4 ประเด็น คือ 1) การศึกษาต้องท�ำให้ คนมีทัศนคติที่ถูกต้อง 2) การศึกษาต้องให้มีพื้นฐานชีวิตที่ม่ันคง มีคุณธรรม 3) การศึกษาต้องท�ำให้มีงานท�ำ มีอาชีพ และ 4) การศึกษาต้องท�ำให้คนเป็นพลเมืองที่ดี มาใช้จัดการศึกษาให้เด็กและเยาวชน พร้อมขยายผล จากหน่วยงานส่วนกลางสู่โรงเรียนผู้ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงเน้นให้ติดตามและประเมิน ผลเพ่ือให้เกิดความยั่งยืนทั้งระบบ ท้ังเน้นปลูกฝังให้เยาวชนไทยใช้ส่ือสังคมออนไลน์อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมถงึ ส่งเสริมให้เยาวชนรักการอา่ นการเขยี น ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการสภาการศึกษา ย�้ำว่า ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีความพยายามอย่างย่ิงที่จะขับเคล่ือนการศึกษาไทยให้ “เด็กทุกคนต้องท�ำงานเป็น รักการท�ำงานและ การประกอบอาชีพ” สอดคลอ้ งกับพระราโชบายทวี่ า่ การศกึ ษาตอ้ งท�ำใหม้ ีงานท�ำ ทีป่ ระชุมได้รว่ มแสดงขอ้ คดิ เหน็ และพิจารณาประเด็นส�ำคญั ในการด�ำเนนิ งานของ สกศ. ได้แก่ 1) ความก้าวหน้าในการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติได้รับความเห็นชอบ จากมติคณะรฐั มนตรีเมอ่ื วนั ที่ 18 เมษายน 2560 จากน้นั สกศ. ได้ด�ำเนนิ การขบั เคล่ือนส่กู ารปฏิบัตอิ ย่างเปน็ รูปธรรม โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และด�ำเนินการก�ำหนดหลักสูตรการเรียนการสอน ของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เพ่ือน�ำไปปรับปรุงและพัฒนา นอกจากนี้ต้องเสริมสร้าง ความรคู้ วามเข้าใจให้กบั สังคมเพ่อื เลง็ ถึงความส�ำคญั ของการเช่อื มโยงคณุ วุฒกิ ารศกึ ษากับมาตรฐานแรงงาน 32 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

  1. ร่างมาตรฐานการศึกษาของชาติ ปัจจุบัน สกศ. ได้ด�ำเนินการทบทวนมาตรฐานการศึกษาของชาติ ฉบับใหม่เพ่ือก�ำหนดให้สามารถตอบโจทย์และสอดคล้องกับการสร้างให้เยาวชนเป็นพลเมืองในศตวรรษท่ี 21 โดยประกอบดว้ ย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ลกั ษณะของคนไทยทพี่ งึ ประสงค์ “คนดี มที กั ษะการเรยี นรู้ พงึ่ พาตนเองได”้ มาตรฐานท่ี 2 แนวการจัดการศึกษา “การจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และการบริหาร โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน” และ มาตรฐานที่ 3 การสร้างวิถีการเรียนรู้ “การสร้างวิถีการเรียนรู้และสังคม แหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ ” ท่ีประชุมได้ร่วมอภิปราย (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาของชาติอย่างหลากหลายในประเด็นต่าง ๆ อาทิ ให้เน้นเร่ืองการเป็นพลเมืองดี มีวินัย ให้อิสระในการคิดของเด็กเยาวชนแต่ต้องควบคู่กับการสร้างจิตส�ำนึก ผสมผสานความเป็นไทยกับมาตรฐานสากล โดยค�ำนึงถึงการพัฒนาเยาวชนให้เข้ากับเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ในอนาคต ให้รู้จักเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมถึงครูและผู้บริหารสถานศึกษาต้องเป็นแบบอย่างท่ีดี ฯลฯ ดังน้ัน ท่ีประชุมจึงมอบหมายให้ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะฝ่ายเลขานุการ น�ำ (ร่าง) มาตรฐาน การศึกษาของชาติมาปรับปรุงตามข้อเสนอของคณะกรรมการสภาการศึกษา โดยเน้นให้ตอบสนองต่อ พระบรมราโชบายของในหลวงรชั กาลท่ี 10 ดา้ นการศกึ ษา สอดคล้องกบั รฐั ธรรมนญู ยุทธศาสตรช์ าติ แนวทาง การปฏริ ปู ประเทศ หลังจากน้ันน�ำกลบั มาให้คณะกรรมการสภาการศึกษาพจิ ารณาอีกคร้ัง เมื่อคณะกรรมการฯ เห็นชอบ จะน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีหลังจากผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้วหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทกุ ระดบั ทกุ ประเภททางการศึกษาตอ้ งน�ำมาตรฐานนไี้ ปแนวทางในการปฏิบตั ิต่อไป พร้อมนี้ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสภาการศึกษา แบ่งประเด็นความส�ำคัญออกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านนโยบายการศึกษาและกลไกการขับเคล่ือนแผนสู่การปฏิบัติ 2) ด้านระบบฐานข้อมูลและตัวช้ีวัด 3) ด้านระบบทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา 4) ด้านมาตรฐานการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ 5) ด้านการประเมนิ ผลการศึกษา 6) ดา้ นกฎหมายการศึกษา 7) ดา้ นการวิจยั การศกึ ษา และ 8) ดา้ นบทบาท ของภาคประชาสังคมเพอื่ การศกึ ษา นอกจากน้ี ทป่ี ระชมุ ยังมขี อ้ เสนอแนะให้เพิม่ คณะอนกุ รรมการอีก 1 คณะ คอื คณะอนุกรรมการสภาการศกึ ษาด้านคณะศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม และภูมิปัญญา ทง้ั น้ี แตล่ ะอนุกรรมการ ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญผู้ท่ีมีประสบการณ์ในแต่ละด้าน เพ่ือให้เกิดความครบถ้วนทุกประเด็นที่ส�ำคัญ สอดคล้องกับการท�ำงานครบทกุ ภาคสว่ น รายงานประจำ�ำ�ปี 2561 33

การประชุมสภาการศกึ ษา คร้ังท่ี 1/2561 ทป่ี ระชุมสภาการศกึ ษา นดั ที่ 1 ปี 2561 ตั้งอนุกรรมการ ฯ 9 คณะ ขับเคลื่อน 10 วาระการศกึ ษาของชาติ วนั นี้ (15 มกราคม 2561) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายแพทยธ์ รี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป)์ เป็นประธานการประชุมสภาการศึกษา ครั้งที่ 1/2561 โดยมีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร) คณะกรรมการสภาการศึกษา เลขาธิการสภาการศึกษา (ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์) กรรมการและเลขานุการ รวมทั้งผู้บริหาร และข้าราชการ สกศ. เข้าร่วมประชุม ณ หอ้ งประชมุ ก�ำแหง พลางกรู ช้นั 3 อาคาร 56 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา การประชุมวันนี้ที่ประชุมเห็นชอบให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาทั้ง 9 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านนโยบายการศึกษา และการขับเคล่ือนแผนสู่การปฏิบัติ 2) ด้านระบบฐานข้อมูลและตัวชี้วัด 3) ด้านระบบทรัพยากรและการเงินเพ่ือการศึกษา 4) ด้านมาตรฐานการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ 5) ด้านการประเมินผลการศึกษา 6) ด้านกฎหมายการศึกษา 7) ด้านการวิจัยการศึกษา 8) ด้านบทบาท ของภาคประชาสังคมเพื่อการศกึ ษา และ 9) ดา้ นศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม กีฬา และภมู ิปัญญา นายแพทยธ์ รี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์ กลา่ วยำ้� ถึงความส�ำคัญของส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา (สกศ.) ในฐานะองค์กรที่มีบทบาทต่อการช้ีน�ำประเทศด้านนโยบายการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัยถึงอุดมศึกษา ท้ังน้ี ได้มอบหมายให้ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร ช่วยก�ำกับดูแล สกศ. โดยเน้นการก�ำหนด นโยบายเพอื่ แก้ปญั หาการศกึ ษาให้มผี ลในเชิงปฏิบัติอย่างเปน็ รูปธรรม ด้าน ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ กล่าวว่า ท่ีประชุมเสนอ 10 ประเด็นส�ำคัญที่ต้องแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ได้แก่ 1) การผลติ ก�ำลังคนให้ตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน 2) การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั 3) การเรียนรู้ ของเด็กรุ่นใหม่ 4) การศึกษาส�ำหรับผู้สูงอายุ 5) ระบบฐานข้อมูลทางการศึกษา 6) ตัวช้ีวัดประสิทธิภาพ ในการจัดการศกึ ษา 7) การจดั การเรียนการสอนแนวใหม่ท่ีเน้นการประเมินสมรรถนะ (Competency based) 34 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

  1. การพัฒนาทักษะทางด้านอารมณ์และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Soft Skills) โดยเฉพาะการสื่อสาร และความสามารถทางภาษา 9) การต่อยอดผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ทางการวางแผนและด้านอ่ืน ๆ และ 10) การเพ่ิมกลไกขับเคล่ือน การประเมินผล และการติดตามนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ทั้งน้ี สกศ. ได้เตรียม งบประมาณเพ่ือสนับสนุนการด�ำเนินงานของคณะอนุกรรมการ ฯ ท้ังด้านการส�ำรวจและรับฟังความคิดเห็น โดยขอให้คณะอนุกรรมการ ฯ จัดท�ำแผนปฏิบัติการเร่งรัด (Quick Win) และสร้างกลไกในการติดตามและ ประเมินผลข้อเสนอของคณะอนุกรรมการ ฯ เพื่อเสนอเป็นนโยบายต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะรฐั มนตรีเปน็ ล�ำดับต่อไป การประชมุ สภาการศึกษา คร้ังท่ี 2/2561 รฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานการประชมุ คณะกรรมการสภาการศึกษา นัดท่ี 2 35 เม่ือวันท่ี 9 พฤษภาคม 2561 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร) ได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการประชุม คณะกรรมการสภาการศึกษา (กกส.) คร้ังที่ 2/2561 โดยเลขาธิการสภาการศึกษา (ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์) รองเลขาธิการสภาการศึกษา (ดร.ชัยยศ อ่ิมสุวรรณ์) รองเลขาธิการสภาการศึกษา (ดร.สมศักด์ิ ดลประสิทธ์ิ) พรอ้ มผู้บรหิ ารส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (สกศ.) ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชมุ ก�ำแหง พลางกรู ชน้ั 3 อาคาร 56 ปี สกศ. ท่ีประชุมได้รับทราบการแต่งตั้ง กกส.ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านเศรษฐกิจคือ นายณรงค์ศักดิ์ ภูมิศรีสอาด ซง่ึ เขา้ มารบั ต�ำแหนง่ แทน นายกอบศกั ดิ์ ภตู ระกลู ทลี่ าออกไปด�ำรงต�ำแหนง่ รฐั มนตรปี ระจ�ำส�ำนกั นายกรฐั มนตรี โดยมกี ารพิจารณาวาระส�ำคัญ อาทิ เห็นชอบรบั รองรา่ งมาตรฐานการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... ซึ่งสอดคล้องกับ แนวทางท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 54 ที่ระบุว่า การศึกษาท้ังปวง ต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความถนัดของตน และมี ความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ภายใต้กรอบแนวคิดส�ำคัญ 1.บุคคลผู้เรียนรู้ รายงานประจำ�ปี 2561

2.ผรู้ ่วมสรา้ งสรรค์สังคม และ 3.ผู้มคี วามเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง โดยมุง่ เนน้ การสร้างมาตรฐานครู 4.0 ลดภาระ ครูในการประเมินวิทยฐานะเพ่ือสร้างลักษณะคนไทยท่ีพึงประสงค์ในอนาคต น�ำไปใช้เป็นกรอบการจัด การศึกษา การวัดผลและประเมินผลทั้งตัวครูและผู้เรียนบูรณาการกับแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เชื่อมโยงกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และแนวทางจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ สรปุ วาระที่ กกส.ไดใ้ ห้ความเห็นชอบรายงานตอ่ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพื่อน�ำเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาต่อไป ด้าน ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวว่า หาก ครม. เห็นชอบร่างมาตรฐาน การศึกษาแห่งชาติแล้ว สกศ. พร้อมขับเคล่ือนมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติลงไปสู่การปฏิบัติทุกระดับและ ทุกประเภทการศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานแต่ละสถานศึกษา รวมถึงการปรับหลักสูตรฐานสมรรถนะ และคุณภาพผ้เู รยี นตามแนวทางรฐั ธรรมนูญฯ และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ท่ีประชุมได้พิจารณาและเห็นชอบการจัดตั้งส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเพิ่มเติมจ�ำนวน 36 เขต จากท่ีมีอยู่เดิม 42 เขต โดยยึดเขตปกครองจังหวัดเป็นพ้ืนฐาน จึงมีส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาครบทุกจังหวัด รวมทั้งส้ิน 78 เขต ก�ำหนดให้กรุงเทพมหานคร (กทม.) มี 2 เขตพื้นท่ีการศึกษา เนื่องจากมีจ�ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในสังกัดมากกว่า 250,000 คน ที่ไม่ซ�้ำซ้อนอ�ำนาจหน้าที่กับ ศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.) ทัง้ น้ี ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (สพฐ.) เสนอใช้วธิ ีการเกลยี่ กรอบ อัตราทรพั ยากรทงั้ ดา้ นวสั ดุ อุปกรณ์ อาคารทด่ี นิ ส่งิ ก่อสรา้ ง รวมทัง้ บคุ ลากรเดิมทีม่ อี ยูใ่ หส้ ามารถปฏิบัติงานได้ ตามภารกจิ และปรมิ าณงานทเ่ี หมาะสม โดย กกส. ผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นกฎหมาย ให้ขอ้ เสนอแนะและตัง้ ข้อสังเกต เรื่องอ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา ซ่ึงต้องไม่เพิ่มอัตราบุคลากรและเพิ่มการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที) สนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาในพื้นท่ีห่างไกลกัน เพื่อลดความสิ้นเปลือง งบประมาณส�ำหรับการจัดตั้งส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีดังกล่าว และขอให้ สพฐ. รายงานผลการด�ำเนินงานปฏิรูป การศกึ ษาและคณุ ภาพการศึกษาของผู้เรยี นให้ กกส. พิจารณาเป็นระยะ 36 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

ที่ประชุมพิจารณาและเห็นชอบแนวทางอุดหนุนเงินค่าใช้จ่ายรายหัวแก่ผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงจัดโดยบุคคล องค์กรวิชาชีพ องค์กรชุมชนและองค์กรเอกชน และลดหย่อนภาษีและยกเว้นภาษีแก่ผู้จัด การศึกษา ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ซ่ึงเป็น อัตราเดียวกับการจัดสรรเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัวให้แก่ผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยครอบครัวคือ ระดับ ปฐมวัย ได้รับเงินอุดหนุน 7,192 บาท ระดับประถมศึกษา ได้รับเงินอุดหนุน 7,362 บาท ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ได้รับเงินอุดหนุน 10,276 บาท และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับเงินอุดหนุน 10,606 บาท และได้รับการลดหย่อนและยกเว้นภาษีแนวทางเดียวกับท่ีรัฐให้การสนับสนุนการศึกษาเอกชน ทั้งนี้ กกส. ให้ข้อเสนอแนะผู้แทน สพฐ. ควรศึกษาแนวทางการใช้วงเงินอุดหนุน ประมาณการวงเงินโดยรวมท่ีชัดเจน และมกี ระบวนการตรวจสอบการใช้เงินทีเ่ ขม้ งวดและสกัดก้นั การทจุ รติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถึงไดพ้ จิ ารณาและเห็นชอบรา่ งกฎกระทรวง ก�ำหนดจ�ำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์ และ 37 วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และการพ้นจากต�ำแหน่งของ กรรมการในคณะกรรมการอาชีวศึกษา พ.ศ. .... ที่มีสาระส�ำคัญคือ การปรับเปล่ียนคณะกรรมการ (บอร์ด) อาชีวศึกษาให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน ซึ่งก�ำหนดองค์ประกอบบอร์ด อาชีวศึกษามีจ�ำนวนไม่เกิน 32 คน แบ่งเป็นกรรมการโดยต�ำแหน่ง จ�ำนวน 7 คน (ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ) กรรมการผู้แทนองค์กรเอกชน จ�ำนวน 3 คน กรรมการผู้แทน องค์กรวิชาชีพ จ�ำนวน 1 คน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 17 คน แต่ไม่เกิน 19 คน ซ่ึงแต่งต้ัง จากผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเลือกประธานบอร์ดฯ จากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการบอร์ดฯ โดย กกส. เสนอแนะให้เชิญปลัดกระทรวงแรงงาน และปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมาเป็นกรรมการ โดยต�ำแหน่ง หรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อสร้างความเชื่อมโยงการรองรับวิชาชีพด้านอุตสาหกรรม และ ศกึ ษาข้อกฎหมายเพิม่ เติม รายงานประจ�ำ ปี 2561

การประชุมสภาการศึกษา ครั้งท่ี 3/2561 เม่ือวันท่ี 11 กรกฎาคม 2561 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร) ในฐานะผู้แทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการประชุม สภาการศึกษา (กกส.) ครั้งท่ี 3/2561 โดยมีเลขาธิการสภาการศึกษา (ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์) รองเลขาธิการ สภาการศึกษา (ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์) รองเลขาธิการสภาการศึกษา (ดร.สมศักด์ิ ดลประสิทธ์ิ) กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ กกส. ให้การต้อนรับและร่วมประชุม ณ ห้องก�ำแหง พลางกูร ชั้น 3 อาคาร 56 ปี ส�ำนักงาน เลขาธกิ ารสภาการศึกษา (สกศ.) 38 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

ที่ประชุมได้รับทราบผลการด�ำเนินงาน 39 คณะอนุ กกส. ทง้ั 9 คณะ 1) ด้านนโยบายการศึกษาและกลไก การขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ สรุปความก้าวหน้าว่า ภายใต้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 คณะอนุฯ ได้ขับเคล่ือนงานนโยบายการศึกษาหลาย มติ ิ โดยมงุ่ เปา้ หมายสง่ เสริมการศกึ ษาเพอ่ื ความม่นั คง อาทิ การจัดการศึกษาพน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนใต้ (จชต.) การวางระบบส่งเสริมการอ่าน แก้ไขปัญหาการอ่าน ไม่ออก การเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนนอกระบบการศึกษา หรือส่งเสริมหลักสูตรระยะส้ันเพ่ิมมากย่ิงข้ึน มุ่งเน้น ส่งเสริมการศึกษาเพื่ออาชีพและการมีงานท�ำอย่าง สอดคลอ้ งกับวิถชี วี ติ และสภาพแวดล้อมในท้องถ่นิ 2) ด้านระบบฐานข้อมูลและตัวช้ีวัด มีความก้าวหน้าการศึกษาฐานข้อมูลด้านการศึกษา ท่ีมีอยู่เดิม ซึ่งมีความหลากหลาย โดยมีแนวคิดรีเซต จัดระบบใหม่การจัดการฐานข้อมูลใหม่ทั้งระบบ เพ่ือก�ำหนดเป้าหมายใหม่ที่ชัดเจน และสามารถ ตอบโจทย์การพัฒนายุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนา ก�ำลังคนของประเทศที่มีความถูกต้องและสามารถใช้ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งครบถว้ นและใชง้ านได้อย่างยง่ั ยืน 3) ด้านระบบทรัพยากรและการเงินเพ่ือ การศึกษา มีความก้าวหน้าโดยวางกรอบแนวทาง การบริหารจัดการทรัพยากรและการเงินคุ้มค่า และมี ประสิทธิภาพส่งเสริมการศึกษา มุ่งเน้นวางมาตรการ ระยะสั้นเพ่ือเปลี่ยนบทบาทจากผู้ก�ำหนดนโยบาย เป็นผู้ก�ำกับดูแล (Regulator) ทรัพยากรและการเงิน อย่างมีประสิทธิภาพ และวางระบบการจัดสรร งบประมาณต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่ากับ การใช้งบประมาณท่ีเหมาะสมกับจ�ำนวนครูและ ผเู้ รียนในระดับตา่ ง ๆ 4) ด้านมาตรฐานการศึกษาและการจัด การเรียนรู้ มีความก้าวหน้าโดยเร่งยกร่างมาตรฐาน การศึกษาแห่งชาติ และหารือร่วมกับคณะกรรมการ อิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เพื่อก�ำหนด คุณลักษณะและสมรรถนะของคนไทยในอนาคต ที่มีคุณภาพ และมีความเป็นเลิศตามความถนัดของ ตนเอง อยู่ระหวา่ งปรบั แก้เน้อื หาเพ่ือพิจารณาตอ่ ไป รายงานประจำ�ปี 2561

5 ) ด ้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า มี ค ว า ม ก ้ า ว ห น ้ า ก า ร ศึ ก ษ า แ น ว ท า ง แ ล ะ ส ร ้ า ง ความชัดเจนการประเมินผลการศึกษา และ การประเมินผลการจัดการศึกษา ท่ีมีการตีความ แตกต่างกันและยังไม่ได้ข้อยุติ อยู่ระหว่างการสรุป แนวทางเพ่ือพิจารณาการจัดการระบบติดตาม ประเมนิ ผลการศกึ ษาต่อไป 6) ด้านกฎหมายการศึกษา มีความก้าวหน้า โดยพิจารณาการยกร่างกฎหมายการศึกษา เช่น กฎหมายท่ี กอปศ. ก�ำลังยกร่าง กฎหมายซ่ึง สกศ. ได้ยกร่างไว้แล้ว และการพิจารณาทบทวนกฎหมาย การศึกษาเพ่ือให้มีความทันสมัยและจะได้น�ำเสนอ ตอ่ ไป 7) ด้านการวจิ ยั การศึกษา มีความกา้ วหนา้ ใน หลายประเด็น มุ่งส่งเสริมการวิจัยเพื่อผลิตและ พัฒนาก�ำลังคนสอดคล้องกับขับเคลื่อนพัฒนา การศึกษาและการสร้างนวัตกรรมใหม่ในศตวรรษ ท่ี 21 และรองรับโลกดิจิทัลแห่งอนาคต รวมไปถึง การสนับสนุนการวิจัยส�ำหรับครูอีกด้วยเพ่ือพัฒนา สมรรถนะครู 8) ด้านบทบาทของภาคประชาสังคมเพ่ือ การศึกษา มีความก้าวหน้าโดยเชิญผู้เก่ียวข้องใน ภาคประชาสังคมมาร่วมหารือเพ่ือส่งเสริมการศึกษา ทง้ั ในระบบ นอกระบบ การศกึ ษาทางเลอื ก การศกึ ษา เฉพาะกลมุ่ ตา่ ง ๆ ทม่ี คี วามหลากหลาย โดยอยรู่ ะหวา่ ง รวบรวมขอ้ มูลเครอื ข่ายการศึกษาทีย่ ังกระจัดกระจาย และเตรียมจัดเวทีส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหา อุปสรรคในการจัดการศึกษารูปแบบต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในประเทศไทย เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลที่เป็น ประโยชนต์ อ่ ยอดขยายความส�ำเร็จใหเ้ ป็นรูปธรรม และ 9) ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬา และภูมิปัญญา ท่ีมีความก้าวหน้าการศึกษาปัญหา อปุ สรรค และวเิ คราะหภ์ าพรวมการจดั การศกึ ษาตา่ ง ๆ อย่างครอบคลุมท้ัง 5 ด้าน และเตรียมจัดประชุม สัมมนาเพ่ือช้ีแนะแนวทางยุทธศาสตร์การศึกษาที่เป็น ประโยชน์ โดยเห็นว่าควรเพิ่มสัดส่วนผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและภูมิปัญญา 40 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

ให้มีความครอบคลุมทุกด้าน ในร่างพระราชบัญญัติ การศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหม่ ซงึ่ ก�ำหนดใหม้ คี ณะกรรมการ นโยบายการศึกษาแห่งชาติ ทั้งน้ี จะได้หารือร่วมกับ กอปศ. และรายงานรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พิจารณาปรับร่างกฎหมายดังกล่าวให้มีผู้ทรงคุณวุฒิ พัฒนาการศึกษาครอบคลุมทกุ ด้าน ด้าน ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการ สภาการศึกษา กล่าววา่ สกศ. ในฐานะฝ่ายเลขานุการ ของ กกส. และคณะอนุ กกส. ท้ัง 9 คณะ พร้อม อ�ำนวยความสะดวกการด�ำเนินงานของทุกคณะ เพ่ือสร้างประโยชน์สูงท่ีสุดในการขับเคลื่อนแผน การศึกษาชาติ ระยะ 20 ปี น�ำสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รปู ธรรม นอกจากน้ี ที่ประชุมได้หารืออย่างกว้างขวาง ถึงแนวทางการสรุปบทเรียนเหตุการณ์ช่วยเหลือ ทีมนักฟุตบอลหมูป่าอะคาเดมี 13 คน ซ่ึงติดภายใน ถำ้� หลวงขนุ นำ้� นางนอน อ�ำเภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ออกมาได้อย่างปลอดภัย เพื่อสร้างบทเรียนแบบแผน การท�ำงานท่มี คี วามโดดเด่นจากเหตกุ ารณด์ งั กลา่ ว ทั้งน้ี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับสั่งให้ท�ำ ข้อมูลและท�ำรายงานเก็บไว้เป็นต้นแบบเพ่ือเตรียม แผนรับมือภัยธรรมชาติ เช่น ภาวะผู้น�ำ การส่งเสริม จิตอาสา และการสร้างความร่วมมือกันในการแก้ไข ปัญหา ฯลฯ เพ่ือสร้างก�ำลังคนท่ีมีคุณภาพและ สมรรถนะด้านต่าง ๆ ของคนไทยในอนาคต และยงั ได้ พิจารณาวางแนวทางระบบติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผลการจัดการศึกษา โดยยึดแนวทางเดิม ที่ กกส. เคยมีมติเห็นชอบไว้แล้ว ด�ำเนินงานตาม กฎกระทรวงว่าด้วยการตรวจสอบ ติดตาม และ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ง บ ป ร ะ ม า ณ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ทกุ ระดับชั้น และจดั ตัง้ กรรมการฯ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง โดยให้ สกศ. ท�ำหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศึกษา และเน้นย้�ำการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาสนับสนุนระบบการท�ำงาน เพ่ือบูรณาการ การแบ่งปันข้อมูลให้หน่วยงานการศึกษาสามารถ น�ำข้อมูลต่าง ๆ ไปใช้วางแผนก�ำหนดแนวทาง การจัดการศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพต่อไป รายงานประจ�ำ ปี 2561 41

การประชมุ สภาการศึกษา คร้ังที่ 4/2561 รฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ประธานการประชมุ สภาการศกึ ษา นัด 4 เร่งสร้างพลเมืองดี มวี ินยั ภูมใิ จในชาติ เชอ่ื มโยง 9 คณะอนฯุ กลไกแนวราบขับเคล่ือนการศกึ ษาทง้ั ระบบ เม่ือวันที่ 13 กันยายน 2561 รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร (ศาสตราจารย์คลินกิ นายแพทยอ์ ุดม คชินทร) เป็นประธานการประชุมสภาการศึกษา (กกส.) ครง้ั ท่ี 4/2561 โดยเลขาธิการสภาการศกึ ษา (ดร.ชัยพฤกษ์ เสรรี กั ษ)์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (ดร.ชยั ยศ อม่ิ สวุ รรณ)์ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (นางเรอื งรตั น์ วงศป์ ราโมทย)์ ค ณ ะ ผู ้ บ ริ ห า ร ส�ำ นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า (สกศ.) ให้การต้อนรับ กกส. ผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมประชุม ณ หอ้ งก�ำแหง พลางกรู ชนั้ 3 อาคาร 56 ปี สกศ. ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า สังคมให้ความสนใจการขบั เคลื่อนการปฏิรูปการศกึ ษา ทงั้ ระบบ ช่นื ชม สกศ. จัดมหกรรมการปฏิรูปประเทศ ปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีการเสวนาระดมความคิดเห็น ที่หลากหลาย และน�ำไปสู่การปรับปรุงต่อยอด การปฏิรูปการศึกษาตามล�ำดับ ยังได้เสนอแนวคิดให้ สร้างความเช่ือมโยงการขับเคลื่อนงานของคณะอนุฯ ทั้ง 9 ด้านสอดคล้องทิศทางกรอบการปฏิรูปประเทศ มุ ่ ง เ น ้ น ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ ส ร ้ า ง พ ล เ มื อ ง ดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ ตามแนวทางอนุฯ คณะท่ี 1 ที่มีพลเอก พหล สง่าเนตร เป็นประธาน โดยมุ่งเน้น ปลูกฝังจิตส�ำนึกให้ผู้เรียนรู้จักมีอัตลักษณ์พิเศษตาม พระราโชบาย ในหลวงรัชกาลที่ 9 ยึดความพอเพียง และรู้จักหน้าที่ของตนเองต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ เป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ และผลักดันการเรียนการสอนเริ่มในสถานศึกษาช่วง เปิดภาคเรียนแรกปีการศึกษา 2562 พร้อมส่งเสริมให้ วางหลักสูตรการพัฒนาผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาเป็น ผู้น�ำการเปล่ียนแปลง เพ่ือสร้างนวัตกรรมการศึกษาใหม่ ๆ ในการพัฒนาการศึกษา และปรับปรุงเปล่ียนแปลง การประเมินผลการศกึ ษาใหม่ท้งั ระบบ เน่ืองจากระบบประเมนิ ผลแบบเดิมยงั ขาดประสิทธิภาพ 42 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

ทปี่ ระชมุ ไดร้ บั ทราบการพจิ ารณาทบทวนรา่ ง กฎกระทรวงท่ีออกตามความ ตามมาตรา 12 แห่ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีบัญญัติไว้ว่า นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้บุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิ ในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ทั้งน้ี ให้เป็นไปตาม ท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง นอกจากน้ี ยังได้พิจารณา การด�ำเนนิ งานของคณะอนุ กกส. ทงั้ 9 ด้าน ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2562 สรุปสาระส�ำคญั ดังน้ี คณะท่ี 1 พลเอก พหล สง่าเนตร ประธาน อนุ กกส. ด้านนโยบายและกลไกการขับเคล่ือนแผน สู่การปฏิบัติ เตรียมขับเคล่ือนงาน 1) การศึกษาเพ่ือ สร้างพลเมืองดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ และ 2) การจัด การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างสันติสุขในพ้ืนท่ีจังหวัด ชายแดนใต้ (จชต.) คณะที่ 2 รองศาตราจารย์บัณฑิต ทิพากร ประธานอนุ กกส.ด้านระบบฐานข้อมูลและตัวช้ีวัด เตรยี มขับเคล่อื นงาน 1) ศกึ ษาดงู านระบบบรู ณาการ ข้อมูลและสานสนเทศเพื่อการศึกษา 2) ศึกษาคุณภาพตามมาตรฐานข้อมูลที่สามารถใช้ในการบริหารงานและ แผนการศกึ ษา รายงานประจ�ำ ปี 2561 43

คณะที่ 3 นายเกียรติชัย โสภาเสถียรพงศ์ ประธานอนุ กกส.ด้านระบบทรัพยากรและการเงินเพ่ือ การศึกษา เตรียมขับเคล่ือนงาน 1) ประชุมวางแผนด�ำเนินงานตามบทบาทหน้าที่คณะอนุฯ 2) ลงพื้นท่ี เก็บข้อมูลเชิงลึกและรับฟังความคิดเห็นจากผู้เก่ียวข้องในประเด็นการจัดสรรทรัพยากร การระดมทรัพยากร การใช้จ่ายและความร่วมมือในการจัดและสนับสนุนการศึกษา และ 3) ศึกษาการน�ำผลการวิจัยไปสู่การปฏิบัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรและการเงินเพ่ือการศึกษา การวิเคราะห์การใช้จ่ายงบประมาณ ทีไ่ มเ่ กย่ี วกับการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การควบรวมสถาบันอดุ มศึกษาของเอกชนท่ีไม่มคี ณุ ภาพ คณะท่ี 4 ศาสตราจารย์สพุ จน์ หารหนองบวั ประธานอนุ กกส.ด้านมาตรฐานการศกึ ษาและการจัดการ เรียนรู้ เตรียมขับเคลื่อนงาน 1) การประชุมเพ่ือพิจารณาแผนการขับเคล่ือนมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพ่ือน�ำสู่การปฏิบัติในหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาแต่ละระดับและแต่ละประเภทอย่างมีประสิทธิภาพ 2) ด�ำเนินการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในมาตรฐานการศึกษาของชาติแก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องผ่านส่ือหลากหลาย ช่องทาง และ 3) การวิจัยและพัฒนานโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่งเสริม และพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้ทจี่ ะเอือ้ ให้เกิดผลลพั ธท์ พี่ ึงประสงคด์ ้านผ้เู รยี นตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ คณะท่ี 5 ศาสตราจารย์กิตติคุณ สมหวงั พิธยานุวฒั น์ ประธานอนุ กกส.ด้าน การประเมินผลการศึกษา เตรียมขับเคล่ือน งาน 1) ประเมินผลการจัดการศึกษาตาม แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ แผนพฒั นาการศกึ ษา แห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ และ นโยบายดา้ นการศึกษาของรฐั บาล ตลอดจน ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ใ ช ้ ทรัพยากรทางการศึกษา 2) จัดท�ำข้อเสนอ เพื่อพัฒนาระบบติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศึกษาท่ีมี ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล และมี ความเป็นสากล 3) จัดท�ำระบบเพื่อพัฒนาระบบติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศึกษาใน ภาพรวม และ 4) ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาการศึกษา เพ่ือน�ำผลไปใช้ในการปรับปรุงและจัดท�ำแผน การศกึ ษาแห่งชาตฉิ บับตอ่ ไป คณะท่ี 6 ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ประธานอนุ กกส.ด้านกฎหมาย เตรียมขบั เคลือ่ นงาน 1) การจัดท�ำแผนพัฒนากฎหมายการศึกษา กฎหมายล�ำดับรอง และกฎหมายอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องกับการศึกษา 2) จัดเวทีเพื่อรับฟังข้อเสนอ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง และ 3) ลงพ้ืนท่ีเพ่ือรับฟังข้อเสนอด้านกฎหมาย และติดตามประเมินผลติดตามการบังคับใช้กฎหมายในเชิงลึก สัมภาษณ์สอบถาม เพือ่ ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการแกไ้ ขปรับปรงุ กฎหมายการศกึ ษา คณะที่ 7 นายอุทัย ดุลยเกษม ประธานอนุ กกส.ด้านการวิจัยการศึกษา เตรียมขับเคล่ือนงาน 1) กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานตามนโยบายให้มีประสิทธิภาพตามนโยบายของรัฐท่ีมุ่งปฏิรูป การศึกษา 2) การก�ำหนดประเด็นวิจัยเพ่ือรองรับนโยบายการจัดต้ังองค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาท่ีใช้ งานวิจัยเป็นฐาน 3) ส่งเสริมการวิจัยผลกระทบของการจัดการศึกษาตามนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาของ รัฐบาลแต่ละสมยั 44 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

คณะที่ 8 นายวลั ลภ ตังคณานรุ ักษ์ ประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิเก่ียวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ และ คณะอนุ กกส.ด้านบทบาทของภาคประชาสังคม แผนบูรณาการด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬา เพ่ือการศึกษา เตรียมขับเคล่ือนงานประชุมเพื่อรับฟัง และภูมิปัญญา และ 3) จัดท�ำข้อเสนอของผู้ทรง ความเห็นจากภาคประชาสังคม และผู้ทรงคุณวุฒิ คุณวุฒิด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและ กลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มการศึกษาทางไกล ผู้พิการ ภมู ปิ ญั ญา เกย่ี วกบั แนวทางการพฒั นาและเสริมสร้าง บา้ นเรยี น ชนเผา่ สภาเดก็ และเยาวชน ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาด้านศาสนา ศิลปะ เป็นต้น มาร่วมให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ วัฒนธรรม กีฬาและภูมิปญั ญา เพ่ือประกอบการพิจารณาของคณะอนุฯ ในการจัดท�ำ ด้าน ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการ ขอ้ เสนอแนะการสง่ เสรมิ บทบาทของภาคประชาสงั คม สภาการศึกษา กล่าวว่า สกศ. ในฐานะฝา่ ยเลขานกุ าร เพอ่ื การศึกษาตอ่ กกส. กกส.ยินดีและพร้อมสนับสนุนการด�ำเนินงานของ และคณะท่ี 9 ดร.จรวยพร ธรณินทร์ คณะอนุ กกส. ประจ�ำปงี บประมาณ 2562 อย่างไรก็ดี ประธานคณะอนุ กกส.ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม เม่ือทุกคณะหารือและปรับกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กีฬาและภูมิปัญญา เตรียมขับเคลื่อนงาน 1) จัดท�ำ ทาง สกศ. พรอ้ มส่งเสริม สนับสนนุ ประสานงาน และ แผนและนโยบายการศึกษาทบ่ี ูรณาการศาสนา ศิลปะ ประสานงบประมาณจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อขับเคล่ือน วัฒนธรรม กีฬาและภูมปิ ญั ญา 2) จัดท�ำข้อเสนอของ การด�ำเนินงานท้ัง 9 คณะอนุ กกส.ฯ ตอ่ ไป รายงานประจำ�ปี 2561 45

คณะอนกุ รรมการสภาการศกึ ษา คณะท่ี 1 ด้านนโยบายและกลไกการขบั เคล่ือนแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ คณะที่ 1 พลเอก พหล สง่าเนตร ประธานอนุ กกส. ด้านนโยบายและกลไกการขับเคล่ือนแผนสู่การปฏิบัติ เตรียม ขับเคล่อื นงาน 1) การศึกษาเพ่อื สร้างพลเมอื งดี มวี นิ ัย ภมู ใิ จในชาติ และ 2) การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างสันติสุขในพ้ืนที่จังหวัด ชายแดนใต้ (จชต.) คณะที่ 2 ดา้ นระบบฐานขอ้ มลู และตัวชีว้ ดั คณะที่ 2 รองศาตราจารย์บัณฑิต ทิพากร ประธานอนุ กกส.ด้านระบบฐานข้อมูลและตัวชี้วัดเตรียมขับเคลื่อนงาน 1) ศึกษาดูงานระบบบูรณาการข้อมูลและสานสนเทศเพ่ือ การศึกษา 2) ศึกษาคุณภาพตามมาตรฐานข้อมูลที่สามารถใช้ ในการบรหิ ารงานและแผนการศกึ ษา คณะที่ 3 ดา้ นระบบทรพั ยากรและการเงินเพือ่ การศกึ ษา คณะที่ 3 นายเกียรติชัย โสภาเสถียรพงศ์ ประธานอนุ กกส.ด้านระบบทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา เตรียม ขับเคล่ือนงาน 1) ประชุมวางแผนด�ำเนินงานตามบทบาทหน้าท่ี คณะอนุฯ 2) ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเชิงลึกและรับฟังความคิดเห็นจาก ผู้เก่ียวข้องในประเด็นการจัดสรรทรัพยากร การระดมทรัพยากร การใช้จา่ ยและความร่วมมือในการจัดและสนบั สนุนการศกึ ษา และ 3) ศึกษาการน�ำผลการวิจัยไปสู่การปฏิบัติ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใช้ทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา การวิเคราะห์ การใช้จ่ายงบประมาณที่ไม่เก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การควบรวมสถาบันอดุ มศึกษาของเอกชนท่ีไม่มีคณุ ภาพ คณะที่ 4 ด้านมาตรฐานการศึกษาและการจัดการเรยี นรู้ คณะท่ี 4 ศาสตราจารยส์ ุพจน์ หารหนองบวั ประธานอนุ กกส.ด้านมาตรฐานการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ เตรียม ขับเคลื่อนงาน 1) การประชุมเพ่ือพิจารณาแผนการขับเคล่ือน มาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อน�ำสู่การปฏิบัติในหน่วยงาน ต้นสังกัดของสถานศึกษาแต่ละระดับและแต่ละประเภทอย่างมี 46 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

ประสิทธิภาพ 2) ด�ำเนินการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในมาตรฐานการศึกษาของชาติแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผ่านสื่อหลากหลายช่องทาง และ 3) การวิจัยและพัฒนานโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการเรียนรู้ ตลอดชีวิต การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่จะเอื้อให้เกิดผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ด้านผู้เรียนตาม มาตรฐานการศึกษาของชาติ คณะที่ 5 ดา้ นการประเมินผลการศกึ ษา คณะที่ 5 ศาสตราจารย์กิตติคุณ สมหวัง พิธยานุวัฒน์ ประธานอนุ กกส.ด้านการประเมินผลการศึกษา เตรียมขับเคลื่อน งาน 1) ประเมินผลการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ และนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ตลอดจนการประเมินผล ประสทิ ธิภาพการใช้ทรพั ยากรทางการศกึ ษา 2) จดั ท�ำขอ้ เสนอเพ่ือ พัฒนาระบบตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศกึ ษาที่ มีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล และมีความเป็นสากล 3) จัดท�ำระบบเพ่ือพัฒนาระบบติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจัดการศึกษาในภาพรวม และ 4) ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาการศึกษา เพื่อน�ำผลไปใช้ ในการปรบั ปรงุ และจดั ท�ำแผนการศึกษาแห่งชาตฉิ บับต่อไป คณะท่ี 6 ดา้ นกฎหมาย คณะท่ี 6 ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ธงทอง จนั ทรางศุ ประธานอนุ กกส.ด้านกฎหมาย เตรียมขับเคล่ือนงาน 1) การจัดท�ำแผนพัฒนา กฎหมายการศึกษา กฎหมายล�ำดับรอง และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา 2) จัดเวทีเพื่อรับฟังข้อเสนอการปรับปรุง แกไ้ ขกฎหมายการศึกษาแหง่ ชาติ และกฎหมายอืน่ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง และ 3) ลงพ้ืนท่เี พื่อรับฟงั ข้อเสนอดา้ นกฎหมาย และตดิ ตามประเมินผล ติดตามการบังคับใช้กฎหมายในเชิงลึก สัมภาษณ์สอบถาม เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย การศกึ ษา คณะที่ 7 ดา้ นการวิจัยการศกึ ษา คณะท่ี 7 นายอุทัย ดุลยเกษม ประธานอนุ กกส. ด้านการวิจัยการศึกษา เตรียมขับเคลื่อนงาน 1) กิจกรรม การเรยี นรเู้ พอื่ สง่ เสรมิ การปฏบิ ตั งิ านตามนโยบายใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตามนโยบายของรัฐท่ีมุ่งปฏิรูปการศึกษา 2) การก�ำหนดประเด็น วิจัยเพ่ือรองรับนโยบายการจัดต้ังองค์กรที่เก่ียวข้องกับการจัด การศึกษาที่ใช้งานวิจัยเป็นฐาน 3) ส่งเสริมการวิจัยผลกระทบของ การจัดการศึกษาตามนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของรัฐบาลแต่ละสมัย รายงานประจ�ำ ปี 2561 47

คณะที่ 8 ดา้ นบทบาทของภาคประชาสังคมเพอื่ การศึกษา คณะท่ี 8 นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธานคณะอนุ กกส.ด้านบทบาทของภาคประชาสังคมเพ่ือการศึกษา เตรียม ขับเคล่ือนงานประชุมเพื่อรับฟังความเห็นจากภาคประชาสังคม และผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มการศึกษาทางไกล ผู้พิการ บ้านเรียน ชนเผ่า สภาเด็กและเยาวชน ศูนย์การเรียนรู้ เป็นต้น มาร่วมให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะอนุฯ ในการจัดท�ำข้อเสนอแนะ การส่งเสริมบทบาทของภาคประชาสังคมเพ่ือการศกึ ษาตอ่ กกส. คณะท่ี 9 ด้านศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม กีฬาและภูมปิ ัญญา คณะที่ 9 ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ประธานคณะอนุ กกส. ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและภูมิปัญญา เตรียม ขับเคลื่อนงาน 1) จัดท�ำแผนและนโยบายการศึกษาท่ีบูรณาการ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและภูมิปัญญา 2) จัดท�ำข้อเสนอ ของผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ และแผน บูรณาการด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและภูมิปัญญา และ 3) จัดท�ำข้อเสนอของผู้ทรงคุณวุฒิด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬาและภูมิปัญญา เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กฬี าและภูมิปัญญา 48 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

การปฏริ ปู การศึกษา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 54 ก�ำหนดเกี่ยวกับการศกึ ษาคอื รฐั ตอ้ ง ด�ำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมี คุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายต้องด�ำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพ่ือพัฒนา ร่างกาย จติ ใจ วนิ ัย อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาใหส้ มกับวยั โดยสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้องคก์ รปกครองสว่ น ท้องถ่ินและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินการด้วยต้องด�ำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตาม ความตอ้ งการในระบบตา่ ง ๆ รวมทัง้ สง่ เสรมิ ให้มกี ารเรียนรตู้ ลอดชีวติ และจัดให้มีการรว่ มมอื ระหว่างรัฐ องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ด�ำเนินการก�ำกับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากลทั้งน้ีตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดท�ำแผนการศึกษาแห่งชาติและการด�ำเนินการและตรวจ สอบการด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วยอีกทั้งการศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติการด�ำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาหรือให้ประชาชนได้รับ การศึกษา รัฐต้องด�ำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัด ของตนและให้จัดต้ังกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพ่ือลดความเหลื่อมล้�ำในการศึกษา และเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้ มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี ดว้ ย และมาตรา 258 จ. ก�ำหนดให้ด�ำเนนิ การปฏิรปู ประเทศดา้ นการศกึ ษาการตรากฎหมายแตล่ ะฉบับมาตรา 77 ก�ำหนดไว้ว่าก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้อง วิเคราะห์ ผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบรวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็น และการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และน�ำมาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน เมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว รัฐพึงจัดให้มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาท่ีก�ำหนด โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วยเพ่ือพัฒนากฎหมายทุกฉบับให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ บริบทต่าง ๆ ที่เปล่ียนแปลงไปคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเป็นคณะกรรมการปฏิรูป ประเทศดา้ นการศึกษาจึงด�ำเนนิ การจัดท�ำรา่ งพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... เพ่ือให้สอดคล้องตาม เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ โดยก�ำหนดให้มีการระดมความคิดเห็นโดยก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายท่ีครอบคลุม ทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องกับการศึกษา อาทิ องค์กรราชการ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น ประชาสังคม นกั เรียนนักศึกษา ชมุ ชน ประชาชนทว่ั ไป เป็นต้น รว่ มแสดงความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ เพ่อื ให้เปน็ ตามมติ ของคณะรัฐมนตรี วันท่ี 4 เมษายน 2560 รายงานประจำ�ปี 2561 49

การรบั ฟังความคดิ เหน็ เรอ่ื ง ขอ้ เสนอการปฏิรปู การศกึ ษาเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง กบั รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ได้ก�ำหนดให้มีการรับฟังความคิดเห็น เร่ือง ข้อเสนอ การปฏริ ูปการศกึ ษาเพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั รัฐธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจกั รไทย และ (รา่ ง) พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา แห่งชาติ พ.ศ.....ร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีวิธี การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ แบง่ เปน็ สองชว่ งเวลา คอื การรบั ฟงั ความคิดเห็นก่อนการร่างพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ และ การรับฟังความคิดเห็นหลังการร่าง พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ โดยด�ำเนนิ การดงั นี้ การจดั ประชุมระดมความคดิ เหน็ คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษาก�ำหนดให้มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นต่อ (ร่าง) พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... โดยครอบคลุมทัว่ ประเทศ ดังนี้ 1) การฟังความคิดเห็นก่อนการรา่ งพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ - วนั ท่ี 25 – 26 สงิ หาคม 2560 ณ โรงแรมธนินทร จังหวดั รอ้ ยเอ็ด - วันท่ี 15 – 16 ธันวาคม 2560 ณ โรงแรมเชยี งใหม่ภคู า จังหวดั เชยี งใหม่ - วนั ท่ี 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 ณ โรงแรมวรบรุ ี อโยธยา คอนเวนชน่ั รสี อรท์ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา - วนั ท่ี 8 – 9 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมบรรจงบุรี จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี 2) การรบั ฟังความคดิ เหน็ หลงั การร่างพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ - วันที่ 21 มถิ นุ ายน 2561 ณ ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กรุงเทพมหานคร - วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน 2561 ณ ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กรุงเทพมหานคร - วนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2561 ณ โรงแรมรอยัลรเิ วอร์ กรงุ เทพมหานคร การลงพ้นื ท่ีเพือ่ รบั ฟงั ความคดิ เห็นจากกรณศี กึ ษาจากภูมิภาคตา่ ง ๆ รวมทัง้ หมด 10 กรณีศกึ ษา - ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จ�ำนวน 3 กรณีศึกษา - ภาคเหนอื จ�ำนวน 6 กรณศี ึกษา - ภาคใต้ จ�ำนวน 3 กรณศี กึ ษา 50 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

ภาคตะภวา-ันคภอตอำะคกวใเ-นั ตฉภอ้ียจอำงำคกเนหใเตฉวนน้ยี ือจงำ3เ(นหจกวนังรนหอืณว3ีศ(ัดจึกรังษอ้รหณำยวเศีดัอกึ ด็รษอ้)ำยเอ็ด) ภาคตะภวาันคอตอะกวเนั ฉอียองกเหเฉนียืองเ(หจนังหือว(ัดจรัง้อหยวเัดอด็รอ้)ยเอ็ด) ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด) ได้มีกำรไดลม้งพกี ำื้นรทล่ีศงึกพษื้นำทดศ่ี ูงึกำษนำจดำนูงำวนนจำ3นทว่ีนคอื 3 1ท)ี่ คโรอื งเ1ร)ียโนรสงวุเรยีรนณสภุวูมริวริทณยภำูมลิวยั ิท2ย)ำลโรยั งเ2ร)ยี โนรบงเ้ำรนยี นบ้ำน หนองแหวนงไหอดนง้มแอีกวงำงไหรดหลวั ้มนงคกีพอนำง้ืนรห3ทล)วั ่ีศงคโพึกรนษื้นงเำ3ทรด)ยีศ่ ูงโนึกำรไษนงพเำจรโดำรยี ูงนจนำนวไนนพ์วจิชโำ3รชนจำทวนลี่นว์ัยคิชอื3ช1ำทล)่ี คัยโรอื งเ1ร)ยี โนรสงวุเรียรนณสภุวูมริวริทณยภำูมลิวัยิท2ย)ำโลรัยงเ2รีย) นโรบง้ำเรนียนบ้ำน หหนนอองงแแหหววนนภงงภไออดหหาางงม้คนนคแแกีใออหใววตำตน งงงงไภภร้อหห้ดหห(ลาา(งจวััวม้หจนนคคงคคังัวกีังพออใใไคหนนหดำตตงงน้ืนม้วรวหห้้ 33ทกี3ล((ดั ัดววััา)))จจศี่งรสโคคสังังรโโลพึกรุงรรนนรุงหหษเ้ืนาพงงารววียื้นษเเำ33ทษรรนัดดัทด))ฎี่ศียียฎไี่ศสสูพงโโึรกนนึกรำรรรรุุโษ์ธรษธ์ไไนงงาาจาพพาาเเำษษนดจรรนนโโดงู์วำียยีฎฎรราิชี)ี)ูงนนจจนนชรรำจาวนน์์ธธไไน�ลำนพพาาน์ว์วัยจวนนิิชชโโำน3รรชช)ีี)นจจ3ำำทวนนลลที่นว์ว์่ีคััยยคชิิชืออื3ชช11ำำท)ลล)โ่ี รคยัยัโงรเือรงียเ1นรส)ียุวโนรรรสงณวุเภรูมยีรวิ นณิทยสภาวุ ลูมรยั ิวร2ิทณ) ยโภรำงูมเลริวียัยนิทบ2ย้า)นำหโลรนัยงอเง2รแียว)งนโรบง้ำเรนียนบ้ำน ภาคใต้ (จังหวดั สุราษฎรธ์ าน)ี ภาคใตภ้ า(จคงั ใหตว้ (ดั จสังุรหาวษดั ฎสรรุ ธ์ าาษนฎี)ร์ธาน)ี ลนขงนนขกากกานเธเเธภภภกิเิกำลำำาานนนขร3ร33กกกไาส)ไไส))ดเเเธดดภโภภภโโ้มกิร้มม้ารรำำำากีงากีกีงงก3 กเำรเเ333ำำ)รารรารไไไส)))รรโยีรีียยดดดรรลภลลศโโโงนศนนมม้ม้้งเรรรงงารกึวพกึววกีกกีีงงงยีพพกไัดษเเเดัดันษดำำำื้นนน้้ืืรรราป้มวรรราปปาทียียียรัดททีกลลลรรรปศนนนา่ีศศศีี่่ะงงงระะรกึกึวววลพพพสึกกึะสสััดดัดงษสษษษทิน้น้้ืืนืทิิทพิทปปปาำ้ืนธำำทททธธธดรรรทาดดำำำศี่ี่่ศศีระะะี่ศูงรูงงูรราึึกกกึึกำสสสำำำมำำษษษษนมนนิทิททิมมาจำำำจจธธธดดดดำูงำำำำานงูงงููนนรรรนำำำำำำวววจนนนมมม�นนนำนจจจว3ำำำ33นนนนททท3ววว่ีีี่่นนนทคคค่ี ืออือืค333ือ111ททท1))))ีีี่่่ คคโโโรรรออืื งงงเเเร11รรีย))ียนยี บโโนนรร้าบบนงงเ้ำเเำ้ กรรนนาียียะเเพนนกกลำบบำวะะำำ้้ยพพนน2ลลเเ)กกววโรำำยยงะะเร2พพ2ีย))นลลบโโววรร้ายยนงงเเเก22รราีย))ียะนนโโนรรกบบงงเภ้ำเเ้ำารรนนยียี เเกนนกำบบำะะ้ำ้ำนนเเกกำำะะ คโรอื งเ1ร)ยี โนรบงำ้เรนยี เนกำบะ้ำพนลเกวำยะ2พรา)ยลงโวารนยปงรเะ2รจ�ำีย)ปีนโ25รบ6ง1ำ้เรนียเกนำ3บะ5ำ้ 5น1เก3ำะ5 35

ภาคเหนือ (จงั หวดั เชยี งใหม)่ ได้มีการลงพ้ืนท่ีศึกษาดูงานจ�ำนวน 6 ท่ี คือ 1) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2) โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 3) โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ 4) กศน. จังหวัดเชียงใหม่ 5) โฮงเฮียน สบื สานภูมิปัญญาลา้ นนา จังหวัดเชียงใหม่ และ 6) โรงเรียนต้นแกว้ ผดุงพทิ ยาลยั จังหวดั เชยี งใหม่ 52 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

คณคะณกคระณรคก กคะม ณรกาณระกคมรรำะกาณนรกกรคกรมำกาะรรนาคกณรกกคผฤมกรากรณาำาณษรกละมรนผฤรระรนำกกฎะษลนกามกร�ำรกาำกีกผฎรฤาผกรรำรผฤาลษำกีลมรรอมกรรษลำมกฎเับกสิกราอพกฎกาำกีารฟรเบัสิาพำ่ือกีรรรระำฟรรังรบัอำรปออื่เะรอคิฟงัสพเบัสิปรเเบัพิสควรงัพพะื่อฟรรฟระค่ือวา่ือะะก่ือกะเงัวามปังพกเกอำคามพคร่ืออมำรบวคะื่อรดิบกคปกาิดกปกดิาเกฏมำหรเอเฏำำหรหริคปรบน็ริรพน็ูปน็ิดฏดปพูกปมกมจิกิเรมฏเำิจฏกหำาาูปหำราิรำปำรริป็นกรพูปป็นรรพูปณมศารณิจะกศรมริจกะาึกำะำึกศาำำปกำอรรกษรษึรกปรรณบศอร่ำอำ่ำษำณศรกะึงกบงบำาะากึพกพนษรนำกกรกอำ่ษรนรำำพาางอบ่ำะะผ�ผำรจิรำพนงบผรกรลลพาพพรำนำลำารกกกจิะผชจิณกชรรำำาำรลาบพาาะผบรารรำรกรรรัญรจลจิรชัญพณรำับณำัดาบักบัญบริจญชทฟารำรฟัญฟาตับำ�ณจังรัตับจังังรญริกคดัรญัิฟกคา่าคัดณำวับัตทงวจำังญวรทำกิกาฟคาารดัำศมฎามตัำศรจวทมงัึกหคครร่าิกำคึดัาษมศิดิ่าดมงำวษรทดิาำึกกงเเครำ่าหหยแำกาเษฎศดิมงห็นแ็นหรฎำหกเึกคเ็นหหเา่่งแหฎสมสษดิชงน็เห่งนหนมสาำกเำช่งอหยมสแอนตาฎชำตน็าตยหิอตำห่อพย่ออตเ่งติ สมส.พตชสิศ่อ�พนาำ่อำำ.น.สศย.นอตสัศก.ำ..ตัำกิ..งน.พน.าง่อ.ัก.นำัก.สศ.งนำ.ำนน..ัก..งำน คณะกรรมการกฤษฎีกา เพอ่ืเวปเวทระทีรกรีเับเอววบั ฟบททฟกังรีีราังคับับรคพวฟฟวจิาังาังามคมรคคณวควาดิาิดามรเเม่าหคหงคน็ิดพ็นิดเรจจหะเังังหรน็ หหาน็จชววังบจัดัดหัญงั เเวหชญชัดียวตัยี เงิกัดชงใาใเยีหรชหศงมยีใมกึ ่หษง่ ใมาหแ่ หม่ง่ชาติ พ.ศ. .... เวทีรับฟังความคิดเหน็ จังหวัดเชยี งใหม่ เวเทวทรี เวเับีรเวทวบั ฟททรี ฟังบัีรีรังคฟบัับควฟฟังวาคังาังมวคมคคาวควมิดาิดาคมเเมหิดคหคน็เดิ็นหิดเจจ็นหเงังัหจ็นหหงัน็จหววงัจวัดัดหังดัสสวหสุรรุัดวารุาสัดษาษรุษสฎาฎฎุรรษรราธ์ ฎธ์ธ์ษาราานฎธ์นนีารีี นธ์ าี นี เวทเีรวับทฟรี ับงคฟวังาคมวคาดิมเคหดิ น็ เหจงัน็ หจวงั ัดหรวอ้ ัดยรเอ้ อยด็ เอ็ด เวทีรเวับเวทฟทีรังีรับคับฟวฟังางั คมควควาิดามมเคหคิด็นิดเจหเหัง็นน็หจจวังังัดหหสววุรัดัดาสรษ้อุรฎายรษเอ์ธฎด็ารนธ์ ี านี เวทรี เบั วฟทังรี คับวฟาังมคควดิ าเมหคน็ ิดจเังหห็นวจัดงั สหุรวาัดษสฎรุ รา์ธษาฎนรี ธ์ านี เวทเีรวบัทฟรี ับงคฟวังาคมวคาิดมเคหดิ ็นเหจัง็นหจวงั ัดหพวัดระพนรคะรนศครรอี ศยรุธอี ยยาธุ ยา 53 รายงานประจำ�ปี 2561

เเววททเรีวีรับทับฟรีฟบังงั คฟคววังาคมวคคาิดมดิ เคเหหิดน็ เหจังน็ หจวังัดหพวัดระะพนนรคคะรรนศครรอี ศยรุธอี ยยาธุ ยา กากรากรารบั รับฟรฟบังงั คฟควังาคมวคคาดิ ดิมเเหคห็นิด็นผเหผา่ น่าน็ เนผวเบ็า่ วนไ็ปซเตไวซ์ส็ปตอื่ ไอ์สซเิ ื่อตลอ็กส์ ทิเอื่ ลรอก็อเิ ทนลกิร็กสอท์นรกิอสน์กิ ส์ คณคณคะณะกกระรกรมรมกรกำมารกรออำิสสรรอะิสเรพะื่ออเกกพาำ่ือรรกปปำฏฏริรปิรู ูปฏกกาิรรำูปศรกึกศำษึกราษศำึกจัษดจใำัดหใ้จมหีัดก้มาใีกหรรำ้มับรีกรฟำับังรคฟรวับงาคฟมวังคำคิดมวเคหำ็ิดนมเขคหอิด็นงเผหขู้เอ็นกงี่ขยผวอู้เขงก้อผี่ยงู้เวกทขี่ยา้องวงข้อง แwทหำw อกผง่ทwแงwา่งากชหคำนรw.ำศ์กงtทำ่ง wรhึกกรตาชศหษaง.ำิtำเึลiการพวheตทัก็บษศad.ิขุกไศึiกำrพซeอภeท.ษตงdา.fกค์ุศกคoำ.r--ร.eณ-สทภr.ะสสmfสสส.่วะุทกำo.ำำน���ก.ำำำผคร.ภrนนนนน.oรสสmว.่ำสรักกักัำรกกััrงำำวนม่gงงงวผศค.งงนนมoาาากำำนึก่ทำสนนนแทัักกrานนษน่gวปคเำลั้งงงรรลาปเปำำอนณลงทะลธแวขลนนสิรัดเเกิขะามำลวะวรรดักปเาธกำงะลชะ็บท็วปรรกกิรธลเเเาขทะไม้ังารพรวิกวไัดชซทำรม้งัปะซบ็ท็อื่ำปนกหสธตรกทกรรตไั้งทรวภิกมไาอ์ซสาะรปง์ะั่วซรคาดำงรตศวภชไกกทรรไคปตณปกึงอ์ดาาำำสะรฏก์์ศคษรรแ้กงชะวภโริรศศกึคกาณดำงนูปกหำำกึกึธ่ษก์รยศกกิกทชษรษะลศไรำึกาาำดราาน่ักกัวหธึกรรษรข้เมไขกิศทร(ษผลศ้ันwำ(ปึกอกำwรยั่กัวำธกึพwษรงแมำไwขกิษโืน้ (กพาwปรดอwกำ(wฐำรwร.อราง(ยำo.wะ่รกโmน(กิwสไnรด่าwทอ(wรดwงeoอร(ปwยรwะพw้cเ.eิะwศสวไoผท..รw.wmgด.งเgระn)wยรoพศwo้เ.ระeวowแ.oผ..ึกา่ืt.อmtงเcohenพชwhยษพศก.b).บ)egoแwรgำึก่ืeอำoัญc่oeรธพ.cษรtก.่ำญิก..ghtรgtgำปhำงoำahัต่ooรธพฏรร)i.ิก่).eำิก.ttทtปิรารdhhงำhรง้ัะูพ)rปฏร))eศหรทิรกรfึกมำo้งัะูปษำชrดหรmารกบไมำแดศ.ำัชญหoด้แึรกr่งบไญgกชดศษัญ่า้แัึแตกำตญลกิกษิ ะ่(พำัตำเกวร.ิกศอ็บศ(.ำไกปึกซร..อศตษ.ศ.์ป.ึกำ)ศษ.ำ) สำ-�ำนสกั ำงงนาำนักนคงคำณณนะคกะณรกรระมรกมารกรกำมรากรกำอำรารกชศวีำกึศรษึกศษำึกขาษั้น(ำwพขwน้ัื wพฐ.ำ้นืvนeฐcำ(.นwgow.(twhw)w.owb.eocb.egoc.gtho).th) สำ-�ำนสกักำงงนาำนักนคงคำณณนะคกะณรกรระมรกมารกรกำมรากรกำอำรุดรกมอำศำรกึชอษวี ำาศช(ึกวีwษศwำกึ wษ(.wmำwu(waw.wg.ovw.eth.cv).egoc.gtho).th) ทั้ง ท นทง้ัี้ ั้งนไนดี้ ไเ้ี ดปไ้เดดิป้เิดรปบัรดิ ับฟรฟับงังค-ควทสททวทททททังำาำคำำำาาาาามมนงงงงงงงงวทททสคคโโักำFLeททำeLFำำำดิดิมงaImนรรงงงaImNเNเำcคหสศcกัหEaeนFeLEาพัa็นดิeงiน็baImlรหคiผNทเำblหocผหoวัณ่าน0์Eoaooe0ขัวp่ำนน็ คioะ2kbอ้นpขilทหnผ2ณ2กkรo้อiทhาo6iวั่ำn4oว่รงtรoะ6ำhนpข3มinชtรoว่8กงkp้อtiปทอ่iมn7มcชtรsร7ฏงำhก9pe:iปอ่รอ/oว่1cริง12ำts/มง่ืนฏ2มูปชnte45w:รอก/p3กิรป@่อ2iกด/wcน่ืำsูปาง5ตฏwำงัge:รwรอน/กอ่รm@ิรด2ศกw/.น่ือ้ีำูปfกึ5ัง1awำgawรุดนษim1กร@clดศwม.3อ.าeำ้ีcfงัgกึa6ศwbรaุดoนmษiศกึocmlม.ี้.fำeoกึษcaศakboiษำึกcl..ocmำeษc(oobwoำmkomw.(/ocwtwohkw..amcmiw.oe/u.mtdmhau/.acugtiaoha.et.aigotdiho.nue)..crtdehauv)tociolauntti.ioroennv./roelvuotilounti/on/ - ท-ำงทโทำงรโศทัพรทศพั์ 0ท2์ 066286678127312ต3อ่ ต1อ่ 1316136 - ท-ำงทแำฟงกแสฟ์ก0ส2์ 0242324739174914 สานสกัางนากั นงเาลนขเาลธขกิ าาธรกิ สาภราสกภาารกศากึ รษศากึ ษา 38 38 54 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

คณะกรรมการอิสระเพอื่ การปฏริ ปู การศึกษา ตลุ าคม 2560 ประชุม กอปศ. ครั้งที่ 20 ถกรา่ งพรบ. กองทนุ ฯ เตรียมเปดิ เวทรี บั ฟงั ภาคเหนือ ประชุม กอปศ. ระดมความเหน็ สอ่ื เพ่อื ร่วม ปฏริ ูปการศกึ ษา ประชมุ กอปศ. ครง้ั ท่ี 21 คลอดพรบ. กองทนุ เพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา ประชุม กอปศ. เปดิ ศนู ย์ประชาสมั พนั ธ์ฯ ณ ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ประชมุ กอปศ. คร้ังที่ 22 พจิ ารณาพรบ. การอดุ มศึกษา และโรงเรียนนิติบุคคล ประชุม กอปศ. ครงั้ ที่ 23 รายงานความกา้ วหนา้ คณะอนุกรรมการการจดั การเรียนการสอน พฤศจกิ ายน 2560 ประชมุ กอปศ. ครงั้ ท่ี 27 หารอื กก. ประชุม กอปศ. ครัง้ ท่ี 24 พจิ ารณา ยุทธศาสตรช์ าติ พลกิ โฉมการศกึ ษาไทย กรอบการปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา ประชุม กอปศ. ครง้ั ท่ี 28 ถกแผนการปฏริ ูป และ พรบ.การปฐมวัยแหง่ ชาติ ประเทศดา้ นการศึกษา ประชุม กอปศ. คร้งั ท่ี 25 เตรยี มส่งรา่ ง พรบ.กองทนุ ตอ่ นายกรฐั มนตรี สกศ. และกอปศ. รว่ มรับฟังบรรยายพเิ ศษ เรือ่ ง “Building 21st Century Life Skills for Schools” รายงานประจ�ำ ปี 2561 55

ธนั วาคม 2560 ประชุม กอปศ. คร้งั ท่ี 29 ผนึกก�ำ ลังชี้เป้าหมาย และยทุ ธศาสตร์การปฏริ ปู ต้องชดั เจน ประชมุ กอปศ. ครัง้ ท่ี 30 ประชมุ กอปศ. ระดมความเห็นทกุ ภาคส่วน ตง้ั เปา้ พ.ค. 61 พรบ.ปฐมวัยฯ ต้องแลว้ เสร็จ สกศ. รว่ มกบั กอปศ. จัดประชุม คณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏิรูปการศกึ ษา ครั้งที่ 31 ประชุม กอปศ. ครง้ั ท่ี 32 วางกรอบปฏริ ูป พลิกโฉมการศึกษาของชาติ ประชุม กอปศ. คร้ังที่ 33 สรปุ ผลการรบั ฟงั ความคิดเห็นในพน้ื ท่ภี าคเหนอื มกราคม 2561 ประชมุ กอปศ. เปิดประชมุ ตน้ ปี 61 พจิ ารณาบทบาทการมีส่วนร่วม ของภาคประชาชนในการปฏริ ปู การศึกษา กอปศ. เปดิ ร่างพรบ.การอดุ มศึกษา ชจ้ี ะเปน็ ประเทศ 4.0 อุดมศกึ ษาต้องเปน็ 4.0 ด้วย กอปศ. เปิดรา่ งพรบ.การปฐมวัยแห่งชาติ วางฐานการขบั เคลอ่ื น ก.พ.ป. อยา่ งมีประสิทธิภาพ ประชุม กอปศ. ครั้งที่ 6 กอปศ. ผนึกก�ำ ลัง สกศ. น�ำ รอ่ งอ่างขางโมเดล ประชมุ กอปศ. สกศ. และ จฬุ า ฯ น�ำ คณะสอ่ื ลงพน้ื ท่ี จ.สตลู กอปศ. เลง็ ตัง้ หนว่ ยงานควบคมุ การผลติ ครู กอปศ. เดินหนา้ วิจัยและพัฒนาเตรียมจดั ทำ� กรอบสมรรถนะเด็กประถมต้น 56 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

มีนาคม 2561 กอปศ. พจิ ารณาปฏิรปู การศึกษาเอกชน และโรงเรยี นในก�ำกบั ของรัฐ ประชมุ กอปศ. ครง้ั ท่ี 11 เตรยี มตงั้ สถาบนั หลกั สูตร พร้อมปฏริ ูปอาชวี ศกึ ษา สกศ. จับมอื กอปศ. ประชมุ ระดม ความคดิ เหน็ ร่าง พ.ร.บ.การศกึ ษาชาติ ฉบบั ใหม่ กอปศ. เปิดรา่ งพรบ.การปฐมวยั ฉบับใหม่ สกศ. จดั ประชุม กอปศ. ครั้งที่ 13 เมษายน 2561 สกศ. และกอปศ. ประชมุ หารือ แนวทาง การสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เตรยี มสง่ ร่าง พรบ.ปฐมวัย เขา้ ครม.ส้ินเมษายนน้ี สกศ. จดั ประชุมคณะกรรมการอิสระ เพอื่ การปฏริ ปู การศกึ ษา คร้ังที่ 16 ถกเรื่องการจัดสรรงบประมาณ ประชุม กอปศ. เตรยี มตั้งสถาบันพัฒนา หลักสตู รฯ พรอ้ มลดความเหล่อื มล้�ำ และใหค้ วามส�ำคัญกับกลมุ่ เดก็ พเิ ศษ ประชมุ กอปศ. รว่ มกับ สกศ.จัดประชุมรบั ฟงั ความคดิ เห็นรา่ ง พรบ.การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั รายงานประจ�ำ ปี 2561 57

พฤษภาคม 2561 ประชมุ กอปศ. คร้งั ท่ี 18 เปิดแนวทาง ปฏริ ูปโครงสรา้ ง ฯ ยดึ สถานศกึ ษา เปน็ ศูนย์กลางการขบั เคลื่อน ประชมุ กอปศ. เลง็ เปดิ ศนู ย์เทรนนงิ่ เซน็ เตอร์ ผลติ เด็กอาชวี ะสู่ไทยแลนด์ 4.0 สกศ. กอปศ. รว่ มกับ ดศ. อภิปรายแนวทาง การจัดการเรยี นการสอนผ่านระบบออนไลน์ และการใช้ส่อื ดิจิทลั เพ่ือการปฏริ ปู การศึกษา ประชุม กอปศ. ครั้งท่ี 21 ปฏริ ปู การศกึ ษาสำ�หรบั บุคคลทีม่ คี วามตอ้ งการ จำ�เป็นพิเศษ กอปศ. แถลงผลงานครบรอบ 1 ปี สกศ. กอปศ. รว่ มใจปลกู ต้นไมม้ งคล มถิ นุ ายน 2561 กอปศ. เดนิ หน้าเต็มก�ำ ลัง เรง่ เครอ่ื ง พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ มอบเปน็ ของขวญั ปี 62 ประชมุ กอปศ. คร้ังท่ี 24 เปดิ ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาชาติ ประชมุ กอปศ. ครงั้ ที่ 25 ปรับการจดั สรร งบประมาณพิจารณาความแตกต่าง ตามความเหมาะสมของพื้นที่ กอปศ. จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นรา่ ง พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. .... กอปศ. ระดมความคิดเห็นตวั แทนเยาวชนท่ัว ประเทศร่วมปฏริ ูปการศกึ ษา ประชุม กอปศ. คร้งั ที่ 26 เผยแนวทางปฏริ ูปความเป็นอิสระ ของสถานศกึ ษา 58 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

กรกฎาคม 2561 ประชุม กอปศ. ครั้งที่ 30 พิจารณา ประชุม กอปศ. ครัง้ ที่ 27 พิจารณาผล พ.ร.บ.การศกึ ษาชาติ ชี้ชดั หน้าที่ การรับฟังความคดิ เห็น พ.ร.บ.การศึกษาชาติ คณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแห่งชาติ ประชุม กอปศ. พิจารณาร่าง พ.ร.บ. การศึกษา ประชมุ กอปศ. วางแนวทาง 10 สมรรถนะหลกั เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไทยฉลาดรู้ อยู่ดมี ีสขุ และแผนปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา มคี วามสามารถสูง และใส่ใจสังคม ณ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา กอปศ. รว่ มกับสกศ. จดั ประชมุ รบั ฟังความคิดเหน็ ประเด็นปฏริ ปู การศกึ ษา (คร้งั ที่ 5) ในพื้นท่ี 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ประชุม กอปศ. ครั้งที่ 33 ยกระดบั มาตรฐานอาชวี ะ สูม่ าตรฐานสากล พุ่งเป้าการศึกษา ต้องน�ำ ไปสู่การประกอบอาชีพ รายงานประจำ�ปี 2561 59

สิงหาคม 2561 ประชุม กอปศ. ครง้ั ที่ 34 เปดิ รา่ งแผน การปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา สกศ. รว่ มกับ กอปศ. ลงพืน้ ทป่ี ระชุมหารอื เพอ่ื หาแนวทางจัดท�ำแผนการปฏริ ปู ประเทศ ด้านการศึกษา ณ จังหวัดนครนายก ประชมุ กอปศ. ครง้ั ท่ี 37 เรง่ สง่ รา่ ง แผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษาตอ่ ครม. ตน้ กนั ยายนน้ี ประชมุ กอปศ. เตรียมปลดล็อคความเป็นอสิ ระ แกส่ ถานศกึ ษา ตั้งอา่ งขางโมเดลน�ำร่องการบรหิ าร จดั การศกึ ษารปู แบบใหม่ กนั ยายน 2561 กอปศ. ปรบั แผนปฏริ ูปประเทศ ด้านการศกึ ษาเปน็ 7 ด้าน ยกระดับความส�ำคญั ดิจิทลั ตามผลการรบั ฟังความคดิ เหน็ ประชมุ กอปศ. ครง้ั ท่ี 42 ถกสมรรถนะ ของวิชาชพี ครู ระบบความปลอดภัยและ ระบบสวสั ดภิ าพของผู้เรยี น ประชุม กอปศ. ครั้งท่ี 43 พจิ ารณา Digital Transformation และความคืบหน้า การมสี ว่ นร่วมของภาคเอกชน ในการจดั การศกึ ษา 60 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

คณะอนกุ รรมการอสิ ระเพ่ือการปฏิรูปการศกึ ษา คณะอนุกรรมการเด็กเล็ก ความเป็นมา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติท่ีประชุมคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา คร้ังที่ 7/2560 เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเด็กเล็ก เพื่อให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุ วัตถุประสงค์ เป้าหมายด�ำเนินการ เพ่ือก�ำหนดนโยบาย แนวทาง หลักเกณฑ์ และข้อเสนอเก่ียวกับการด�ำเนินการให้เด็กเล็กได้รับ การพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย เสนอร่าง กฎหมายที่เก่ยี วขอ้ งใหค้ ณะกรรมการอสิ ระเพ่อื การปฏิรูปการศกึ ษาพิจารณา รายงานประจำ�ปี 2561 61

คณะอนกุ รรมการกองทนุ ความเป็นมา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติที่ประชุมคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา คร้ังที่ 7/2560 เม่ือวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 จึงได้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการกองทุน เพื่อให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุ วตั ถุประสงค์ เปา้ หมายด�ำเนนิ การ เพื่อจัดท�ำข้อเสนอและร่างกฎหมายจัดตั้งกองทุนที่ใช้ส�ำหรับช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ลดความเหลื่อมล�้ำทางการศึกษา เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ตามมาตรา 54 วรรคหก ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เสนอร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูป การศกึ ษาพิจารณา 62 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

คณะอนุกรรมการครูและอาจารย์ ความเป็นมา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติท่ีประชุมคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา คร้ังที่ 7/2560 เมื่อวันท่ี 11 กรกฎาคม 2560 จึงได้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการครูและ อาจารย์ เพื่อให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ บรรลวุ ตั ถุประสงค์ เปา้ หมายด�ำเนินการ เพื่อจัดท�ำข้อเสนอกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ผู้ท่ีมีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน มีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานด้านบุคคลของ ผู้ประกอบวิชาชีพครู เสนอร่างกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องให้คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรปู การศึกษาพจิ ารณา รายงานประจ�ำ ปี 2561 63

คณะอนุกรรมการจดั การเรียนการสอน ความเป็นมา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติท่ีประชุมคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา คร้ังที่ 7/2560 เม่ือวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการการจัด การเรียนการสอน เพ่ือให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความ เรยี บร้อยและบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายด�ำเนนิ การ เพ่ือจัดท�ำข้อเสนอแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในทุกระดับ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความถนัด เสนอร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องให้คณะกรรมการอิสระเพ่ือ การปฏริ ปู การศึกษาพิจารณา 64 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

คณะอนกุ รรมการปฏริ ูปโครงสรา้ งหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการศึกษา ความเปน็ มา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติท่ีประชุมคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา คร้ังที่ 7/2560 เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 จึงได้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการปฏิรูป โครงสรา้ งหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษา เพอื่ ใหก้ ารด�ำเนนิ การดงั กลา่ ว เปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ยและบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายด�ำเนนิ การ เพื่อจัดท�ำข้อเสนอแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิรูปการศึกษา ให้สอดคล้องกันท้ังในระดับชาติและระดับพ้ืนท่ี เสนอร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องให้ คณะกรรมการอสิ ระเพือ่ การปฏริ ปู การศกึ ษาพจิ ารณา รายงานประจ�ำ ปี 2561 65

คณะอนกุ รรมการรบั ฟังความคิดเห็น ความเปน็ มา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มตทิ ป่ี ระชมุ คณะกรรมการอิสระเพือ่ การปฏิรปู การศกึ ษา ครงั้ ท่ี 15/2560 เม่ือวันที่ 5 กันยายน 2560 จึงได้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการรับฟังความคิด เห็น เพ่ือให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุ วตั ถุประสงค์ เป้าหมายด�ำเนนิ การ เพอ่ื รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทง้ั ภาครฐั เอกชน และประชาสงั คม ในประเดน็ การด�ำเนนิ การ ของคณะกรรมการอิสระเพื่อปฏิรูปการศึกษา และคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการอิสระเพ่ือปฏิรูป การศึกษา 66 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

คณะอนุกรรมการสื่อสารสังคม ความเป็นมา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติทปี่ ระชุมคณะกรรมการอิสระเพือ่ การปฏิรูปการศกึ ษา ครัง้ ที่ 15/2560 เมื่อวันท่ี 5 กันยายน 2560 จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสื่อสารสังคม เพื่อให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุ วตั ถุประสงค์ เปา้ หมายด�ำเนินการ เพื่อสื่อสาร และสร้างความเข้าใจแก่ภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ด้วยการ บูรณาการส่ือทุกรูปแบบในประเด็นการด�ำเนินการของคณะกรรมการอิสระเพื่อปฏิรูปการศึกษา และ คณะอนุกรรมการของคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื ปฏิรปู การศกึ ษา รายงานประจ�ำ ปี 2561 67

คณะอนกุ รรมการเฉพาะกิจศกึ ษาแนวทางการจดั ท�ำพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ ความเป็นมา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติที่ประชุมคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา คร้ังท่ี 9/2560 เมื่อวันท่ี 25 กรกฎาคม 2560 จึงได้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ ศึกษาแนวทางการจัดท�ำพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือให้ การด�ำเนินการดังกล่าวเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยและบรรลวุ ตั ถุประสงค์ เป้าหมายด�ำเนนิ การ เพ่อื จัดท�ำแนวทางและข้อเสนอในการจดั ท�ำพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ 68 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

คณะอนุกรรมการเฉพาะกจิ ศึกษาแนวทางการมสี ว่ นร่วมของภาคเอกชนในการจัดการศึกษา ความเป็นมา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการอสิ ระเพ่ือการปฏิรปู การศกึ ษา ครง้ั ที่ 10/2560 เมอื่ วันท่ี 1 สงิ หาคม 2560 จึงไดแ้ ตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมการเฉพาะกจิ ศึกษา แนวทางการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการจัดการศึกษา เพ่ือให้ การด�ำเนินการดังกล่าวเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยและบรรลวุ ัตถุประสงค์ เป้าหมายด�ำเนินการ เพือ่ จัดท�ำแนวทางการมสี ่วนรว่ มของภาคเอกชนในการจัดการศกึ ษา รายงานประจ�ำ ปี 2561 69

คณะอนุกรรมการเฉพาะกจิ เพอื่ พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญัตกิ ารอุดมศกึ ษา ความเปน็ มา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เก่ียวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติทีป่ ระชมุ คณะกรรมการอิสระเพ่อื การปฏิรปู การศึกษา ครัง้ ที่ 14/2560 เม่ือวันท่ี 29 สิงหาคม 2560 จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือ พิจารณาร่างพระราชบญั ญตั ิการอดุ มศึกษา พ.ศ. … เพอ่ื ใหก้ ารด�ำเนนิ การ ดังกลา่ วเป็นไปด้วยความเรยี บร้อยและบรรลวุ ัตถุประสงค์ เปา้ หมายด�ำเนินการ เพือ่ จัดท�ำแนวทางและขอ้ เสนอในการจัดท�ำพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ 70 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

คณะอนกุ รรมการเฉพาะกจิ ด้านอาชีวศกึ ษา ความเปน็ มา ด้วยคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา มีบทบาทและ ภารกิจในการศึกษาและจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องใน การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา เสนอรฐั มนตรดี �ำเนนิ การตอ่ ไป มติท่ีประชุมคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา คร้ังท่ี 6/2561 เมอ่ื วันท่ี 6 กมุ ภาพันธ์ 2561 จงึ ได้แตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมการเฉพาะกิจดา้ น อาชีวศึกษา เพื่อให้การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายด�ำเนินการ เพ่ือจดั ท�ำข้อเสนอแนวทาง หลกั เกณฑ์และวธิ ีการจัดการด้านอาชีวศึกษา รายงานประจ�ำ ปี 2561 71

ปสสร�ำรนุปะจกัผ�ำ งลปากงีนาบเรลปปขรราะมะธเามกิ ณนิารสพส่วภน.ศาร.กา2าช5รก6ศา1กึรษา รายละเอียดตวั ชี้วดั การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และเพมิ่ เติม องค์ประกอบที่ 1 Function Base 1. ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ด้านการศึกษาของประเทศไทยจากรายงาน (IMD 2018) (1) อนั ดบั ตามรายงานดา้ นการศึกษา (Education) คา่ เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน อนั ดบั ที่ 52 ประเทศไดร้ ับการจดั อนั ดับขีดความสามารถใน ดขี ึ้น 2 อนั ดับ จากปี 2560 การแขง่ ขันด้านการศกึ ษาจาก IMD 2018 เป็นอันดับท่ี 56 ลดลง 2 อันดบั จากปี 2560 (2) อันดบั ตามรายงานดา้ นท่เี กยี่ วขอ้ งกับบทบาท ภารกจิ ของสว่ นราชการ คา่ เปา้ หมาย ผลการด�ำเนินงาน ตวั ช้วี ัดท่ี 13 ความคิดเหน็ ต่อการตอบสนอง ตวั ชวี้ ดั ที่ 13 ความคิดเห็นตอ่ การตอบสนอง ความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ของ ความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ของ ระบบการศึกษา ปี 2561 อยู่ในอนั ดับท่ี 46 ระบบการศึกษา อันดับดีขึ้น 1 อนั ดับ (อนั ดบั นอ้ ยกว่า 46) 2. จ�ำ นวนงานวิจยั หรอื องคค์ วามรทู้ แี่ ลว้ เสร็จและน�ำ ไปใช้ประโยชน์ ค่าเป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน น�ำเสนอผลงานวิจัย/องค์ความรู้ผ่านการประชมุ / - พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... สมั มนารูปแบบตา่ งๆ - รา่ งพระราชบญั ญตั กิ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. .... ไดง้ านวจิ ยั หรอื องคค์ วามรเู้ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย ได้ร่างรายงานผลงานวิจยั หรอื องค์ความรู้ จ�ำนวน 35 เรอ่ื ง จ�ำนวน 20 เรือ่ ง หรือมากกว่า มีการน�ำผลงานวิจัย/องคค์ วามรู้ทั้งหมด - พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... ไปใช้ประโยชนใ์ นการจดั ท�ำข้อเสนอเชงิ นโยบาย - ร่างพระราชบญั ญัตกิ ารพัฒนาเด็กปฐมวยั พ.ศ. .... แผน หรอื มาตรฐานการศกึ ษา โดยแสดงรายละเอียด อย่างชดั เจน 72 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

3. ระดบั ความส�ำ เรจ็ ของการพัฒนาระบบติดตามและประเมนิ ผลแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ค่าเป้าหมาย ผลการด�ำเนนิ งาน มรี ายงานตดิ ตามและประเมินผลการด�ำเนนิ งาน ด�ำเนนิ งานตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ปี 2561 ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติปี 2561 แล้วเสร็จตามแผน รอ้ ยละ 100 แลว้ เสรจ็ ตามแผน รอ้ ยละ 100 มีรายงานสถานการณท์ างการศึกษาของปี 2561 แล้วเสรจ็ ตามแผนร้อยละ 100 ในระบบแล้วเสรจ็ ตามแผนร้อยละ 100 องคป์ ระกอบท่ี 2 Agenda Base 1. สร้างความรบั รคู้ วามเข้าใจแกป่ ระชาชน คา่ เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน ด�ำเนินการตามแผน ระหวา่ งเดอื น ด�ำเนินการตามแผน ร้อยละ 100 ผ่านชอ่ งทาง ตุลาคม 2560 - กันยายน 2561 Website, Facebook, จดหมายข่าว, วารสาร, หนงั สือพมิ พ์, วทิ ยุ และแถลงขา่ ว (รอ้ ยละ 100) 2. การส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การปฏิรปู การศึกษา คา่ เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงาน สง่ เสรมิ การจัดประชุมคณะกรรมการอสิ ระ มกี ารจดั ประชุมคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป เพื่อการปฏิรูปการศึกษา อนกุ รรมการชุดตา่ ง ๆ การศึกษา 44 ครง้ั และอนุกรรมการต่าง ๆ ไม่น้อยกวา่ 80 ครงั้ จ�ำนวน 172 คร้งั สนับสนุนการรับฟังความคดิ เหน็ ในประเดน็ ต่าง ๆ มีการจัดการรบั ฟังความคิดเห็นในระดับตา่ ง ๆ ไมน่ ้อยกว่า 6 คร้ัง ไมน่ ้อยกว่า 6 ครง้ั สนบั สนุนให้มรี ่างกฎหมายน�ำเสนอ ครม. ได้รา่ งพระราชบญั ญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาค อยา่ งน้อย 1 ฉบบั ทางการศกึ ษา พ.ศ. .... ไดร้ ่างกฎหมาย จ�ำนวน 4 ฉบบั และ สรุปผล การรบั ฟงั ความคิดเห็น 1 ฉบบั ดงั นี้ 1) รา่ งพระราชบญั ญตั กิ ารอุดมศึกษา พ.ศ. …. 2) ร่างพระราชบญั ญัติ ปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวงกรม สนับสนุนการจัดท�ำรา่ งกฎหมายและหรอื กฎหมาย (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. .... ระดับรองอยา่ งน้อย 2 ฉบบั 3) รา่ งพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาปฐมวยั แหง่ ชาติ พ.ศ. .... 4) รา่ งพระราชบญั ญตั ิเขตพืน้ ทน่ี วตั กรรม พ.ศ. .... 5) สรปุ การรับฟงั ความคดิ เห็นตอ่ ร่างพระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... องค์ประกอบที่ 3 Area Base - ไม่ตอ้ งจัดท�ำ ตวั ช้วี ดั – รายงานประจ�ำ ปี 2561 73

องคป์ ระกอบที่ 4 Innovation Base ผลการด�ำเนินงาน 1. การพฒั นานวัตกรรม โครงการคดั เลอื กผลงานวิจยั และปรบั ปรงุ ฐานข้อมูลงานวิจยั การศึกษา คา่ เปา้ หมาย ผลผลิต 1) ThaiEdResearch ฐานข้อมูลงานวิจัย ขอ้ เสนอนวัตกรรม ทางการศกึ ษา 2. การพฒั นาประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ าน ค่าเป้าหมาย ผลการด�ำเนนิ งาน รายงานผลการด�ำเนนิ งานประจ�ำเดอื น 1) แผนการพฒั นาประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2) รายงานผลการด�ำเนนิ งานตามแผนการพัฒนา ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 (12 กจิ กรรม) องค์ประกอบท่ี 5 Potential Base 1. การจัดท�ำ และด�ำ เนนิ การตามแผนการขับเคลอื่ นยุทธศาสตรช์ าติ ค่าเปา้ หมาย ผลการด�ำเนินงาน 1) การด�ำเนินงานและการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ การจัดท�ำและด�ำเนินการตามแผนการขับเคล่อื น ของส่วนราชการ ตามหลกั เกณฑ์ทกี่ �ำหนด ยุทธศาสตร์ชาติ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ยุทธศาสตร์ และ แผนงาน/โครงการของส�ำนกั งาน เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (10 โครงการ) คา่ เป้าหมาย สมรรถนะในการส่งมอบผลผลิตและการใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ เพอ่ื แสดงถึงศักยภาพของส่วนราชการตามหลกั เกณฑ์ทก่ี �ำหนด 74 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

ผลการด�ำเนินงาน/ผลผลิต สกม. ส�ำนักพัฒนากฎหมายการศกึ ษาไดเ้ สนอ รา่ งพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... และ รา่ งพระราชบัญญัติการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. .... ต่อคณะอนุกรรมการสภาการศึกษา ดา้ นกฎหมายการศกึ ษาและได้รับความเหน็ ชอบแลว้ ทงั้ ในคณะอนุกรรมการและ คณะกรรมการสภาการศกึ ษา และขณะนี้ ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษารว่ มกับ คณะกรรมการอสิ ระเพือ่ การปฏิรปู การศึกษาไดส้ ่งร่างกฎหมายกฎหมายจ�ำนวน 2 ฉบบั ให้ส�ำนกั งานเลขาธิการคณะรัฐมนตรเี พ่ือเตรยี มการเสนอเข้าที่ประชมุ คณะรฐั มนตรี เพ่ือพิจารณารับหลกั การ คือ 1. รา่ งพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. .... 2. รา่ งพระราชบัญญตั ิการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. .... ส่วนร่างพระราชบญั ญตั ิเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา พ.ศ. .... และรา่ งพระราชบัญญตั สิ ่งเสริม สถานศกึ ษานติ ิบคุ คลอย่ใู นขั้นตอนการรอเสนอคณะอนกุ รรมการสภาการศกึ ษาด้านกฎหมาย การศึกษาเพือ่ พิจารณาให้ความเหน็ ชอบตอ่ ไป สนผ. - การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรื่อง “การแปลงแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 สู่การปฏบิ ัติ” แกผ่ ปู้ ฏิบัตงิ านดา้ นนโยบายและแผนจากส�ำนักงาน ศกึ ษาธกิ ารภาคและส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั - รายงานสรปุ ความสอดคลอ้ งเชือ่ มโยงระหวา่ งแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 กับ แผนพฒั นาการศึกษาของหนว่ ยงานองค์กรหลกั - รายงานแนวทางการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของวทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเอกชนขนาดเลก็ ...... - ร่างขอ้ เสนอแนวทางการบริหารการจัดการศึกษาโดยใชจ้ ังหวัดเปน็ ฐาน - ร่างรายงานแนวทางการยกระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติ ข้ันพ้นื ฐาน (O - NET) ...... - รายงานความกา้ วหน้าโครงการศึกษาวจิ ยั เรอื่ ง แนวทางการพฒั นา การศึกษาเพื่อรองรับการเตบิ โตทเ่ี ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม ...... - การฝกึ อบรมโดยมกี ารบูรณาการเทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่อื ใหเ้ กิดการรู้ดิจิทลั (Digital Literacy) ส�ำหรบั ครู - รา่ งรายงานแนวปฏบิ ตั ิของการสร้างและส่งเสรมิ การร้ดู จิ ิทัลส�ำหรับครู รายงานประจ�ำ ปี 2561 75

ผลการด�ำเนนิ งาน/ผลผลติ สมร. - รายงานประจ�ำปผี ลการด�ำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ - รปู แบบการพฒั นาผเู้ รยี นของสถาบนั การศกึ ษาในทกุ ระดบั /ประเภทการศกึ ษาใหเ้ กดิ คณุ ลกั ษณะ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ - ลงพน้ื ทเ่ี กบ็ ขอ้ มลู ใน 4 ภูมภิ าค 5 พ้นื ที่ ประกอบดว้ ย ภาคเหนอื ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคกลาง และจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างวันที่ 22 มีนาคม – 28 เมษายน 2561 กลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ในแตล่ ะพ้นื ท่ี โดยมีเดก็ และเยาวชนเขา้ รว่ มการประชุมทงั้ สนิ้ ประมาณ 400 คน ..... - จัดการประชุมระดมความคดิ เห็นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผ้เู รียนทีต่ รงตามอตั ลักษณ์ ความต้องการ และภมู สิ ังคม 3 ภูมิภาค ..... - วเิ คราะหผ์ ลการเกบ็ ขอ้ มลู ร่างรายงานการประชุมระดมความคดิ เห็นเพ่อื พฒั นา รูปแบบการเรยี นรูข้ องเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ 4 ภมู ิภาค 5 พน้ื ท่ี สนผ. รา่ ง รายงาน จ�ำนวน 2 โครงการ คอื 1) โครงการรูปแบบการระดมทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา 2) โครงการศกึ ษาระบบการบรหิ ารภาครฐั ดา้ นทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา สปศ. - วเิ คราะห์และสงั เคราะหข์ ้อมลู เพือ่ จัดท�ำ (ร่าง) รายงาน 3 เร่ืองไดแ้ ก่ 1) โครงการการติดตามและประเมินผลนโยบายการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อรองรบั Thailand 4.0 2) โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาเรียนรวมส�ำหรับเด็กพิการและเด็กที่มี ความตอ้ งการจ�ำเปน็ พิเศษ 3) โครงการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานตานโยบายกระทรวงศึกษาธิการ คาดว่า จะแล้วเสร็จตาม TOR ภายในเดือน พ.ย. 2561 - ได้รับอนุมัติให้จัดพิมพ์รายงานประชุมทางวิชาการ “สภาการศึกษาเสวนา 2018 : รวมพลัง พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาไทย” เรียบรอ้ ยแล้ว สปศ. - (ร่าง) รายงานประสิทธผิ ลของแหล่งการเรียนรู้ : การเผยแพรแ่ ละ การน�ำมาตรฐานแหล่งเรยี นร้สู กู่ ารปฏบิ ตั ิ - ได้ข้อมูลสภาพของแหล่งการเรียนรู้จากการสังเกตในพ้ืนท่ีกรณีศึกษาจ�ำนวน 78 แหล่ง รวม 13 จงั หวดั จ�ำแนกตาม 4 ภูมิภาค ไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคใต้ และกรงุ เทพมหานคร สวพ. - ประชุมเสวนาแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ สาระ ข่าวสารให้แก่ข้าราชการ สกศ. โครงการพัฒนาตัวบ่งช้ีโอกาสการได้รับการศึกษาของประชากรวัยเรียนในระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน โดยมีกิจกรรมในช่วงเดือนเมษายน - กันยายน 2561 ได้แก่ การเก็บข้อมูล การวเิ คราะห์ ค�ำนวณตวั ชว้ี ัด การลงพน้ื ท่ีเก็บข้อมลู และการสรุปเขยี นรายงาน 76 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

ผลการด�ำเนนิ งาน/ผลผลิต สวพ. - ด�ำเนินการตามเป้าหมาย 100% โดยทุกเดือน ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย จะท�ำรายงานการให้บริการดูแลซ่อมบ�ำรุง จัดส่งให้ตามแนวทางควบคุมประสิทธิภาพท่ีก�ำหนด และมีการประชุมติดตามงานการแก้ปัญหาทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 คร้ังเป็นอย่างน้อย ท�ำใหส้ ามารถแกป้ ัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทันตอ่ เหตุการณ์ ไดด้ �ำเนินการต่ออายุโปรแกรมลขิ สิทธจ์ิ �ำนวน 5 ระบบดงั น้ี 1) โปรแกรมป้องกนั ไวรสั คอมพิวเตอร์ Kaspersky 2) โปรแกรมวเิ คราะหข์ ้อมลู จราจรคอมพวิ เตอร์ Softnix Logger 3) Web Application Firewall (Incapsula) 4) ระบบโปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั คอมพวิ เตอร์จากเครอื ขา่ ย (Fortigate) 5) โปรแกรม Microsoft windows & Microsoft Office ..... - ฐานข้อมูลงานวิจัยต่างประเทศ Education research complete ได้เปิดให้บริการให้แก่ สมาชิกของ OEC Knowledge Center และเป็นแหล่งข้อมูลงานวิจัยท่ีนักวิจัยของ สกศ. สามารถใชเ้ ป็นข้อมูลอ้างอิงได้เป็นอย่างดี ..... - มีการจัดท�ำรายงานประจ�ำเดือนของสถิติการใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศกึ ษา จ�ำนวน 1 ชดุ 12 เลม่ ” ..... - ได้ด�ำเนินการพัฒนาเว็บไซต์ www.thaiedreform.org ระยะที่ 2 เสร็จเรียบร้อยและ เปิดใชง้ านตั้งแต่ 15 กนั ยายน 2561 ..... - แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความม่ันคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา มีการประกาศใช้งานและเผยแพร่ในเว็บไซต์ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา - มีการจัดอบรมให้ความรู้ในแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความม่ันคงปลอดภัย ดา้ นสารสนเทศของ ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา แกบ่ คุ ลากร สกศ. จ�ำนวน 1 คร้ัง เมอื่ วนั ที่ 13 มิถุนายน 2561 กพร. - แผนการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ าน จ�ำนวน 12 เรอื่ ง - แผนการปฏริ ปู องคก์ าร - กรอบการประเมนิ ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการ ปฏบิ ตั ริ าชการ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - แผนปฏบิ ตั กิ ารการก�ำกบั ดแู ลองคก์ ารทด่ี ี ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - ขอ้ เสนอการพฒั นาโครงสรา้ งและระบบงานส�ำนกั งานเลขาธกิ าร สภาการศกึ ษา - รายงานผลการประเมนิ องคก์ ร (หมวด 1 – 7) - รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏบิ ตั กิ ารการก�ำกบั ดแู ลองคก์ ารทด่ี ฯี รายงานประจ�ำ ปี 2561 77

ผลการด�ำเนินงาน/ผลผลติ กพร. - การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - รายงานประจ�ำปี 2561 ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา - องคค์ วามรดู้ า้ นการบรหิ ารจดั การทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ตามมาตรฐานสากล เพอ่ื รองรบั การเปลย่ี นแปลง - รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารราชการจัดการของ ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - รายงานผลการควบคมุ ภายใน ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการฯ หมายเหตุ : การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามรายงานการใช้จ่ายงบประมาณตามพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 สำ� นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. การดำ�เนินการจดั ท�ำ แผนปฏริ ูปองคก์ าร ค่าเปา้ หมาย ผลการด�ำเนนิ งาน แผนปฏริ ปู องค์การ (รอบที่ 1) แผนปฏริ ูปองค์การระดบั กรม สกศ. รอบประเมนิ ที่ 1 ข้อเสนอการเปล่ียนแปลงในระยะ 3 ปี ขอ้ เสนอการเปลีย่ นแปลงในระยะ 3 ปี (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564) (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564) 78 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

ผลงานวจิ ัยป/รอะจงค�ำป์คีงวบาปมรระู้ทมสี่ า�ณำคัญพข.ศอ.ง2ส5ก6ศ1. 1. การจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาความเป็นผูป้ ระกอบการ ส�ำนกั วจิ ยั และพัฒนาการศึกษา องคค์ วามรู้/งานวจิ ยั การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship Education) เป็นหนึ่งในทักษะส�ำคัญแห่ง ศตวรรษ ท่ี 21 ท่ไี ด้รับความสนใจและมกี ารด�ำเนินการเพิม่ มากขนึ้ ในการก�ำหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์ส�ำคัญต่อ การจัดการเรียนรู้ในเน้ือหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ส�ำหรับศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสริม ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา แกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในเร่ืองความรู้ เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ซ่ึงหมายรวมถึง (1) รูว้ ิธีการที่เหมาะสมส�ำหรับการสรา้ ง ตัวเลือกเชิง เศรษฐศาสตร์/เศรษฐกิจ (2) เข้าใจบทบาทในเชิง เศรษฐศาสตรท์ ี่มตี อ่ สังคม และ (3) ใช้ทักษะการเปน็ ผูป้ ระกอบการ ในการยกระดับและเพิ่มประสิทธิผล ด้านอาชีพ เข้าไปใน การจัดการเรียนการสอนในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในสถาบันการศึกษาในระดับ อุดมศกึ ษาของประเทศต่าง ๆ รายงานประจำ�ปี 2561 79

1. ขอ้ เสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาผ้ปู ระกอบการ การบม่ เพาะทกั ษะความเปน็ ผปู้ ระกอบการมเี ปา้ หมายเพอ่ื “สรา้ งความคดิ ทแ่ี ตกตา่ งและความกลา้ หาญ ส�ำหรับโอกาสทางธุรกิจ” กระบวนการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการจึงจะต้องสามารถที่จะพัฒนา ให้ผู้เรียนเกิดแนวคิดท่ีแตกต่าง การคาดการณ์และมองหาโอกาสทางธุรกิจ ตลอดจนความกล้าหาญในการ ริเริ่มและคว้าโอกาสทางธุรกิจได้ซึ่งจ�ำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหลากหลายภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง ในการวางแผนระบบการศึกษาที่สามารถพัฒนาทักษะความเป็นผู้ประกอบการได้อย่าง มีประสิทธิภาพ สอดรับกันทั้งระบบและสนองตอบความต้องการและทิศทางการพัฒนาประเทศ โดย 1.1 ก�ำหนดแผนและทิศทางการจดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาความเปน็ ผปู้ ระกอบการ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนด ทิศทางการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง อาทิส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) ศึกษา และวางแผนระบบการศึกษาท่ีสนับสนุนการถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship Education) ท้ังระบบ ต้ังแต่การศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน อาชีวศึกษาและ อุดมศึกษา เป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนก�ำหนดกรอบการด�ำเนินงาน (Framework) และ มาตรฐานตัวชี้วัดให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรใู้ หม้ คี วามสอดคลอ้ งไปในทางเดียวกันทงั้ ระบบ 1.2 พัฒนาหลักสตู รและการจดั การเรยี นรูเ้ พอื่ พฒั นาความเป็น ผปู้ ระกอบการ การจัดการเรียนรูใ้ นเนอ้ื หาเชงิ สหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) ท่สี อดแทรกทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะการรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 80 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

หลักสตู รส�ำหรับการจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ ภายใต้การขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 จะเน้นการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สามารถจ�ำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ (1) หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนมากแล้วจะเป็นส่วนหน่ึง ของหลักสูตรบริหารธุรกิจทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และ (2) หลักสูตรที่เน้นอุตสาหกรรม เปา้ หมาย (New S - Curve) ทม่ี กี ารสอดแทรกองคค์ วามรเู้ ชิงธรุ กิจ 1.3 ก�ำหนดแนวทางการสร้างผูเ้ ชยี่ วชาญด้านการวิจัยและพฒั นา (Research and Development : R&D) ภายใต้ความรว่ มมือระหว่างหนว่ ยงานภาครัฐ อาทิ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ภาครัฐและภาคเอกชน ความร่วมมือในรูปแบบประชารัฐ ท�ำการศึกษาวิจัย และก�ำหนดแนวทางท่ีเหมาะสม กับบริบทของประเทศไทยและโลก สร้างผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) ท่ีเน้นนวัตกรรมและ เทคโนโลยีในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย (New S - Curve) 5 อุตสาหกรรม สร้างเส้นทางอาชีพนักวิจัยและ พฒั นา โดยเฉพาะอย่างยง่ิ นักวิจัยเพื่อรองรับการขยายตวั ของวสิ าหกิจรายใหม่ (Startup) 2. ข้อเสนอการจัดระบบนเิ วศสนบั สนนุ การเตบิ โตของการเปน็ ผู้ประกอบการเรมิ่ ตน้ นกั ธรุ กจิ ทป่ี ระสบความส�ำเรจ็ นกั เศรษฐศาสตร์ และนักวิชาการ เชื่อว่า วัฒนธรรมความเป็น ผู้ประกอบการ (Entrepreneurship Culture) เป็นการส่งเสริมความสามารถของบุคคลให้ด�ำเนิน ธุรกิจของตัวเอง ท้องถ่ิน และระดับชาติซึ่ง วัฒนธรรมความเป็นผู้ประกอบการน้ีจะเกิดขึ้น ได้อย่างมีคุณภาพด้วยการมีการจัดระบบนิเวศ ที่เอื้อให้เกิดการเติบโตของการเป็นผู้ประกอบการ เรม่ิ ตน้ (Startup) การรเู้ กย่ี วกบั การเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Entrepreneurial Literacy) โดยการจัดระบบนิเวศ ท่ีสนับสนุนการเติบโตของการเป็นผู้ประกอบการ จะตอ้ งประกอบดว้ ย 7 กระบวนการ ไดแ้ ก่ 1) ความคดิ ท่ีจะประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ (Idea) 2) การสร้าง รูปแบบของธุรกิจ (Business Model) 3) หน่วยงาน ตามกฎหมาย 4) การวิเคราะห์ทางการเงิน 5) การวางแผนด้านการลงทุน 6) การน�ำไปสู่ การปฏิบัติและ 7) การประเมินผล ดังน้ัน ข้อเสนอ ก า ร ด�ำ เ นิ น ก า ร เ พื่ อ ส ่ ง เ ส ริ ม ใ ห ้ เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า ผู้ประกอบการวิสาหกิจเร่ิมต้นอย่างมีประสิทธิภาพ และย่ังยืน จึงควรมีการบริหารจัดการองค์ประกอบ และกระบวนการตา่ ง ๆ ดังน้ี รายงานประจ�ำ ปี 2561 81

2.1 จัดท�ำฐานข้อมูลวิสาหกิจและผู้ประกอบการ (Big Data/ Centralized Database) ภาครัฐต้องผลักดันให้เกิดการรวบรวมและ จัดท�ำฐานข้อมูลของวิสาหกิจให้ครบถ้วนถูกต้องเป็น ปัจจุบัน ในทุกสาขาอุตสาหกรรมและทุกกระทรวง ไว้ท่ี “ศูนย์ข้อมูลแห่งชาติ” เพียงแหล่งเดียวตาม แผนการบูรณาการศูนย์ข้อมูลภาครัฐ (Data Center Consolidation) เพื่อให้ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะระดับ นโยบาย (Policy - Maker) ใช้ข้อมูลในการวางแผน ก�ำหนดนโยบาย เปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ เพ่ือ พัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมวิสาหกิจได้ในระยะ สน้ั กลาง และยาว 2.2 จัดตั้งศูนย์ให้ค�ำปรึกษาผู้ประกอบการเร่ิมต้น แบบครบวงจร ประเทศไทยมีศนู ย์/สถาบันสง่ เสรมิ การพฒั นา ผู้ประกอบการธุรกิจมากมาย อาทิ สถาบันพัฒนา ผู้ประกอบการการค้ายุคใหม่ (New Economy Academy : NEA) ของกรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์ โครงการสนบั สนนุ หนว่ ยบม่ เพาะวสิ าหกจิ ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา (University Business Incubator : UBI) โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และศูนย์ผู้ประกอบการท่ีขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม (IDE Center) เป็นต้น ดังนั้นการจัดตั้งศูนย์ให้ค�ำปรึกษาผู้ประกอบการเร่ิมต้น ในลักษณะฐาน ข้อมูลเดียวพร้อมบริการ Call Center ให้เป็น One - stop service ในการเป็นฐานข้อมูลเพื่อประโยชน์ ของนักลงทุนแต่ละกลุ่มธุรกิจในลักษณะ Tailor - made ฐานข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ในการริเริ่มและประกอบธุรกิจ การวิเคราะห์ทางการเงินเพื่อเป้าหมายทางเศรษฐกิจ และการวางแผนการ ลงทุน รวมท้ังศูนย์ฝึกอบรมประสบการณ์เพิ่มเติม เช่น ด้านภาษา เทคโนโลยี การประชาสัมพันธ์สินค้า และ ทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น โดยศูนย์ให้ค�ำปรึกษาน้ีอาจมีการบริหารแบบภาครัฐร่วมเอกชน และจัดท�ำแผน แม่บทการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการเริ่มต้นของแต่ละอุตสาหกรรมให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน ประเทศ 2.3 เวทีสตาร์ทอัพเพื่อเปิดพ้ืนท่ีความคิด เวทีหรือพื้นที่ให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้พบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และเครือข่ายท�ำงานร่วมกัน (Co - working Space) และพ้ืนที่สร้างสรรค์ ผลงาน (Maker Space) 2.4 ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ (Incubation Centre) ปัจจุบันประเทศไทยมีหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ ในสถาบันอุดมศึกษา (University Business Incubator : UBI) โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จ�ำนวน 72 แหง่ ทั่วประเทศ ท่จี ดั ตัง้ ข้ึนเพ่อื ใหส้ ถาบนั อุดมศกึ ษาท�ำหนา้ ทบ่ี ่มเพาะให้เกดิ ผปู้ ระกอบการ ใหม่ (Entrepreneur) และบริษัทจัดตั้งใหม่ (Startup Companies) ที่จะได้รับการดูแลให้มีการพัฒนาการ และสร้างความเข้มแข็งให้สามารถพัฒนาเป็นบริษัทเต็มรูปแบบ (Spin - off Companies) ได้ต่อไป ตลอดจน 82 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

เป็นช่องทางการน�ำผลงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษา ให้สามารถพัฒนา สู่กระบวนการใช้งานเชิงพาณิชย์ได้ ท้ังน้ีควรมีการเพิ่มจ�ำนวนและปรับสาระส�ำคัญในการให้ความรู้หรือ การสนับสนุนในหนว่ ยบม่ เพาะวิสาหกจิ ใหค้ รอบคลมุ ประเด็นใหม่ ๆ เช่น อตุ สาหกรรมใหม่ (New S - Curve) แนวคิดในการจุดประกายการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ (Idea) ตัวอย่างรูปแบบธุรกิจ (Business Model) องค์ความรู้ในการวิเคราะห์ทางการเงิน (Business Plan/Financial Analysis) การวางแผนด้านการลงทุน (Fund Raising) การน�ำสกู่ ารปฏบิ ตั ิ (Implementation) และ การประเมินผล (Assessment) เป็นตน้ 2.5 ปรับปรุงกฎ ระเบยี บ และกฎหมายท่เี ป็นอุปสรรคในการด�ำเนินธรุ กิจ 2.6 การเขา้ ถงึ แหลง่ เงนิ ทนุ และผนกึ พนั ธมติ ร โดยความรว่ มมอื ของกระทรวงการคลงั กระทรวงพาณชิ ย์ กรมทรัพย์สินทางปัญญาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในรูปแบบการระดมทุนแบบ Crowd - funding การขยายการกู้ยืมแบบไม่มีการค้�ำประกันแบบญ่ีปุ่น (Marukei Loan) ที่มีระบบการพิจารณาแผนธุรกิจและ ศักยภาพของวิสาหกิจรายย่อย โดยคณะที่ปรึกษาด้านการบริหารจัดการ และการผนึกเครือข่ายพันธมิตร เชงิ พืน้ ท่ี (Cluster) ตง้ั แตร่ ะดับต�ำบล อ�ำเภอ และจังหวดั ตามกล่มุ อุตสาหกรรมของวิสาหกจิ รายย่อย ตลอดจน พันธมิตรในตา่ งประเทศ เปน็ ต้น รายงานประจำ�ปี 2561 83

2. แนวแนะวิธีการเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะเพ่ือเพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวัย ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา องคค์ วามร้/ู งานวจิ ยั องคก์ ารทนุ เพอื่ เดก็ แหง่ สหประชาชาติ (ยนู เิ ซฟ) ประเทศไทย สืบเนอ่ื งจากในปี พ.ศ. 2549 องคก์ ารทุนเพอ่ื เด็กแห่งสหประชาชาติ (ยนู ิเซฟ) ส�ำนักงานใหญ่ นวิ ยอรค์ ร่วมกับองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทยจัดประชุมระดับภูมิภาคเพ่ือจัดท�ำ สมรรถนะ (Competencies) ของเด็กปฐมวัย (0 – 5 ปี) เพื่อเพ่ิมคุณภาพเด็ก ในการน้ีประเทศไทย โดยส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้สง่ ผูแ้ ทน (นางทิพยส์ ุดา สุเมธเสนยี )์ เขา้ ประชุมดว้ ย จากนั้นส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิท�ำการวิจัยเพื่อให้ได้มาซ่ึง “สมรรถนะ”ของเด็กปฐมวัย (0 – 5 ปี) และหลังจากนั้น ไดม้ ีการน�ำ “สมรรถนะ” ดงั กลา่ วไปใช้ในสถานพฒั นา เดก็ ปฐมวัยรปู แบบตา่ ง ๆ จนไดร้ บั ข้อคิดเห็นเพิ่มเตมิ จากการใชด้ งั กล่าวเพ่ือน�ำมาปรบั ปรุงเอกสารทไ่ี ด้จดั พิมพ์ ในช่วงนั้นให้ดียงิ่ ข้นึ ในปี พ.ศ. 2559 ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาร่วมกับองค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิและ คณะท�ำงานฯ ได้จัดท�ำโครงการปรับปรุงเอกสารสมรรถนะ ของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั 0 – 5 ปแี ละการจดั ท�ำเอกสารควอไทลฯ์ ดงั กลา่ ว โดยไดร้ บั มตคิ วามเหน็ ชอบ จากคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) ซ่ึงมีพลอากาศเอกประจิน จั่นตอง เป็นประธาน พร้อมก�ำหนดการด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 14 เดือน (กนั ยายน 2559 – ตลุ าคม 2560) ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะฝ่าย เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติขอขอบคุณ องค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทยท่ีให้ การสนับสนุนทั้งด้านวิชาการ และด้านงบประมาณ ผู้เชี่ยวชาญ ประมาณ 35 ท่าน จากมหาวิทยาลัย หน่วยราชการ และ ภาคเอกชน องค์การระหวา่ งประเทศ พ่อแม่ผปู้ กครอง ครูอาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก ข้าราชการ พนักงานเจ้าหน้าที่ ประมาณ 550 ท่าน จากกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวง มหาดไทย ใน 9 จังหวัด ท่ีคณะท�ำงานฯ ไดไ้ ปร่วมเสวนา ในการอ่านและใช้เอกสารฉบับน้ีมีเรื่องท่ีต้องค�ำนึงถึง ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ส�ำหรับผู้ท่ีปฏิบัติงานกับเด็กปฐมวัยโดยตรง (หมายรวมถึง พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก และผู้อ่ืนท่ีมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับเด็ก หรือท่ี ภาษาองั กฤษใช้ค�ำวา่ Practitioners) วธิ อี า่ นเอกสารนา่ จะเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการอา่ นเรว็ เรอ่ื งตวั “สมรรถนะ” 286 ตวั ส�ำหรบั 0 – 3 ปี และ 419 ตวั ส�ำหรบั 3 – 5 ปี ซงึ่ ปรากฏอยใู่ นตอนทา้ ยของสว่ นที่ 1 84 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

ถัดมา ควรอ่านเร็ว ๆ ในสว่ นท่ี 3 ซ่ึงเปน็ วธิ กี ารตัวอย่างท่ีใชก้ บั เด็ก ในการใหเ้ ด็กสามารถ “ท�ำไดต้ ามสมรรถนะ” จากน้ันให้อ่านเร็ว ๆ ส่วนท่ี 5 ซ่ึงเป็นวิธีการพื้นฐานฯ ที่จะเพ่ิมความเข้าใจในหลักการต่าง ๆ เพื่อจะน�ำมาใช้ ในส่วนที่ 3 ข้ันตอนสุดท้าย จึงควรกลับมาอ่านในส่วนท่ี 3 อีกครั้งหน่ึงอย่างละเอียดส�ำหรับการน�ำไปปฏิบัติ ต่อเด็ก อน่ึง อาจมีค�ำถามเกี่ยวข้องแต่ไม่ปรากฏในส่วนที่ 3 ขอแนะน�ำให้อ่านส่วนท่ี 4 ซ่ึงเป็นประเด็นค�ำถาม ท่ีอาจตรงกับโจทย์ท่ีผู้ปฏิบัติอาจน�ำไปใช้ได้ นอกจากน้ันถ้าต้องการค�ำอธิบายหลักวิชาการบางเรื่องก็สามารถ พลิกดูได้ในส่วนที่ 7 ซึ่งเป็นภาคผนวกท่ีมีบทความวิชาการในหัวข้อต่าง ๆ ส�ำหรับผู้ปฏิบัติที่สนใจเชิงวิชาการ บางด้านอาจศึกษาโดยสังเขป เอกสารชื่อ “พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตามสมรรถนะของเด็ก ปฐมวัย ตามระดบั ควอไทล์ (Quartile) และจ�ำแนกตามกลุม่ อายุของเดก็ 3 – 5 ป”ี (ซ่งึ เปน็ เอกสารอกี เล่มหนงึ่ ต่างหาก) 1. ส�ำหรบั นกั วชิ าการ หรือนักวิจัย ขอแนะน�ำให้อ่าน “สมรรถนะ” ตอนท้ายของส่วนที่ 1 ตามด้วยส่วนที่ 3 และส่วนท่ี 5 พร้อมกันน้ัน อาจอ่านรายละเอียดในส่วนที่ 6 ซึ่งเป็นเรื่องท่ีคณะท�ำงานเสนอแนะให้ศึกษาวิจัย และด�ำเนินการเพ่ิมเติม ต่อไป นอกจากนั้น ควรศึกษาเอกสาร “พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัย ตามระดบั ควอไทล์ (Quartile) และจ�ำแนกตามกลมุ่ อายุของเดก็ 3 – 5 ปี” 2. ส�ำหรับผู้ที่รับผิดชอบเก่ียวกับนโยบายด้านปรับปรุงคุณภาพของเด็กปฐมวัย ข้อแนะน�ำให้ศึกษา เหมือนข้อ 2 และให้ศึกษาเอกสาร “พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัย ตามระดบั ควอไทล์ (Quartile) และจ�ำแนกตามกลมุ่ อายขุ องเดก็ 3 – 5 ป”ี รายงานประจำ�ปี 2561 85

3. พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตวั อยา่ งจำ� แนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวยั ตามระดบั ควอไทล์ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา องคค์ วามรู้/งานวิจัย องคก์ ารทุนเพอื่ เด็กแหง่ สหประชาชาติ (ยนู เิ ซฟ) ประเทศไทย ผลการวิจัยจากเอกสาร ช่ือ “เอกสารสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3 – 5 ปี : การศกึ ษาวิจัยเบอื้ งตน้ ” คณะวิจัยฯ เห็นว่าการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวเพ่ือช่วยให้เห็น “โครง” หรือ “โครงท่ีเป็นภาพตัดด้านข้าง” (Profile) ของ “สมรรถนะ” ท่ีมีทั้งส้ิน 419 ตัวของเด็กปฐมวัย จ�ำแนกแต่ละ ปีอายุ ในช่วง 3 – 5 ปี Profile ดังกล่าวเป็นของเด็กที่อยู่ในกลุ่มตวั อยา่ งในการวิจัย วัตถุประสงค์คือ (1) ให้สามารถเทียบเคียง “การท�ำได้” ของเด็กในกลุ่มอายุ 3 ปี 4 ปีและ 5 ปี ตามล�ำดับ และ (2) สามารถเทียบเคียง “การท�ำได้” ของเด็กในสมรรถนะแต่ละข้อของเด็กแต่ละคนกับเด็ก ทัง้ กลุ่มอายขุ องตนซึง่ เป็นกลุ่มตัวอยา่ ง การเทียบเคียงดังกล่าวแบ่งออกเป็น 4 ควอไทล์และเพื่อให้อ่านง่ายจึงก�ำหนดสีแต่ละควอไทล์ รวมท้ัง เพ่ือช่วยในการอ่านได้เร็วโดยไม่ต้องใช้ตัวเลขก�ำกับ กล่าวคือ สีแดง ส�ำหรับกลุ่มท่ีท�ำได้ในควอไทล์แรก คือ ระหว่างร้อยละ 0 – 25 สีเหลือง คือกลุ่มที่ท�ำได้ในควอไทล์ที่ 2 คือระหว่างร้อยละ 26 – 50 สีม่วง คือกลุ่ม ท่ีท�ำไดใ้ นควอไทล์ท่ี 3 คอื ระหวา่ งรอ้ ยละ 51 – 75 และสีเขียว คอื กลมุ่ ทท่ี �ำไดใ้ นควอไทล์สุดทา้ ย คอื ระหว่าง ร้อยละ 76 - รอ้ ยละ 100 ส�ำหรับนักวิชาการ และนักวิจัย อาจสนใจท�ำวิจัยเพ่ิมเติมโดยใช้กลุ่มตัวอย่างใหม่ ซึ่งควรเปล่ียนแปลง เมื่อได้ใช้กลุ่มตัวอย่างเก่าไปแล้ว ประมาณ 15 ปี ทั้งน้ีเพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงระดับ “การท�ำได้” เม่ือเปลีย่ นยคุ สมัย ส�ำหรับผู้ปฏิบัติกับเด็กปฐมวัย เช่น พ่อแม่/ผู้ปกครอง ครู/อาจารย์และผู้ดูแลเด็ก เป็นต้น สามารถใช้เอกสารนี้เพ่ือเทียบเคียงเด็ก แต่ละคนกับกลุ่มตัวอย่างในอายุเดียวกันหรือ ระหว่างอายุ 86 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

4. การส่งเสรมิ การเรียนร้ขู องผ้สู งู อายใุ นประเทศไทย ส�ำนักนโยบายความร่วมมอื กบั ตา่ งประเทศ องค์ความร/ู้ งานวิจัย ในสภาวะทปี่ ระชากรโลกสงู อายเุ พม่ิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เช่นปัจจุบันนี้ ผลกระทบที่จะตามมาคือก�ำลังแรงงาน จะลดลง ประสิทธิภาพในการผลิตของประเทศต่�ำลง เกิดภาวการณ์พึ่งพิงคนวัยแรงงานที่ต้องแบกรับภาระ ในการดูแลผู้สูงอายุ และค่าใช้จ่ายในการดูแล รวมท้ัง ค่าบริการ ค่ารักษาพยาบาล ส�ำหรับผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น องค์การอนามัยโลก ได้ส่งสัญญาณเตือนทั่วโลกเพ่ือ เตรยี มรบั มอื รองรับสังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) เปา้ หมายคอื ใหผ้ สู้ งู อายุ “ชราอยา่ งมคี ณุ ภาพ” หรือ “สูงอายุอย่างมีพลัง” (active ageing) หมายถึง มีศักยภาพในการด�ำรงชีวิตตามปกติมีสุขภาพดีมีความ ม่ันคงทางการเงิน สูงค่าด้วยภูมิปัญญา มีส่วนร่วม ในสังคม และท�ำประโยชน์ให้สังคม ประเทศไทยเป็นประเทศก�ำลังพัฒนาที่มีรายได้ ปานกลาง ก�ำลังพยายามพัฒนาประเทศเพ่ือยกระดับ ข้ึนเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วและมีรายได้สูง แต่จาก โครงสร้างประชากรประเทศไทยเข้าสู่การเป็นสังคม ผสู้ งู อายตุ ง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2548 คอื มปี ระชากรอายเุ กนิ 60 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 10 ต้ังแต่ปี 2557 ประชากรวัยแรงงาน เร่ิมลดลงอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคม สูงวัยอย่างสมบูรณ์มีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 20 เมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในปี พ.ศ. 2564 และจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดเม่ือมี สัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 28 ในปี พ.ศ. 2574 ซ่ึงจะเป็นอุปสรรคส�ำหรับการพัฒนา ประเทศไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ จึงจ�ำเป็นต้องเตรียม ความพร้อมรองรับความเปล่ียนแปลงท่ีจะตามมา แนวทางหนึ่งคือ การส่งเสริมการเรียนรู้ส�ำหรับผู้สูงอายุ ให้สูงวัยอย่างมีพลังและมีคุณค่า รายงานประจ�ำ ปี 2561 87

โจทย์ใหญ่ของประเทศไทยคือ ผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่ในชนบทมีฐานะยากจน ไม่มีเงินออมมีพื้นฐาน การศึกษาน้อย และมีปัญหาสุขภาวะ ในขณะที่ประชากรสูงอายุเพ่ิมจ�ำนวนข้ึนอย่างรวดเร็วน้ีจะท�ำอย่างไร ให้ประชากรสูงอายุอย่างมีพลัง หรือ มีภาวะพฤฒิพลัง (active ageing) มีศักยภาพในการด�ำรงชีวิตตามปกติ ซ่ึงมีงานวิจัยชี้ให้เห็นว่า การเรียนรู้เป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีมีความสัมพันธ์กับการสูงอายุอย่างมีพลัง สามารถพัฒนา สขุ ภาพกายสขุ ภาพใจ และปอ้ งกนั โรคสมองเสอ่ื มได้ จงึ ควรสง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายไุ ดเ้ รยี นรู้ ดงั นนั้ กระบวนทศั นใ์ หม่ ในการพัฒนาผู้สูงอายุไทยให้สูงวัยอย่างมีพลังและลดภาระพึ่งพิงทางสังคมคือ การให้การศึกษาและส่งเสริม การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ของผสู้ ูงอายุ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดให้มีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบ เพ่ือพัฒนานโยบาย เรื่องการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุในประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยคือ 1) เพ่ือศึกษาวิเคราะห์ระบบการจัดการเรียนรู้ผู้สูงอายุในประเทศไทย 2) เพ่ือศึกษาวิเคราะห์ระบบ การจัดการเรียนรู้ผู้สูงอายุของประเทศท่ีมีแนวปฏิบัติท่ีดีจ�ำนวน 6 ประเทศ ประกอบด้วย สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา อิสราเอล ญี่ปุ่น สาธารณรัฐประชาชนจีน และสิงคโปร์และ 3) เพื่อจัดท�ำข้อเสนอเชิงนโยบาย การจดั การเรยี นรสู้ �ำหรบั ผสู้ ูงอายขุ องประเทศไทยทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทไทย ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 1) เนื่องจากผู้สูงอายุของประเทศไทยมีจ�ำนวนมาก ล�ำพังเพียงหน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึงไม่สามารถ จัดการเรียนรู้ให้พอเพียงและมีคุณภาพ จ�ำเป็นจะต้องมีองค์กรประสานงานระหว่างกระทรวงเพ่ือส่งเสริม การเรียนรขู้ องผู้สูงอายุ (Inter - Ministerial Committee for Promoting the Learning of Older Persons) 2) รัฐบาลต้องส่งเสริมการเรียนรู้ส�ำหรับผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ โดยเตรียมความพร้อมประชากร ตง้ั แตก่ ่อนเข้าสวู่ ัยสูงอายุ พัฒนาบคุ ลากรส�ำหรับบริหารและจดั การเรียนรสู้ �ำหรับผ้สู งู อายอุ ยา่ งมืออาชีพ จดั ท�ำ หลักสูตรมาตรฐานส�ำหรับผู้สูงอายุและเพิ่มงบประมาณให้กับกองทุนผู้สูงอายุ เพื่อให้เพียงพอที่จะสนับสนุน การจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องผสู้ ูงอาย 3) กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบเรื่องการจัดการศึกษาของ ผู้สูงอายุ มีความพร้อมเร่ืองอาคารสถานที่ โดยไม่ต้องลงทุนสร้างใหม่ จะต้องเป็นองค์กรหลักในการส่งเสริม การเรียนรู้ส�ำหรับผู้สูงอายุให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีกลไกการน�ำ แผนงานและนโยบายการสง่ เสรมิ การเรยี นร้ขู องผสู้ งู อายสุ กู่ ารปฏิบัติและมกี ารติดตามประเมนิ ผล 4) ส่งเสริมความร่วมมือของทุกภาคส่วนในระดับปฏิบัติทั้งหน่วยงานของรัฐ ท้องถ่ิน ชมรมผู้สูงอายุ สถาบันศาสนา องค์กรเอกชน ฯลฯ โดยให้แต่ละพื้นท่ีมีหน่วยงานหลัก ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันในแต่ละแห่ง ให้ท�ำหนา้ ทใ่ี นการประสานและเชื่อมโยงความรว่ มมอื จดั ท�ำแผนพฒั นาผสู้ ูงอายุและการประเมินผล 5) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ต้องค�ำนึงถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท้ัง 4 ด้าน คือ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา สังคม โดยค�ำนึงถึงสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุในแต่ละพื้นที่ ซ่ึงอาจมีสภาพแตกต่างกัน ท้ังเร่ืองความเป็นอยู่ รายได้สุขภาพ ภูมิหลังด้านการศึกษาและการท�ำงาน ฯลฯ ส่งเสริมภูมิปัญญาและวิถีชีวิตด้ังเดิมของคนไทยที่ท�ำให้มีสุขภาวะท่ีดี เช่น การรับประทานอาหารและสมุนไพร เพื่อสุขภาพ การท�ำงานเพื่อออกก�ำลังกาย การกตัญญูต่อบิดามารดา การเคารพผู้อาวุโส การมีน�้ำใจช่วยเหลือ กันในสังคม เป็นต้น 88 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

  1. น�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการส่งเสริมการเรียนรู้ส�ำหรับผู้สูงอายุ โดยจัดต้ังมหาวิทยาลัยผู้สูงอายุ 89 ทางโทรทัศน์และมหาวิทยาลัยผู้สูงอายุบนเว็บไซต์ เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ อยา่ งท่ัวถึงและเทา่ เทียมกนั ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏิบตั ิ ระยะส้ัน 1) ท�ำการวิจัยเพ่ือให้มีข้อมูลความต้องการในการเรียนรู้ของผู้สูงอายุส�ำหรับออกแบบหลักสูตร ท่ตี อบสนองความต้องการของผสู้ ูงอายุแต่ละกลุ่ม และมแี นวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ีท่สี ดุ (Best Practice) ส�ำหรับการขยาย ผลตอ่ ไป 2) สถานศึกษาทุกแห่งท�ำงานแบบบูรณาการกับหน่วยงานอ่ืน ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส�ำหรับ ผู้สูงอายุ และการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต ท้ังในด้านการแสวงหา ความรใู้ หม่ ๆ การออมเงิน การดแู ลสุขภาพ ฯลฯ 3) จัดให้มีคณะกรรมการบูรณาการในระดับพื้นท่ี เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุโดยองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นหลักในการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ โดยระดม ความร่วมมือจากหนว่ ยงานต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง 4) ส่งเสริมกิจกรรมอาสาสมัครในผู้สูงอายุ รณรงค์ให้มีอาสาสมัครช่วยเหลือการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะครูอาจารย์ แพทย์ ข้าราชการ นักธุรกิจ ส่ือมวลชน ท่ีเกษียณแล้ว และผู้ทรงภูมิปัญญา ปราชญ์ ชาวบ้าน ควรเปน็ วิทยากรในกิจกรรมการเรยี นรขู้ องผสู้ ูงอายตุ ลอดจนการถา่ ยทอดความร้แู ละประสบการณแ์ ก่ ผูส้ งู อายทุ ่ัวไปเช่นเดยี วกบั การท�ำงานของ “วฒุ อิ าสาธนาคารสมอง” 5) ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างคนต่างวัย โดยเฉพาะปู่ย่าตายายกับหลาน เพ่ือแบ่งปัน ประสบการณ์ของแต่ละวัย เสริมสร้างความเข้าใจและการยอมรับซึ่งกันและกัน เพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม อยา่ งเอื้ออาทรและสงบสขุ 6) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากอาคารสถานที่ของสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา เพ่ือการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ เพื่อการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สูงอายุ โดยไม่ต้องเดินทางไกล เนือ่ งจากผ้สู งู อายอุ าจมปี ญั หาไม่สะดวกในการเดินทางไกล 7) จัดการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาประธานชมรมผู้สูงอายุ ให้เป็นผู้น�ำในการส่งเสริมและจัดกิจกรรม การเรียนรู้ส�ำหรบั ผ้สู งู อาย ระยะยาว 1) เตรียมความพร้อมให้ประชาชนก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุต้ังแต่วัยเยาว์ ให้มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต รจู้ กั วางแผนการเงนิ และการดแู ลสุขภาพตนเองท่นี �ำไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้ 2) ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน เพื่อให้สังคมไทย เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ 3) สร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ เนื่องจากครอบครัวเป็นสถาบันหลัก ในการดูแลและสง่ เสริมการเรียนรู้ของผูส้ งู อายุ 4) มีแผนและงบประมาณสนบั สนุนการวิจัยเพ่อื พัฒนารูปแบบการเรยี นรูข้ องผสู้ งู อายุ 5) พัฒนาระบบจติ อาสา หรือจติ สาธารณะในสังคมไทย ทเ่ี ออ้ื เฟ้อื และแบง่ ปันในการดูแลผู้สูงอายุ 6) ส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีความพร้อมรับผิดชอบเรื่องการอบรม และการพัฒนาผู้จัดกิจกรรม การเรยี นรสู้ �ำหรบั ผู้สงู อายุ ท้งั ในรูปของการอบรมระยะสั้น และหลกั สตู รปรญิ ญา รายงานประจำ�ปี 2561

5. บทวเิ คราะห์แนวทางการจัดทำ� ข้อเสนอทิศทางการเรียนรูส้ ำ� หรับเยาวชนในยุคปจั จบุ ัน ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา องค์ความรู้/งานวิจัย คณะวทิ ยาศาสตร์การเรยี นร้แู ละศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร ์ จากการทบทวนองค์ความรู้เก่ียวกับ มาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานการเรียนรู้ ปัจจัย ท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ และการวิเคราะห์ ระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์และประเทศ ออสเตรเลีย คณะผู้จัดท�ำเล็งเห็นความส�ำคัญใน การสร้างข้อเสนอทิศทางการเรียนรู้แห่งชาติท่ีมี การวางเป้าหมายใหญ่ของการเรียนรู้ (overarching goals) ซึ่งได้แก่ การท่ีคนในสังคมมีความสามารถใน การปรับตัว อยู่ในสังคมที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรม และมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่รวดเร็วได้ โดยในการที่จะไปสู่เป้าหมายดังกล่าว การจดั มาตรฐานการเรยี นรแู้ หง่ ชาตคิ วรใหค้ วามส�ำคญั กับการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน เปน็ ส�ำคัญ คณะผูจ้ ดั ท�ำมขี อ้ เสนอแนะ ดงั น้ี 1. การพัฒนาทิศทางการเรียนรู้ส�ำหรับ เยาวชน ต้องค�ำนึงถึงปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของ มนุษย์เน่ืองจากพัฒนาการของมนุษย์และปัจจัย แวดล้อมทางสังคมส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ ในระดบั ทแ่ี ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะชว่ งวยั เชน่ การแทรกแซง ช่วงปฐมวัย (early intervention) ส่งผลต่อการสร้าง พฤติกรรมในเชิงบวกและให้ผลที่สูงกว่าการแทรกแซง ในภายหลัง (later intervention) เปน็ ต้น 2. ทิศทางการเรียนรู้ส�ำหรับเยาวชน ต้องมุ่งเน้นไปที่ตัวผู้เรียน โดยมีการระบุคุณลักษณะ และทักษะท่ีส�ำคัญในการรับมือกับความเปล่ียนแปลง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างชัดเจน เพื่อสร้าง เป้าหมายร่วมให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ ส า ม า ร ถ ร ่ ว ม มื อ กั น พั ฒ น า ผู ้ เ รี ย น ใ ห ้ เ ป ็ น ไ ป ใ น ทศิ ทางเดยี วกนั และเป็นไปอยา่ งต่อเนอ่ื ง 90 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

3. ทิศทางการเรียนรู้ส�ำหรับเยาวชนต้องมี นัยยะท่ีครอบคลุมการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนท้ังในระบบและ นอกระบบ เนื่องจากท่ีผ่านมา มาตรฐานการศึกษา แห่งชาติและมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตร แกนกลางยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาองค์ความรู้และ ทักษะทางปัญญา (cognitive skills) และละเลย ประสบการณ์การเรียนรู้นอกห้องเรียน ซึ่งเป็นแหล่ง บ่มเพาะคุณลักษณะทางพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ (non - cognitive characteristics) อนั เปน็ ปัจจัยทีส่ �ำคญั ยง่ิ ในการช่วยให้มนุษย์ประสบความส�ำเร็จในการใช้ชีวิต อยู่ในสงั คมมากกวา่ ทกั ษะทางปัญญา (เจมส์ เฮกแมน, 2559) 4. หนว่ ยงานท่ีดแู ลการสรา้ งทิศทางการเรียน รู้ส�ำหรับเยาวชนควรเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น เก่ียวกับการวางเป้าหมายร่วม เพื่อสร้างความเข้าใจ ท่ีตรงกันในเชิงผลลัพธ์ของการจัดการศึกษาและ การส่งเสริมการเรียนรู้ ในด้านคุณลักษณะของ พลเมอื งและสังคมทพ่ี งึ ประสงค์ 5. ทิศทางการเรียนรู้ส�ำหรับเยาวชนควร ก�ำหนดคุณลักษณะและทักษะในการรับมือกับความ เปลี่ยนแปลงของผู้เรียน ไม่ควรมีรูปแบบที่ตายตัว แต่ควรรองรับรูปแบบการเรียนรู้ที่มีความหลากหลาย มากขึ้นในอนาคต รวมท้ังควรมีนิยามของคุณลักษณะ และทักษะของเยาวชนที่ชัดเจน โดยแบ่งตามล�ำดับ ข้ันของพัฒนาการของเด็กและเยาวชน เพื่อให้ แต่ละบริบทสามารถเห็นแนวทางในการจัดสภาพ แวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างพลเมืองในลักษณะนั้น และน�ำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่มีความ แตกตา่ งกันไปในแตล่ ะพื้นทไี่ ด้ รายงานประจำ�ปี 2561 91

6. สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2560 ส�ำนกั ประเมินผลการจดั การศกึ ษา องคค์ วามร้/ู งานวจิ ัย ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้ด�ำเนิน ก า ร ศึ ก ษ า เ ป รี ย บ เ ที ย บ ส ม ร ร ถ น ะ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบัน เพื่อพัฒนาการจัดการ (International Institute for Management Development : IMD) เป็นกรอบหลัก ในการวิเคราะห์เป็นประจ�ำ ทุกปีตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดย มีจุดมุ่งหมายส�ำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการก�ำหนด นโยบายและวางแผน เพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้ มีคณุ ภาพและไดม้ าตรฐานระดบั สากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศตา่ ง ๆ ประจ�ำปี 2560 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2017 ซ่ึงในปีน้ี IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ 346 ตัวช้ีวัด โดยแหล่งข้อมูลที่ IMD น�ำมาจัดอันดับมาจาก 2 ทาง คือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data / Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองคก์ ารระหว่าง ประเทศระดับชาติและภูมิภาคเช่น OECD, World Bank, UN,WTO, UNESCO/UIS, IMF เปน็ ตน้ 2) ขอ้ มูล จากการส�ำรวจ (Survey data) ได้จากการส�ำรวจ ความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง โดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจ ที่มคี า่ ระหว่าง 1 – 10 ทั้งน้ี IMD พิจารณาจัดอันดับความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศ ตามปจั จยั หลกั ทส่ี �ำคญั 4 ดา้ น คอื (1) สมรรถนะทางเศรษฐกจิ (Economic Performance) (2) ประสทิ ธภิ าพของภาครฐั (Government Efficiency) (3) ประสทิ ธภิ าพของภาคธรุ กจิ (Business Efficiency) และ (4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ประเมิน ครอบคลุมข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม รวมถึงปัจจัย ด้านการศึกษาซึ่งในแต่ละปัจจัยหลักประกอบด้วย 5 ปัจจยั ยอ่ ย (Sub - Factor) 92 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

ความสามารถในการแขง่ ขนั ในภาพรวม ของประเทศไทย ในภาพรวม ประเทศไทยมีอันดับดีข้ึนต่อเนื่อง เป็นปีท่ี 2 โดยขยับขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 27 ผลการจัด อันดับของประเทศไทยดีขึ้น ทั้งโดยคะแนนและอันดับ โดยมีคะแนนภาพรวมในปีน้ีเพ่ิมข้ึนเป็น 80.095 เปรียบเทยี บกับ 74.681 ในปี 2559 และมีอันดับเลอ่ื นขึน้ จาก 28 ในปี 2559 เป็นอันดับ 27 ในปี 2560 เม่ือพิจารณาคะแนนที่ประเทศไทยได้รับ ระยะต้ังแต่ ปี 2556 – 2560 พบว่าประเทศไทยมีคะแนนท่ีสูงขึ้นมา โดยตลอดนับต้ังแต่ปี 2557 เป็นต้นมา หากพิจารณา ผลการจัดอันดับของประเทศไทยท่ีได้รับการจัดอันดับ ในกลุ่มอาเซียน พบว่า ประเทศส่วนใหญ่มีอันดับดีขึ้น โดยเฉพาะประเทศอินโดนีเซียที่อันดับดีขึ้นถึง 6 อันดับ ขณะท่ีประเทศมาเลเซียเป็นประเทศเดียวในกลุ่มอาเซียน ที่มีอันดับลดลงจากอันดับที่ 19 ในปี 2559 เป็น อันดับที่ 24 ในปี 2560 ส�ำหรับฮ่องกงยังคงเป็น อันดับ 1 ซ่ึงอันดับดังกล่าวเป็นผลสืบเน่ืองมาจาก ความมีประสิทธิภาพทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์อยู่ในอันดับท่ี 2 สิงคโปร์เล่ือนขึ้นมา 1 อันดับ อยู่อันดับ 3 เปรียบเทียบสมรรถนะ ของแตล่ ะปัจจัยหลกั พบว่า เม่ือพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทย ตามปัจจัยที่ใช้ในการจัดอันดับ 4 ด้าน พบว่า ปัจจัยท่ีมี อันดับดีท่ีสุดคือ สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ซึ่งอยู่ในอันดับ 10 ดีข้นึ 3 อนั ดับ จากปี 2559 ปัจจัยดา้ นประสิทธิภาพ ของภาครัฐอยู่ในอันดับ 20 ดีข้ึน 3 อันดับ เช่นเดียวกัน โดยมีปัจจัยด้านประสิทธิภาพภาคธุรกิจ และโครงสร้าง พื้นฐานมีอนั ดับคงเดมิ ไม่เปลี่ยนแปลง มอี ันดบั ที่ 25 และ 49 ตามล�ำดบั ในปี 2560 จากการที่ผลการจัดอันดับสมรรถนะทาง เศรษฐกิจและประสิทธิภาพของภาครัฐมีอันดับที่ดีขึ้นถึง 3 อันดับ สะทอ้ นให้เห็นถึงสภาวะเศรษฐกิจระดบั มหภาค ดีข้ึน และการปรับปรุงในด้านกฎระเบียบและกฎหมาย ธุรกิจท่ีส่งผลดีให้ด�ำเนินธุรกิจมีความสะดวกและ รายงานประจำ�ปี 2561 93

คล่องตัวมากข้ึน ส่วนด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ (อันดับ 25) และด้านโครงสร้างพื้นฐาน (อันดับ 49) มีอันดับเท่าเดิมไม่เปล่ียนแปลง คงมีเพียงด้านโครงสร้าง พ้ืนฐานที่สมรรถนะตกต่�ำ ติดอันดับท้าย ๆ ซ่ึงส่งผลให้ สมรรถนะในภาพรวมไม่ดีข้ึนมากนักโดยมีรายละเอียด ดังนี้ สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยอยู่อันดับ ที่ 10 เม่ือเปรียบเทียบในระดับเอเชียแปซิฟิก พบว่า ประเทศไทยมีอันดับดีกว่าเกือบทุกประเทศ ยกเว้น จีน และสิงคโปร์ที่มีอันดับดีกว่าไทย สมรรถนะทางเศรษฐกิจ พิจารณาจาก 5 ปัจจัยย่อย คือ 1) เศรษฐกิจในประเทศ 2) การค้าในประเทศ 3) การลงทุนระหว่างประเทศ 4) การจ้างงานและ 5) ระดับราคา/ค่าครองชีพ พบว่า ประเทศไทยมีปัจจัยย่อยที่มีอันดับดีข้ึนถึง 3 ด้านได้แก่ เศรษฐกิจภายในประเทศท่ีข้ึนมาเป็นอันดับที่ 33 จาก อันดับที่ 37 ในปี 2559 การค้าระหว่างประเทศอยู่ใน อนั ดบั ท่ี 3 จากอนั ดบั ท่ี 6 ในปี 2559 ราคาและคา่ ครองชพี ที่อันดับดีขึ้นมากจากอันดับท่ี 45 เป็นอันดับที่ 28 ในขณะที่ด้านการจ้างงาน ยังอยู่ในอันดับที่ดีมากคือ อันดบั ท่ี 3 เช่นเดยี วกบั ปกี อ่ น ประสิทธิภาพของภาครัฐ ประเทศไทยอยู่ใน อันดับที่ 20 มีสมรรถนะดีขึ้นถึง 3 อันดับจากปีที่ผ่านมา โดยมีอันดับดีกว่าหลายประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย เกาหลี อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ จีน อินเดีย และมองโกเลีย ประสิทธิภาพของภาครัฐพิจารณาจาก 5 ปัจจัยย่อย ได้แก่ 1) ฐานะการคลัง 2) นโยบายการคลัง 3) กรอบ การบริหารด้านสถาบัน 4) กฎระเบียบในการท�ำธุรกิจ/ กฎหมายด้านธุรกิจและ 5) กรอบการบริหารด้านสังคม ซึ่งด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ มีอันดับท่ีดีข้ึน อย่างต่อเนื่องใน 3 ปี ล่าสุด ปัจจัยย่อยท่ีมีอันดับดีข้ึน ได้แก่ กฎหมายด้านธุรกิจที่ดขี ึ้นถงึ 6 อนั ดบั จากปี 2559 โดยข้ึนมาอยู่ในอันดับที่ 38 จากอันดับท่ี 44 ในปีก่อน และกรอบการบริหารด้านสถาบนั ท่ขี ้นึ มาเปน็ อันดบั ท่ี 30 จาก 33 ในปที แ่ี ล้ว นอกจากน้ี นโยบายการคลงั นั้นยงั คง ได้อันดับที่ดีกว่าเดิมจากที่เคยดีอยู่แล้ว โดยขึ้นมาอยู่ใน อนั ดบั 4 ในปี 2560 94 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ประเทศไทยอยู่ใน 95 อันดับท่ี 25 มีอันดับคงเดิมซ่ึงมีสมรรถนะดีกว่า หลายประเทศ เช่น ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี และมองโกเลีย พิจารณาจาก 5 ปัจจัยย่อย ได้แก่ คือ 1) ผลิตภาพและประสิทธิภาพ 2) ตลาดแรงงาน 3) การเงิน 4) การบริหารจัดการและ 5) ทัศนคติและค่านิยม โดยในปี 2560 ปัจจัยย่อยท่ีมี อันดับดีขึ้น ได้แก่ ด้านการบริหารการจัดการและด้าน ผลิตภาพและประสิทธิภาพ ในขณะที่ด้านตลาดแรงงาน และด้านการเงินมีอันดับลดลง ส่วนด้านทัศนคติและ คา่ นยิ มมีอันดับคงเดมิ ส�ำหรับดา้ นการบริหารการจัดการ ปรับตวั ดีขนึ้ 6 อันดับโดยขึน้ มาอยู่ที่ 20 โครงสร้างพ้ืนฐาน ประเทศไทยมีอันดับ ความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพ้ืนฐานคงท่ี อยู่อันดับท่ี 49 ซึ่งต่�ำกว่าประเทศเพื่อนบ้านหลาย ประเทศโดยเฉพาะสิงคโปร์ (อนั ดบั 7) รองลงมาคอื ญป่ี ่นุ ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลี จีน และมาเลเซยี แต่ไทยมอี ันดับ ดีกว่าฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดียและมองโกเลีย ซึ่งมีอันดับรั้งท้ายอยู่ที่ 55, 56, 60 และ 62 ตามล�ำดับ โครงสร้างพ้ืนฐานพิจารณาจาก 5 ปัจจัยย่อย ได้แก่ 1) สาธารณูปโภคพ้ืนฐาน 2) โครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านเทคโนโลยี 3) โครงสร้างพ้ืนฐานด้านวิทยาศาสตร์ 4) สุขภาพและส่ิงแวดล้อม และ 5) การศึกษาซึ่งใน ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานปัจจัยย่อย 2 ด้านท่ีอันดับดีข้ึน ได้แก่ โครงสร้างพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีท่ีปรับตัวดีข้ึน 6 อันดับ และโครงสร้างพื้นฐานทั่วไป ปรับตัวดีข้ึน 1 อันดับ ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับท่ี 36 ดีข้ึน 6 อันดับ ส�ำหรับด้านโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการศึกษา และด้าน สาธารณสขุ และสงิ่ แวดลอ้ ม ยงั เปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งเรง่ ปรบั ปรงุ และพัฒนามากที่สุด โดยยังอยู่ในอันดับต่�ำ (อันดับ 54 และ 57 ตามล�ำดับ) จะเห็นว่า ปัจจัยท่ีเกื้อหนุนให้ โครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยในภาพรวมไม่ตกต�่ำลง ไปมาก ได้แก่ ปัจจัยด้านเทคโนโลยีท่ีดีข้ึนถึง 6 อันดับ และด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานดีข้ึน 1 อันดับ ในขณะที่ ด้านการศึกษา มีอันดับตกต�่ำมากที่สุดในรอบ 5 ปี ท่ีผ่านมา รายงานประจ�ำ ปี 2561

ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของ ประเทศไทย ในปี 2560 IMD ได้จัดอันดับความสามารถ ในการแข่งขันด้านการศึกษาซ่ึงเป็น 1 ใน 5 ของ ป ั จ จั ย ย ่ อ ย ใ น ป ั จ จั ย ห ลั ก ด ้ า น โ ค ร ง ส ร ้ า ง พื้ น ฐ า น ประเทศไทยมีอันดับด้านการศึกษาอยู่ในอันดับ 54 ลดลง 2 อันดับ เม่ือเปรียบเทยี บกับปี 2559 เม่ือพิจารณาผลการจัดอันดับควาสามารถ ในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จ�ำนวน 18 ตัวชี้วัดของประเทศไทยในปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 6 ตัวช้ีวัด จ�ำแนกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ตัวช้ีวัดท่ีรวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 2 ตัวช้ีวัด ได้แก่ (1) อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ ครู 1 คน ทส่ี อนระดบั ประถมศกึ ษา (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา กลุ่มท่ี 2 ตัวช้ีวัดที่ใช้ วิธีการส�ำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 4 ตัวช้ีวัด ไดแ้ ก่ (1) การสอนวทิ ยาศาสตรใ์ นโรงเรยี น (2) การตอบสนอง ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ของการอดุ มศกึ ษา (3) การบรหิ ารจัดการศกึ ษาท่ีตอบสนองตอ่ ความต้องการ ของภาคธุรกิจ และ (4) ทักษะทางภาษาท่ีตอบสนองต่อ ความตอ้ งการของผู้ประกอบการ ส�ำหรับตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด ซ่ึงเป็นตัวช้ีวัดท่ีรวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP และ (2) อัตรา การเข้าเรียนระดับมัธยมศกึ ษา ส่วนตัวช้ีวัดท่มี ีอันดับลดลงมี 10 ตวั ช้ีวดั จ�ำแนก เป็น 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กล่มุ ที่ 1 ตวั ชวี้ ดั ทรี่ วบรวมข้อมลู จาก หน่วยงานต่าง ๆ 9 ตัวช้ีวัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้าน การศกึ ษาต่อประชากร (2) งบประมาณด้านการศกึ ษาต่อ นักเรียนระดับระดับมัธยมศึกษา (3) อัตราส่วนนักเรียน ต่อครู 1 คนท่ีสอนระดับมัธยมศึกษา (4) ร้อยละของ ผู้หญิงที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป (5) จ�ำนวน นักศึกษาต่างชาติท่ีเข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาใน ประเทศต่อประชากร 1,000 คน (6) จ�ำนวนนักศึกษา ต่างชาติท่ีไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 96 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

1,000 คน (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ความสามารถใน การใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (9) อัตราการไม่รู้หนังสือ ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มท่ี 2 ตัวช้ีวัดที่ใช้วิธี การส�ำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด ไดแ้ ก่ (10) ระบบการศึกษาท่ีตอบสนองตอ่ ความสามารถ ในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจ เมื่อพิจารณาอันดับตัวชี้วัดด้านการศึกษา จ�ำแนกตามเปา้ หมายแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 พบว่า ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา พิจารณาจากจ�ำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา ปี 2560 ร้อยละ 83.6 (อันดับ 53) เม่ือเปรียบเทียบกับ ปี 2559 ร้อยละ 79.6 (อันดับ 53) พบว่า ประเทศไทย มีอันดับเท่าเดิม แต่มีคะแนนสูงข้ึน ซึ่งต�่ำกว่าประเทศใน เอเชียแปซิฟิกส่วนใหญ่ท่ีมีอัตราการเข้าเรียนระดับ มัธยมศึกษาของประชากรกลุ่มอายุดังกล่าว ร้อยละ 85 ข้ึนไป ด้านความเท่าเทียม พิจารณาจากร้อยละของ ผู้หญิงที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป และเป็น ตวั ชวี้ ดั ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ มาในปี 2558 พบวา่ ประเทศไทยมผี หู้ ญงิ ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปลดลง 21 อันดับ จากอนั ดบั 23 (ร้อยละ 60.9) ในปี 2558 เป็น อนั ดับ 44 (ร้อยละ 54.4) ในปี 2560 และเมื่อเปรียบเทียบอันดับ ในภูมิภาคเอเชียแปซฟิ กิ พบวา่ ประเทศสว่ นใหญ่มีอัตรา ของผู้หญิงท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป ลดลง ยกเวน้ ประเทศญีป่ ่นุ เกาหลี และอนิ โดนเี ซียท่ีมีแนวโนม้ ดขี ึน้ ด้านคุณภาพการศึกษา IMD พิจารณาจาก ตัวช้ีวัดต่าง ๆ ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ท่สี อนระดับประถมศึกษา เท่ากับ 15.39 : 1 (อันดบั 21) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ท่ีสอนระดับมัธยมศึกษา เท่ากับ 29.54 : 1 (อันดับ 63) การสอนวิทยาศาสตร์ใน โรงเรียน ได้คะแนน 4.48 จากคะแนนเต็ม 10 (อันดบั 46) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา พบว่า มีผู้จบการศึกษา ระดบั อดุ มศกึ ษารอ้ ยละ 32.7 (อนั ดบั 37) ผลการประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ท่มี อี ายุ 15 ปี (ผลการทดสอบ PISA 2015) (อันดบั 49) รายงานประจ�ำ ปี 2561 97

ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ (TOEFL) (อนั ดบั 58) และอัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปี ขนึ้ ไป (อันดบั 47) ด้านประสิทธิภาพการจัดการศึกษา IMD พิจารณาจากงบประมาณด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์ มวลรวมของประเทศ (GDP) ในปี 2560 ประเทศไทยมี การลงทุนทางการศึกษาร้อยละ 3.9 ของ GDP (อันดับ 43) งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อประชากร จ�ำนวน 238 เหรียญสหรัฐ (อันดับ 55) ซ่ึงน้อยกว่า ประเทศส่วนใหญ่ในกลุ่มเอเชียแปซิฟิก และงบประมาณ รายจ่ายด้านการศึกษาต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 17.8 (อันดับ 41) จ�ำนวนนักศึกษา ในประเทศไทยท่ีไปศึกษาต่อต่างประเทศต่อประชากร 1,000 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.39 (อันดับ 53) ขณะที่ จ�ำนวนนักศึกษาต่างชาติท่ีเข้ามาศึกษาต่อในประเทศไทย ตอ่ ประชากร 1,000 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.19 (อนั ดบั 53) และด้านระบบการศึกษาของไทยท่ีตอบสนองต่อ ความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ มีคะแนน การประเมิน 4.45 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (อันดบั 46) ด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปล่ียนแปลง IMD ประเมินสมรรถนะด้านการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับการ ตอบโจทย์บริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ได้แก่ การตอบสนอง ต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการ อดุ มศกึ ษา มคี ะแนนผลการประเมนิ เทา่ กบั 4.99 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (อันดับ 46) การบริหาร จัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ไดค้ ะแนน 5.41 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (อันดบั 43) และทักษะทางภาษาท่ีตอบสนองต่อความต้องการของ ผู้ประกอบการได้คะแนน 4.3 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน (อนั ดับ 50) กล่าวโดยสรุป สมรรถนะการศึกษาไทยในเวที สากลยังอยู่ในระดับท่ีไม่ดีมากนักและยังล้าหลังกว่า หลายประเทศในกลุ่มเอเชียแปซิฟิก ท้ังด้านการเข้าถึง โอกาสทางการศึกษา ด้านคุณภาพการศึกษาด้าน ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา และด้านการศึกษาที่ สามารถตอบโจทยบ์ ริบททีเ่ ปลีย่ นแปลง 98 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

ความสามารถในการแขง่ ขันด้านดิจทิ ลั Technology ของประเทศไทย ในปี 2560 IMD ได้จัดอันดับความสามารถ ในการแข่งขันด้านดิจิทัลซ่ึงพิจารณาจากปัจจัยหลัก 3 ปจั จยั ไดแ้ ก่ ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยสี มรรถนะดา้ นความรู้ และการเตรียมความพร้อมสู่อนาคต ผลการจดั อันดับ พบวา่ ประเทศไทยมีสมรรถนะ ด้านดิจิทัลอยู่ในอันดับ 41 จาก 63 ประเทศโดย ไทยมีสมรรถนะด้านดิจิทัลดีกว่า ประเทศฟิลิปปินส์ (อนั ดับ 46) อนิ เดีย (อนั ดับ 51) อินโดนเี ซยี (อันดับ 59) และมองโกเลีย (อันดับ 61) โดยมีประเทศสิงคโปร์ ที่มีสมรรถนะด้านดิจิทัลดีท่ีสุด (อันดับ 1) ตลอด 5 ปี ท่ผี า่ นมา เปรียบเทียบสมรรถนะของแต่ละปัจจัยหลัก พบวา่ สมรรถนะทักษะด้านเทคโนโลยี IMD ประเมิน การด�ำเนินงานในภาพรวมท่ีท�ำให้เกิดการพัฒนา เทคโนโลยีดิจิทัล พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 30 โดยมีอันดับดีกว่าประเทศจีน (อันดับ 30) ฟิลิปปินส์ (อันดับ 51) อนิ โดนีเซีย (อันดบั 56) อินเดีย (อันดับ 59) และมองโกเลีย (อนั ดบั 61) สมรรถนะด้านความรู้ IMD ประเมินสมรรถนะ ดา้ นความรทู้ จ่ี �ำเปน็ ในดา้ นการคน้ หา เขา้ ใจ และการสรา้ ง เทคโนโลยีใหม่ พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 44 มีอันดับดีกว่าเพียง 3 ประเทศ ได้แก่ ฟิลิปปินส์ (อันดับ 53) อนิ โดนีเซยี (อันดบั 58) และมองโกเลยี (อนั ดบั 59) สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมสู่อนาคต IMD ประเมินระดับการเตรียมความพร้อมของแต่ละ ประเทศ รวมทั้งการจัดท�ำขั้นตอนการแสวงหาประโยชน์ จากการเปลี่ยนผ่านดิจิทัล พบว่า ประเทศไทยอยู่ใน อันดับ 45 โดยมีอันดับดีกว่าเพียง 3 ประเทศในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก ได้แก่ อินเดีย (อันดับ 51) มองโกเลีย (อันดบั 60) และอินโดนเี ซยี (อนั ดบั 62) กล่าวโดยสรุป สมรรถนะด้านดิจิทัลของ ประเทศไทยยังอยู่ในอันดับที่ไม่ดีมากนักโดยอยู่อันดับ รายงานประจ�ำ ปี 2561 99

ร้ังท้ายกว่าหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ทั้งด้านทักษะด้านเทคโนโลยีสมรรถนะด้านความรู้ และด้านการเตรยี มความพร้อมสูอ่ นาคต แนวทางการขับเคลื่อนเพ่ือเพมิ่ อนั ดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ด้านการศึกษา 1. ควรสร้างความเข้าใจท่ีเกี่ยวกับตัวชี้วัดด้าน การศกึ ษาที่ใช้ในการจัดอันดับประเทศตา่ ง ๆ ทัว่ โลกของ สถาบันเพื่อพัฒนาการจัดการ (International Institute for Management Development : IMD) ให้หนว่ ยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับและประเภท การศึกษาเร่งการพัฒนางานจัดการศึกษา โดยเฉพาะ ตัวช้ีวัดที่มีอันดับค่อนข้างสูงเกินอันดับท่ี 50 เช่น อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ งบประมาณด้าน การศึกษาต่อประชากรอัตราการเข้าเรียนระดับมัธยม ทักษะทางภาษาท่ีตอบสนองต่อความต้องการของ ผ้ปู ระกอบการ และผลการทดสอบ PISA เป็นต้น เพือ่ ลด อันดับของตัวชี้วัดย่อยซ่ึงจะส่งผลให้อันดับสมรรถนะ ดา้ นการศึกษาโดยรวมของประเทศไทยดขี ึน้ 2. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานการจัด การศึกษาและสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้บริหาร ของหน่วยงานท่ีใช้ก�ำลงั แรงงาน ซงึ่ เป็นผตู้ อบแบบส�ำรวจ ความคิดเห็นของสถาบันเพ่ือพัฒนาการจัดการ (IMD) ในตัวช้ีวัดด้านการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับระบบการศึกษา การสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน การตอบสนอง ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการ อุดมศึกษาการบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อ ความต้องการของภาคธุรกิจ และทักษะทางภาษา ที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการเพื่อให้ ผู ้ บ ริ ห า ร ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น มี ค ว า ม เ ข ้ า ใ จ ใ น ก า ร ต อ บ แบบสอบถามมากขน้ึ 100 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

7. สภาวการณ์ การศกึ ษาไทยในเวทโี ลก พ.ศ. 2559/2560 ส�ำนักประเมินผลการจัดการศกึ ษา องค์ความร/ู้ งานวจิ ยั การศึกษาไทยในเวทีโลก พ.ศ. 2559/2560 นี้ เป็นการน�ำเสนอผลการจัดการศึกษาของประเทศไทย เปรียบเทียบกับนานาชาติหรือประเทศที่คัดสรรในกลุ่ม อาเซียนบวกหก จ�ำนวน 16 ประเทศ โดยการศึกษา ค้นคว้าและเปรียบเทียบข้อมูลตามตัวชี้วัดจากฐานข้อมูล หลักของสถาบันสถิติแห่งยูเนสโก (UNESCO Institute for Statistics หรือ UIS) และเอกสารจากแหล่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้รายงานมีความสมบูรณ์มากย่ิงขึ้น ได้แก่ World Competitiveness Yearbook (IMD 2016-2017), World Economic Forum (WEF 2017/2018), World University Ranking Quacquarelli Symons (QS 2018), Programme for International Student Assessment (PISA 2015), Trends in International Mathematics and Science Study (TIMSS 2015) และ Human Development Report 2016 โดยสาระส�ำคัญของการศึกษาวิเคราะห์ ประกอบด้วย สภาวการณ์ด้านประชากรกับการศึกษา ทั้งในเรื่องของประชากร เช่น การเปล่ียนแปลง ของประชากร อัตราการพ่ึงพิง ร้อยละของประชากรใน เขตเมือง แรงงานกับการศึกษา เช่น ปีการศึกษาเฉลี่ย การศึกษาของประชากรวัยแรงงาน การมีงานท�ำและ การว่างงานคุณภาพชีวิต เช่น การพัฒนามนุษย์ ความยากจน สอ่ื และเทคโนโลยี เชน่ การใช้อนิ เทอรเ์ นต็ การใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ เปน็ ต้น ขอ้ เสนอแนะ 1) เพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาให้กับ ประชากรทุกวัยต้ังแต่เด็กจนถึงวัยผู้สูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) โดยเฉพาะกลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส รวมทงั้ เดก็ ทอ่ี ยนู่ อกโรงเรยี น ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาอยา่ งนอ้ ยในระดบั การศกึ ษาภาคบงั คบั และควรมีการศึกษาวิจัยเชิงลึกถึงสาเหตุและปัจจัย ท่ที �ำใหม้ ีเดก็ อย่นู อกโรงเรียน 2) ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชากรทุกเพศทุกวัย ทั้งท่ีอยู่ในเขตเมืองและชนบทห่างไกลให้ได้รับการศึกษา อย่างเท่าเทียมกัน โดยส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน รายงานประจำ�ปี 2561 101

ให้มีการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีรวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยี ทใ่ี ช้ในการจัดการเรยี นการสอนเพิ่มมากขึ้น 3) มีแนวทางเพ่ิมปีการศกึ ษาเฉลี่ยของประชากร วั ย แ ร ง ง า น ไ ท ย ใ ห ้ สู ง ขึ้ น จ า ก ร ะ ดั บ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ให้มีคุณวุฒิอย่างน้อยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพ่ือยกระดับคุณภาพแรงงานไทยให้สูงขึ้นรวมทั้งมีระบบ การติดตามเด็กที่ตกหล่นเพ่ือน�ำเข้าสู่ระบบการศึกษา ให้เข้าได้เรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ และส่งเสริม ให้ศึกษาต่อจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตาม นโยบายเรยี นฟรี 15 ปขี องรฐั บาล 4) ควรเพ่ิมและให้ความส�ำคัญกับคุณภาพ การศกึ ษาให้มากขนึ้ โดยเฉพาะสง่ เสรมิ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาคน ไทยให้สามารถคิดค้นเทคโนโลยีและนวัตกรรม และ มีทักษะในการประกอบอาชีพ รวมทั้งพัฒนาให้มี ความเป็นผู้ประกอบการเพ่ือรองรับนโยบายการพัฒนา ประเทศไทย 4.0 อันจะเป็นการยกระดับความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศให้สงู ขนึ้ 5) ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การศกึ ษา โดยเฉพาะการจัดสรรค่าใช้จ่ายรายหัวให้ส่งผลถึงผู้เรียน อย่างแทจ้ รงิ โดยเน้นความเทา่ เทยี ม ทั่วถงึ และเป็นธรรม เพ่ือลดความเหล่ือมล�้ำหรือความไม่เท่าเทียมทาง การศึกษาตามถ่ินที่อยู่อาศัยและฐานะทางเศรษฐกิจ โดยมีระบบการติดตามการใช้งบประมาณทางการศึกษา ท่มี ีประสทิ ธิภาพ 6) พัฒนาระบบฐานข้อมูล (Big Data) ของประเทศให้สมบูรณ์ โดยมีฐานข้อมูลด้านการศึกษา ท่ีครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย สามารถเช่ือมโยงและ ใช้ข้อมูลระหว่างหน่วยงานในประเทศและต่างประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังมีฐานข้อมูลนักเรียน รายบุคคลที่เป็นปัจจุบัน เพ่ือน�ำมาใช้ติดตามและ พฒั นาการศกึ ษาของประเทศในภาพรวมได้ 7) จัดต้ังส�ำนักงานกองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี ทางการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือจะได้มีองค์กรหลักในการขับเคล่ือนการน�ำเทคโนโลยี มาใช้ในการสร้างโอกาสทางการศึกษา ความเท่าเทียม คุณภาพ ประสิทธิภาพ และการตอบโจทย์บริบทท่ี เปล่ยี นแปลง 102 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

8. สภาวะการศกึ ษาไทย ปี 2559/2560 ส�ำนกั ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา องค์ความรู/้ งานวจิ ัย ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาเป็นองค์กรหลักของ กระทรวงศึกษาธิการ ที่มีหน้าท่ีเสนอนโยบายและแผนการศึกษา แห่งชาติ มาตรฐาน การประเมินผลการศึกษาที่บูรณาการกับ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม โดยภารกิจส�ำคัญที่ส�ำนักงานฯ ได้ ด�ำเนินการในช่วงที่ผ่านมา คือ จัดท�ำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 จัดท�ำมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษา การจัดท�ำกฎหมายท่ีเก่ียวกับ การศึกษา เช่น การจัดท�ำพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพ่ือเปน็ แนวนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษาของประเทศ โดยไดก้ �ำหนดใหม้ กี ารจดั ท�ำรายงานสภาวะการศกึ ษาไทยเพอื่ เสนอ ต่อสาธารณชนทุกปีและในปีนี้ได้มอบหมายให้มูลนิธิสุข - แก้ว แก้วแดง จัดท�ำรายงานสภาวะการศึกษาไทย พ.ศ. 2559/2560 เพื่อเสนอบทวิเคราะห์และข้อเสนอแนะส�ำหรับการปฏิรูป การศึกษาไทยที่เหมาะสมส�ำหรับน�ำพาประเทศไทยให้ก้าวข้าม กับดักประเทศทมี่ รี ายไดป้ านกลางไปสู่ Thailand 4.0 ตามนโยบาย และยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปที ่รี ัฐบาลก�ำหนดไว้ เมื่อวันท่ี 13 ตุลาคม 2559 ประเทศไทยและประชาชน ชาวไทยต้องประสบความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ด้วยพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 เสดจ็ สวรรคต ตลอดระยะเวลา 70 ปีแห่งการครองราชย์ พระองค์ได้ทรงบ�ำเพ็ญ พระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่คนไทยทุกหมู่เหล่าอย่างหลากหลายและ เท่าเทียม โดยเฉพาะการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสในชนบทและชายแดน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างโรงเรียน เช่น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โรงเรียนพระดาบส เป็นต้น พระราชทานทุนการศึกษาและอุปกรณ์การศึกษา ตลอดจนพระราชด�ำริ เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาของคนไทยด้วยการวิจัยและเทคโนโลยี เช่น การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ท่ีมีอยู่ในทุกภาค ซ่ึงเป็นที่รวมของนวัตกรรมด้านการเกษตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม พระราชด�ำริเร่ืองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ ท่ีสามารถน�ำไปปรับใช้ได้กับ ความเปล่ียนแปลงของโลก แม้ในรัชสมัยปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ก็ทรงสืบสานพระราชปณิธานของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 9 ดังกล่าว ทรงสร้างโรงเรียนในชนบท พระราชทานอุปกรณ์การเรียนแก่นักเรียนในท้องถิ่นห่างไกลกันดาร พระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียน ท่ีด้อยโอกาส และทรงมีพระราชด�ำริให้จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีวินัย และเป็นคนดีมีคุณธรรม มจี ติ อาสา รายงานประจ�ำ ปี 2561 103

พระราชกรณียกิจด้านการศึกษาของพระเจ้าแผ่นดินทั้งสองรัชกาล คือ ต้นแบบแห่งความพยายาม ในการพัฒนาคนไทยด้วยการให้โอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง ตลอดจนการศึกษา วิจัยเพ่ือสร้างนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศและการด�ำรงชีวิตอย่างมีความสุขของคนไทยท้ังปวง ในทุกยุคทุกสมัย ในยุคที่ประเทศไทยก�ำลังมีความพยายามที่จะก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางไปสู่ ประเทศที่มีรายได้สูง ใช้เทคโนโลยีในการขับเคล่ือนประเทศไปสู่ยุค Thailand 4.0 น้ี หากหน่วยงานท่ีจัดการ ศกึ ษาท้ังในระดับกระทรวง ระดบั ภาค ระดับจังหวัด ระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ และ สถานศึกษาจะน้อมน�ำพระราชด�ำริและพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาไปขยายผลต่ออย่างจริงจังและต่อเนื่อง การพัฒนาการศึกษาไทยก็คงบรรลุเป้าหมายที่จะส่งผลให้คนไทยทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ อย่างทว่ั ถึงและเทา่ เทยี ม วัตถุประสงค์ของการศึกษาและจัดท�ำรายงานฉบับน้ี เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการศึกษาไทย ในปี 2559/2560 และแนวโน้มในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ในด้านโอกาสทางการศึกษา ความเท่าเทียม คุณภาพ การศึกษา ประสิทธิภาพ และการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง รวมทั้งเปรียบเทียบความสามารถใน การแข่งขันของประเทศไทยกับประเทศในอาเซียนและเวทีโลก น�ำเสนอนวัตกรรมด้านการศึกษาของกรณี ศึกษาท่ีประสบความส�ำเร็จ (Best Practice) ส�ำหรับเป็นแนวทางในการปฏิบัติของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังเสนอแนะ บทบาท แนวทางการด�ำเนินงาน เครือ่ งมือกลไกสนับสนุนของหน่วยงาน และภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และทิศทางการพัฒนาการศึกษาในอนาคต ให้สามารถด�ำเนินการได้บรรลุตามเป้าหมาย การพฒั นาการศึกษาของประเทศ วิธีการศึกษา ใช้วิธีการวิเคราะห์ระบบ (System Analysis Model) โดยศึกษาจากเอกสารรายงาน และสถติ ขิ ้อมูล สัมภาษณ์ น�ำมาวเิ คราะห์ และสังเคราะห์จดั ประชุม Focus Group จัดท�ำรา่ งรายงานสภาวะ การศึกษาไทย 2559/2560 รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอจากการจัดประชุมสัมมนา เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 และแกไ้ ขปรบั ปรุงร่างรายงานให้สมบรู ณผ์ ลการศกึ ษาสรปุ ได้ดงั นี้ 1. สภาวะการศกึ ษาไทย ในปี 2559/2560 และแนวโนม้ ในช่วง 5 ปีที่ผา่ นมา 1.1 การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรสูส่ งั คมผสู้ งู อายุ โครงสร้างประชากรช่วงปี 2553 - 2559 ชี้ใหเ้ หน็ ว่า จ�ำนวนประชากรอายุ 0 - 17 ปี ชว่ งวัยเรยี นระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีจ�ำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ประชากรวัย 60 ปีขึ้นไปเพ่ิมขึ้นอย่างมากและรวดเร็ว เนื่องจากอัตราการเกิดลดลง ข้อมูลของส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและส�ำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการระบุตรงกันว่า ระหว่างปีการศึกษา 2550 – 2559 จ�ำนวนผู้เรียนลดลงทุกระดับการศึกษาและ ประเภทรวมกันกว่า 1 ล้านคน โดยผู้เรียนระดับประถมศึกษาลดลงมากท่ีสุด รองลงมาคือ ผู้เรียนระดับ มธั ยมศึกษาตอนตน้ และผเู้ รียนในระดบั อุดมศกึ ษา การท่ีอัตราการเกิดของเด็กลดลงและประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จะส่งผลกระทบต่อการจัด การศึกษาหลายด้าน สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาในระบบจะมีขนาดเล็กลง ขณะที่การศึกษาตลอดชีวิตส�ำหรับ ผู้สูงอายุจะมีบทบาทมากข้ึน เพ่ือให้ผู้สูงอายุสามารถด�ำรงชีวิตในสังคมอย่างมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อ สังคม ดังน้ัน สถานศึกษาที่มีที่นั่งเหลือหรือโรงเรียนประถมศึกษาที่ถูกปล่อยทิ้งร้างไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว ควรน�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษาส�ำหรับผู้สูงอายุ กระทรวงศึกษาธิการต้องระดมสรรพก�ำลัง ของหน่วยงานทางการศกึ ษาทง้ั หมด ตัง้ แต่โรงเรยี นประถมศึกษา มธั ยมศึกษา สถาบันอาชวี ศึกษา และสถาบัน อุดมศึกษา ท้ังของรัฐและเอกชน มารว่ มกันจดั การศึกษาส�ำหรับผสู้ ูงอายแุ ละรว่ มกบั หน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง 104 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

เพราะล�ำพังส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) หน่วยงานเดียว คงท�ำภารกจิ นใี้ หส้ �ำเรจ็ ไดย้ าก 1.2 ผลการพัฒนาการศึกษาไทยในรอบ 5 ปี (2554-2559) ผลการพัฒนาการศึกษาไทยในช่วงแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 - 2559 มีขความกา้ วหนา้ บา้ ง แตย่ งั ไมพ่ บขอ้ มลู ทแี่ สดงถงึ ความส�ำเรจ็ ทนี่ า่ พอใจอยา่ งชดั เจน แมจ้ ะมปี ระเดน็ ความคาด หวังของสังคมและผู้มีส่วนได้เสียต่อคุณภาพของการจัดการศึกษา โดยเฉพาะคุณภาพผู้เรียนไว้สูงมาก ขณะ เดยี วกันการศึกษาทุกระดบั ยังมีปญั หาอีกหลายประการทีต่ อ้ งปรับปรงุ แกไ้ ข ดังนี้ 1.2.1 การศกึ ษาปฐมวัย เด็กในกลุ่มอายุ 3-5 ปีมีโอกาสรับการศึกษาก่อนประถมศึกษาเพ่ิมขึ้น จากร้อยละ 94.4 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 118.3 ในปี 2558 แต่พัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปีในช่วงปี 2553 – 2557 พบว่า มีพัฒนาการสมวัยลดลง สาเหตุส�ำคัญเน่ืองจากพ่อแม่ขาดความรู้ความเข้าใจในวิธีการเลี้ยงดูเด็กท่ีถูกต้อง และขาดโอกาสเรียนรู้วิธีการเป็นพ่อแม่ท่ีดี นอกจากนี้ยังพบว่าในปี 2558 มีเด็กอายุ 2 - 5 ปีประมาณร้อยละ 13.34 (ประมาณ 4.1 แสนคน) ที่ไม่ได้เข้าเรียนในศูนย์เด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาลเพื่อเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งการพัฒนาของเด็กวัยนี้มีความส�ำคัญมาก เด็กทุกคนควรได้รับการศึกษา ปฐมวยั อย่างทวั่ ถงึ และมคี ุณภาพ ปัญหาของการศึกษาปฐมวัยท่ีผ่านมา คือ มีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบถึง 6 กระทรวงและองค์กรเอกชน อีกกว่า 50 องค์กร การบริหารจัดการขาดเอกภาพและประสิทธิภาพ ต่างคนต่างท�ำ บัดนี้เป็นที่น่ายินดี ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 ก�ำหนดให้รัฐต้องด�ำเนินการให้เด็กทุกคน ได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย และรัฐต้องด�ำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนเขา้ มีสว่ นร่วมในการด�ำเนินการดว้ ย ดังน้ัน หน่วยงานหลัก คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และโรงเรียนเอกชน จะต้องท�ำงานแบบบูรณาการร่วมกับองค์กรเอกชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการ ส่งเสริมให้เด็กได้รับโอกาสทางการศึกษาปฐมวัยอย่างท่ัวถึง สร้างความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแม่ผู้ปกครอง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย โดยพัฒนาครูพี่เล้ียงเด็กและครูปฐมวัยให้สามารถจัดกิจกรรมท่ีจะเสริม สร้างพัฒนาการทุกด้านให้กับเด็กได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน และควรมีบทบัญญัติทางกฎหมายรองรับ การศึกษาปฐมวัย เพ่ือให้คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (กพป.) สามารถบูรณาการการพัฒนา เด็กปฐมวยั ท่อี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานต่าง ๆ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 1.2.2 การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ด้านโอกาสทางการศึกษา ประชากรกลุ่มอายุวัยเรียน มีโอกาสเข้ารับการศึกษาในระดับการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐานเพิ่มสูงขึ้น เนอ่ื งจากรฐั มีนโยบายเรียนฟรี 15 ปีตามสทิ ธิทบี่ ัญญัติไวใ้ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั ร ไทย และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติส่งผลให้ประชากรในวัยเรียน รวมท้ังผู้ด้อยโอกาสและผู้มี ความต้องการจ�ำเป็นพิเศษมีโอกาสได้รับการศึกษาสูงข้ึน แต่จากสถิติพบว่าในปี 2558 ยังมีประชากรวัยเรียน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นท่ยี งั ไม่ไดเ้ ขา้ รับการศกึ ษาอีกประมาณร้อยละ 11.7 รายงานประจ�ำ ปี 2561 105

ด้านคุณภาพการศึกษา ผลการพัฒนายังไม่เป็นท่ีน่าพึงพอใจ เน่ืองจากผลการสอบ O - NET ระดับ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ช้ัน ป.6 ม.3 และ ม.6 ใน 5 วิชาหลกั ตลอด 5 ปที ่ผี ่านมาไม่มีการเปล่ียนแปลงมากนกั ส่วนใหญ่ได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 วิชาท่ีนักเรียนท�ำคะแนนได้ต�่ำท่ีสุดทุกระดับชั้น คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะชั้น ม.6 ท�ำคะแนนวิชาภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์ได้เพียงร้อยละ 20 กว่าเท่าน้ัน ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา (พ.ศ. 2554 - 2558) ของส�ำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ปรากฏว่ามีสถานศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีผ่านการประเมิน เพียงร้อยละ 77.47 นอกจากนั้นยังไม่ผา่ นการรบั รองมาตรฐานอกี เป็นจ�ำนวนมาก ผลการประเมินระดับนานาชาติช้ีให้เห็นปัญหาคุณภาพการศึกษาไทย เช่น โครงการศึกษาแนวโน้ม การจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Trends in International Mathematics and Science Study –TIMSS) ในปี2554 (TIMSS 2011) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ของไทยมีคะแนนเฉลี่ย วิชาคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตรอ์ ยใู่ นล�ำดับที่ 34 และ 29 จาก 52 ประเทศ โดยคณติ ศาสตร์อยใู่ นกลมุ่ ออ่ น ท่ีสุด ส่วนวิทยาศาสตร์อยู่ในกลุ่มพอใช้ ส่วนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของไทย จากผลการประเมิน ในปี 2558 (TIMSS 2015) ไดค้ ะแนนเฉลยี่ คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรอ์ ยอู่ นั ดบั ท่ี 26 จาก 37 ประเทศทงั้ สอง วิชาแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยจ�ำเป็นต้องเร่งพัฒนาคุณภาพวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ซ่ึงนักเรียนไทย ทงั้ สองระดบั ชน้ั ไมเ่ คยไดค้ ะแนนถงึ คา่ เฉลย่ี 500 คะแนน ขณะทปี่ ระเทศสงิ คโปร์ เกาหลใี ต้ ฮอ่ งกง จนี - ไทเป และญี่ปุ่น มคี ะแนนสงู กว่าไทยมากและอยใู่ นอันดบั ตน้ ๆ ของโลก ส�ำหรับโครงการประเมินนักเรียนนานาชาติ (Program for International Student Assessment - PISA) โดยองค์การความร่วมมอื และการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co - operation and Development - OECD) ซงึ่ ประเมนิ ความสามารถในดา้ นการอา่ น (Reading) คณติ ศาสตร์ (Mathematics) และวทิ ยาศาสตร์ (Science) ของนกั เรยี นอายุ 15 ปี (ชนั้ ม.4) เมอ่ื เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ใน 2 ครง้ั ทผี่ า่ นมา คอื ปี 2555 (PISA 2012) และปี 2558 (PISA 2015) พบวา่ ประเทศทไ่ี ดค้ ะแนนเปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ของโลกสว่ นใหญ่ อยใู่ นทวปี เอเชยี เชน่ สิงคโปร์ จีน ญ่ีปุ่น ฮอ่ งกง ไตห้ วนั เกาหลีใต้ แตป่ ระเทศทม่ี ีพัฒนาการดขี ึ้นอยา่ งน่าสังเกต คือ เวียดนาม ซ่ึงเข้าร่วมโครงการเป็นครั้งแรกใน PISA 2012 อยู่ในอันดับท่ี 17 ของโลก โดยมีคะแนนเหนือ ค่าเฉลี่ยของ OECD ท้ัง 3 วิชา และใน PISA 2015 เวียดนามขึ้นไปอยู่อันดับท่ี 8 ของโลก ส่วนประเทศไทย อยู่ในอันดับท่ี 50 และอนั ดบั ที่ 55 โดยได้คะแนนต�ำ่ กวา่ คา่ เฉลี่ยของ OECD ทุกคร้งั โดยสรปุ นกั เรยี นไทยยังมคี วามสามารถทางวิชาการตำ่� ทงั้ เร่อื งการอ่าน คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ จึงจ�ำเป็นต้องเร่งพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนในการอ่านจับใจความ การคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา และการน�ำไปใช้โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ที่เป็นวิชาหลัก ส�ำหรับการคิดสร้างสรรค์และ สรา้ งนวตั กรรม เพอื่ พัฒนาเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรมของประเทศ ปัญหาด้านคุณภาพการศึกษา นอกจากความสามารถทางวิชาการยังไม่ปรากฏผลท่ีชัดเจนแล้ว เด็กและเยาวชนไทยยังมีปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรม เช่น การใช้ความรุนแรง ยาเสพติด ขาดจิตอาสา ไม่มีวินัย ขาดความรับผิดชอบ เป็นต้น ซึ่งเป็นโจทย์ส�ำคัญส�ำหรับการจัดการศึกษาเพ่ือความเป็น พลเมืองทด่ี ี ด้านความเท่าเทียม การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานยังมีความเหลื่อมล้�ำทั้งในด้านโอกาสและคุณภาพ อันเน่ืองมาจากถิ่นที่อยู่อาศัยและฐานะของครอบครัว ดังท่ีสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ท�ำการวิเคราะห์แนวโน้มการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์การอ่าน และคณิตศาสตร์ของนักเรียนไทย 106 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

ต่างพ้ืนที่ จากผลคะแนน PISA 2015 พบว่า นักเรียนจากพื้นท่ีท่ีมีคะแนนสูงสุด (กรุงเทพ ฯ และปริมณฑล) 107 กับคะแนนต�่ำสุด (ภาคอีสานตอนล่าง) มีคะแนนห่างกันมากกว่าคร่ึงระดับ หรือเท่ากับการเรียนรู้ที่ต่างกัน เกอื บหนึง่ ปี ซ่ึงสะทอ้ นความเหลือ่ มล้ำ� ของคุณภาพการศกึ ษา ด้านความเท่าเทียมทางโอกาสในการศึกษา มีงานวิจัยที่ระบุว่า เยาวชนอายุ 16 - 18 ปีในเขตเมือง ได้เปรียบในด้านการได้รับการศึกษาตามเกณฑ์มากกว่าเยาวชนในเขตชนบท โดยร้อยละ 44 ของเยาวชน เขตเมืองได้เรียนตามเกณฑ์ เปรียบเทียบกับเยาวชนเขตชนบทท่ีมีเพียงร้อยละ 29 เท่าน้ันที่ได้เรียนตามเกณฑ์ ดังน้ัน ความเป็นเมืองและชนบทจึงมีความสัมพันธ์กับโอกาสในการศึกษาของเยาวชนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรอื เทยี บเทา่ จากรายงานขององค์การยูนิเซฟ พบว่าความยากจนของครอบครัวส่งผลต่อการเข้าเรียนของเด็ก อย่างชัดเจน และเสนอว่าควรเพ่ิมการจัดสรรงบประมาณด้านการศึกษาให้แก่โรงเรียนที่ห่างไกลและขาดแคลน โดยเน้นไปทเ่ี ด็กขาดโอกาสมากทส่ี ุด รวมท้ังตอ้ งปรบั ปรุงการจดั สรรทรัพยากรให้แกโ่ รงเรยี นและนักเรียนที่ขาด โอกาส โดยเน้นทรัพยากรท่ีท�ำให้เกิดความเท่าเทียมกันมากขึ้น เช่น ทุนการศึกษาของโรงเรียน การบรรจุ ครูและอปุ กรณ์การเรียนการสอน เปน็ ตน้ ด้านประสิทธิภาพการศึกษา การบริหารการศึกษายังเน้นการรวมอ�ำนาจในส่วนกลางมากเกินไป ขาดการมีส่วนร่วมและการตรวจสอบจากภาคประชาชน ไม่มีการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ รวมทั้งระบบ ข้อมูลและสารสนเทศไม่ทันสมัย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ได้ก�ำหนดให้มีการกระจายอ�ำนาจไปยังสถานศึกษา โดยให้ โรงเรียนเป็นนิติบุคคล แต่ที่ผ่านมาอ�ำนาจยังคงอยู่ท่ีต้นสังกัดทั้งในส่วนกลางและเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ซ่ึงขัด กับหลักการปฏิรูปการศึกษาของนานาชาติที่เน้นการให้อ�ำนาจโรงเรียนรับผิดชอบเรื่องการเรียนการสอน การเงิน และการบริหารงานบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารอย่างอิสระและคล่องตัว เพราะการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาอยทู่ โ่ี รงเรยี น ไม่ใช่ส�ำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดหรอื ศกึ ษาธกิ ารภาค นอกจากน้ียังมีปัญหาประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เนื่องจากประเทศไทยมีการลงทุนทาง การศกึ ษาเพิ่มขน้ึ ทกุ ปี โดยในชว่ งปี 2550 - 2559 รอ้ ยละของงบประมาณเพ่ือการศกึ ษาต่องบประมาณรวมทัง้ ประเทศ มีค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ 20.87 และงบประมาณเพ่ือการศึกษาต่อรายได้ประชาชาติ (GDP) มีค่าเฉลยี่ ร้อยละ 4.06 และเมื่อค�ำนวณงบประมาณท่ีใช้เพ่ือการจัดการศึกษาจากภาคธุรกิจเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ครัวเรือนและภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมเข้าไปด้วย ยิ่งพบว่าตัวเลขค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของประเทศโดยรวม อยู่ในระดับท่ีสูงมาก หากรวมทุกภาคส่วนแล้ว ในปี 2556 รายจ่ายด้านการศึกษาของไทยคิดเป็นมูลค่า สูงถึงประมาณร้อยละ 6.2 ของ GDP รายจ่ายส่วนใหญ่อยู่ในรูปค่าจ้าง เงินเดือนครู และเงินอุดหนุนรายหัว แต่งบประมาณส�ำหรับกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอน และพัฒนาครูรวมทั้งการวิจัยและ พัฒนามีน้อย และแม้ว่าประเทศไทยจะมีสัดส่วนรายจ่ายด้านการศึกษาสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ แตผ่ ลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษายงั คงอยใู่ นระดบั ต�่ำมาอย่างต่อเน่ือง ปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพอีกประการหน่ึง คือ โรงเรียนขนาดเล็กมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้นจนเป็น สดั สว่ นถงึ รอ้ ยละ 51.12 ของโรงเรยี นทง้ั หมดในปี 2559 สภาพปญั หาของโรงเรยี นขนาดเลก็ คอื นกั เรยี นสว่ นใหญ่ มีคุณภาพไม่น่าพอใจ เนื่องจากขาดแคลนทรัพยากรทุกด้าน แม้ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในฐานะต้นสังกัดจะได้พยายามด�ำเนินการด้วยวิธีต่าง ๆ ท่ีจะให้โรงเรียนขนาดเล็กสามารถบริหาร จัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพและนักเรียนมีคุณภาพ ก็ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทั้งหมด รวมท้ังมีปัญหาเรื่อง รายงานประจ�ำ ปี 2561

การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงการศึกษาบางกรณีที่ส่งผลท�ำให้การใช้งบประมาณทางการศึกษาไม่เกิด ประสทิ ธภิ าพสูงสุด ด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปล่ียนแปลง จากรายงานของสถาบันพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development - IMD) ซึง่ จดั อันดับความสามารถในการแขง่ ขัน นานาชาติและออกรายงาน World Competitiveness Yearbook ทุกปีได้ประกาศผลการจัดอันดับ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยปี 2559 ว่าดีข้ึน 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 มาเป็นอันดับที่ 28 จาก 61 ประเทศท่ัวโลก ถือเป็นสัญญาณท่ีดีสะท้อนการพัฒนาประเทศที่เป็นไปในทางท่ีดีข้ึน แต่ตัวช้ีวัด ด้านการศึกษาชี้ให้เห็นแนวโน้มว่าความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับต่�ำ ตลอดมา ตงั้ แต่อนั ดับที่ 51 ในปี 2554 จนถึงอนั ดบั ที่ 52 ในปี 2559 เม่อื พิจารณาตวั ชี้วดั ย่อย พบวา่ เรอื่ งท่เี ปน็ จุดอ่อนของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คือ อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับมัธยมศึกษา อัตราส่วนการเข้าเรียนระดับ มธั ยมศกึ ษา ผลสมั ฤทธ์ิ PISA ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ (TOEFL) และการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในโรงเรียน ตวั ชีว้ ดั ทีส่ �ำคญั อีกชุดหนงึ่ คอื World Economic Forum (WEF) ซ่ึงได้ท�ำการจัดอันดบั ความสามารถ ในการแข่งขันนานาชาติทุกปีจากรายงาน Global Competitiveness Report ปี 2016 - 2017 ปรากฏว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี 34 จาก 138 ประเทศ ลดลงจากก่อนหน้านี้ท่ีเคยอยู่ในอันดับท่ี 32 จาก 140 ประเทศ (ปี 2015 - 2016) ซ่งึ ตวั ชว้ี ัด 5 ตัวท่ีมอี นั ดบั ลดลงลว้ นเปน็ ตวั ชวี้ ดั เชงิ คุณภาพ ไดแ้ ก่ คุณภาพการจดั การศึกษาระดับประถมศึกษาคุณภาพระบบการศึกษา คุณภาพการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และคณุ ภาพการบริหารจดั การสถานศกึ ษา 1.2.3 อาชวี ศึกษา ประเทศไทยมีความจ�ำเป็นต้องผลิตและพัฒนาก�ำลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและความร่วมมือกับนานาประเทศ แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552 - 2559) ได้ก�ำหนดเปา้ หมายเชิงปริมาณใหเ้ พิ่มสัดส่วนผ้เู รยี นอาชีวศึกษาตอ่ ผูเ้ รยี นสายสามัญระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายเป็น 60 : 40 ภายในปี 2559 แต่ผลปรากฏว่าสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีวศึกษาต่อผู้เรียน สายสามัญศึกษาลดลงอย่างต่อเนื่อง จากสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีวศึกษาต่อสายสามัญศึกษาท่ี 37.7 : 62.3 ในปี 2552 เป็น 32.5 : 67.5 ในปี 2558 ท�ำให้ขาดแคลนแรงงานระดับกลางท่ีจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม ชี้ให้เห็นว่ามาตรการจูงใจให้คนเรียนเลือกเรียนอาชีวศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการไม่ประสบ ความส�ำเร็จ ส�ำหรับคณุ ภาพของอาชวี ศึกษา พบว่าในการทดสอบระดบั ชาติ (V - NET) คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ ปีการศึกษา 2559 วิชาพื้นฐานความรู้ท่ัวไป ทั้งระดับ ปวช.3 และระดับ ปวส.2 อยู่ท่ีร้อยละ 37 โดยเฉพาะ อย่างยิ่งคะแนนเฉลี่ยของสถาบันที่สอนอาชีวศึกษา ส่วนใหญ่มีคะแนนต่�ำกว่าค่าเฉล่ียของประเทศในทุกวิชา นอกจากนผี้ ลการประเมินคุณภาพภายนอก (พ.ศ. 2554 - 2558) ของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.) พบว่ามีสถานศึกษาอาชีวศึกษาได้รับการรับรองมาตรฐานร้อยละ 79.49 จึงมี สถานศึกษาอาชีวศึกษาท่ีไม่ผ่านการประเมินเป็นจ�ำนวนมาก ตัวบ่งช้ีท่ีได้คะแนนต�่ำ คือ ด้านผลงานที่เป็น โครงงานทางวชิ าชีพหรอื สิ่งประดษิ ฐข์ องผเู้ รยี นท่ไี ดน้ �ำไปใช้ประโยชนแ์ ละดา้ นผู้เรยี นผ่านการทดสอบมาตรฐาน ทางวิชาชพี 108 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

ในปีการศึกษา 2560 กระทรวงศึกษาธิการมีเป้าหมายการรับนักเรียนสายอาชีพต่อสายสามัญให้ได้ 109 ในสัดส่วน 50 : 50 โดยจะปรับวิธีการรับนักเรียนและพิจารณาเรื่องทุนการศึกษากับการมีงานท�ำ ซ่ึงคงเป็น ไปไดย้ ากหากไมม่ ีการด�ำเนนิ การอย่างจริงจงั ประกอบกับคา่ นยิ มอาชีวศกึ ษาตกต�ำ่ เพราะไม่สามารถแก้ปญั หา การทะเลาะววิ าทกันของนกั เรยี นอาชีวะได้ ฉะน้ัน หากจะเพิ่มจ�ำนวนนักเรียนอาชีวศึกษาให้ได้กระทรวงศึกษาธิการต้องท�ำวิจัยเพ่ือหาสาเหตุ ที่แท้จริงท่ีท�ำให้นักเรียนและผู้ปกครองไม่นิยมเรียนอาชีวศึกษา พร้อมท้ังหามาตรการที่จะจูงใจผู้เรียน และ ด�ำเนินนโยบายการเพมิ่ สดั ส่วนผ้เู รียนอย่างจริงจงั ประการส�ำคญั ทสี่ ดุ คือต้องสรา้ งผู้จบอาชีวศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ส�ำหรับตลาดแรงงาน ตลอดจนศึกษารูปแบบการพัฒนาการศึกษาสายอาชีพ ของประเทศที่จดั การศึกษาอาชีวศกึ ษาได้มคี ุณภาพและประสบความส�ำเรจ็ เช่น สิงคโปรแ์ ละเยอรมนี เป็นต้น จากรายงานการศึกษาเรื่อง “การปฏิรูปอาชีวศึกษาของประเทศไทย” พบว่า การขาดแคลนแรงงาน ภาคอุตสาหกรรมไม่ได้เกิดจากการผลิตแรงงานได้ไม่เพียงพอ แต่เกิดจากปัญหาคุณภาพของระบบอาชีวศึกษา สาเหตสุ �ำคญั คอื 1) การละเลยทักษะความรู้พนื้ ฐานท่จี �ำเปน็ ส�ำหรบั การเปน็ ชา่ งทด่ี ี เชน่ คณิตศาสตร์ พชี คณติ เรขาคณติ และตรโี กณมติ ิ 2) หลกั สตู รไมเ่ ชอื่ มโยงกบั ทกั ษะทต่ี อ้ งใชใ้ นโลกการท�ำงานจรงิ สถานศกึ ษาจ�ำนวนมาก ไม่เปิดสอนสาขาที่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ และเนื้อหาหลักสูตรไม่สอดคล้องกับความ ต้องการของนายจ้าง 3) ขาดแคลนทรัพยากร อาจารย์และอุปกรณค์ รภุ ณั ฑ์ 4) ระบบประกนั คณุ ภาพ วิทยาลัย อาชีวศึกษามีข้อบกพร่อง เพราะตัวชี้วัดท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับคุณภาพการเรียนการสอนมีน้�ำหนักน้อยเพียง ร้อยละ 20 แต่ไปให้น้�ำหนักท่ีการตรวจสอบการจัดกิจกรรมและจัดการภายในถึงร้อยละ 69 ท�ำให้สถานศึกษา มีภาระในการจัดท�ำเอกสารจ�ำนวนมากเพื่อเป็นหลักฐานว่าด�ำเนินกิจกรรมจริงแม้จะมีความพยายามยกระดับ คุณภาพหลักสูตร “อาชีวศึกษาทวิภาคี” ที่มีระบบการเรียนการสอนแบบ “โรงเรียน - โรงงาน” ให้สามารถ ผลติ แรงงานทม่ี ที กั ษะตรงกบั ความตอ้ งของการนายจา้ ง โดยนกั เรยี นหลกั สตู รนจี้ ะไดฝ้ กึ งานกบั สถานประกอบการ อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 50 ของเวลาเรยี น และด�ำเนนิ การมาเป็นเวลา 20 ปี แตใ่ นภาพรวมถอื ว่ายงั ไม่มีความก้าวหน้า มากนกั ปัจจบุ ันมีนกั เรียนในระบบนีเ้ พยี งรอ้ ยละ 14 ของนกั เรียนอาชวี ศกึ ษาเท่านั้น เพราะสถานประกอบการ ยงั ขาดการสนับสนนุ และแรงจงู ใจที่เหมาะสม 1.2.4 อดุ มศกึ ษา ในด้านโอกาสทางการศึกษา อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษาเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 51.3 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 56.3 ในปี2558 แต่จากการเปรียบเทียบระดับนานาชาติในปี 2555 พบว่า จ�ำนวนผู้เรียนระดับ อุดมศึกษาต่อประชากรของประเทศไทยยังต่�ำกว่าหลายประเทศในเอเชีย สะท้อนให้เห็นว่า ประเทศไทย ยังจ�ำเป็นต้องเพิ่มจ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษามากข้ึน เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในแข่งขันของ ประเทศ แต่ด้านคุณภาพยังมีปัญหา เนื่องจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก (พ.ศ. 2554 - 2558) ของ ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) พบว่า สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาได้รับ การรับรองมาตรฐานร้อยละ 95.27 สถาบันอุดมศึกษาท่ีไม่ผ่านการรับรองส่วนใหญ่มีปัญหาท่ีตัวบ่งชี้ด้าน งานวจิ ยั หรอื งานสรา้ งสรรคท์ ่ไี ดร้ บั การตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ซึง่ สอดคลอ้ งกับผลการเปรยี บเทียบกับนานาชาตใิ น ระดับอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั ไทยทีต่ ดิ อนั ดบั 500 อันดับแรกของโลก โดย QS World University Rankings ปี 2558/2559 มีเพยี ง 2 แหง่ คอื จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (อนั ดับท่ี 253) และมหาวทิ ยาลัยมหิดล (อันดับท่ี 295) ซึ่งเป็นจ�ำนวนที่น้อยกว่าและอันดับต่�ำกว่าสิงคโปร์และมาเลเซีย เนื่องจากมีผลการวิจัยที่เผยแพร่และ น�ำไปอ้างอิงได้น้อย และสอดคล้องกับรายงานของ World Economic Forum ท่ีระบุว่าตัวชี้วัดที่ท�ำให้ รายงานประจ�ำ ปี 2561

การศึกษาไทยอยู่ในอันดับต�่ำ คือความสามารถในการวิจัยและการให้บริการฝึกอบรม ฉะนั้น โอกาสที่ไทย จะเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Hub) การศกึ ษาในภมู ิภาคคงเปน็ ไปได้ยาก วิกฤตของคุณภาพอุดมศึกษาไทยส่วนหน่ึงเกิดขึ้นเน่ืองจากปัจจุบันมีการแข่งขันกันเปิดหลักสูตร จ�ำนวนมาก ทั้งหลกั สูตรนอกสถานที่ ภาคคำ่� ภาคสมทบ ภาคอินเตอร์ ฯลฯ บางแห่งเน้นคณุ ภาพ แตบ่ างแหง่ เน้นไปท่ี “เรียนง่าย จ่ายครบ จบแน่” สะท้อนค่านิยมใบปริญญามากกว่าการผลิตคนที่มีความรู้ความสามารถ ในการพัฒนาประเทศได้อย่างแท้จริง หลายแห่งเน้นผลิตบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ออกมามากจนล้นตลาด เพราะผลิตได้ง่ายและใช้ต้นทุนไม่สูง แต่สายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี แพทย์ศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ ผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของประเทศ จนเกิดความขาดแคลนอย่างหนัก นอกจากน้ียังมีปัญหาวิกฤต ศรทั ธาตอ่ อดุ มศกึ ษา เนอ่ื งจากพบว่ามีการทจุ ริตในสถาบันอดุ มศึกษาหลายรปู แบบ เชน่ การเปดิ หลกั สตู รนอก สถานทแี่ ละน�ำเงินรายไดไ้ ปใชส้ ่วนตวั การทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบของผบู้ รหิ าร เปน็ ตน้ หลายแห่งมปี ัญหาไม่ สามารถแต่งตัง้ อธกิ ารบดีได้ ซึ่งสง่ ผลกระทบตอ่ ภาพลักษณ์และคุณภาพของอดุ มศกึ ษาไทยอย่างรุนแรง ส�ำหรับเรื่องประสิทธิภาพ ปัญหาใหญ่ของอุดมศึกษาไทยขณะนี้คือ มีสถาบันอุดมศึกษาจ�ำนวนมากถึง 1,238 แห่ง (ปี 2558) แต่ผเู้ รียนกลับลดลง สาเหตุใหญ่ คือ อัตราการเกดิ ลดลงและการไปเรยี นตอ่ ต่างประเทศ ท�ำได้ง่ายข้ึน ขณะน้ีสถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้รับผลกระทบอย่างชัดเจน และเริ่มมีการปิดตัวลงบ้างแล้ว ต่อไปก็จะเกิดกับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเช่นกัน ซึ่งส่วนใหญ่ได้ทุ่มเทงบประมาณไปเป็นจ�ำนวนมากส�ำหรับ การก่อสร้างอาคารสถานท่ี เมื่อจ�ำนวนผู้เรียนลดลงจะต้องลดจ�ำนวนอาจารย์ ท�ำให้เหลืออาคารร้าง เป็น ความสูญเปล่าของงบประมาณการศึกษาทวั่ ประเทศอีกจ�ำนวนมหาศาล นอกจากน้ี หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ใช้อ�ำนาจตาม มาตรา 44 เปิดโอกาสให้ ต่างชาติเข้ามาเปิดมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้ การเปิดให้มหาวิทยาลัยต่างชาติเข้ามาแข่งขันเช่นนี้ย่อม ส่งผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยของไทยซ่ึงอยู่ในภาวะวิกฤต หากระบบการศึกษาในภาพรวมยังไม่ปรับตัว รับความเปลย่ี นแปลง ในที่สดุ สถาบนั อดุ มศึกษาของไทยอาจตอ้ งปิดตัวลงเร็วข้นึ ส�ำหรับการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลงไป อุดมศึกษาของไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ยังด้อยกว่าในหลายด้าน เช่น การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจทักษะทางภาษา ที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการ ซ่ึงยืนยันว่าการอุดมศึกษามีความจ�ำเป็นต้องปฏิรูปเช่นเดียว กับการศกึ ษาระดบั อืน่ ๆ จึงจะสามารถตอบโจทยบ์ รบิ ทท่ีเปลยี่ นแปลงได้ ขอ้ เสนอทีจ่ �ำเปน็ สำ� หรบั การปฏิรปู อุดมศึกษาไทยในสภาวะเชน่ นี้ คือ 1. ควบรวมมหาวิทยาลยั เล็กๆ ท่ีอ่อนแอใหเ้ ปน็ มหาวทิ ยาลยั ใหญท่ ี่มคี วามเขม้ แข็งมากขึ้น 2. วางแผนการผลิตก�ำลังคนในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและ การพฒั นาประเทศ 3. พัฒนาสมรรถนะและคุณลักษณะอื่น ๆ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้เรียน เพื่อสร้างบัณฑิตให้เป็นผู้น�ำรุ่นใหม่ ท่ีขับเคล่ือนการเปล่ียนแปลง สร้างนวัตกรรม สามารถปรับตัวกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคต สามารถท�ำงาน ไดท้ ุกแหง่ ในโลก มที ักษะการสอ่ื สารและดจิ ิทัล ค�ำนึงถงึ ประโยชน์ส่วนรวม ช่วยพฒั นาชุมชนและโลก 4. ลดการพึ่งพารายได้จากการสอน แต่เน้นไปที่ “การท�ำงานวิจัยที่สร้างนวัตกรรมและน�ำไปสู่ เชิงพาณิชย”์ 5. เร่งพัฒนาหลักสูตรในลักษณะของ “สหกิจศึกษา” เพ่ือให้นักศึกษามีท้ังความรู้ภาคทฤษฎีและ ทกั ษะจากการปฏิบัติจริง 110 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

6. สถาบันอุดมศึกษาต้องหันมาให้ความส�ำคัญกับการจัดการศึกษาต่อเนื่องและการฝึกอบรมวิชาชีพ 111 เพือ่ รองรับสงั คมผสู้ งู อายุ ซึง่ จะมีผู้สูงอายุท่ตี ้องการการเรยี นรู้เป็นจ�ำนวนมากข้ึน 1.2.5 การศกึ ษานอกระบบ หากพจิ ารณาจากสถติ ิผลการจัดการศึกษานอกระบบ พบวา่ จ�ำนวนผเู้ รียนการศึกษานอกระบบเพ่มิ ขน้ึ จาก 5.609 ล้านคนในปี 2552 เป็น 6.932 ล้านคนในปี 2558 และปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรเพิ่มข้ึน จาก 8.9 ปี ในปี 2552 เป็น 10.0 ปี ในปี 2558 แสดงว่าประชาชนมีโอกาสรับการศึกษานอกระบบมากข้ึน แต่ก็ยังมีคนนอกระบบอีกมากท่ีไม่ได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพราะประชากรวัยแรงงานท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้นไป ท่ีส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขึ้นไปมีเพียงร้อยละ 52.25 ในปี 2558 และก�ำลังแรงงานระดับ กลางท่ีส�ำเร็จการศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส. มีอยู่ไม่ถึงร้อยละ 10 เท่านั้น จึงเป็นภารกิจของส�ำนักงาน ส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทจี่ ะตอ้ งเติมเต็มการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานสายสามัญศกึ ษา และสายอาชีวศึกษาให้ผู้ท่ีอยู่นอกระบบได้มีโอกาสรับการศึกษาเพ่ิมข้ึนเพื่อเป็นแรงงานท่ีมีคุณภาพ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในสงั คมผ้สู งู อายุที่จ�ำนวนคนสงู อายเุ พม่ิ ข้ึนอย่างรวดเรว็ ความตอ้ งการการเรยี นร้กู ม็ ากข้ึนด้วย ส่วนคุณภาพการศึกษานอกระบบนน้ั ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศกึ ษานอกระบบ โรงเรียน (N - NET) ซง่ึ ประกอบดว้ ย ทักษะการเรียนร้คู วามรพู้ น้ื ฐานการประกอบอาชีพ ทักษะการด�ำเนินชวี ติ และการพัฒนาสังคม ปีการศึกษา 2559 พบว่าส่วนใหญ่มีคะแนนต�่ำกว่าร้อยละ 50 และคะแนนมีแนวโน้ม ลดลง โดยเฉพาะด้านความรู้พื้นฐานมีคะแนนต่�ำมาก เพียงร้อยละ 27.41 นอกจากน้ี ยังมีข้อมูลที่ช้ีให้เห็นว่า คุณภาพของก�ำลังแรงงานอายุ 15 ปีขึ้นไปไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน สอดคล้องกับความเห็น ของผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการท่ีระบุว่า สังคมมองผลผลิตของการศึกษานอกระบบยังไม่มีคุณภาพ และในด้านการบริหารจัดการยังยึดติดแนวคิดที่จะจัดการศึกษาเอง ท�ำให้ไม่ประสานส่งเสริมหน่วยอื่นเข้ามา ร่วมท�ำ จากการศึกษาเรื่อง “แนวโน้มการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนของประเทศไทยในทศวรรษหน้า” พบว่า 1) การศึกษานอกระบบโรงเรียนจะเน้นการศึกษาตลอดชีวิต 2) แนวโน้มด้านบทบาทของการศึกษา นอกระบบโรงเรียน คือ มีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสามารถของประชาชนอย่างยั่งยืน 3) หลักสูตร เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนของการศึกษานอกระบบโรงเรียนจะเป็นหลักสูตรที่มีชุมชน และสถานประกอบการเป็นฐาน 4) การบริหารจะเน้นการกระจายอ�ำนาจสู่ชุมชน ท�ำให้เป็นสถานศึกษาของ ชุมชน 5) จะมีสถาบนั ทีด่ ูแลมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบโรงเรียนและการศึกษาตามอธั ยาศยั การประเมนิ ผล สมั ฤทธ์ทิ างการศกึ ษาจะมีหลายรูปแบบและเปน็ การประเมนิ ท่ผี ้เู รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางตามสภาพจริง 2. นวตั กรรมดา้ นการศึกษาของกรณศี ึกษาท่ปี ระสบความสำ� เร็จ (Best Practice) ในขณะท่ีกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานการศึกษาอ่ืน ๆ ยังไม่สามารถขับเคล่ือนการปฏิรูป การศึกษาให้บรรลุผลตามเป้าหมายได้และมีการเปลี่ยนแปลงในระดับบริหารบ่อยคร้ัง ท�ำให้นโยบายขาด ความต่อเนื่อง ยังมีองค์กรภาคเอกชนและประชาสังคมหลายแห่งท่ีท�ำงานเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและจรงิ จงั ตวั อยา่ งเชน่ มลู นธิ ริ างวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจกั รเี ปน็ องคก์ รทส่ี รรหาครทู ม่ี คี ณุ คา่ เขา้ รบั “รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี” (Princess Maha Chakri Award) ซึ่งเป็นรางวัลเกียรติยศแห่งความเป็นครู ทย่ี ิง่ ใหญใ่ นระดบั เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้รว่ มกัน 11 ประเทศ มูลนธิ สิ มาน คุณหญงิ เบญจา แสงมลิ เป็นองค์กร เอกชนเล็ก ๆ ที่ก่อตง้ั เม่ือปี พ.ศ. 2532 โดยอาจารยส์ มาน แสงมลิ อดตี ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กับคุณหญงิ เบญจา แสงมลิ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ครผู ูท้ ุ่มเทให้กับการศกึ ษาใน 6 สาขา คอื ผูบ้ รหิ ารการศกึ ษา พระสงฆผ์ ู้ทมุ่ เท รายงานประจำ�ปี 2561

เพ่ือการศึกษา ครูภาษาไทย ครูสังคมศึกษา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษา กอ่ นประถมศกึ ษา ผไู้ ดร้ บั รางวลั เหลา่ นเ้ี ปน็ ก�ำลงั ส�ำคญั ในการขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู การศกึ ษา หลายคนไดร้ บั เลอื ก ใหเ้ ปน็ ผพู้ ฒั นาเครอื ขา่ ย “ครตู น้ แบบ” “ครแู หง่ ชาต”ิ “ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตน้ แบบ”และ “ครภู มู ปิ ญั ญาไทย” ท่ีส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้ริเริ่มด�ำเนินการไว้ในช่วงต้นของการปฏิรูปการศึกษาด้วย มูลนิธิสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ ได้ผลิตสื่อเพื่อการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนสูงข้ึนอย่างชัดเจน พฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนของครูก็มีความเปลี่ยนแปลง ครูมี ความกระตือรือร้นในการท�ำงานร่วมกันมากขึ้น มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับนักเรียน นักเรียนมีการช่วยเหลือกันใน การเรยี นรู้และสามารถปรบั สดั สว่ นครูต่อนักเรยี นใหอ้ ยู่ในระดับท่ีเหมาะสมได้ นอกจากน้ียังมีโครงการดี ๆ ท่ีริเร่ิมโดยหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีโครงการพ่ีช่วยน้อง 1 ต่อ 9 โดยใช้ผลการประเมินภายนอกเป็นเกณฑ์ ไม่มี งบประมาณให้แต่ให้แนวทางการพัฒนา เน้นการพัฒนาโดยยึดพ้ืนที่เป็นฐานรายจังหวัด (Area - based) เพ่ือให้แต่ละจังหวัดมีข้อมูลสภาวะการศึกษาของจังหวัดนั้น ๆ โดยเฉพาะส�ำหรับน�ำไปวางแผนการพัฒนา ไดส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการของโรงเรยี นในพนื้ ทต่ี อ่ ไป ผลการด�ำเนนิ งานกอ่ ใหเ้ กดิ ตวั อยา่ งดี ๆ จ�ำนวนมาก หลายโรงเรียนได้พัฒนาจนเป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทานที่จัดการเรียนการสอนได้ดีและนักเรียน มีคุณภาพ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นองค์กรท่ีเข้ามาช่วยส่งเสริมสุขภาวะ ของผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียน และขยายผลในรูปแบบเครือข่าย เน้นการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนในชุมชน ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในชุมชน และมีความสุขในการท�ำกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อ สังคม ครู ผู้บริหาร สถานศึกษา และชุมชน มีความพึงพอใจในความเป็นอิสระทางความคิด สามารถริเริ่ม สร้างสรรค์งานท่ีเกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเต็มท่ีมากกว่าการท�ำงานตามค�ำสั่งอย่างเดียว ส�ำนักงาน ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.) เป็นองค์กรท่ีด�ำเนินงานขับเคล่ือนการปฏิรูป การศึกษาอย่างต่อเน่ือง ท้ังในการเผยแพร่ความรู้ใหม่ ๆ และจัดท�ำโครงการดี ๆ เช่น “ครูสอนดี” ที่คัดเลือก ยกย่อง ให้รางวัล และเผยแพร่ผลงานของครทู ่ีมีผลการปฏิบตั ิงานการสอนดีในทุกภาคทวั่ ประเทศ และส่งเสริม ให้มีการน�ำไปขยายผลแก่ครูอื่น ๆ นอกจากน้ี สสค. ยังมีโครงการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (School Quality Improvement Project - SQIP) ท่ีส่งเสริมให้โรงเรียนขนาดเล็กในชนบทท่ีขาดแคลน สามารถพัฒนาตนเองโดยการมีส่วนร่วมทั้งโรงเรียน ครูและผู้บริหารพัฒนาตนเองสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community – PLC) โดยมีผู้บริหารสถานศึกษาท่ีเกษียณแล้วมาเป็น พี่เลี้ยงนิเทศและให้ค�ำปรึกษา ให้โรงเรียนจัดระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการดแู ลผูเ้ รยี นเป็นรายคน และผู้เรียนเรยี นรู้อย่างมคี วามสุข การด�ำเนินงานขององค์กรเหล่านี้ล้วนมีจุดมุ่งหมายท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษา คอื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยสง่ เสรมิ ใหค้ รแู ละผบู้ รหิ ารพฒั นาตนเองแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกนั และสร้างสรรค์นวัตกรรมในระดับปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนรักการเรียน ใฝ่รู้มีคุณธรรม และเรียนรู้อย่างมีความสุข สะท้อนให้เห็นว่า นอกจากการด�ำเนินงานจัดการศึกษาโดยหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาแล้ว ภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมก็มีบทบาทส�ำคัญในการสร้างโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสามารถท�ำได้ อยา่ งตอ่ เน่อื งจนประสบความส�ำเร็จ ดงั นนั้ การขบั เคลื่อน “การปฏริ ูปการศกึ ษาโดยภาคประชาชน” น่าจะเป็น ค�ำตอบหน่ึงของโจทยป์ ัญหาการปฏิรูปการศึกษาไทยในยคุ Thailand 4.0 112 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

3. ความจำ� เป็นทต่ี อ้ งปฏิรปู การศกึ ษาในยคุ Thailand 4.0 ประเทศไทยก�ำลังเผชิญกับแรงผลักดันทั้งจากภายนอกและภายในประเทศที่ท�ำให้ต้องเร่งปฏิรูป การศึกษาอยา่ งจรงิ จังและต่อเนื่อง แรงผลกั ดันท่สี �ำคัญในยุคนี้ ประการแรก คอื การปฏวิ ัตดิ ิจทิ ลั (Digital Revolution) ซ่ึงเทคโนโลยดี จิ ิทัลได้เข้ามามีบทบาทส�ำคญั ท้ังในชีวิตประจ�ำวันและในโลกธุรกิจ ไม่ต่างจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในอดีต พร้อมกันน้ัน “อินเทอร์เน็ต ในทุกส่ิง” (Internet of Things - IoT) หรือการท่ีอุปกรณ์ต่าง ๆ และทุกส่ิงทุกอย่างถูกเช่ือมโยงสู่โลก อินเทอรเ์ น็ต ท�ำให้มนษุ ยส์ ามารถส่งั การควบคุมการใชง้ านอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ผ่านทางเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต ส่งผล ให้รูปแบบการใช้ชีวิตและการท�ำธุรกรรมต่าง ๆ เปล่ียนแปลงอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ด้านอุตสาหกรรมจะมี การน�ำหนุ่ ยนต์มาใช้ในอุตสาหกรรมมากขน้ึ โดยเฉพาะหุน่ ยนตป์ ญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence – AI) จะเขา้ มามบี ทบาทท�ำงานแทนมนษุ ย์ รปู แบบของอตุ สาหกรรมและพลงั งานจะเปลยี่ นไป ดา้ นเศรษฐกจิ การเงนิ และการลงทนุ การคา้ ปลกี จะเปลย่ี นไปเปน็ e - commerce มากขน้ึ และมธี รุ กจิ รปู แบบใหม่ เชน่ SME, Start Up หลายประเทศเริ่มทดลองใช้เงินสกุลดิจิทัล ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงในระบบการเงินการธนาคารอย่างมาก ด้านการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศท้ังในระดับ ทวภิ าคีและพหุพาคี ในระดับภมู ิภาค เช่น ประชาคมอาเซียน จะส่งผลให้การเคลื่อนย้ายตลาดเงินและตลาดทุน เปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ และเสรกี ารค้าและการแข่งขันจะมคี วามรุนแรงขึ้น การจัดการศึกษาจึงต้องปรับตัวให้ทัน เพราะอาชีพบางอาชีพจะหายไปและมีอาชีพใหม่ข้ึนมาแทน รูปแบบการเรียนก็จะเปลี่ยนไปเช่นกัน ท้ังการเรียนการสอน การประเมินผล เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองมากข้ึน และเรียนรู้ตลอดชีวิต คนไทยจึงต้องมีทักษะส�ำคัญท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะในการเรียนรู้ และสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม ทักษะในการใชส้ ื่อและเทคโนโลยี ทักษะอาชพี และการด�ำรงชีวิต ส่วนแรงผลักดันภายในประเทศที่ท้าทายให้ประเทศไทยต้องด�ำเนินการปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจัง คอื ประการทหี่ นง่ึ ประเทศไทยจะเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ ยา่ งสมบรู ณใ์ นปี พ.ศ. 2564 มปี ระชากรอายุ 60 ปขี น้ึ ไป เป็นจ�ำนวนร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ ประชากรสูงอายุเหล่าน้ีจ�ำเป็นต้องได้รับโอกาสในการเรียนรู้ เพ่ือให้สามารถด�ำรงชีวิตได้ตามปกติและเป็นประโยชน์ต่อสังคม (active ageing) ประการท่ีสอง ประเทศไทย ก�ำลังมกี ารเปลีย่ นแปลงด้านการเมืองและประชาธปิ ไตย ซ่ึงคาดว่าจะมีการเลือกตงั้ ภายในปี พ.ศ. 2561 แตถ่ า้ การศึกษายังไม่สามารถท�ำให้คนเข้าใจในคุณค่าท่ีแท้จริงของประชาธิปไตย ก็คงยากที่การเมืองจะมั่นคงและ พัฒนาประเทศไปสู่ Thailand 4.0 ตามท่ีคาดหวังได้ ประการที่สาม ในปี 2560 รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ประกาศจะพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวพ้นจากประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศท่ีมี รายได้สูง ด้วยนโยบายประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) เน้นเศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value - Based Economy) เน้นความคิดสร้างสรรค์มากข้ึน ซึ่งเป็นแรงผลักดันส�ำคัญท่ีต้องปฏิรูปการศึกษาให้ผู้เรียน สามารถเรยี นรูแ้ ละสรา้ งนวัตกรรม รายงานประจำ�ำ�ปี 2561 113

9. รายงานการถอดบทเรยี นศูนยก์ ารเรียนรู้การใชป้ ระโยชน์ และอนรุ ักษ์ความหลากหลายของทรัพยากรวถิ ีชวี ิตภมู ปิ ญั ญาไทย ส�ำนกั มาตรฐานการศึกษา และพัฒนาการเรียนรู้ องคค์ วามรู้/งานวิจยั แหล่งอาชีพของปราชญ์ ตัวแทนครูภูมิปัญญาท่ียกมาเป็น ตัวอย่าง 15 ท่าน ว่าเป็นการด�ำเนินชีวิตตามวิถีแห่งการอนุรักษ์ สืบสานด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชตามพระราชด�ำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีหัวใจคือแหล่งผลิต อาหาร ยารักษาโรค เคร่ืองนุ่งห่มและที่อยู่อาศัยท่ีแผ่ประโยชน์ต่อ คนไทยด้วยกันเองและชาวโลกด้วย คือพ้ืนท่ีประกอบอาชีพของ ทา่ นที่เรียกว่า ท้องนา สวน ไร่ นั่นเอง ครภู มู ิปญั ญาไทยแต่ละท่าน สร้างทรัพยากรธรรมชาติไว้เป็นอาชีพที่แตกต่าง ความแตกต่าง นั่นคือความเช่ียวชาญช�ำนาญหรือเอตทัคคะ บางท่านใช้เป็นอาชีพ เกษตรเปน็ หลกั ใชแ้ ปรรปู เปน็ อาชพี รอง บางทา่ นใชแ้ ปรรปู เปน็ หลกั เกษตรกรรมเป็นอาชีพรอง บางท่านใช้ประโยชน์จากไม้นานาชนิด มาสร้างสีสันให้ผืนผ้าไหมท่ีผ่านการถักทอด้วยมือของตัวเอง อย่างวิจิตรงดงาม บทเรียนศูนย์การเรียนรู้การใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ ความหลากหลายของทรัพยากรวิถีชีวิตภูมิปัญญาไทยของ 15 ครู ภมู ิปัญญาไทย ครูภูมิปัญญาไทย คือ ปราชญ์ชาวบ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน คือชาวบ้านท่ัวไปไม่ใช่นักวิชาการที่จบการศึกษาปริญญาโท ปริญญาเอกกันทุกคน แต่ที่จบระดับการศึกษาท่ีว่าก็มีนะ เพียงแต่ ไม่ได้ท�ำตัวเป็นนักวิชาการตลอด แต่เป็นชาวบ้าน ชาวบ้านท่ีด�ำเนินชีวิตประกอบอาชีพตามวิถีปู่ย่าตายาย พอ่ แม่ ท�ำแลว้ ท�ำอีกด้วยความขยันหมัน่ เพียร อดทน ไม่ไดต้ งั้ ใจไวท้ ่ีความโลภมาก แหล่งอาชีพของปราชญ์ตัวแทนครูภูมิปัญญาที่ยกมาเป็นตัวอย่าง 15 ท่านว่าเป็นการด�ำเนินชีวิต ตามวิถีแห่งการอนุรักษ์สืบสานด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีท่ีหัวใจคือแหล่งผลิตอาหาร ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่มและท่ีอยู่อาศัยท่ีแผ่ประโยชน์ต่อ คนไทยดว้ ยกนั เองแล้วกช็ าวโลกดว้ ยคือพื้นท่ีประกอบอาชพี ของทา่ นทเี่ รียกว่าท้องนา สวน ไร่ สกศ. ได้รวมวิถีชวี ิตครภู มู ปิ ญั ญาไทย 15 ท่านเป็นหนงั สอื เลม่ กะทัดรดั ด้วยมงุ่ เพ่ือท่จี ะเฉลิมพระเกยี รติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีที่ทรงตระหนักถึงความส�ำคัญของทรัพยากร ธรรมชาติ สืบสานพระราชปณิธานพระราชบิดาและพระราชมารดา โดยทรงสร้างโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เพอื่ เปน็ ตน้ แบบใหค้ นไทยและเยาวชนไดต้ ระหนกั ถงึ คณุ คา่ ความส�ำคญั ของปา่ ของนำ�้ ของดนิ ทคี่ รภู มู ปิ ญั ญาไทย ได้เป็นก�ำลังหนึ่งที่มีผืนป่าผืนน�้ำผืนดินเป็นตัวอย่างให้ได้สัมผัสคุณค่าและประโยชน์ในการได้สร้าง ทรัพยากรธรรมชาติให้มขี นึ้ เปน็ ปกึ แผน่ ใหไ้ ด้เห็นรูปธรรมแหง่ คุณคา่ วนั นี้ 114 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

10. สภาการศกึ ษาเสวนา 2016/2017 บทบาทการศึกษาไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0 ส�ำนักประเมินผลการจัดการศึกษา องคค์ วามรู/้ งานวจิ ยั ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้จัดสภาการศึกษา เสวนา (OEC Forum) เพื่อให้เป็นเวทีกลางในการประชุมทาง วิชาการส�ำหรับให้ทุกภาคส่วนในสังคมมาร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ รับฟังความคิดเห็น วิพากษ์แสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอ แนะที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศ โดยมี ก�ำหนดการจัดเสวนาเป็นประจ�ำเดือนละ 1 ครั้ง เร่ิมจัดครั้งแรก ในเดือนพฤศจิกายน 2558 และจัดต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงในปีงบประมาณ 2560 ส�ำนักงานฯ ได้จัดให้มีสภาการศึกษา เสวนาต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2559 จ�ำนวน 10 คร้ัง ต้ังแต่ เดอื นพฤศจกิ ายน 2559 – สิงหาคม 2560 โดยไดเ้ ลือกประเด็นทม่ี ี ความส�ำคัญและมีผลกระทบกับวงการศึกษาในช่วงเวลาดังกล่าว รวมท้ังเป็นประเด็นที่สอดคล้องกับ 6 ยุทธศาสตร์ของแผน การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 จุดเน้นยุทธศาสตร์ปฏิรูป การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนสอดคล้องกับ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ผลการด�ำเนินงาน 4. ครั้งที่ 15 เร่ือง “รัฐธรรมนูญกับทิศทาง ในปีงบประมาณ 2560 ส�ำนักงานเลขาธิการ การปฏิรูปการศึกษา” เมื่อวันจันทร์ที่ 30 มกราคม สภาการศกึ ษา ไดจ้ ดั ใหม้ สี ภาการศกึ ษาเสวนา 10 ครง้ั 2560 โดยมีประเด็นการเสวนาและก�ำหนดวันเวลาที่จัด 5. คร้ังท่ี 16 เร่ือง “Inclusive Education ดังน้ี in Thailand : Policy to Practice” เมือ่ วันจนั ทร์ท่ี 1. ครั้งที่ 12 เรื่อง “บทบาทการศึกษากับ 20 มนี าคม 2560 การก้าวสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0” เมื่อวันอังคารท่ี 29 6. คร้ังที่ 17 เรื่อง “การศึกษาส�ำหรับ พฤศจกิ ายน 2559 ผสู้ ูงอาย”ุ เมือ่ วันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 2. ครั้งที่ 13 เร่ือง “การเปล่ียนแปลงด้าน 7. ครั้งท่ี 18 เรื่อง “บทบาทการศกึ ษาเอกชน การศึกษาในยุคดิจิทัล” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 นอกระบบกับการพัฒนาประเทศไทย 4.0” เมื่อ ธนั วาคม 2559 วันพฤหัสบดีท่ี 18 พฤษภาคม 2560 3. คร้ังที่ 14 เร่ือง “การพัฒนาก�ำลังคนเพื่อ 8. ครง้ั ท่ี 19 เรอ่ื ง “การพฒั นาผมู้ คี วามสามารถ สนองความต้องการของประเทศยุคไทยแลนด์ 4.0” พิเศษสู่ศักยภาพการแข่งขันของประเทศ” เมื่อ เมือ่ วนั อังคารท่ี 17 มกราคม 2560 วนั องั คารท่ี 13 มถิ นุ ายน 2560 รายงานประจำ�ปี 2561 115

9. ครั้งที่ 20 เร่ือง “ค่าใช้จ่ายภาครัฐด้าน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของ การศกึ ษา : บทเรยี นจากประเทศไทยและนานาชาต”ิ ระบบบริหารจัดการศึกษา มีการเสวนาที่สอดคล้อง เมอ่ื วนั พุธท่ี 19 กรกฎาคม 2560 กับยุทธศาสตร์ จ�ำนวน 1 เรื่อง คือ รัฐธรรมนูญกับ 10. ครั้งที่ 21 เรื่อง “ทิศทางการศึกษา ทิศทางการปฏริ ปู การศึกษา เฉพาะทางเพ่ือผลิตก�ำลังคนตามความต้องการของ การขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรส์ ู่การปฏิบัติ ประเทศ” เมื่อวนั พุธท่ี 30 สงิ หาคม 2560 จากสภาการศึกษาเสวนาทั้ง 10 คร้ัง พบว่า จากการจัดสภาการศึกษาเสวนาท้ัง 10 ครั้ง มีการด�ำเนินงานส�ำคัญของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในปีงบประมาณ 2561 สามารถจัดประเด็นหัวข้อ ซงึ่ นบั เปน็ การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรข์ องแผนการศกึ ษา การเสวนาจ�ำแนกตามยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษา แห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 ให้ไปสู่การปฏิบัติและ แหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ได้ดังน้ี ปรากฏผลเป็นรปู ธรรม สรุปได้ดังนี้ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ และพัฒนาก�ำลงั คน 1. การปรบั หลกั สตู ร ส�ำนกั งานคณะกรรมการ การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ด�ำเนินการทบทวนหลักสูตร ในการแข่งขันของประเทศ มีการเสวนาท่ีสอดคล้อง แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับยุทธศาสตร์ จ�ำนวน 3 เรอ่ื ง ดังนี้ เพื่อรองรับกับความเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลและ 1. บทบาทการศึกษากับการก้าวสู่ยุค สอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ไทยแลนด์ 4.0 ชาติฉบับท่ี 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและแผน 2. การพฒั นาก�ำลงั คนเพอ่ื สนองความตอ้ งการ การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 เพ่ือพัฒนา ของประเทศยุคไทยแลนด์ 4.0 หลักสูตรให้มีความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น โดยใน 3. บทบาทการศึกษาเอกชนนอกระบบกับ ระยะส้ันได้มีการปรับปรุงหลักสูตรในกลุ่มสาระ การพัฒนาประเทศไทย 4.0 การเรียนรู้คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และสาระ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคน ภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา ทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้มีการ และวัฒนธรรม เสวนาทีส่ อดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ จ�ำนวน 2 เร่อื ง ดังนี้ 2. การพฒั นาทกั ษะทางด้านดจิ ทิ ัล กระทรวง 1. การศึกษาส�ำหรับผ้สู งู อายุ ศึกษาธิการได้มีการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital 2. การพฒั นาผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษสศู่ กั ยภาพ Contents) ในรปู แบบสอ่ื ออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ e - Book การแข่งขนั ของประเทศ หรือ Applications ต่าง ๆ รวมทั้งมีแนวความคิด ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอ ในการสรา้ งแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจทิ ัล (Digital ภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษามีการเสวนา Learning Platform) เพ่ือรองรับความเปล่ียนแปลง ทสี่ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ จ�ำนวน 4 เรือ่ ง ดงั น้ี ทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบันท่ีท�ำให้วิถีชีวิตและ 1. การเปลยี่ นแปลงดา้ นการศกึ ษาในยคุ ดจิ ทิ ลั การเรียนรู้ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง 2. Inclusive Education in Thailand : ดังกล่าว รวมท้ังเป็นการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ Policy to Practice ที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีเพ่ือสร้างปฏิสัมพันธ์ 3. ค่าใช้จา่ ยภาครฐั ด้านการศึกษา : บทเรยี น เชิงสร้างสรรค์ทางสังคม และบ่มเพาะคุณลักษณะ จากประเทศไทยและนานาชาติ นิสัยที่พึงประสงค์ของประชากรไทยในทุกช่วงวัย 4. ทิศทางการศึกษาเฉพาะทางเพ่ือผลิต ผ่านการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ตอบสนองต่อการเรียน ก�ำลงั คนตามความต้องการของประเทศ การสอนไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืน 116 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

3. การศึกษาส�ำหรับผสู้ งู อายุ ได้มกี ารลงนาม พิเศษ” เม่ือวันท่ี 29 มกราคม 2559 โดยมีจุดเน้น บนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื การบรู ณาการความรว่ มมอื ท้ังด้านผู้เรียน 3 จุดเน้นคือ การให้บริการช่วยเหลือ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (กลุ่มเด็กปฐมวัย ระยะแรกเร่ิม การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม และ และผู้สูงอายุ) เพื่อให้มีการบูรณาการการด�ำเนินงาน การจัดการศกึ ษาเพ่ือการมงี านท�ำ และจดุ เนน้ ด้านครู รว่ มกันระหวา่ ง 4 กระทรวงที่เกย่ี วข้อง ประกอบด้วย คือ ส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาครูคณาจารย์และ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาและผ้มู สี ่วนเก่ยี วข้อง ความมั่นคงของมนุษย์กระทรวงศึกษาธิการ และ 7. การจัดการศึกษาเฉพาะทาง รองนายก กระทรวงสาธารณสุข และส�ำนักงานเลขาธิการสภา รัฐมนตรี พลอากาศเอก ประจิน จ่ันตอง ได้ให้ การศึกษา (สกศ.) ได้มีการพัฒนาระบบการสนับสนุน ความเห็นชอบแผนแม่บทการพัฒนาก�ำลังคน การจดั การเรยี นรขู้ องผสู้ งู วยั โดยรว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน ด้านช่างอากาศยาน ระยะ 7 ปี ในคราวประชุม ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือศึกษาน�ำร่องและพัฒนาระบบ คณะกรรมการกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ คร้ังท่ี 5/2560 การสนับสนนุ การจดั การเรียนร้ขู องผู้สงู อายุ เมือ่ วนั ท่ี 8 ธันวาคม 2560 มีเป้าหมายให้สถานศกึ ษา 4. การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษ 7 แหง่ ประกอบด้วย มหาวิทยาลยั นครพนม วทิ ยาลยั สู่ศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ส�ำนักงาน เทคนิคถลาง วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี วิทยาลัย เลขาธิการสภาการศึกษาได้แต่งต้ังคณะท�ำงานการจัด เทคนิคดอนเมือง วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ วิทยาลัย การประชุมโต๊ะกลมไทย - รัสเซีย ด้านการจัด เทคนคิ สมทุ รปราการ และวทิ ยาลยั การอาชพี ขอนแกน่ การศึกษาส�ำหรับผู้มีความสามารถพิเศษและการวิจัย เปิดหลักสูตรด้านช่างอากาศยาน และมีเป้าหมาย โดยมีแนวคิดท่ีจะจัดตั้งศูนย์ผู้มีความสามารถพิเศษ ว่าภายในปี 2563 สถานศึกษาทั้ง 7 แห่ง จะต้อง ในประเทศไทยให้มีลักษณะเดียวกันกับศูนย์ซีรีอุส ได้รับการรับรองจากส�ำนักงานการบินพลเรือน ของสหพนั ธรฐั รสั เซีย แห่งประเทศไทย (กพท.) และหลักสูตรต้องได้ 5. การขยายเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต กระทรวง มาตรฐานตามข้อก�ำหนดขององค์การการบินพลเรือน ศึกษาธิการประกาศให้ ตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2561 ระหวา่ งประเทศหรอื ICAO เพื่อสนบั สนนุ ให้ไทยเป็น เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ใหมข่ องโครงการ “Hi speed Internet” ศูนย์กลางการซ่อมบ�ำรุงอากาศยานของภูมิภาค และ ด้วยการบริหารจัดการอินเทอร์เน็ตในโรงเรียนทั่ว เป็นการวางแผนการผลิตและพัฒนาก�ำลังคนให้ ประเทศอยา่ งถกู ต้อง คอื การให้ผอู้ �ำนวยการโรงเรียน/ รองรบั การพฒั นาประเทศตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 สถานศึกษามีอ�ำนาจตัดสินใจเลือกเครือข่าย 8. การแต่งต้ังคณะกรรมการอิสระเพ่ือ อินเทอร์เน็ตท่ีดีท่ีสุดต่อนักเรียนและโรงเรียน เพื่อให้ การปฏริ ปู การศกึ ษา รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย เปน็ High way internet ทม่ี คี วามเรว็ และแรงเพยี งพอ พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติให้มีการปฏิรูปประเทศ ต่อการเรียนรู้ของเด็กไทยทุกคน ให้ได้มีโอกาสเข้าถึง ดา้ นการศกึ ษา ตามมาตรา 258 จ. และในมาตรา 261 ส่ือท่ีดีและทันสมัย สามารถช่วยลดช่องว่างและ บัญญัติไว้ว่า “ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ด้าน สร้างโอกาสในชีวิตให้คนไทยก้าวสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 การศึกษา ให้มีคณะกรรมการท่ีมีความเป็นอิสระ ได้อยา่ งมน่ั คง คณะหน่ึง ท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งด�ำเนินการศึกษา 6. การจัดการศึกษาส�ำหรับบุคคลที่มีความ และจัดท�ำข้อเสนอแนะและร่างกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ต้องการจ�ำเป็นพิเศษ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศ ในการด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายเพ่ือเสนอ นโยบายให้ “ปี 2559 เปน็ ปแี หง่ ความรว่ มมอื ดา้ นการ คณะรัฐมนตรีด�ำเนินการต่อไป” คณะรัฐมนตรีใน จัดการศึกษาส�ำหรับบุคคลที่มีความต้องการจ�ำเป็น คราวประชมุ เมอื่ วนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2560 จงึ ไดม้ มี ติ รายงานประจำ�ปี 2561 117

แต่งตั้งคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ด้านการศึกษาและขีดความสามารถในการแข่งขัน (กอปศ.) ข้ึน คณะกรรมการชุดดังกล่าวได้ด�ำเนินงาน ของประเทศในภาพรวมให้สูงขึ้น รวมทั้งพัฒนา ตามอ�ำนาจหนา้ ทที่ ร่ี ฐั ธรรมนญู ก�ำหนดไวอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ประเทศให้มั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืนตามนโยบายของ รวมท้ังได้เสนอร่าง พ.ร.บ.กองทุนเพ่ือความเสมอภาค รัฐบาล ทางการศึกษา ต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาโดย คณะรัฐมนตรีในคราวประชุม เมื่อวันท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ 2561 ได้มีมติเห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ.กองทุนเพื่อ ความเสมอภาคทางการศึกษา โดยรัฐบาลจัดสรร ให้เป็นทุนประเดิมเพ่ิมอีก 1,000 ล้านบาท เพื่อให้ ประชาชนมสี ทิ ธทิ จ่ี ะรบั และเขา้ ถงึ การศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถงึ ร ว ม ท้ั ง ใ ห ้ ค ว า ม ช ่ ว ย เ ห ลื อ แ ก ่ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ซ่ึงขาดแคลนทุนทรัพย์จนส�ำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน และใช้เพ่ือการศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ เพ่ือพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ สรปุ ผลและแนวทางการด�ำเนนิ งาน การจัดประชุมสภาการศึกษาเสวนา ท้ัง 10 คร้ัง ในปีงบประมาณ 2560 นับว่าเป็นไปตาม แผนการด�ำเนินงานและบรรลุผลตามเป้าหมายของ โครงการที่ก�ำหนดไว้สามารถตอบโจทย์ประเด็น ปัญหาส�ำคัญทางการศึกษาที่สังคมต้องการค�ำตอบ ในช่วงปีที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี ซ่ึงทุกประเด็นมี ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 โดยอาจจะยงั ขาดประเดน็ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติและ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริม คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซ่ึงส�ำนักงานฯ จะพิจารณาเลือกประเด็นท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ดงั กลา่ วมาจัดเสวนาในปีงบประมาณตอ่ ไป ท้ังน้ีส�ำนักงานฯ ได้ติดตามความเคล่ือนไหว การด�ำเนินงานจากประเด็นที่จัดเสวนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ของแผน การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ใหม้ กี ารน�ำไปสู่ การปฏิบัติและปรากฏผลการด�ำเนินงานอย่างเป็น รูปธรรมตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ อันจะเป็นการ ยกระดับและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน 118 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

11. ความทั่วถึงและเท่าเทยี มของการจัดการศกึ ษาในสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ส�ำนกั วจิ ยั และพัฒนาการศกึ ษา องคค์ วามรู้/งานวจิ ยั งานวจิ ยั เรอ่ื งความทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี มของการจดั การศกึ ษา ในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีวัตถุประสงค์การวิจัย 2 ข้อ คือ เพื่อ (1) ทบทวนการน�ำนโยบายการจัดการศึกษาแบบท่ัวถึงและ เท่าเทียมสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานท้ังของต่างประเทศ และประเทศไทย และ (2) เสนอแนะนโยบายการจัดการศึกษา แบบทั่วถึงและเท่าเทียมสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานของ ประเทศไทยแบบการวิจัยเป็นเชิงคุณภาพข้อมูลมาจากการ วิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารการจัดการศึกษาแบบทั่วถึงและ เท่าเทียมของประเทศท่ีจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสูง มีความทั่วถึง และเทา่ เทียมในระดบั ช้นั น�ำของโลก ตามผลการทดสอบของ PISA ในปี ค.ศ. 2015 อันได้แก่ แคนาดา เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฮ่องกง มาเกา๊ และประเทศไทย ทวนสอบความตรงของขอ้ มูลด้วยวิธกี าร cross check ระหว่างทีมนักวิจัย และการให้ความคิดเห็นจาก ผู้ทรงคุณวฒุ ทิ ี่เปน็ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน 3 คน ผลการวิจยั จ�ำแนกตามวตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้ (1) ผลการทบทวนการน�ำนโยบายการจัด อยู่ร่วมกันระหว่างคนที่อยู่ในวัฒนธรรมท่ีแตกต่างมี การศึกษาแบบทั่วถึงและเท่าเทียมสู่การปฏิบัติ คุณภาพชีวิตและอนาคตท่ีดี เป็นความคาดหวังของ ในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานท้ังของต่างประเทศและ ประเทศที่น�ำเอาความหลากหลายด้านภูมิหลังและ ประเทศไทย ประสบการณ์ของบุคคลมาใช้ให้เกิดคุณค่าจุดเด่น เมื่อน�ำเอาฐานคิดของสังคม แนวน�ำทางของ ของทุกประเทศ คือ ใช้กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะ กระแสโลกและความรู้เรื่องการจัดสถานศึกษาแบบ นักเรียนที่มีความต้องการแตกต่างแทนการใช้แนวคิด เรียนรวมเข้ามาปรบั ใช้แลว้ พบวา่ แคนาดา เดนมารก์ เชิงสังเคราะห์ แต่ก็ยังปรากฏในเอสโตเนียและ เอสโตเนีย ฮ่องกงและมาเก๊า รับรู้และเชื่อมั่นว่า ประเทศไทยท่ีให้น�้ำหนักกับกลยุทธ์การชดเชย สถานศึกษาแบบเรียนรวมเป็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญ ความบกพร่องด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไปอย่างชัดเจน ของสงั คมพหุเช้อื ชาติ เป็นกลไกการขบั เคลื่อนส�ำหรบั จุดเด่นของประเทศไทย คือ มีกฎหมาย แผนและ การสร้างและรักษาลักษณะร่วมทางสังคมที่ก่อให้เกิด นโยบายที่เป็นแนวทางการด�ำเนินงานในอนาคต ความทั่วถึงและเท่าเทียมการจัดการเรียนรวมใน โดยแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติมีระยะเวลา 20 ปี ประเทศไทยนน้ั แมจ้ ะมไิ ดเ้ นน้ ยำ�้ เรอื่ งการเปน็ พหเุ ชอื้ ชาติ ส่วนแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ แต่ท่ีตรงกัน คือ มุ่งไปยังการสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม ฉบับท่ี 12 ระยะเวลา 15 ปี เท่ากับระยะเวลาของ ที่ขยายศักยภาพของเด็กและเยาวชนให้สามารถ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งขาติ ฉบับที่ 5 รายงานประจ�ำ ปี 2561 119

ย่ิงไปกว่าน้ันยังมีข้อเสนอแผนการปฏิรูปประเทศ การด้านต่าง ๆ ในการอ�ำนวยความสะดวกให้กับ ดา้ นการศึกษา 20 ปีเป็นเสน้ ทางของการพัฒนา นักเรียนท่ีมีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนรวม ในเร่ืองของกระบวนการแปรนโยบายสู่ ผสมกับการมีหน่วยงานหรือองค์กรสนับสนุนจาก การปฏิบัติในสถานศึกษาแตกต่างกัน ตรงที่ แคนาดา ภายนอก จุดเด่นอยู่ท่ีเอสโตเนียท่ีแม้เป็นประเทศ เดนมาร์ก และเอสโตเนีย ก�ำหนดกรอบนโยบายจาก ยากจนแต่ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มสหภาพยุโรป สว่ นกลาง แต่วธิ ีปฏบิ ัติให้อิสระกบั ท้องถนิ่ โดยมขี อ้ แม้ ซ่ึงมีองค์กรนานาชาติก�ำกับดูแลคุณภาพ จนกระท่ัง เรื่องคุณภาพต้องอยู่ในระดับสูง ขณะท่ีฮ่องกง มาเก๊า เป็นประเทศที่มีคุณภาพการศึกษาสูงเท่า ๆ กับ และไทยมีหน่วยงานท่ีรับถ่ายทอดการก�ำกับดูแล การมีความท่ัวถึงและเท่าเทียม นอกจากน้ันทุกแห่ง มาจากหนว่ ยงานกลางจนถงึ ระดบั ทอ้ งถน่ิ โดยทไ่ี ทยจะมี ยังมีความพยายามปรับอาคารสถานที่ให้เป็น หน่วยงานดูแล 2 ระดับก่อนท่ีจะลงถึงสถานศึกษา แบบอารยะสถาปัตย์เพ่ือความสะดวกส�ำหรับนักเรียน ทเ่ี ป็นหน่วยปฏิบตั ิ กระบวนการสรา้ งสถานศกึ ษาของ ทม่ี ีความตอ้ งการทแี่ ตกต่างกัน ทุกประเทศน้ันใช้การแปลงรูปจากสถานศึกษาใน ส�ำหรับปัจจัยส�ำคัญแห่งความส�ำเร็จของ กระแสหลัก โดยการตรากฎหมาย ก�ำหนดนโยบาย การเปน็ สถานศึกษาแบบเรยี นรวม ได้แก่ (1) บทบาท ท�ำความเข้าใจแนวทางและลักษณะส�ำคัญของ ของผู้บริหารในฐานะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงและ สถานศึกษาแบบเรียนรวม เตรียมการส�ำหรับ การกระจายภาวะผู้น�ำ ซ่ึงเป็นปัจจัยท่ีส�ำคัญมากท่ีสุด การแก้ไขความขัดแย้งของการรับรู้ที่มาจากการเป็น ต่อความส�ำเร็จของสถานศึกษาแบบเรียนรวม สถานศึกษาพิเศษและสถานศึกษาแบบบูรณาการ โดยผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และน�ำลงสู่การปฏิบัติใน ก่อนเข้าสู่การเป็นสถานศึกษาแบบเรียนรวม ต่างกัน สถานศึกษามีกลยุทธ์จัดการกับปัจจัยภายนอกและ ในบางประเทศ เช่น แคนาดาและเดนมาร์กจะมีคู่มือ ภายในสถานศึกษา สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับครูและ ปฏิบัติที่เป็นแนวน�ำการแปลงรูปสถานศึกษา แต่ก็ บุคลากรสนับสนุนจัดหาสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ให้อิสระตามบริบท ส่วนไทยนั้นมีการจัดท�ำเอกสาร สร้างแรงจูงใจกับครูและบุคลากรภายในพร้อมกับ แนวทางการจัดการเรียนรวมที่พัฒนาข้ึน เม่ือ กระจายอ�ำนาจในการท�ำงาน (2) การเลือกนักเรียน พ.ศ. 2556 เอสโตเนียมีกระบวนการปฏบิ ตั ิตามแนว เข้าเรียนแบบท่ัวถึงและเท่าเทียม ซ่ึงให้ความส�ำคัญ ของประเทศสมาชิกกลุ่มสหภาพยุโรป ส�ำหรับ กับความเสมอภาคของนักเรียนในการเข้าศึกษา ฮ่องกงและมาเก๊ายึดนโยบายของประเทศเป็นหลัก ลดความแตกต่างระหว่างภูมิหลังและประสบการณ์ โดยพัฒนาสถานศึกษาแบบเรียนรวมที่ให้ความส�ำคัญ ส�ำคัญของนักเรียนให้เหลือน้อยที่สุด ให้ความส�ำคัญ กับการรับนักเรียนท่ีมีความต้องการหลากหลาย กับจุดแข็ง จัดนักเรียนเข้าเรียนแบบยืดหยุ่นและใช้ ขณะเดียวกันเน้นการแข่งขันตามวัฒนธรรมของ คณะกรรมการสหวิชาชีพช่วยเหลือในการคัดกรอง ประเทศ ในเร่ืองของการจัดการเรียนรู้ ซึ่งปรากฏ (3) กลยุทธ์การจัดการช้ันเรียนรวมแบบเปิดโอกาส อย่างเข้มข้นในฮ่องกงและมาเก๊า และรองลงมาคือใน การพัฒนาทักษะหลากหลาย เป็นไปเพื่อเปิดโอกาส ประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ทุกประเทศใช้หลักสูตร ให้นักเรียนทุกคนมีโอกาสกว้างในการพัฒนาทักษะ พ้ืนฐานร่วมกันแต่ปรับให้ยืดหยุ่นตามความแตกต่าง สงั คม ทางภาษา ทางปญั ญา และการใชท้ กั ษะทางกาย และความต้องการของนักเรียน ส่วนการสอนน้ัน กลยุทธ์ส�ำคัญที่ใช้ ได้แก่ กลยุทธ์เชิงรุกที่กระตุ้น ทุกประเทศใช้แนวคิดของการร่วมสอนระหว่างครู พฤติกรรมใฝ่สัมฤทธ์ิของผู้เรียน กลยุทธ์พัฒนา ผู้สอนกับทีมสหวิชาชีพในชั้นเรียนรวม แต่การเข้า สมรรถนะที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาสมรรถนะ สอนนนั้ แคนาดาและเดนมารก์ สว่ นใหญใ่ ชก้ ารรว่ มสอน ตนเองจนถงึ ขดี สงู สดุ กลยทุ ธป์ ระคบั ประคอง เนน้ ไปที่ ส�ำหรับฮ่องกง มาเก๊า ไทยและเอสโตเนีย แม้ว่า การช่วยเหลือนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเรียนรู้ จะไม่ได้ร่วมสอนทุกครั้ง แต่ก็ท�ำงานร่วมกับผู้ช�ำนาญ ได้ในช้ันเรียนรวม ความแตกต่างของกลยุทธ์สืบเน่ือง 120 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

มาจากบริบท วัฒนธรรมและสภาพเศรษฐกิจของ ต่อการเรียนรวมซ่ึงช่วยให้ครูสอนแบบเรียนรวม 121 ประเทศ อย่างไรก็ตาม มีกลยุทธ์ที่พบร่วมกันใน ได้ดีขึ้น ครูเข้าใจและการรับรู้บทบาทของตน ทุกประเทศ คือ กลยุทธ์สนับสนุนเพ่ือให้นักเรียน ซึ่งช่วยให้ครูท�ำงานได้ดีข้ึนในการช่วยเหลือนักเรียน ทุกคนเรียนรู้ในชั้นเรียนรวมได้มากที่สุด (4) กลยุทธ์ ท่ีมีความต้องการพิเศษตั้งแต่เร่ิมต้น และสามารถ การจัดการเรียนการสอนแบบยืดหยุ่นประกอบด้วย สนบั สนนุ ความเปน็ ไปไดภ้ ายในระบบการจดั การเรยี นรู้ การจัดการหลักสูตร เน้นการใช้หลักสูตรเดียวกัน ที่เป็นปกติให้มากท่ีสุด และ (6) ความร่วมมือกับ เพื่อน�ำเอาความเสมอภาคเข้าสู่ประสบการณ์ชั้นเรียน ภาคส่วนต่าง ๆ จ�ำแนกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ แตไ่ ดม้ กี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ ด้านการเรียนการสอน การสนับสนุน และบริหาร ตลอดเวลา จุดเดน่ คอื หลกั สตู รการเรยี นของนักเรยี น จดั การการเรยี นรวม การจดั กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ ท่ีมีความต้องการพิเศษน้ันสามารถยืดหยุ่นได้มาก และสิ่งแวดล้อม จัดโดยอาศัยความร่วมมือจาก ท�ำใหง้ า่ ยขนึ้ และซบั ซอ้ นนอ้ ยลงสว่ นการจดั การเรยี นรู้ พ่อแม่/ผู้ปกครองความร่วมมือจากครูและบุคลากร ใช้หลักยึดผู้เรียนเป็นส�ำคัญ สอนร่วมตามความพร้อม ภายในของสถานศึกษา ความร่วมมือระหว่าง ของสถานศกึ ษาแตล่ ะที่ น�ำเทคโนโลยสี ารสนเทศใชใ้ น สถานศึกษา ท�ำให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ระหว่าง การจัดการเรียน และใช้งานวิจัยเป็นฐานในการจัด สถานศึกษาต้นแบบกับสถานศึกษาใกล้เคียง การเรียนรู้และการวัดการประเมินกระตุ้นให้เกิด ความร่วมมือจากองค์กรวิชาชีพที่ต้องการใช้ความรู้ ความก้าวหน้ารายบุคคลที่ไม่มุ่งการทดสอบ เน้น และความช�ำนาญการในการจัดสถานศึกษาแบบเรียน การประเมนิ แบบกา้ วหนา้ รว่ มมอื กนั ระหวา่ งหลายฝา่ ย รวมและความร่วมมือจากองค์กรต่างประเทศ เน้นความยืดหยุ่นและให้นักเรียนได้แสดงความรู้และ ซ่ึงการท�ำงานตามแนวคิดของความร่วมมือท�ำให้ สมรรถนะของตนเองได้เต็มท่ีโดยไม่เปรียบเทียบ มีการสนับสนุนทรัพยากรทางกายภาพ ด้านทรัพยากร (5) ครูต้องมีความรู้เรื่องการเรียนรวมคู่กันไปกับ บุคคล และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ซ่ึงท�ำให้รู้สึกว่า ความรู้เร่ืองนโยบายและกฎหมาย มีเจตคติเชิงบวก ตนมเี พ่ือนร่วมเสน้ ทาง สดุ ทา้ ย คือ อุปสรรคของการท�ำงาน พบว่า มาจากด้าน (1) งบประมาณไมเ่ พยี งพอ การขาดแคลน งบประมาณจะน�ำไปสกู่ ารขาดสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครู ส่ือการสอน การสนบั สนุนตา่ ง ๆ ท่ีต้องการรวมไปถงึ ท�ำให้ขาดทรัพยากรท่ีจะตอบสนองความต้องการจ�ำเป็นของนักเรียนด้วย (2) เจตคติเชิงลบของกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียหลัก แม้กระทั่งในแคนาดายังพบว่า บางส่วนยังมีเจตคติเชิงลบโดยจงใจและไม่จงใจร่วมกับมีข้อมูล เคลื่อนจากความเป็นจริงในการจัดการศึกษาเรียนรวมในเอสโตเนีย ผู้ปกครองยังมีส่วนร่วมน้อยจากสาเหตุ ด้านความเชื่อ เศรษฐานะ ภาษาและวัฒนธรรมและในจีนพ่อแม่ยังมีเจตคติเชิงลบต่อนักเรียนที่มีความต้องการ พิเศษรวมถึงในชั้นเรียนรวมท่ีเด็กพิเศษมีความผูกพันในชั้นเรียนรวมระดับต่�ำและเกิดการรังแกกัน (3) สถิติ ข้อมลู และงานวจิ ยั ขาดประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล โดยเฉพาะในประเทศไทยงานวิจยั สว่ นใหญ่ยังอยใู่ นรูป ของวิทยานิพนธ์ท่ีกระจัดกระจาย และยังไม่สามารถที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของการบริหารจัดการ และการเรยี นรวมแบบกา้ วกระโดด (4) นโยบายและวธิ ปี ฏบิ ตั โิ ดยนโยบายและวธิ ปี ฏบิ ตั บิ างอยา่ งยงั เปน็ การเลอื ก ปฏิบัติ มีความขัดแย้งระหว่างเป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ด้านหนึ่งต้องการการตอบสนอง การปฏิรูปท่ีมุ่งเป้าหมายเชิงปริมาณของชาติ ส่วนอีกด้านหน่ึงต้องการการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมโดย ไม่สนใจเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่าน้ัน นอกจากนั้นยังมีปัญหาความไม่ยืดหยุ่น ปัญหาเรื่องวินัย และ ความกดดันจากการสอนที่ต่างจากเดิม ความสนใจต่อสมรรถนะของเพศชายมากกว่าเพศหญิง การปรับลด จ�ำนวนสถานศึกษาและลดขนาดชั้นเรียนท�ำให้การเข้าถึงการเรียนรู้ได้ไม่เต็มที่เนื่องจากขาดการสนับสนุน ทรพั ยากร (5) การผลติ และพฒั นาครคู รบู างสว่ นขาดการพฒั นา/ฝกึ อบรมใหเ้ ขา้ ใจการจดั การศกึ ษาแบบเรยี นรวม รายงานประจำ�ปี 2561

และยังมีนโยบายบางประการท่ีท�ำให้จัดสถานศึกษาแบบเรียนรวมได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย เช่น การผลิตและ พัฒนาครูท่ียังไม่ตอบสนองการเรียนรวม และ(6) บริการเพ่ือตอบสนองความแตกต่างยังมีคุณภาพ ไม่เพียงพอ ซ่ึงแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ในแคนาดารายงานว่าส่ิงแวดล้อมทางกายภาพยังไม่เอื้อกับ ข้อจ�ำกัดทางกายของนักเรียน ส่วนในเดนมาร์กระบุว่า บริการแนะแนวยังไม่มีคุณภาพเท่าที่ควรและบริการ ความรู้เรื่องการศึกษาพิเศษยังไม่เพียงพอ ในเอสโตเนียยังขาดผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางเข้ามาช่วยงานใน สถานศึกษา ซ่ึงทั้งหมดน้ีเกิดในประเทศไทยด้วย ส�ำหรับฮ่องกงกับมาเก๊า รายงานว่า จ�ำนวนสถานศึกษา แบบเรียนรวมยงั ไม่เพียงพอกับความต้องการของนกั เรยี นในประเทศ (2) ผลข้อเสนอแนะนโยบายการจัดการศึกษาแบบท่ัวถึงและเท่าเทียมสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ข้ันพื้นฐานของประเทศไทย ส�ำหรับข้อเสนอเชงิ นโยบายมีที่มาดังภาพท่ี 1 ภาพท่ี 1 ที่มาของข้อเสนอนโยบาย ระดับแรก นโยบายระดับชาติ : ก้าวไปข้างหน้า ภายในปี พ.ศ. 2573 ประชาชนมั่นใจได้ว่าเด็ก และเยาวชนไทยได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเต็มตามศักยภาพอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพแข่งขันได้ใน ระดับโลก จากสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานทุกแห่ง โดยปราศจากการปฏิเสธและการเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจาก ความต้องการที่แตกต่างท้ังในระดับปฐมภูมิซ่ึงได้มาแต่ก�ำเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง และในระดับทุติยภูมิซ่ึง เป็นผลมาจากเศรษฐานะ ภูมิหลังและประสบการณ์สังคม เพ่ือสร้างสังคมไทยท่ีม่ันคงบนความหลากหลาย โดยใช้กฎหมายการศึกษาเพอื่ ความท่ัวถึงและเท่าเทียมรว่ มกบั งานวจิ ัยและนวตั กรรมเป็นคานงัด ระดับที่สอง นโยบายระดับท้องถิ่น : ขับเคลื่อนอย่างม่ันคง ให้มีการแปลงรูปสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน กระแสหลักให้เป็นสถานศึกษาแบบเรียนรวมที่เน้นความทั่วถึงและเท่าเทียมเต็มรูปแบบเพื่อบริการนักเรียน ที่มีความต้องการหลากหลายและแตกต่างกันในเขตรับผิดชอบตั้งแต่เร่ิมแรกให้เร็วท่ีสุด ท้ังนี้ ยึดหลัก หนึ่งนโยบายแต่เปิดโอกาสให้ปฏบิ ัตไิ ดห้ ลากหลายตามบริบท ระดับท่ีสาม นโยบายระดับสถานศึกษา : ทั่วถึงและเท่าเทียมเต็มรูปแบบ โดยเป็นสถานศึกษาที่จัด การศึกษาเพื่อให้นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษที่แตกต่างได้บรรลุศักยภาพสูงสุดแห่งตนในสถานศึกษา เช่นเดียวกับเด็กปกติในชุมชนใกล้บ้านและเป็นการน�ำเอาสิ่งสนับสนุนจากชุมชนเข้ามาในสถานศึกษา เพ่ือประโยชน์กับนักเรียนทุกคน ในการแปลงสภาพจากสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานกระแสหลักไปสู่การเป็น สถานศึกษาเรียนรวม ด้วยการเริ่มการบริหารจัดการเพื่อเป็นฐานของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมเพิ่ม ความตระหนักและความแข็งแกร่งให้กับปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของสถานศึกษาและพัฒนางานด้วยแนวคิด เชิงนวตั กรรม 122 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

ข้อเสนอนโยบายระดบั สถานศึกษากระจายให้เหน็ นโยบายการจดั การศกึ ษาแบบทั่วถึงและเท่าเทยี มระดบั สถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน นโยบายระดับสถานศึกษา : ทั่วถึงและเท่าเทียมเต็มรูปแบบ 1. เร่ิมการบรหิ ารจัดการ (1) ทบทวนลักษณะปัจจุบันของสถานศึกษาในทุกด้านเพื่อดูความพร้อมที่จะก้าว เพ่ือเป็นฐานของการจัด ไปส่สู ถานศกึ ษาแบบเรียนรวม การศกึ ษาแบบเรียนรวม (2) ท�ำความเขา้ ใจแนวคดิ หลกั การ และลกั ษณะของสถานศกึ ษาแบบเรยี นเตม็ รปู แบบ (3) สร้างวิสัยทัศน์ พันธกิจ ความเชื่อ ปณิธาน และเอกลักษณ์ อันเป็นทิศทาง ของสถานศกึ ษาท่ีระบถุ งึ การเปน็ สถานศึกษาแบบเรียนรวมอย่างชัดเจน (4) จัดท�ำยทุ ธศาสตร์และแผนปฏบิ ัติการตามช่วงเวลาของการกา้ วไปสูส่ ถานศกึ ษา แบบเรยี นรวมเตม็ รูป 2. เพิ่มความตระหนัก (1) กระตุ้นความตระหนักให้กับครูและบุคลากรการศึกษาของสถานศึกษาว่า และความแขง็ แกรง่ ใหก้ บั นักเรียนทุกคนต้องการโอกาสท่ีจะประสบความส�ำเร็จ และใช้สมรรถนะท่ีมีอยู่ ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ จนบรรลถุ งึ เปา้ หมายการเรียนรู้ ของสถานศกึ ษา (2) สร้างความแข็งแกร่งให้กับปัจจัยแห่งความส�ำเร็จด้านการน�ำ การคัดกรอง นักเรียนที่เน้นจุดแข็ง จัดการเรียนการสอนแบบยืดหยุ่น เพ่ิมความรู้และทักษะ ให้ครูเร่ืองการเรียนรวม และร่วมมือกบั ภาคส่วนตา่ ง ๆ ในเชิงรุก 3. พฒั นางานดว้ ยแนวคิด (1) รบั ฟงั เสยี งของกลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ของการจดั การศกึ ษาในชมุ ชนอยา่ งเปน็ ระบบ เชงิ นวตั กรรม (2) น�ำผู้ปกครอง/พ่อแม่นักเรียนเข้ามาร่วมในกระบวนการวางแผนพัฒนา สถานศึกษาใหเ้ ป็นสถานศกึ ษาแบบเรียนรวม (3) ให้ความรู้เรื่องการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมแก่ชุมชนเพื่อความเข้าใจ ท่ตี รงกันและรว่ มกัน (4) พัฒนาระบบสถติ ิ ข้อมลู และสารสนเทศเพื่อการใชง้ าน อา้ งอิง และเผยแพร่ (5) วิจยั ปฏบิ ตั กิ ารจดั การศึกษาเรียนรวมในสถานศึกษา (6) ร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ พ้ืนท่ีวิจัย และรว่ มกันวิจยั เพ่อื พัฒนาสถานศึกษาแบบเรยี นรวม (7) ริเริ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้ส�ำหรับการพัฒนา การเรยี นรวม (8) ทดลองและพัฒนาใช้นวัตกรรมหรือผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรวม ใหร้ ุดหน้าแบบกา้ วกระโดด (9) รวบรวมนวตั กรรมและแบบปฏบิ ตั ิทดี่ ีเพ่ือการใช้ซำ้� แลกเปลย่ี นหรอื ตอ่ ยอด (10) เผยแพร่สินทรัพย์ความรู้ของสถานศึกษาสู่สาธารณชน ด้วยการน�ำเสนอ งานบนเวที ท้ังแบบจริงและแบบเสมือนด้วยรูปแบบที่หลากหลายเหมาะกับกลุ่ม ผ้รู ับสารเป้าหมาย รายงานประจำ�ปี 2561 123

ส�ำหรบั ข้อเสนอแนะจากงานวจิ ัยจ�ำแนกเปน็ 2 ประเภท ประเภทแรก ไดแ้ ก่ ขอ้ เสนอแนะดา้ นการบริหารจดั การ ประกอบดว้ ย (1) ผู้บริหารการศึกษาระดับนโยบายน�ำผลการวิจัยมาใช้เพื่อทบทวนนโยบายการจัดการศึกษาแบบ ทว่ั ถงึ และเทา่ เทยี มทเี่ ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั พรอ้ มทงั้ น�ำขอ้ แตกตา่ งเชงิ พฒั นามาปรบั นโยบายใหเ้ ปน็ การจดั การศกึ ษา แบบเรียนรวมตามปรัชญา ร่วมกับพิจารณาตัวชี้วัดคุณภาพ 7 ตัวจากข้อเสนอ เพื่อท�ำให้มั่นใจได้ว่าเด็กและ เยาวชนไทยได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจากสถานศึกษาข้ันพื้นฐานทุกแห่งโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ ได้เต็มตามศักยภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมและมีคุณภาพแข่งขันได้ในระดับโลก โดยกระจายอ�ำนาจใน การขับเคลอื่ นลงสู่ทอ้ งถิน่ (2) ผู้บริหารการศึกษาระดับท้องถิ่นใช้แนวคิดของการบริหารจัดการระดับกลาง (middle management) ขับเคล่ือนให้มีการแปลงรูปสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานกระแสหลักให้เป็นสถานศึกษาแบบเรียน รวมที่เต็มรูปแบบตามนโยบายระดับชาติ เพื่อบริการนักเรียนท่ีมีความต้องการหลากหลายและแตกต่างกัน ในเขตรับผิดชอบต้ังแต่เร่ิมแรกให้เร็วที่สุด โดยใช้นวัตกรรมนโยบาย นวัตกรรมกระบวนการ และนวัตกรรม เครือข่ายเป็นกลไกขับเคล่ือนควบคู่ไปกับการท�ำความเข้าใจงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาแบบเรียน รวมเพอ่ื น�ำมาใชป้ ระโยชน์ ทง้ั นย้ี ึดหลักหน่ึงนโยบายแตป่ ฏบิ ตั ไิ ดห้ ลากหลายตามบรบิ ท (3) ผู้บริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานพัฒนาสถานศึกษาเป็นสถานศึกษาแบบเรียนรวมเต็มรูปแบบ โดย (3.1) เริม่ จากการบริหารจดั การเพื่อเปน็ ฐานของการจดั การศกึ ษาแบบเรยี นรวม ดว้ ยการทบทวนลักษณะ ปัจจุบันของสถานศึกษา ท�ำความเข้าใจแนวคิดของสถานศึกษาแบบเรียนรวมเต็มรูปแบบ สร้างทิศทาง ของสถานศึกษาที่ชัดเจน จัดท�ำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการและลดค�ำว่าพิการหรือด้อยโอกาส (3.2) เพ่ิมความตระหนักให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาในเร่ืองของนักเรียนท่ีมีความต้องการแตกต่างและ สร้างความแข็งแกร่งให้กับปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของสถานศึกษาด้วยภาวะผู้น�ำ การกระจายอ�ำนาจ และ ร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ ในเชิงรุก และ (3.3) พัฒนางานด้วยแนวคิดเชิงนวัตกรรม ด้วยการให้ความส�ำคัญ กับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส�ำคัญ และน�ำเข้ามามีส่วนร่วมในการวางระบบงานพร้อมให้ความรู้เพ่ือเป็น การสร้างความเข้าใจให้ตรงกัน พัฒนาระบบสถิติ ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการใช้งาน อ้างอิง และเผยแพร่ 124 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

กระตุ้นให้มีการวิจัยปฏิบัติการจัดการศึกษาเรียนรวมในสถานศึกษา และร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษา เพอ่ื พัฒนาสถานศกึ ษาแบบเรียนรวม (4) ครูประจ�ำการต้องปรับกระบวนทัศน์และสร้างกรอบความคิดเติบโตให้กับการจัดการเรียนรวม โดยใช้การให้ความใส่ใจร่วมกับการแสวงหาความรู้และทักษะเรื่องการเรียนรวมคู่กันไปกับความรู้เรื่องนโยบาย และกฎหมายคัดกรองนักเรียนโดยให้ความส�ำคัญกับจุดแข็งของนักเรียนมากกว่าจ�ำแนกประเภท จัดการเรียน การสอนแบบยืดหยุ่น เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ส�ำหรับการพัฒนา การเรียนรวม ทดลองและพัฒนาการใช้นวัตกรรมหรือผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรวม รวบรวม นวตั กรรมและแบบปฏิบตั ทิ ี่ดี เพือ่ การใช้งานและเผยแพรค่ วามรทู้ ีต่ รวจสอบความถูกต้องแล้วสู่สาธารณชน (5) หน่วยงานก�ำกับการผลิตครูและหน่วยงานผลิตครู ต้องทบทวนหลักสูตรการผลิตครูใหม่โดยมี หลักการส�ำคัญ คือ ครูทุกคนต้องพร้อมที่จะสอนในช้ันเรียนรวม ด้วยเหตุนี้ในองค์ประกอบวิชาชีพครูต้องเพ่ิม องค์ความรู้ส�ำคัญท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรวมในหลักสูตร ซ่ึงอยู่ในกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาเด็ก ทีม่ ีความต้องการแตกต่าง และการจดั การเรยี นรใู้ นชน้ั เรยี นรวม ประเภททีส่ อง ข้อเสนอแนะดา้ นการวิจยั ไดแ้ ก่ (1) หน่วยงานระดับนโยบายของการจัดการศึกษาเรียนรวม ร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษา และ หน่วยงานสนับสนุนการวิจัยขยายมุมมองการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม แล้วพัฒนาเป็นประเด็นวิจัยส�ำคัญ ตามบริบทของประเทศไทย และสนับสนุนใหท้ �ำการวจิ ัยตามประเด็นเพ่ือการน�ำมาใชง้ าน (2) วิจัยและพัฒนาหรือวิจัยปฏิบัติการตามความต้องการเชิงพัฒนาของหน่วยบริหารจัดการและสถาน ศึกษาที่จดั การศึกษาแบบเรียนรวมโดยใชว้ ิธกี ารวิจยั แบบมีส่วนร่วม (3) วิจัยแบบเทียบรอยคุณภาพการจัดสถานศึกษาแบบเรียนรวมภายในประเทศหรือระดับระหว่าง ประเทศท่มี ีแบบปฏิบตั ิทด่ี ี รายงานประจ�ำ ปี 2561 125

12. การจัดท�ำรายละเอียดตวั ช้ีวดั ตามเป้าหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ส�ำนักประเมนิ ผลการจดั การศึกษา องค์ความรู/้ งานวิจยั ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดท�ำแผน การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ข้ึน ซ่ึงเป็นแผนระยะยาว 20 ปีเพื่อวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของ ประเทศไทย โดยมุ่งเป้าหมายของการจัดการศึกษา 5 ประการ ประกอบด้วย 1) ประชาชนทุกคนเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) 2) ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม เป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน อย่างเท่าเทียม (Equity) 3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ (Quality) 4) ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ เพอื่ การลงทนุ ทางการศกึ ษาทค่ี มุ้ คา่ และบรรลเุ ปา้ หมาย (Efficiency) และ 5) ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลง ของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) เพ่ือให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคใน การศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาก�ำลังคนให้มีสมรรถนะในการท�ำงาน ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนา ประเทศตอ่ ไป ส�ำนักประเมินผลการจัดการศึกษา ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษาในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการประเมินผล การจัดการศึกษาของประเทศ มีภารกิจในการติดตามผล การจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติดังกล่าว จึงได้จัดท�ำรายละเอียดตัวชี้วัดตามเป้าหมายของ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ซงึ่ เปน็ การศกึ ษา รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะหส์ งั เคราะหแ์ ละประมวลผล เพื่อจัดท�ำรายละเอียดข้อมูลตัวช้ีวัดก�ำหนดนิยาม ให้มีความชัดเจนและมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันใน ทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษารวมทั้งเป็นแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน ลดความซ�้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ การพัฒนาเป็นฐานข้อมูลเดียวกัน ตามรายละเอียดตัวชี้วัดเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ที่ก�ำหนดไว้รวมถึง เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศ ท่ีส�ำคัญ และส่งผลต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาในการใช้ข้อมูลด้านการประเมินผลการจัดการศึกษา ของประเทศประกอบการตดั สนิ ใจ ก�ำหนดนโยบาย และแนวทางการพฒั นาการศึกษาของประเทศชาติตอ่ ไป 126 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

ตัวช้ีวัดตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา รวมท้ังหมด 53 ตัวชี้วัด ครอบคลุมผลการจัดการศึกษา ใน 5 ด้าน ดังน้ี 1) การเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษา จ�ำนวน 9 ตัวชีว้ ดั 2) ความเท่าเทยี มทางการศกึ ษา จ�ำนวน 3 ตวั ช้วี ดั 3) คณุ ภาพการศึกษา จ�ำนวน 13 ตวั ช้ีวดั 4) ประสิทธภิ าพ จ�ำนวน 16 ตวั ชีว้ ัด 5) การตอบโจทยบ์ รบิ ทท่ีเปล่ียนแปลง จ�ำนวน 12 ตัวชว้ี ัด โครงสรา้ งรายละเอียดตัวช้ีวัดตามเป้าหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ท้ัง 5 ด้าน 53 ตัวชว้ี ัด มรี ายละเอียด 7 เรอ่ื ง ดงั น้ ี รายการ รายละเอียด ปรากฏในแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 1. ช่อื ตัวช้วี ดั หนา้ 82 - 87 2. รายละเอียดตัวช้วี ดั กาหนดข้ึนเพือ่ ใชอ้ ธบิ ายความหมายของตัวชีว้ ัดตาม เปา้ หมายของแผนการศึกษาฯ 3. ขอ้ มลู ทใ่ี ช้ กาหนดข้ึนเพื่อรวบรวมข้อมลู ให้ครอบคลมุ ตามที่ 4. ชว่ งปแี ละค่าเป้าหมาย กาหนดไว้ในรายละเอยี ดตัวชวี้ ัดฯ 5. หนว่ ยงานท่รี ายงานข้อมลู ช่วงปที ่ี 1 คือ พ.ศ. 2560 - 2564 ชว่ งปีที่ 2 คอื พ.ศ. 2565 - 2569 6. แหล่งข้อมูล ช่วงปที ่ี 3 คือ พ.ศ. 2570 - 2574 และ 7. วิธีการวิเคราะหข์ ้อมลู ช่วงปที ี่ 4 คือ พ.ศ. 2575 - 2579 ปรากฏในแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 หน้า 82 - 87 เป็นหน่วยงานตน้ สงั กัด หรอื หน่วยงานทร่ี ายงานข้อมลู สารสนเทศในภาพรวมที่เก่ียวขอ้ งกบั ตัวช้วี ัดเป้าหมาย ของแผนการศึกษาฯ เป็นหน่วยปฏบิ ตั ิในพ้ืนที่ทรี่ วบรวมข้อมลู แลว้ สง่ ต่อให้ ต้นสังกดั กาหนดไว้ตามลักษณะข้อมลู ทมี่ ีอยู่และที่ต้องการ เชน่ การแจงนบั ข้อมูล หรือการกาหนดเปน็ สูตรการคานวณ ตามรายละเอียดของข้อมลู ทตี่ ้องการใช้ รายงานประจ�ำ ปี 2561 127

13. การพฒั นาตัวชี้วัดประสทิ ธิภาพการจัดการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ส�ำนักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้ องค์ความร/ู้ งานวจิ ยั การจัดการศึกษาในระดับข้ันพ้ืนฐานท่ีอยู่ ภายใต้การก�ำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ี ส่งเสริมให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่มี อย่างท่ัวถึงตามศักยภาพของแต่ละบุคคล มีความรู้ ความส�ำคัญในการจัดการศึกษา เป็นการถ่ายทอด ทักษะ คุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึง ความรู้และประสบการณ์จากผู้สอนลงสู่ผู้เรียน ประสงค์ตามหลักสูตร รวมถึงพัฒนาระบบการบรหิ าร เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หรืออาจกล่าวได้ว่า จัดการที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคคลที่เกี่ยวข้อง การจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียน ทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างความ เกิดการเรียนรู้ และบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของ รับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ การจัดการศึกษา ซ่ึงการจัดการเรียนรู้ที่ดี จะท�ำให้ สงู สดุ (ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระ กิจกรรม 2558) การเรียนรู้ เกิดทักษะและเจตคติที่ดีต่อสิ่งท่ีเรียน การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในยุคปัจจุบัน สามารถน�ำความรู้และประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ ทง้ั ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง รวมถงึ เทคโนโลยี ในชีวิตประจ�ำวัน และใช้ส�ำหรับการศึกษาอย่าง สารสนเทศ ท�ำให้มีข้อมูลข่าวสารจ�ำนวนมหาศาล ต่อเน่อื งตลอดชีวติ ท่ีสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย สถานศึกษาโดยเฉพาะ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีรับผิดชอบการจัด การศึกษาให้แก่ประชากรวัยเรียน ในระดับปฐมวัยถึง ระดบั มธั ยมศกึ ษา เปน็ หนว่ ยงานทม่ี คี วามส�ำคญั อยา่ งยง่ิ ในการจดั การศกึ ษาใหแ้ กผ่ เู้ รยี นใหด้ �ำเนนิ ไปในทศิ ทาง ที่ถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ดงั กลา่ ว ตามกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 ที่เน้นทักษะ ความรู้ และความเชี่ยวชาญ เพื่อการด�ำรงชีวิตและความส�ำเร็จในการประกอบ อาชีพ ได้แก่ การรอบรู้เนื้อหาวิชาพื้นฐาน สมรรถนะ พน้ื ฐาน ทกั ษะการเรียนรู้ ทักษะด้านนวตั กรรม ที่เนน้ ย้�ำการคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ การส่ือสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือและเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและทักษะทางอาชีพ ซ่ึงหน่วยงานทางการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั และความจ�ำเปน็ ของทกั ษะ ดงั กลา่ ว และน�ำไปใชเ้ ปน็ พนื้ ฐานในการท�ำงานและจดั การ เรยี นรู้ (Partnership for 21st Century Skills. 2009) 128 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

กรอบแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ดังกล่าว เป็นหน้าที่ส�ำคัญ ที่ก�ำหนดขึ้นดังกล่าวข้างต้น ได้ถูกน�ำมาเป็นกรอบ ของสถานศึกษา ที่จะต้องจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา ในการร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ในด้าน นักเรียนให้เกิดการเรียนรู้และทักษะเต็มตามศักยภาพ การพัฒนาจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของ การที่จะทราบว่าสถานศึกษา โดยเฉพาะสถานศึกษา คนในชาติ ให้มีทักษะท่ีจ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิต ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในสังกัดต่าง ๆ ที่มี ในศตวรรษที่ 21 เพ่ือให้สอดรับกับการพัฒนา บริบทแตกต่างกัน มีการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ประเทศไทยสู่ยุค 4.0 ซ่ึงเป็นยุคของการขับเคล่ือน แผนยุทธศาสตร์ชาติให้นักเรียนเกิดทักษะที่จ�ำเป็นได้ เศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม ท่ีต้องอาศัยก�ำลังคน อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใดหรือไม่นั้น จ�ำเป็นต้องมี ที่มีความรู้ความสามารถในการขับเคลื่อนไปสู่ ตัวชี้วัดที่ชัดเจนเป็นกรอบในการวัดและประเมิน การเป็นประเทศที่ม่ันคงและยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ดังน้ัน ส�ำนักงาน มีการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ ปฏิรูปการวิจัยและ เลขาธิการสภาการศึกษาจึงจัดให้มีการด�ำเนินงาน การศึกษา โดยการผนึกก�ำลังกับเครือข่ายพันธมิตร ตามโครงการวิจัยน้ีเพ่ือช่วยให้ได้กรอบ ตัวชี้วัด ทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนา และบุคลากรระดับโลก และเกณฑ์ ในการประเมินผลประสิทธิภาพ (สวุ ิทย์ เมษนิ ทรยี ์, 2559) การจดั การเรยี นรู้ ทส่ี อดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาเห็นว่า ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 และแผนการศึกษา การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ให้มีความรู้ ทักษะและ แห่งชาติ รายงานประจำ�ปี 2561 129

14. การพัฒนากลไกขับเคลอ่ื นระบบการผลติ และพัฒนาครูสมรรถนะสูง ส�ำหรบั ประเทศไทย 4.0 ส�ำนักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรียนรู้ องคค์ วามร/ู้ งานวิจยั การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนากลไก ขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง ส�ำหรับประเทศไทย 4.0 ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษากรอบแนวคิด ระบบการผลิตและพัฒนาครู สมรรถนะสูง กลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและ พัฒนาครูสมรรถนะสูงและคุณลักษณะคนไทยท่ี พึงประสงค์ส�ำหรับประเทศไทย 4.0 2) เพ่ือศึกษา สภาพที่พึงประสงค์ของระบบการผลิตและพัฒนาครู สมรรถนะสูง กลไกขับเคล่ือนระบบการผลิตและ พัฒนาครูสมรรถนะสูงส�ำหรับประเทศไทย 4.0 3) เพ่ือพัฒนากลไกขับเคล่ือนระบบการผลิต และพัฒนาครูสมรรถนะสูงส�ำหรับประเทศไทย 4.0 และข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนระบบการผลิต และพัฒนาครูสมรรถนะสูงท่ีเหมาะสมส�ำหรับ ประเทศไทย 130 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

สรุปกลไกขบั เคลื่อนระบบการผลติ และพฒั นาครสู มรรถนะสูงส�ำหรับประเทศไทย 4.0 รายงานประจ�ำ ปี 2561 131

ข้อเสนอเชิงนโยบายการขบั เคล่อื นระบบการผลิตและการพัฒนาครสู มรรถนะสูงส�ำหรับประเทศไทย 1. องค์กรวิชาชีพครู และส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ควรเร่งน�ำแนวคิดสภาพ ที่พึงประสงค์ของครูสมรรถนะสูงส�ำหรับโลกอนาคตท่ีบูรณาการฐานสมรรถนะและฐานผลลัพธ์ไปใช้ ในการจดั ท�ำมาตรฐานวชิ าชีพครแู ละมาตรฐานคณุ วุฒิสาขาวิชาครศุ าสตรศ์ ึกษาศาสตร์ 2. ระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงส�ำหรับประเทศไทย 4.0 ควรมุ่งเน้นที่การพัฒนา สมรรถนะด้านค่านิยมทางวิชาชีพ (Professional Values) สมรรถนะการปฏิบัติทางวิชาชีพ (Professional Practice) ทักษะทางวิชาชีพ (Professional Skills) ความยึดม่ันผูกพันในวิชาชีพ (Professional Engagement) ความรู้ความเข้าใจทางวิชาชีพ (professional Knowledge and understanding) และความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีผลลัพธ์การเรียนรู้หลักท่ีพึงประสงค์ 3. ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และองค์กรวิชาชีพครูควรเร่งน�ำแนวคิดกลไก ขับเคล่ือนระบบการผลิตครูไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมเน่ืองจากผลการวิจัยพบว่าระบบการผลิตครู ควรเป็นระบบปิดและควรมีรูปแบบทางเลือกในการผลิตครูเพื่อให้การผลิตครูสอดคล้องกับความต้องการครู ในอนาคตทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการปรับเปล่ียนระบบการผลิตครู โดยการปรับเปลี่ยนในระยะแรก ควรเป็นแบบผสมผสานระหว่างระบบปิดกับระบบเปิด และในท้ายท่ีสุดแล้วระบบการผลิตครูท่ีพึงประสงค์ ควรเป็นระบบปิด กล่าวคือ ผลิตตามความต้องการของผู้ใช้ครู เพ่ือเป็นการควบคุมคุณภาพครูให้สอดคล้องกับ บริบทของประเทศ 4. สถาบันผลิตครู สถาบันพัฒนาครู และหน่วยงานต้นสังกัดของครูควรเร่งน�ำแนวคิดกลไกขับเคล่ือน ระบบการพฒั นาครไู ปสกู่ ารปฏิบตั ใิ หเ้ ป็นรูปธรรมเนอ่ื งจากผลการวิจัยพบว่า ระบบการพฒั นาครูควรเปน็ ระบบ เครือข่ายเชิงพื้นที่และควรมีรูปแบบทางเลือกในการพัฒนาครูเพ่ือให้การพัฒนาครูส่งผลถึงการพัฒนา คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนักเรียนทุกคนอย่างทั่วถึง โดยรูปแบบการพัฒนาแบบผสมผสานระหว่าง การพฒั นาในเวลาการปฏบิ ตั งิ าน (On - the - job Training) การพฒั นานอกเวลางาน (Off - the - job Training) และการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองแบบออนไลน์ (Online) น้นั ควรต้องมีการก�ำหนดเกณฑ์ท่ีม่งุ พฒั นาครูให้เกิดผลลพั ธ์ การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนอย่างแท้จริงและการที่ครูจัดหาสื่อในรูปแบบต่าง ๆ มาพัฒนาความรู้ความสามารถ และกลยทุ ธก์ ารเรียนการสอนของตนเองด้วย 5. ระบบบริหารจัดการสารสนเทศเป็นส่ิงที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างย่ิงในการควบคุมคุณภาพ และการบรหิ ารจดั การทงั้ ระบบการผลติ และระบบการพฒั นาครทู ง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ ดงั นนั้ หนว่ ย งานทมี่ ขี อ้ มลู ในสว่ นตา่ ง ๆ ควรท�ำงานประสานกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื กนั ในการแบง่ ปนั ขอ้ มลู ภาคเี ครอื ขา่ ย ท่ีสร้างข้ึนมาใหม่ควรมีบทบาทในการรวบรวมข้อมูลท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อใช้ในการวางแผน และก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงาน 6. ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาควรเร่งน�ำข้อเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนา ครูทั้งระบบไปเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเพื่อพิจารณาในเชิงนโยบายโดยเฉพาะในหลักการ ของกลไกท่ีมีท้ังระดับชาติและเครือข่ายเชิงพ้ืนท่ีในการผลิตและพัฒนาครู เนื่องจากผลการวิจัยพบว่า กลไก ระดับชาตแิ ละเครอื ขา่ ยเชิงพื้นท่ีมคี วามส�ำคญั ควบคกู่ ันและตอ้ งเช่ือมประสานกัน 132 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

15. แนวทางการจัดการศึกษาทางเลือกเพอ่ื ยกระดับคุณภาพผู้เรยี น 133 ตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ส�ำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนร ู้ องค์ความรู้/งานวจิ ัย สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกและประเทศไทยใน การเปลี่ยนผ่านช่วงศตวรรษที่ 20 สู่ศตวรรษท่ี 21 เป็นปัจจัย ทั้งภายนอกและภายในท่ีส�ำคัญเป็นแรงขับเคลื่อนและผลักดัน ให้มีการปฏิรูปประเทศไทยในทุกด้าน เป็นที่มาและก่อให้เกิด “นโยบายประเทศไทย 4.0” เป็นโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศที่ต้องการปรับเปล่ียนประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 หวั ใจส�ำคญั ของการขบั เคลอ่ื นประเทศตามนโยบาย “Thailand 4.0” ให้ส�ำเร็จได้น้ันค�ำตอบคือ “การศึกษา” เพราะการศึกษาเป็น เครื่องมือส�ำคัญการสร้างคน สร้างสังคม สร้างชาติ เป็นกลไกหลัก ในการพัฒนาก�ำลังคนให้มีคุณภาพ สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกับ บุคคลอ่ืนในสังคมได้อย่างเป็นสุขในกระแสการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วของโลกในศตวรรษที่ 21 “การศึกษาทางเลือก (Alternative Education)” เป็นระบบการจัดการศึกษาทางเลือกของภาคสังคมท่ีรัฐบาลได้ กระจายอ�ำนาจไปใหส้ ถาบนั สังคม ได้แก่ บคุ คล ครอบครวั องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบัน ศาสนา มีสิทธิในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานได้ กฎหมาย ได้รับรองไว้ทั้งในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย ประกาศ และค�ำส่ังต่าง ๆ ในทุกระดับ โดยมีพัฒนาการ ประสบการณ์ บทเรียน และผลงาน มายาวนานไม่น้อยกว่า 37 ปี จุดเด่นที่ส�ำคัญของการจัดการศึกษาทางเลือกของสถาบันสังคมท่ีถือได้ว่า มีคุณูปการต่อเด็กและการศึกษาไทย คือ การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเด็กท่ีเรียกว่า “กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ” ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองหลักเกณฑ์และแนวทางการปรับใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ส�ำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น กลุ่มเด็กด้อยโอกาส ยากไร้ เด็กนอกระบบ เด็กชาติพันธุ์ชนเผ่าพ้ืนเมือง เด็กชุมชนบนพื้นที่สูง ไร้สัญชาติ ก�ำพร้า เด็กกลุ่มเส่ียงที่จะถูกละเมิดสิทธิ ถูกกระท�ำความรุนแรง เด็กพิการ ตลอดจนถึงเด็กที่มีความสามารถพิเศษต่าง ๆ ดว้ ย ดงั นนั้ การศกึ ษาทางเลือก ของสถาบันสังคม จึงเป็นอีก “ลู่” หน่ึงของระบบการศึกษาไทยท่ีจะเข้ามาช่วยเติมเต็มในการขับเคล่ือน การศึกษาไทยท่ีจะสร้างและพัฒนาคนในการขับเคล่ือนนโยบายประเทศไทย 4.0 ให้ส�ำเร็จและเป็นจริงได้ โดยไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลังในการก้าวสู่โลกและประเทศไทย 4.0 งานวิจัยฉบับนี้ได้ลงพ้ืนที่ท�ำการส�ำรวจ ข้อมูล สภาพจริง สงั เกต สมั ภาษณ์ จดั ประชุมสนทนากลุ่มใหค้ �ำแนะน�ำ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ทดลอง ปฏิบตั ิ สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีส่วนร่วมกับผู้เก่ียวข้องของศูนย์การเรียนทางเลือกของสถาบันสังคม 3 ประเภท 5 กรณีศึกษา คือ ประเภทองค์กรชุมชน : ศูนย์การเรียนหญ้าแพรกสาละวิน อ.สบเมย จ.แม่ฮ่องสอน, ศูนย์การเรียนโจ๊ะมาโลลือหล่า อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่, ศูนย์การเรียนชุมชนวิถีไท อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช ประเภทองคก์ รเอกชน : ศนู ยก์ ารเรียนมัธยมหม่บู า้ นเดก็ อ.เมอื ง จ.กาญจนบุรี ประเภทบคุ คล : ศนู ยก์ ารเรยี น ชวี ติ ธรรมชาติภเู ก็ต อ.เมอื ง จ.ภเู กต็ รายงานประจ�ำ ปี 2561

16. การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาให้รองรับการปฏิรูปประเทศ ดา้ นการศึกษาตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ส�ำนกั มาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้ องคค์ วามร/ู้ งานวจิ ยั บทวเิ คราะหก์ ารพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ให้รองรับการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาตามรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ฉบับน้ีมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื 1. ศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับกฎหมาย นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ ข้อเสนอและผลการวิจัยในการพัฒนาระบบ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 2. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการพัฒนาระบบ ประกันคณุ ภาพการศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 ของตา่ งประเทศ 3. จดั ท�ำบทวเิ คราะห์การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพ การศึกษาให้รองรับการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 โดยมุ่งหวัง ให้ได้ข้อมูลในการจัดท�ำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดท�ำ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาให้รองรับการปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 โดยรายงานบทวเิ คราะหน์ จี้ ดั แบง่ หวั ขอ้ การน�ำเสนอ ประกอบด้วย 1. ความส�ำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ประมวลข้อมูลเกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพ การศึกษาจากหนว่ ยงาน องค์กรต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง 3. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ในศตวรรษท่ี 21 จากประเทศต่าง ๆ 4. บทวิเคราะห์การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษาให้รองรับการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 134 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

17. แนวทางการจัดท�ำมาตรฐานอสิ ลามศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส�ำนักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรียนรู้ องค์ความร้/ู งานวิจัย “ความร้ทู างวชิ าการและทางปฏบิ ตั ทิ ีส่ อนในโรงเรียน เปน็ ท้ังรากฐานและปจั จัยทสี่ ำ� คัญย่ิงของทุกคน เพราะบุคคลไดอ้ าศยั ความรเู้ ปน็ กำ� ลงั ที่จะน�ำพาตัวให้ก้าวไปส่คู วามสำ� เร็จ และความรดู้ ังกล่าวนไ้ี ม่ขดั กบั ศาสนาไมว่ ่าศาสนาใด ตรงข้ามกลบั สนบั สนนุ กัน กลา่ วคอื ความรู้ชว่ ยให้เรียนร้ศู าสนาไดโ้ ดยกว้างขวาง และศาสนาชว่ ยใหศ้ ึกษาหาความรู้ได้อยา่ งลกึ ซ้งึ และชัดแจง้ เพราะฉะนั้น ทงั้ วชิ าและศาสนาจึงดำ� เนนิ ควบคูก่ ันไป เป็นสิง่ ส�ำคญั สำ� หรบั ชวี ิตดว้ ยกัน ผูใ้ ดมีท้ังหลกั วิชา ทง้ั หลกั ศาสนา ยอ่ มด�ำเนนิ ถึงความสำ� เรจ็ ในชีวิตไดอ้ ย่างไม่พลาดพลั้ง” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 พระราชทานแก่ครใู หญโ่ รงเรียนและนกั เรียนทสี่ มควรได้รบั พระราชทานรางวัล ตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำ� ปีการศกึ ษา 2515 และครูนักเรยี นโรงเรยี นราษฎรส์ อนศาสนาอสิ ลามภาคใต้ ณ หอประชมุ ครุ ุสภา วนั เสาร์ที่ 1 ธันวาคม พทุ ธศักราช 2516 ทมี่ า หลกั ทส่ี �ำคัญของชวี ติ 100 คำ� สอนพอ่ ตอนท่ี 56 หนา้ 60 รายงานประจ�ำ ปี 2561 135

มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ เหน็ วา่ ควรใหค้ วามส�ำคญั กับอิสลามศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซ่ึงเป็น การศึกษาท่ีมีอัตลักษณ์เฉพาะท้องถ่ิน จึงสนใจ ท่ีจะศึกษาแนวทางการจัดท�ำมาตรฐานอิสลามศึกษา ส�ำหรบั สถานศกึ ษาทกุ ระดบั /ประเภทในจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ คอื ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศนู ย์การศกึ ษาอสิ ลาม ประจ�ำมัสยิด (ตาดีกา) โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม โรงเรียนของรัฐสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันศึกษาปอเนาะ และ สถาบันอุดมศกึ ษา มลู นธิ สิ ขุ - แกว้ แกว้ แดง ซงึ่ เปน็ องคก์ รเอกชน ท่ี ท�ำ กิ จ ก ร ร ม เ พ่ื อ ส ร ้ า ง สั น ติ สุ ข ใ น พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด ชายแดนภาคใต้จึงอาสาเขา้ มาท�ำการศึกษาวิจยั เรอ่ื งนี้ ซ่ึงได้ข้อค้นพบท้ังความส�ำเร็จ ปัญหาและอุปสรรค ของการจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษาท่ีเป็น ประโยชน์มากมายส�ำหรับการจัดท�ำมาตรฐานอิสลาม ศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ อั ต ลั ก ษ ณ ์ แ ล ะ ความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ต่อไป ดังได้น�ำ เสนอไวใ้ นรายงานวิจยั ฉบบั น้ี ศาสนาอิสลามเป็นแนวทางการด�ำเนินชีวิต งานวิจัยนี้พบว่าร่างมาตรฐานการศึกษา ทค่ี รอบคลุมกจิ วตั รประจ�ำวนั ของมนุษย์ ซึ่งจะน�ำไปสู่ แห่งชาติฉบับใหม่มีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ความผาสุกทั้งโลกน้ีและโลกหน้า โดยมีอัลกุรอาน อิสลามศึกษา แต่จ�ำเป็นต้องจัดท�ำมาตรฐานอิสลาม และอัลหะดีษเป็นธรรมนูญ ซ่ึงมุสลิมทุกคนต้องศึกษา ศึกษาที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแต่ละระดับ หาความรู้เพื่อน�ำไปปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน ดังนั้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงพบว่าหลักสูตรและการเรียน การศกึ ษาศาสนาควบคกู่ บั วชิ าสามญั จงึ เปน็ ความตอ้ งการ การสอนอิสลามศึกษาในพื้นที่ยังมีความซ�้ำซ้อน ของประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ ไม่บูรณาการกัน มีปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่ท�ำให้ สถานศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน ผลการทดสอบมาตรฐานอิสลามศึกษาไม่เป็นไป เร่ืองอิสลามศึกษามาอย่างยาวนาน คือ โรงเรียน ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ข้อส�ำคัญที่สุดคือ ทุกฝ่าย เอกชนสอนศาสนาอิสลาม สถาบันศึกษาปอเนาะ ท่ีเกี่ยวข้องต้องการให้มีการประชุมระดมความคิด และศูนย์การศึกษาอิสลามประจ�ำมัสยิด (ตาดีกา) เพ่ือจัดท�ำมาตรฐานอิสลามศึกษาท่ีเป็นมาตรฐาน ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ท่ีมีเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ เดยี วกนั โดยทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ มและใหม้ กี ารแลกเปลย่ี น เท่านัน้ เรียนรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานอิสลามศึกษา ในการจัดท�ำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สูงข้ึน น�ำไปสู่การพัฒนา 2560 - 2579 ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของประชาชน ซึ่งรับผิดชอบการจัดท�ำแผนการศึกษาแห่งชาติและ ในจังหวัดชายแดนภาคใตต้ ่อไป 136 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

18. การพัฒนารปู แบบการจัดการศกึ ษาในพ้ืนที่เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ส�ำนักมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรียนรู้ องค์ความรู้/งานวิจัย รัฐบาลได้เลง็ เหน็ ความส�ำคัญของพนื้ ท่ีตามแนว ชายแดนซึ่งมีลักษณะพิเศษในการสร้างโอกาส และพัฒนาศักยภาพในเชิงเศรษฐกิจการค้า และ การลงทุนระหว่างประเทศได้เป็นอย่างดี จึงริเร่ิม ก�ำหนดให้มีพื้นท่ี “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ” ตามแนวชายแดนของประเทศ จ�ำนวน 10 เขตให้ได้ รับการพิจารณาให้เป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์และเป็น พ้ืนที่ส�ำคัญต่อการพัฒนาเพ่ือเป้าหมายเชิงเศรษฐกิจ ของประเทศ ทั้งน้ีแม้ว่าเป้าหมายการพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษมุ่งไปท่ีด้านเศรษฐกิจการค้า และ อุตสาหกรรม แตจ่ �ำเปน็ ต้องอาศยั “โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ทางสังคม” จึงจะเกิดการพัฒนาสังคมและประเทศ อย่างม่ันคงและย่ังยืน โดยเฉพาะพ้ืนฐานโครงสร้าง ในการผลติ ทรพั ยากรบคุ คล หรอื พนื้ ฐานทางการศกึ ษา รวมไปถงึ พนื้ ฐานตน้ ทนุ ทางชาตพิ นั ธ์ุ ภาษา วฒั นธรรม และประวัติศาสตร์ของประชากรแถบน้ันด้วย ซ่ึงการศึกษาพื้นท่ีโดยค�ำนึงถึงพื้นฐานต่าง ๆ เหล่าน้ี จะท�ำใหก้ ารปรบั และการพฒั นาสว่ นงานในการพฒั นา การศึกษา การพัฒนาเศรษฐกิจด�ำเนินไปได้ด้วยดี อย่างม่ันคงและยั่งยืน โดยเฉพาะในด้านออกแบบการศึกษาแล้ว การออกแบบหลักสูตร การบริหารสมรรถนะ บุคลากรผู้สอน - ผู้เรียน และด้านการสร้างภาคีเครือข่ายชุมชน จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงต้นทุนทรัพยากรบุคคล ในการพัฒนา เพ่ือให้มีเป้าหมายสอดคล้องกับยุทธศาสตร์เขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมท้ังยังเป็นการพัฒนา ทรพั ยากรประเทศในหลาย ๆ ด้านอยา่ งพรอ้ มเพรียง รายงานประจำ�ปี 2561 137

ในการด�ำเนินงานวิจัยน้ีมีเป้าหมายเพ่ือ (ภาคตะวันออก), จังหวัดกาญจนบรุ ี และ จงั หวดั ตาก (1) ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษและ (ภาคตะวันตก) และ จังหวดั นครพนม (ภาคตะวันออก การจัดการศึกษาบูรณาการในเขตเศรษฐกิจพิเศษ เฉียงเหนอื ) ตามแนวชายแดนของประเทศไทย (2) เพ่ือศึกษา การด�ำเนินงานวิจัยมุ่งศึกษาเน้ือหา 3 ส่วน ส�ำรวจต้นทุนด้านชาติพันธุ์ ภาษา และวัฒนธรรม ได้แก่ (1) ข้อมูลเบ้ืองต้นเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ของเยาวชนและประชากรในเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการจัดการศึกษาบูรณาการในเขตเศรษฐกิจพิเศษ (3) เพอื่ วเิ คราะหผ์ ลจากการออกแบบการจดั การศกึ ษา ตามแนวชายแดนของประเทศไทย เพื่อให้ได้แนวทาง บูรณาการในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามบริบทต้นทุน การจัดการศึกษาและประสิทธิผลของการออกแบบ และศักยภาพของพื้นที่ รวมท้ังตามยุทธศาสตร์ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น เข ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ดั ง ก ล ่ า ว การพฒั นาของแตล่ ะพนื้ ที่ และ (4) เพื่อน�ำไปส่กู ารให้ (2) การศึกษาส�ำรวจต้นทุนด้านชาติพันธุ์ ภาษา และ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาคุณภาพ วัฒนธรรมของเยาวชนและประชากรในเขตเศรษฐกิจ การศึกษาที่เหมาะสมในเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยมี พิเศษ เพื่อให้ได้ข้อมูลสมรรถนะทางภาษาและ กลุ่มเป้าหมายเป็นตัวแทนจากหน่วยงานด้าน วัฒนธรรมอันจะเป็นข้อได้เปรียบในการพัฒนา การพัฒนาการศึกษาระดับขั้นพื้นฐานจนถึงระดับ การศึกษาและการพัฒนาอาชีพท่ีใช้ภาษา/วัฒนธรรม อุดมศึกษา และตัวแทนผู้ประกอบการธุรกิจ ในเขต เป็นหลัก และ (3) ศึกษาวิเคราะห์ผลหรือผลกระทบ เศรษฐกิจพิเศษ จ�ำนวน 6 จังหวัดครอบคลุม จากการออกแบบการจัดการศึกษาบูรณาการ ทุกภูมิภาค ได้แก่ จังหวัดเชียงราย (ภาคเหนือ), ในเขตเศรษฐกิจพเิ ศษเหลา่ น้ัน จังหวัดนราธิวาส (ภาคใต้), จังหวัดสระแก้ว 138 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

19. ปกี ารศึกษาเฉลย่ี ของประชากรไทย ปี 2560 ส�ำนักวิจยั และพัฒนาการศึกษา องค์ความรู/้ งานวิจัย ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้จัดท�ำ รายงาน เร่ือง ปีการศึกษาเฉล่ียของประชากรไทยข้ึน เป็นประจ�ำ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือน�ำเสนอข้อมูล เก่ียวกับตัวช้ีวัดท่ีส�ำคัญด้านโอกาสทางการศึกษาและ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนการศึกษา การก�ำหนดนโยบายการศึกษา ตลอดจนเพื่อเป็น ข้อมูลสนับสนุนในการด�ำเนินงานประเมินความส�ำเร็จ ของการพัฒนาการศกึ ษาของประเทศ รายงานฉบบั นี้ เปน็ การน�ำเสนอจ�ำนวนปกี ารศกึ ษา เฉลี่ยของประชากรไทย ปี 2560 โดยน�ำเสนอ ในรูปตารางสถิติแจกแจงจ�ำนวนร้อยละ และค่าเฉล่ีย จ�ำแนกตามกลุ่มอายุ เพศ เขตที่อยู่อาศัย (ในเขตและ นอกเขตเทศบาล) ประเภทอาชีพ ภูมิภาค และจงั หวัด ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ขอขอบคุณ ส�ำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาตทิ ไ่ี ดใ้ หค้ วามรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดี ในการให้รายละเอียดของข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง ท�ำให้ สามารถน�ำมาวิเคราะห์ และจัดท�ำรายงานจนเสร็จ สมบูรณ์ ดงั น�ำเสนอในรายงานนี้ และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ ว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการก�ำหนด นโยบาย และการวางแผนพัฒนาการศึกษาของ ประเทศตอ่ ไป รายงานประจ�ำ ปี 2561 139

20. อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนาก�ำลังคนอาชีวศกึ ษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการศกึ ษา องค์ความรู้/งานวิจัย กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว วางเป้าหมายอนาคต ประเทศไทย ปี 2579 ไปสู่การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว โดยเน้น การเพ่ิมมูลค่าและขับเคลื่อนประเทศด้วยนวัตกรรม ภายใต้ระบบ เศรษฐกจิ และสงั คมทเ่ี ขม้ แขง็ สามารถแขง่ ขนั ได้ ประกอบกบั บรบิ ท ของโลกและประเทศท่ีเปลี่ยนไปอย่างก้าวกระโดด มีการน�ำ Digital Technology เข้ามาใช้กับทุกภาคส่วนของธุรกิจเหล่าน้ี ส่งผลต่อการจ้างงานและความต้องการแรงงานทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพ จึงเป็นความท้าทายของทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง ในการเตรียมความพร้อมแรงงาน และการพัฒนาทุนมนุษย์ ให้สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต การศึกษา เป็นภาคการผลิตท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการเตรียมพัฒนาคนให้มี ศักยภาพและเติบโตเป็นแรงงานที่มีทักษะฝีมือ มีคุณลักษณะ ที่เหมาะสม ซึ่งจากสถานการณ์ผ่านมายังสะท้อนว่ามีความ ไม่สมดุลของแรงงานกับอาชีพ (Mismatch) เน่ืองจากการผลิต ในสาขาท่ีไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และ การผลิตก�ำลังคนยังมีสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการ ของผู้ประกอบการจากสถานการณ์และแนวโน้มการเปล่ียนแปลง ดังกล่าวข้างต้น การจัดการศึกษาจึงต้องมองเป้าหมายการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ วางแผนการผลิตและพัฒนาก�ำลังคนภาพรวม ของประเทศให้เพียงพอและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ในระยะยาว และท่ีส�ำคัญควรเร่งพัฒนาก�ำลังคนอาชีวศึกษาให้เป็นแรงงานท่ีมีคุณภาพ มีการบ่มเพาะ คุณลักษณะและทักษะที่เหมาะสมกับการท�ำงานในยุคใหม่ งานวิจยั เรอ่ื ง “อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนา ก�ำลังคนอาชีวศึกษาตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ” ได้ศึกษาและ วเิ คราะหท์ ศิ ทางการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหนา้ (พ.ศ. 2561 - 2565) ตามกล่มุ ขอ้ มลู 2 กลุ่ม คือ 140 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

1. กลุ่มข้อมูลที่เป็นตัวก�ำหนดทิศทาง จากทิศทางการพัฒนาประเทศดังกล่าว การจัดการ การพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน ประกอบด้วย ศึกษาระดับอาชีวศึกษาในประเทศไทย ซ่ึงท�ำหน้าท่ี แผนแมบ่ ทวา่ ดว้ ยความเชอ่ื มโยงระหวา่ งกนั ในอาเซยี น ผลิตและพัฒนาก�ำลังคนในระดับก่ึงฝีมือ (ปวช.) และ ปฏิญญากรุงกัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยอาเซียน 2025 : ฝมี ือ (ปวส.) ป้อนเขา้ ส่ตู ลาดแรงงานมาอยา่ งยาวนาน มุ่งหน้าไปด้วยกัน แผนงานพัฒนาความร่วมมือทาง จ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญและปรับทิศทางการจัด เศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง 6 ประเทศ และ การเรียนการสอนเพื่อผลิตและพัฒนาก�ำลังคนป้อน กรอบความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ สามฝา่ ย อนิ โดนเี ซยี - เข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างเร่งด่วน ให้ทันต่อทิศทาง มาเลเซีย - ไทย การพฒั นาประเทศใน 4 กลมุ่ อาชีพใน 5 ปขี ้างหน้า 2. กลมุ่ ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ตวั ก�ำหนดทศิ ทางการพฒั นา ข้อค้นพบจากงานวิจัยมีความส�ำคัญต่อ ในประเทศไทย ประกอบด้วยกรอบยุทธศาสตร์ชาติ การจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ เอกชนในประเทศไทย ในการน�ำข้อมูลไปใชป้ ระโยชน์ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในการจัดการศึกษาเพ่ือขจัดสภาวการณ์ “การจัด แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ การศึกษาไม่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน” รวมถึง Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ น�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย ผู้ส�ำเร็จอาชีวศึกษา ความม่ันคง ม่ังคั่ง และย่ังยืน ซ่ึงสามารถสะท้อน มีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ สอดคล้องกับ อนาคตภาพการพัฒนาประเทศไทยใน 4 ด้าน ได้แก่ ความต้องการของสถานประกอบการ การพัฒนา คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ ประเทศ และความสามารถในการแขง่ ขันระดับสากล รายงานประจ�ำ ปี 2561 141

21. บทสรุปส�ำหรับผู้บริหารในเอกสารองค์ความรูช้ ดุ “การเสริมสร้างวินยั ในสถานศึกษาระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน” ส�ำนกั มาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรียนร ู้ องค์ความรู/้ งานวิจยั โครงการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ฯ เป็นโครงการที่ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลท่ีต้องการให้เยาวชนมีวินัยในตนเอง โดยส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาได้มกี ารจดั ประชุมเครอื ข่าย อุดมศึกษา เพื่อระดมสมองในประเด็นที่ต้องการพัฒนาและ เสริมสร้างวินัยให้กับเยาวชน จัดล�ำดับความส�ำคัญของวินัย ท่ีควรเร่งพัฒนา จนเป็นท่ีมาของการศึกษาวินัยใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านความรับผิดชอบและการตรงต่อเวลา 2) ด้านความซื่อสัตย์ สุจรติ 3) ด้านการปฏิบตั ิตามระเบียบ กฎเกณฑ์ รู้จกั กาลเทศะและ เคารพสทิ ธิผู้อน่ื และ 4) ด้านการมีจิตอาสา เสยี สละ เห็นอกเหน็ ใจ ผู้อ่ืน ภายใตก้ ารด�ำเนนิ งานของเครือข่ายสถาบันอุดมศกึ ษา 4 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม และมหาวทิ ยาลยั บรู พา ประกอบกบั การศกึ ษารปู แบบ และกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาของต่างประเทศ ท่ีมีช่ือเสียงด้านการพัฒนาวินัยและท่ัวโลกให้การยอมรับความมี วินัยของประชากรในประเทศ ได้แก่ เยอรมนี ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และ เวียดนาม พรอ้ มข้อเสนอแนะการปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของ ไทย โดยคาดหวังให้เกิดรูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัย นักเรียน ตลอดจนข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สามารถน�ำไปปฏิบัติ ไดจ้ รงิ อยา่ งมีคุณภาพ รายงานฉบับน้ี เป็นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการพัฒนารูปแบบกลไกการเสริมสร้างวินัย ในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใน 4 ด้าน การสะท้อนความคิดต่อผลการพัฒนาดังกล่าวในภาพรวม และการวิเคราะห์จุดอ่อน - จุดแข็งของรูปแบบการเสริมสร้างวินัยในแต่ละด้าน ท่ีพัฒนาโดยเครือข่ายสถาบัน อุดมศึกษาแต่ละแห่ง ตลอดจนรูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาของต่างประเทศ เพื่อน�ำ ผลการพัฒนารูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในแต่ละด้าน และแบบปฏิบัติท่ีดี (Best practice) ของ ต่างประเทศ ไปปรับใช้ในสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) สามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรมกับโรงเรียนในสังกัด ตลอดจนสามารถขยายผลสู่การศึกษาทุกระดับ ต่อไป สาระส�ำคัญในรายงานผลการวิจัย ผ่านการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่เก่ียวข้อง เพ่ือน�ำมาประกอบ การสงั เคราะหข์ อ้ มลู ในรปู แบบอภมิ าน (Meta - analysis) ภายใต้การด�ำเนินงาน ดงั น้ี 142 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

1. การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากรายงานผล การวจิ ยั และพฒั นารปู แบบ กลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 4 ด้าน ท่ีด�ำเนินงานโดยเครือข่ายวิจัย ลักษณะการด�ำเนนิ งานเป็นการสงั เคราะห์ผลในภาพรวม พรอ้ มทง้ั วิเคราะห์จุดอ่อน - จุดแข็งของการเสริมสร้างวินัยในแต่ละด้าน และการน�ำข้อเสนอที่ได้จากผลการพัฒนาดังกล่าว ไปปรับใช้ ให้เกดิ ประโยชน์และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา 2. การศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบและกลไก 143 การเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทย เป็นการศึกษาสภาพและปัจจัยในการ เสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในบรบิ ทของประเทศไทย ประกอบด้วย 1) นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบยี บ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 2) มาตรฐานการศกึ ษา หลักสตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 3) หลักการ แนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการเสริมสร้าง วินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4 ด้าน คือ (1) ดา้ นความรบั ผดิ ชอบและการตรงตอ่ เวลา (2) ดา้ นความซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต (3) ดา้ นการปฏบิ ตั ิตามระเบียบ กฎเกณฑ์ รู้จักกาลเทศะ และเคารพสิทธิผู้อ่ืน และ (4) ด้านการมีจิตอาสา เสียสละ เห็นอกเห็นใจผู้อ่นื 4) แนวทางและกระบวนการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 5) สภาพความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคม ในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา อาทิ สถาบันครอบครัว ภาคเอกชน เป็นตน้ รายงานประจ�ำ ปี 2561

  1. สภาพระบบกลไกและความร่วมมอื ในการส่งเสรมิ สนับสนุนการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 7) ปจั จัยทส่ี รา้ งความเขม้ แข็งใหบ้ คุ คลมีวินยั 144 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

3. การศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานของต่างประเทศ ได้แก่ เยอรมนี เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และเวียดนาม พร้อมข้อเสนอแนะ การปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั บรบิ ทของประเทศไทย ประกอบดว้ ย 1) นโยบายรฐั บาล กฎ ระเบียบ ท่เี กีย่ วข้อง 2) มาตรฐานการศกึ ษา หลกั สูตรในระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานของแต่ละประเทศ 3) แนวทางการเสริมสร้างวนิ ยั นักเรียนในสถานศึกษาของประเทศทง้ั 4 ประเทศ 4) ความรว่ มมือของทุกภาคส่วนของสังคมในการเสริมสร้างวนิ ัยในสถานศกึ ษา อาทิ สถาบนั ครอบครัว ภาคเอกชน เปน็ ต้น 5) ระบบกลไกและความร่วมมือท่ีสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การเสริมสร้างวนิ ยั ในสถานศึกษา 6) ปจั จัยท่ีสรา้ งความเขม้ แข็งให้บคุ คลมวี ินัย 4. การจัดท�ำข้อเสนอเชิงนโยบายการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทสี่ อดคลอ้ งเหมาะสมกับบรบิ ทของสังคมไทย จากการด�ำเนินงานดงั กล่าว สรปุ สาระส�ำคญั ได้ ดังนี้ ผลการสังเคราะหก์ ระบวนการและรายละเอยี ดทเี่ กีย่ วข้องกับรปู แบบการเสรมิ สร้างวินัยฯ ภาพรวมของกระบวนการวิจยั ที่ใช้ในการด�ำเนินงาน รายงานประจำ�ปี 2561 145

ปจั จยั ทีต่ ้องค�ำนึงถึงในการก�ำหนดเป้าหมายการพฒั นาวินยั นกั เรียนของโรงเรยี น รปู แบบกลไกการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาวนิ ยั นักเรียนทุกระบบ ท้งั โรงเรียน (Whole school approach) 146 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

22. ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการเสริมสรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ทส่ี อดคลอ้ งเหมาะสมกับบริบทสงั คมไทย ส�ำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนร ู้ องค์ความร/ู้ งานวิจยั ข้อเสนอเชิงนโยบายการเสริมสร้างวินัยใน สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีสอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย สามารถน�ำไปใช้ใน การก�ำหนดทิศทางการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา ได้อย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วยรายละเอยี ด ปณธิ านและหลกั การ ปณิธานและหลักการหลายประการ สามารถ มีบทบาทส�ำคัญในการน�ำไปสู่การบริหารจัดการ พฤติกรรมของนักเรียนที่มีประสิทธิภาพและมีผล อย่างยั่งยนื ดงั นี้ 1. การสรา้ งการแสดงออกอย่างเหมาะสมและ ถูกกาลเทศะของนักเรียน ควรถูกก�ำหนดด้วยหลัก เหตุผลและวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้โดยสิ่งที่จะต้องค�ำนึง คือนักเรียนเลือกท่ีจะปฏิบัติในหนทางหน่ึง ๆ บนพน้ื ฐานของกรอบความคดิ ของนกั เรยี นทเี่ ชอ่ื วา่ เปน็ หนทางท่ีดีที่สุด เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของ นักเรียนในบริบทของเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน โรงเรียนจึงมีหน้าท่ีส�ำคัญในการส่ังสอนนักเรียนให้มี ทักษะในการตัดสินใจเลือกประพฤติต่อเหตุการณ์ในทางที่เหมาะสมท่ีสุด เพ่ือให้นักเรียนตระหนักว่าการปฏิบัติ ต่าง ๆ ของนักเรียนต่อเหตุการณ์ใด ๆ จะต้องมาจากการไตร่ตรองท่ีดีแล้ว และการปฏิบัติหรือประพฤติ ที่แตกต่างสามารถส่งผลท่ีแตกต่างกันได้ โดยส่วนใหญ่นักเรียนที่รู้จักการตอบสนองต่อความต้องการ ของตนเองอย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบ มกั จะไม่ก่อใหเ้ กดิ พฤติกรรมทจี่ ะสร้างปัญหาตอ่ การเรยี นของตน 2. ระเบียบการประพฤติจะต้องมีความชัดเจน กล่าวคือ มาตรการที่จะด�ำเนินต่อการประพฤติใด ๆ จะต้องไม่ใช้ความรุนแรง และสะท้อนให้เห็นถึงการปฏิบัติตามแนวนโยบายของหน่วยงานระดับนโยบาย และอยู่ในกรอบของความคาดหมายของชุมชนในวงกว้าง ทั้งน้ี เม่ือกล่าวถึงมาตรการที่ไม่ใช้ความรุนแรง มกี ารจ�ำกัดความทั้งด้านความรนุ แรงทางร่างกาย อารมณ์ และค�ำพูด 3. บุคคลทุกคนทุกกลุ่มจะต้องได้รับการปฏิบัติท่ีเท่าเทียมกันด้วยความเคารพ ความหลากหลายของ อัตลักษณ์ในชุมชนจะต้องได้รับการยอมรับ โรงเรียนจะต้องค�ำนึงเสมอว่านักเรียนแต่ละคนมีความสามารถใน การเรียนรู้และเข้าสังคมในระดับท่ีไม่เท่ากัน ซึ่งการออกแบบมาตรการต่าง ๆ ต่อความประพฤติที่ไม่เหมาะสม รายงานประจำ�ปี 2561 147

ของนักเรียน จะต้องค�ำนึงถึงความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคนด้วย เป็นหน้าที่ของโรงเรียนท่ีจะต้องศึกษา สาเหตุของปัญหาท่ีน�ำไปสู่พฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม รวมท้ังน�ำมาซ่ึงวิธีที่จะปรับปรุงพฤติกรรมน้ัน ๆ ของ นักเรียนเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนของนักเรียน วิธีท่ีใช้ในการแก้ปัญหา อาจจะค�ำนึงถึงการพิจารณา ปรับแกร้ ปู แบบและโครงสรา้ งของโรงเรยี น หอ้ งเรยี น หรอื หลักสตู ร 4. ทุกคนจะต้องมีความรับผิดชอบต่อการกระท�ำของตนเอง โดยทักษะความรับผิดชอบ จะต้องได้รับ การสอนในทุกส่วนของหลักสูตรการเรียนการสอน ซ่ึงโรงเรียนจะต้องตระหนักว่า ทักษะการมีความรับผิดชอบ ต่อความประพฤติเป็นสิ่งท่ีสอนได้และขึ้นอยู่กับโอกาสของนักเรียนแต่ละคนที่จะได้รับการฝึกฝนให้มี ความประพฤติท่ีเหมาะสม เพราะนักเรียนแต่ละคนมีความสามารถท่ีจะเข้าใจถึงความหมายระหว่างสิทธิ และความรับผดิ ชอบในระดับที่แตกต่างกนั 5. ทุกความประพฤติมีผลต่อโอกาสในอนาคตท้ังส้ิน โดยการเพิ่มระดับความรับผิดชอบของนักเรียน จะสามารถเพิ่มโอกาสของนักเรียนในอนาคตได้ ซึ่งบุคลากรจะต้องทุ่มเทเวลา ความสนใจ และให้ความส�ำคัญ กบั ความประพฤติที่มคี วามรบั ผดิ ชอบมากกวา่ ความประพฤตทิ ่ีไร้ความรบั ผิดชอบ 6. ความร่วมมือระหว่างบุคลากร นักเรียน และครอบครัว โดยโรงเรียนจะต้องมีหน้าท่ีในการริเริ่ม การประสานความร่วมมือกับทกุ ภาคสว่ น 7. บุคลากรจะต้องมีโอกาสได้รับการพัฒนาทักษะ เพ่ือบริหารจัดการพฤติกรรมของนักเรียน อยา่ งเหมาะสม 8. เป้าหมายการพัฒนานักเรียน ควรค�ำนึงถึงประเด็นของการช่วยให้นักเรียนเกิดการพัฒนา ความภาคภูมิใจในตนเอง (Self - esteem) ด้วยมุมมองและทัศนคติเชิงบวก มุ่งสร้างวัฒนธรรมให้นักเรียนมี ทัศนคติยอมรับนับถือบุคคลอื่น และให้เกียรติยอมรับนับถือระหว่างเพ่ือนนักเรียนด้วยกัน และมุ่งพัฒนา ศักยภาพการด�ำเนินชีวิตของนักเรยี นในการเอาชนะปัญหา อปุ สรรค ท่ีตอ้ งเผชญิ กับความเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขึ้น ตลอดเวลา และปัญหาจากการท�ำงาน 9. ทัศนคติของครูและบุคลากรทางการศึกษา ควรมีฐานการคิดและการปฏิบัติจากความเช่ือมั่นว่า นักเรียนทุกคนสามารถพัฒนาและเรียนรู้ได้จะต้องมีความรัก ความปรารถนาดี มีความมุ่งมั่น อดทน ท่ีจะพยายามกระท�ำการเพื่อท�ำให้ศิษย์ได้รับการพัฒนาโดยสมบูรณ์ในทุกด้าน วัตถุประสงค์ยุทธศาสตร์และผลลัพธ์ วัตถุประสงค์ของนโยบายด้านระเบียบวินัยของโรงเรียน คือ การสรรสรา้ งชมุ ชนทป่ี ลอดภยั และสง่ เสรมิ การเรยี นรทู้ จ่ี ะสง่ ผลใหน้ กั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบและสามารถเรยี นรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซ่ึงแต่ละโรงเรียนจะต้องค�ำนึงถึงวัตถุประสงค์และเป้าประสงค์ท่ีสอดคล้องกับ สถานะปัจจุบันของโรงเรียน และจะต้องพิจารณาต่อไปถึงวิธีการท่ีสามารถน�ำไปปฏิบัติได้จริง เพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธติ์ ามเป้าประสงคท์ ่กี �ำหนดไว้ โดยมยี ุทธศาสตร์ทีจ่ ะเป็นเข็มทศิ น�ำทางไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ขอ้ เสนอตอ่ หนว่ ยงานระดับก�ำหนดนโยบาย 1. หน่วยงานที่ก�ำหนดนโยบายทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำเป็นต้องมีความชัดเจนในการก�ำหนดเป็น นโยบายส�ำคัญในการเสริมสร้างคุณลักษณะผู้เรียน และต้องมีความเข้มข้น จริงจัง มีระบบการก�ำกับ ติดตาม และประเมินผล เพอื่ การปรับปรุงนโยบายอยา่ งต่อเน่อื งตลอดเวลา 2. การพัฒนาบุคลากรที่จะมาเป็นก�ำลังหลักในการพัฒนาวินัยนักเรียนอย่างจริงจังต่อเนื่อง จะเป็น เง่อื นไขส�ำคัญที่จะน�ำสคู่ วามส�ำเร็จได้ 148 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

3. การพัฒนาผู้บริหารระดับสถานศึกษาให้เป็นผู้ที่มีภาวะผู้น�ำการเปล่ียนแปลง และมีความผูกพัน มงุ่ มัน่ ศรทั ธาต่อการพัฒนาวนิ ยั นักเรยี น จะเป็นอกี เงอ่ื นไขหนึง่ ท่จี ะท�ำให้การพฒั นาวินยั นักเรยี นส�ำเร็จได้ 4. การส่งเสริมให้มีกิจกรรมการถอดบทเรียนแบบปฏิบัติที่ดี (Best practice) เพ่ือการส่งเสริมและ พฒั นาวนิ ัยนกั เรียนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และเปน็ การส่ังสมองคค์ วามรูน้ �ำไปสู่การเผยแพร่ เพือ่ สรา้ งการเรยี นรรู้ ่วมกัน ระหวา่ งผู้ทีม่ ีส่วนเกี่ยวข้องกบั การพฒั นา ขอ้ เสนอต่อหนว่ ยงานระดบั นโยบาย ระดบั จังหวัด/ พนื้ ที่ 1. ภาวะการน�ำของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการสร้างวินัยนักเรียน จะเป็นตัว ส่งสัญญาณทกี่ ระตุน้ ให้เกิดการปฏบิ ตั ิอย่างจรงิ จังและเขม้ ขน้ ระดับชน้ั เรยี นได้มากทสี่ ุด 2. การใหก้ ารศกึ ษาแก่ครอบครัวจะเปน็ ตวั สะท้อนคุณภาพและระบบการเลย้ี งดทู ีแ่ ตกต่างกัน 3. สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของชุมชน โดยเฉพาะกลมุ่ ผูป้ กครอง กรรมการสถานศกึ ษา ตอ้ งมีส่วนกระตุ้น และสง่ สญั ญาณความตอ้ งการการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ไปยงั ครแู ละผบู้ รหิ ารโรงเรยี นอยา่ งจรงิ จงั เขม้ ขน้ และตอ่ เนอื่ ง 4. คณะกรรมการการศึกษาจังหวัด ควรมีการก�ำหนดเป้าหมายด้านวินัยนักเรียน ท่ีเป็นคุณลักษณะ ร่วมของทั้งจังหวัด เพ่ือให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถ่ินของแต่ละจังหวัด และเป็นส่ิงที่สนองตอบต่อ การพัฒนาคณุ ภาพคนเพื่อตอบสนองการมีงานท�ำในแต่ละพ้นื ที่ท่ีแตกตา่ งกนั ดว้ ย 5. ควรจะเปิดโอกาสให้แต่ละโรงเรียน มีอิสระในการออกแบบกิจกรรมการเสริมสร้างวินัยนักเรียน โดยเนน้ การใชก้ ระบวนการชมุ ชนเรยี นรู้วชิ าชีพร่วมกนั 6. ต้องมีระบบการก�ำกับ ติดตาม ประเมินผลกระบวนการพัฒนาวินัยนักเรียน แต่มีลักษณะเป็น การประเมนิ เพอื่ การพฒั นามากกว่าเปน็ การประเมนิ เพื่อการตัดสนิ ผล ขอ้ เสนอตอ่ หนว่ ยงานระดบั สถานศกึ ษา 1. ครปู ระจ�ำชัน้ เป็นปจั จยั เงอ่ื นไขของความส�ำเรจ็ เบอื้ งตน้ 2. สงั คมเพอ่ื นในชั้นเรยี นมีส่วนสร้างความมีวินัยในนกั เรยี น การมเี พอื่ นท่มี ีความคิดท่ีถูกต้อง มกี ารน�ำ พาไปในทางทีด่ จี ะเปน็ ส่วนส�ำคญั ในการพัฒนาวนิ ยั 3. การสร้างเงื่อนไขหรือสร้างแรงจูงใจ สร้างกลยุทธ์ให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครอง หรือ สมาชิกในชุมชนที่โรงเรยี นตงั้ อยู่ จะเป็นปจั จัยเก้อื หนุนทจี่ ะสร้างเกราะค้มุ กันและสร้างวนิ ัยนกั เรยี นไดด้ ที ่สี ุด 4. การสร้างความตระหนักและสร้างเป้าหมายการมีวินัยนักเรียน ด้วยการให้ครูจัดกิจกรรมการเรียน การสอนท่ีบูรณาการการเสริมสร้างวินัยร่วมด้วย โดยเฉพาะครูในระดับปฐมวัยจนถึงระดับประถมศึกษา เป็นระยะการก่อตัวของการสรา้ งบุคลกิ ภาพของนกั เรยี นในอนาคต 5. การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ด้วยการใช้การสร้างวินัยนักเรียนเป็นเป้าหมายท่ีต้องก�ำหนด ใหค้ รทู ุกคนในโรงเรียนจะตอ้ งด�ำเนนิ การ โดยตอ้ งถือเปน็ นโยบายส�ำคัญของทุกโรงเรียน 6. ผู้บริหารโรงเรียน จะต้องจัดระบบการถอดบทเรียนระหว่างครูในโรงเรียนและระหว่างโรงเรียน เพอื่ คน้ หาวธิ กี ารปฏิบัติทด่ี ขี องแตล่ ะโรงเรยี นและภายใต้เงอ่ื นไขท่แี ตกต่างกัน 7. ผู้บริหารโรงเรียน จะต้องมีการพัฒนานวัตกรรมการสร้างวินัยนักเรียนให้เป็นนโยบายส�ำคัญ เพราะการมีวนิ ัยถือเปน็ คณุ ลักษณะท่ีส�ำคญั ของนกั เรียน รายงานประจ�ำ ปี 2561 149

8. ครูประจ�ำชั้นระดับประถมศึกษา เป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการเสริมสร้างวินัยนักเรียนมากที่สุด เพราะนักเรียนวัยประถมศึกษาตอนต้น จะเป็นวัยท่ีเร่ิมก่อตัวของบุคลิกภาพ และหากได้มีความร่วมมือ ที่เข้มแข็งกบั ครอบครวั ด้วย จะย่ิงท�ำให้การสรา้ งวินัยนักเรยี นมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขน้ึ 9. โรงเรียนจะต้องมุ่งเน้นที่จะสร้างโอกาสและสนับสนุนนักเรียนให้ประสบความส�ำเร็จ โดยจะต้อง ค�ำนึงถึงพัฒนาการและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนเป็นหลัก หลักสูตรการเรียนการสอนจะต้องเปิดโอกาส ใหน้ กั เรียนทุกคนสามารถมสี ว่ นรว่ มได้ 10. โรงเรียนมีหน้าที่บริหารแนวทางและยุทธศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อสร้างโอกาสทางการเรียนรู้ในเชิงบวก ใหก้ บั นกั เรียนทกุ คน 11. ในการรับมือกับปัญหาของนักเรียน จะต้องด�ำเนินไปด้วยความร่วมมือระหว่างครู นักเรียน และ ครอบครัว ร่วมมือกันสังเกตการณ์ รับรู้ถึงพฤติกรรมและพัฒนาการของนักเรียนให้อยู่ในระเบียบ กติกา และ ขอ้ บงั คับของโรงเรียน ตามทก่ี �ำหนดไวใ้ นระเบียบว่าดว้ ยระเบยี บวนิ ยั ของโรงเรยี น 12. โรงเรียนมีหน้าที่เสริมสร้างคุณลักษณะของนักเรียนให้มีจิตส�ำนึกรับผิดชอบในการกระท�ำของ ตนเอง บริหารจัดการและก�ำกับดูแลสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในโรงเรียนซึ่งรวมไปถึงการดูแลการละเมิด สิทธิทางเพศ การรังแก เพือ่ ให้นกั เรียนตระหนกั ถงึ ความส�ำคัญของการเคารพสทิ ธิของผ้อู นื่ ในสงั คม 13. โรงเรียนจะต้องพิจารณามาตรการลงโทษต่อการละเมิดระเบียบ กติกา ข้อบังคับ หรือพฤติกรรม ที่ไม่เหมาะสม และเปน็ ธรรมส�ำหรบั ทกุ คน 14. สร้างความร่วมมือและความสัมพันธ์ที่ดีกับสังคมและชุมชนรอบข้าง โดยที่โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชน มีหน้าที่ท�ำงานร่วมกับชุมชนท่ีจะได้รับผลกระทบจากการอบรมนักเรียนโดยตรง โรงเรียนควรมี นโยบายท่ีสนับสนุนให้ชุมชนรอบด้านมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจในประเด็นต่าง ๆ และ ร่างแผนการพัฒนานกั เรยี นรว่ มกัน 15. แผนการพัฒนานักเรียน คือ แผนท่ีจัดท�ำข้ึนผ่านการหารือระหว่างคณาจารย์ ผู้ปกครอง และนักเรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อก�ำหนดเป้าหมายการเรียนรู้และแบบอย่างความประพฤติที่เหมาะสมของ นักเรียน อาจจะก�ำหนดให้เป็นส่วนหน่ึงของแผนการเรียนส่วนบุคคล เช่น แผนการศึกษารายบุคคล หรือ แผนการศึกษาท่ีผ่านการหารือแล้ว เป็นต้น ซึ่งจะต้องมีความยืดหยุ่นและเหมาะสม สามารถปรับใช้ได้ กับยุทธศาสตรท์ ห่ี ลากหลายสอดคล้องกบั บรบิ ท ของโรงเรียน หนา้ ทขี่ องผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 1. พัฒนาน�ำแผนไปปฏิบัติและประเมินระเบียบวินัยของโรงเรียนอย่างสม�่ำเสมอและสอดคล้อง กับนโยบายของหน่วยงานระดับนโยบาย ผ่านการหารือกับสมาชิกของโรงเรียนและกรรมการบริหาร สถานศกึ ษาอย่างสม�ำ่ เสมอ 2. ก�ำกับดูแลระเบียบ ข้อบังคับ ด้านวินัยส�ำหรับนักเรียน ให้สมาชิกทุกคนเข้าใจถึงระเบียบวินัย ของโรงเรยี น และแจง้ ให้ทราบถึงสิทธใิ นการมบี ทบาทต่อการด�ำเนนิ นโยบายด้านระเบียบวินยั ในโรงเรยี น 3. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลสามารถเข้าถึงข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับนโยบาย ระเบียบและข้อบงั คบั ของโรงเรียน 4. ตระหนักถึงสิทธิที่สามารถมีส่วนร่วมในการสนับสนุน หรือแสดงความเห็นในเวทีท่ีเปิดให้ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในเรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบวินัยของนักเรียน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในระดับห้องเรียน และโรงเรยี น และใหโ้ อกาสนกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการจัดการพฤตกิ รรมของตนเอง 150 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

5. ส่งเสริมการสร้างสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและคณาจารย์ เพ่ือให้การดูแลระเบียบวินัยในนักเรียน ด�ำเนนิ ไปในทางบวก 6. ก�ำกบั ดแู ลวา่ มาตรการตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น จะตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ปจั จยั ดา้ นเพศ ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม สถานะทางครอบครัว และมาตรการนนั้ ๆ จะต้องไมจ่ �ำกัดความสามารถในการเรียนร้ขู องนักเรยี น 7. สง่ เสริมโครงการอบรมเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพคณาจารย์และเจ้าหนา้ ท่ี หนา้ ท่ขี องคณาจารยแ์ ละเจ้าหน้าท่ขี องโรงเรยี น 1. สานสมั พนั ธท์ ีด่ ีกบั นักเรยี นและครอบครัว 2. ส่ือสารและปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ชุมชน ของโรงเรียนก�ำลังประสบ 3. มสี ่วนร่วมอย่างแขง็ ขนั ในการบริหารจดั การและประเมินระเบยี บด้านวินัยของนกั เรียน 4. เรียนรู้วิธีการและหมั่นเพ่ิมพูนความรู้ในการจัดการพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และเพ่ือช่วยส่งเสริม การพัฒนาระเบยี บวนิ ัยของนักเรียน 5. ท�ำความเข้าใจในความคาดหวงั ของโรงเรยี นเกีย่ วกับระเบียบวินยั ของนกั เรียนอย่างตอ่ เน่ือง 6. ให้การชื่นชมนักเรียนที่ปฏิบัติตามระเบียบวินัย และพิจารณาถึงผลของการกระท�ำที่ไม่เหมาะสม ของนักเรยี นท่ีมผี ลกระทบตอ่ การสอน การเรยี น และความปลอดภัยภายในโรงเรยี น หน้าท่ีของครู 1. บรหิ ารจดั การแผนการสอน ที่จะชว่ ยสนับสนุนการเรียนของนักเรยี นเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายของตนเอง 2. ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการในการพฒั นาของนกั เรยี นแตล่ ะคน ทง้ั ดา้ นอารมณแ์ ละทกั ษะทางสงั คม โดยใชว้ ิธกี ารและสอ่ื การสอนทหี่ ลากหลาย 3. ให้ผลการวิเคราะห์และผลประเมินเก่ียวกับการเรียนของนักเรียน แก่นักเรียนและผู้ปกครองหรือ ผดู้ ูแลรวมทง้ั พยายามพฒั นารูปแบบการสอนบนพ้นื ฐานของผลการเรียนของนกั เรยี น 4. วางแผนและจัดต้ังยุทธศาสตร์ในการจัดการห้องเรียนที่มีความเหมาะสม โดยเปิดโอกาสการหารือ ระหว่างสมาชิกในห้องเรียน สนับสนุนการมีส่วนร่วมของนักเรียนทุกคน ค�ำนึงถึงข้อจ�ำกัดของความสามารถ ในการเรียนรู้ของนักเรียน สร้างและก�ำกับดูแลให้บรรยากาศในชั้นเรียนปลอดภัย และมีความเอาใจใส่ ซึ่งกนั และกนั หน้าทีข่ องผปู้ กครองและผู้ดแู ลนักเรยี น 1. ก�ำกบั ดแู ลวา่ นักเรียนเขา้ เรยี นและคณาจารยร์ บั ทราบ หากนักเรยี นจะขาดเรียน 2. แจ้งให้โรงเรียนทราบถึงปัญหาทางด้านสุขภาพของนักเรียน หรือประเด็นอ่ืน ๆ ท่ีอาจมีผลกระทบ ตอ่ การปฏิบัติตามระเบยี บวินยั ของโรงเรยี น 3. ยอมรับในนโยบายของโรงเรียนทเ่ี กยี่ วข้องกบั ระเบียบวินยั ของนักเรยี น รายงานประจ�ำ ปี 2561 151

ใสน�ำเนวทักโีงลากนเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา OEC at Global Stages สกศ. เข้ารว่ มการประชมุ สมยั สามญั ครัง้ ที่ 59 ของสมาคมประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ ทางการศึกษานานาชาติ (IEA) สกศ. เข้าร่วมการประชุมสมัยสามัญ คร้ังที่ บริหารสมาคมฯ เพ่ือออกเสียงเลือกตั้งในนาม 59 ของสมาคมประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา ประเทศไทย (Chair Person) ในการคัดเลือก นานาชาติ (IEA) ซ่ึงจัดขึ้นระหว่าง วันที่ 7 – 12 ประธานการประชุมคนใหม่ แทน Ms.Anne Berit ตลุ าคม 2561 ณ กรุงอสั ตานา สาธารณรฐั คาซัคสถาน Kavli ประธานการประชุมคนปัจจุบันซ่ึงหมด เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2561 ดร.ชัยพฤกษ์ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งในปีปัจจุบัน โดยประธาน เสรีรักษ์ เลขาธิการสภาการศึกษา พร้อมด้วยคณะ การประชุมคนใหม่ได้แก่ Dr.Thierry Rocher จาก ผแู้ ทนส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา เขา้ รว่ มการ ประเทศฝร่ังเศส ในโอกาสเดียวกันเลขาธิการฯ ประชุมสมัยสามัญ ครั้งที่ 59 ของสมาคมประเมินผล ได้ออกเสียงเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ สมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษานานาชาติ (IEA) ณ กรงุ อสั ตานา (Standing Committee) ชุดใหมจ่ �ำนวน 2 ราย แทน สาธารณรัฐคาซัคสถานในคร้ังน้ีมี คณะกรรมการ กรรมการท่ีหมดวาระ ได้แก่ ผู้แทนจากเดนมาร์กและ 152 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

ออสเตรเลีย นอกจากน้ียังได้ร่วมรับฟังรายงาน คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ICILS รอบปี 2018 และ การด�ำเนินงานของสมาคมและรายงานทางการเงินใน 2024 และโครงการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษา รอบปีท่ีผ่านมา จากน้ันได้เข้าร่วมรับฟังการบรรยาย คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เปรียบเทียบนานาชาติ เกี่ยวกับโครงการศึกษาระดับนานาชาติว่าด้วยการรู้ หรือ TIMSS รอบปี 2019 รายงานประจ�ำ ปี 2561 153

สกศ. รว่ มประชมุ เครือขา่ ยนโยบายการพฒั นาความรู้และทักษะของผ้เู รยี น ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ณ กรงุ ฮานอย สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม วันท่ี 11 - 12 ตุลาคม 2560 นางเรืองรัตน์ วงศ์ปราโมทย์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผน การศกึ ษา พรอ้ มด้วย นางสาวประภา ทนั ตะศุภารักษ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั นโยบายความรว่ มมือกบั ตา่ งประเทศ นางสาวณุตตรา แทนข�ำ นักวิชาการศึกษา ส�ำนักมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ นายภาณุพงศ์ พนมวัน นักวิชาการศึกษา ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา และนางสาวจอมหทยาสนิท พงษ์เสฐียร นักวิชาการศึกษา ส�ำนักนโยบายและแผนการศึกษา เป็นคณะผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุม 9th Annual Expert Meeting of the Initiative on Employment and Skills Strategies in Southeast Asia (ESSSA) and 6th Regional Policy Dialogue on TVET ณ กรุงฮานอย สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม สาระส�ำคัญของการประชมุ สรุปได้ ดงั นี้ 1. การประชุม 9th Annual Expert Meeting of the Initiative on Employment and Skills Strategies in Southeast Asia (ESSSA) and 6th Regional Policy Dialogue on TVET มีสมาชิกเขา้ รว่ ม 14 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย กัมพูชา แคนาดา เดนมาร์ค เยอรมนี อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย มองโกเลีย เมียนมาร์ ฟิลปิ ปนิ ส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย และ 7 องค์การนานาชาติ ไดแ้ ก่ ASEAN Secretariat, ADB, GIZ, International Labour Organisation (ILO), OECD, SEAMEO และ UNESCO 2. การประชมุ แบง่ ออกเปน็ 3 ชว่ ง คอื การประชมุ ห้องใหญ่ (Plenary Session) การประชุมหอ้ งยอ่ ย และการทศั นศึกษา ซง่ึ มสี าระส�ำคญั ดงั น้ี 154 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

2.1 การประชุม Plenary Session 155 Plenary Session I : Building Talent for the Next Production Revolution – Key Trends and Opportunities นางสาวจอมหทยาสนิท พงษ์เสฐียร นักวิชาการศึกษา ส�ำนักนโยบายและ แผนการศึกษา ท�ำหน้าที่วิทยากร พร้อมด้วย Mr.Michael Hartel ผู้อ�ำนวยการด้าน Digital Media ของกระทรวงการอาชวี ศกึ ษาแหง่ เยอรมนี และ Ms.Miranda Kwong นกั เศรษฐศาสตรแ์ รงงาน องคก์ ารแรงงาน ระหว่างประเทศ (ILO) น�ำเสนอประสบการณ์และแลกเปล่ียนความคิดเห็น มุ่งเน้นโอกาสและความท้าทาย เก่ียวกับการพฒั นาแรงงานทง้ั ในระดบั ประเทศและระดับภมู ิภาค ทา่ มกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ อาทิ โลกาภิวัฒน์ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน ต้องท�ำงานร่วมกันในการพัฒนาผู้ที่มีทักษ (Talent) ส�ำหรับการปฏิวัติการอุตสาหกรรมครั้งใหม่ ผ่านระบบ การศกึ ษาและฝกึ อบรมทเี่ ขม้ แขง็ สรา้ งโอกาสการท�ำงานแบบ Work - based Learning และยกระดบั โครงสรา้ ง พ้ืนฐานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเช่ือมโยงระหว่างนายจ้างและแรงงาน เพ่ือน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Blueprint) 2025 ร่วมกนั โดย สกศ. เนน้ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ของแผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เพ่ือน�ำไปสู่การผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อเพ่ิม ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ และก้าวสกู่ ารบรรลเุ ป้าหมายประเทศไทย 4.0 Plenary Session II : Utilizing technology to create new pathways for TVET delivery ท่ีประชุมได้แลกเปล่ียนประสบการณ์ในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ดิจิทัลท่ีส่งผลกระทบต่อรูปแบบของงาน โครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจ ตลอดจนทักษะท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับ อนาคต ซึ่งในขณะที่นวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่อ�ำนวยความสะดวกต่อผู้เรียนในการเข้าถึงการศึกษาและ การฝึกอบรมได้ทุกท่ี ทุกเวลา เกิดความยืดหยุ่นในการเรียนรู้ การเตรียมความพร้อมของคน โดยเฉพาะครู และนักการศึกษา ตลอดจนนโยบายและการปฏิบัติที่สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาทักษะในรูปแบบ ใหม่ ๆ มีความส�ำคัญยง่ิ ตอ่ การแขง่ ขันของภาคธุรกจิ และประเทศ Plenary Session III : Improving governance and developing stronger policy coherence and coordination between employment and skills policies ที่ประชุมได้แลกเปล่ียน ประสบการณ์ต่อการขับเคล่ือนนโยบายด้านอาชีวศึกษา (TVET) เพ่ือให้เกิดความต่อเนื่องและประสิทธิภาพ สูงสุด ซ่ึงประเด็นที่น่าสนใจของการประชุมน้ีคือ การน�ำเสนอ SkillsFuture หน่วยงานภายใต้กระทรวง ศึกษาธิการของสิงคโปร์ ท�ำหน้าที่ส�ำคัญในการด�ำเนินยุทธศาสตร์การพัฒนาทักษะของประเทศ เพ่ือยกระดับ การจ้างงานและการแขง่ ขนั ของแรงงาน ผ่านการศกึ ษาและการฝกึ อบรมอยา่ งเป็นระบบ ส�ำหรบั คนทุกชว่ งวยั 2.2 การประชุมหอ้ งย่อย Group 1A : Better linking people to jobs through responsive employment services การบริการการจ้างงานโดยภาครัฐ (Public Employment Services : PES) มีบทบาทส�ำคัญยิ่ง ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพของงานท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ อีกท้ังเพ่ิมโอกาสในการหางานให้เหมาะสม กับแรงงานได้ดีย่ิงข้ึน จากตัวอย่างของ National Employment Services Association แห่งออสเตรเลีย และ Navigos Search ของเวียดนาม การมีระบบฐานข้อมูลต�ำแหน่งงานโดยภาครัฐที่มีประสิทธิภาพจะท�ำให้ การเคลอ่ื นตวั ของแรงงานมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น Group 1B : Synchronising Pre-service and In - service training of TVET teachers with the changing requirements of digitalization process การเข้าสู่ยุคดิจิทัลท�ำให้เกิดความต้องการ รายงานประจ�ำ ปี 2561

สมรรถนะใหม่ท่ีจ�ำเป็นต่อบุคลากรด้าน TVET ที่จะปรับตัวและยืดหยุ่นต่อการเปล่ียนแปลงของโลก แหง่ การศึกษาและโลกของการท�ำงาน ทีป่ ระชมุ เนน้ การแลกเปล่ยี นประสบการณ์การพฒั นาครูอาชวี ศกึ ษาและ ครูฝึกอบรม ฟันเฟืองส�ำคัญของการเตรียมความพร้อมของแรงงานให้มีสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการพัฒนา ประเทศและภมู ิภาค Group 2A : Recognising skills acquired through work - based learning กรอบคุณวุฒิมีความส�ำคัญย่ิงต่อการเทียบเคียงทักษะและองค์ความรู้ที่ได้พัฒนาข้ึนจากการท�ำงานและ การเรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นการส่งเสริมโอกาสในการท�ำงานและการเคลื่อนท่ีของก�ำลังงาน อีกทั้งสามารถลดปัญหาทางสังคมอ่ืน ๆ ที่เกิดจากเยาวชนและกลุ่มเปราะบางในสังคมลงได้ ท่ีประชุม ได้อภิปรายถึงความท้าทายของการรับรองทักษะและตัวอย่างการขับเคล่ือนกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน ของประเทศต่าง ๆ เพอ่ื เรยี นรู้และแก้ปญั หารว่ มกนั Group 2B : Engaging the Private Sector in new professions and future skills development process Public - Private Partnerships (PPPs) ความร่วมมอื ของทกุ ภาคสว่ นในการพัฒนา ทักษะและการศึกษาเป็นประเด็นที่ทั้งภาครัฐและเอกชนต่างให้ความส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรูปแบบในการ ให้ความร่วมมือและความต้องการของภาคเอกชน เป็นท่ีสนใจของผู้เข้าร่วมประชุมเป็นอย่างมาก ตัวอย่าง ความส�ำเร็จจากประเทศเยอรมนี ได้ปรับการศึกษาแบบทวิภาคีไปอีกระดับคือ จาก Dual system ท่ีเป็น ความร่วมมือกบั ภาคเอกชนรายใหญ่ ทมี่ ีก�ำลังในการสนบั สนนุ การฝกึ อบรม เป็น Inter - Company Training Centre ซึ่งเน้นความร่วมมือในการฝึกอบรมจากภาคธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กและรับการสนับสนุนด้าน งบประมาณจากภาครัฐ และนอกจากการเน้นท่ีภาคเอกชนขนาดกลางและขนาดเล็กแล้ว ยังเน้นการฝึกอบรม ในธุรกิจด้านเกษตรกรรมท่ีมีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อ Smart farming และการพัฒนา รูปแบบ PPP หรือต่อยอดโครงการสานพลังประชารัฐของรัฐบาลไทย เพื่อมุ่งสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 ได้ อย่างน่าสนใจ 2.3 ทัศนศึกษา ณ Hanoi Industrial Vocational College วิทยาลยั อาชีวอุตสาหกรรมแห่งฮานอย ด�ำเนินกิจการมาเปน็ ระยะเวลา 43 ปี โดยในระยะ เร่ิมแรกจะเป็นการได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลและองค์การนานาชาติ และภายหลังจากปี ค.ศ. 2020 นี้ วิทยาลัยจะต้องบริหารจัดการเองทั้งหมด ซ่ึงวิทยาลัยฯ ให้การศึกษาและฝึกอบรมแก่นักศึกษาที่มีฐานะ ค่อนขา้ งยากจน จงึ เน้นการฝึกปฏบิ ตั ทิ างด้านเครอ่ื งกล ยานยนต์ อเิ ล็กทรอนิกส์ และบัญชแี ละการเงนิ ซง่ึ ได้รบั การสนับสนุนองค์ความรู้และเคร่ืองมือ จากภาคธุรกิจต่าง ๆ อาทิ บริษัท Samsung และ Hyundai ของ ประเทศเกาหลีใต้ และความร่วมมือจากรัฐบาลเยอรมันและเดนมาร์คในการพัฒนาทักษะด้านเครื่องกล ยานยนต์ตลอดจนการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ อีกท้ังในระหว่างเรียน วิทยาลัยยังจัดพื้นท่ีส�ำหรับการเป็น อูซ่ อ่ มรถให้นกั ศึกษาได้มีงานท�ำระหว่างเรียนดว้ ย 3. ผู้แทนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวได้แสดงเจตจ�ำนงค์ในการรับเป็นเจ้าภาพ ในการประชมุ ครงั้ ตอ่ ไป โดยจะจัดข้ึน ณ นครเวยี งจันทร์ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 156 ส�ำ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

สกศ. เข้ารว่ มการประชมุ สามญั ประจำ� ปี คร้ังท่ี 58 ของสมาคมประเมนิ สมั ฤทธิผลการศกึ ษานานาชาติ (The International Association for the Evaluation of Educational Achievement : IEA) เม่ือวันท่ี 11 ถึง 13 ตุลาคม 2560 ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการสภาการศึกษา ได้น�ำคณะ ผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุมสามัญประจ�ำปี ครั้งท่ี 58 ของสมาคมประเมินสัมฤทธิผลการศึกษานานาชาติ (The International Association for the Evaluation of Educational Achievement : IEA) ในการประชุมดังกล่าว คณะผู้แทนไทยได้รับรายงานการด�ำเนินงานของสมาคมฯ ในรอบปีท่ีผ่านมา โดยเฉพาะการประกาศผล TIMSS 2015 และให้ข้อเสนอแนะแก่สมาคมฯ ในโครงการประเมินสัมฤทธิผล ผู้เรียนท่ีประเทศไทย มีแนวโน้มจะเข้าร่วมโครงการ อาทิ ICCS (การประเมินความเป็นพลเมือง) และ ICILS (การประเมนิ ความสามารถด้านคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ) รายงานประจำ�ปี 2561 157

สกศ. ร่วมประชมุ คณะกรรมการกรอบคณุ วฒุ ิอ้างอิงอาเซียน คร้ังท่ี 3 และการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ ณ มาเลเซีย เมื่อวันที่ 14 – 16 พฤศจิกายน 2560 นางเรืองรัตน์ วงศ์ปราโมทย์ ผู้ช่วยเลขาธิการสภาการศึกษา พร้อมด้วยข้าราชการส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) เข้ารว่ มการประชมุ คณะกรรมการกรอบคุณวุฒอิ ้างอิงอาเซียน ครง้ั ท่ี 3 และการประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ (the 3rd AQRF Committee Meeting and Technical Workshop) ณ กรุงกวั ลาลัมเปอร์ สหพันธรฐั มาเลเซีย ส�ำหรับการประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างวันท่ี 14 – 15 พฤศจิกายน 2560 ได้มีการน�ำเสนอข้อมูล ตามตัวช้ีวัดที่ 1 – 3 ของประเทศสมาชิกที่แสดงเจตจ�ำนงเข้าร่วมโครงการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) กับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซยี และฟลิ ปิ ปนิ ส์ โดยนางเรอื งรตั น์ วงศป์ ราโมทย์ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ าร สภาการศึกษา ได้น�ำเสนอข้อมูลของประเทศไทย ประกอบด้วย ตัวช้ีวัดที่ 1 โครงสร้างระบบการศึกษาและฝึกอบรม ตัวชี้วัดท่ี 2 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับ NQF และตัวชี้วัดที่ 3 การพัฒนาระบบเช่ือมโยงคุณวุฒิกับ NQF ท้ังนี้ท่ีประชุมได้ร่วมกัน อภิปรายและให้ข้อคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาข้อมูลใน การจัดท�ำรายงานการเทยี บเคยี ง NQF กบั AQRF ตามตัวชีว้ ดั ตา่ ง ๆ รวมถึงแนวทางการจัดท�ำข้อมูลตัวช้ีวัดท้ัง 11 ตัว เพ่ือจัดท�ำเป็น รายงานการเทยี บเคยี งในอนาคต ในช่วงบ่ายวันที่ 15 และวันท่ี 16 พฤศจิกายน 2560 เป็นการประชุมคณะกรรมการ AQRF โดยให้ประเทศสมาชิก รายงานความก้าวหน้าในการพัฒนาและขับเคล่ือน NQF และ ท่ีประชุมได้ร่วมกันจัดท�ำแผนปฏิบัติการของคณะกรรมการ AQRF และรายงานความก้าวหนา้ ในการด�ำเนนิ งานที่เกย่ี วขอ้ งกบั AQRF 158 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

รองเลขาธิการสภาการศกึ ษา ร่วมประชุมเครือขา่ ยวิจยั ด้านการศกึ ษาซ-ี เซิรน์ ครั้งที่ 4 ณ สาธารณรฐั ประชาชนจนี เมอื่ วนั ที่ 3 - 6 ธนั วาคม 2560 รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (ดร.สมศักด์ิ ดลประสิทธิ์) พร้อมด้วย ดร.ทินสิริ ศิริโพธ์ิ รองเลขาธิการคุรุสภา และคณะผู้แทนไทยจากส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา (สกศ.) เดินทางเข้าร่วมการประชุมเครือข่าย วิจัยด้านการศึกษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และจีน ครั้งที่ 4 (4thSoutheast Asia - China Education Research Network Meeting : SEA - CERN) โดยมีส�ำนักงานเลขาธิการซีมีโอ (Southeast Asian Ministers of Education Organization Secretariat (SEAMEO Secretariat) National Institute of Education Sciences (NIES) ASEAN – China Centre (ACC) และมหาวทิ ยาลยั กวา่ งสี (Guangxi Normal University) เป็นเจ้าภาพ ณ เมืองกุ้ยหลิน ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีประเทศสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม มีท้ังส้ิน 8 ประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว ฟิลิปปนิ ส์ สิงคโปร์ มาเลเซยี จีน และไทย รายงานประจ�ำ ปี 2561 159

ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธ์ิ รองเลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวว่า สกศ. ในฐานะหน่วยงานท่ีมีบทบาท ส�ำคัญในการวิจัยและพัฒนาการศึกษา ซ่ึงด�ำเนินการในเชิงเครือข่ายท้ังในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และ ระดับนานาชาติ และเป็นผู้แทนประเทศไทยในฐานะประเทศสมาชิกที่ร่วมจัดตั้งเครือข่ายส่งเสริมการวิจัย นโยบายการศึกษาในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสาธารณรัฐประชาชนจีน (ซี - เซิร์น) ได้หารือ และแลกเปล่ียนประสบการณ์ในการวิจัยและพัฒนาในเรื่องความร่วมมือด้านนโยบาย และความท้าทายของ ระบบการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย (Review on Phase II Collaboration : Policies, Practices and Challenges of National University Admission) และความร่วมมือในการพัฒนาครู (Teacher Development) ส�ำหรับประเทศไทย ดร.สมศักด์ิ ดลประสิทธ์ิ ผู้แทน สกศ. ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นเรื่องระบบ การเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทย (University Admission: Thailand) และ ดร.ทินสิริ ศิริโพธิ์ ผู้แทนคุรุสภา น�ำเสนอนโยบายและแนวทางการผลิตและพัฒนาครูของประเทศไทย (Revitalizing Teacher Education : Initiatives of Thailand) ตลอดจนคณะผู้แทนไทยได้ร่วมลงพื้นท่ีศึกษาการจัด การเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิชาภาษาอังกฤษและวิชาด้านวัฒนธรรม ณ โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวทิ ยาลัยกว่างสี และมหาวิทยาลัยกว่างสี “การประชุมซี - เซิร์น ครั้งที่ 4 ถือเป็นประสบการณ์ระดับนานาชาติที่เป็นประโยชน์อย่างย่ิง ตอ่ วงการศึกษาและการวิจัยไทย สามารถน�ำมาตอ่ ยอดทั้งดา้ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ และปรบั ใช้ก�ำหนดกจิ กรรม ส่งเสริมการวิจัยทางการศึกษาของชาติต่อไป” 160 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

การสานพลงั ระหว่างภาคสว่ นตา่ ง ๆ Collaboration สกศ.สานพลงั ความรว่ มมอื ด้านการศกึ ษา เพือ่ การบริหารจัดการระบบขอ้ มูลสู่ความเปน็ ดจิ ิทัล สกศ. เปิดมหกรรม ปฏิรูปการศึกษา ปฏริ ปู ประเทศ ระหวา่ งวนั ท่ี 10 - 11 กันยายน 2561 จุดประกาย แก้โจทย์ คุณภาพการศึกษา - ลดเหล่ือมล�้ำ - เพิ่มสปีดแข่งขันประเทศ บูมขับเคลื่อนแผนการศึกษาชาติ ปี 60 - 79 ต่อยอดยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยได้รับเกียรติจาก พลอากาศเอก ประจิน จ่ันตอง รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานพิธีเปิดงาน ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการสภาการศึกษา ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์จรัส สุวรรณเวลา ประธาน คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) พร้อมคณะผู้บริหาร สกศ. ให้การต้อนรับ ท่ามกลาง แขกผู้มีเกียรติ ผู้แทน 5 องค์กรหลักของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารการศึกษา ผแู้ ทนสถานศกึ ษา ครู นักเรยี น และประชาชน ร่วมงานกว่า 2,000 คน กระทรวงศึกษาธิการและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา เร่งด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ และแผนที่ก�ำหนดทั้งการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงการผลิต และพัฒนาก�ำลังคนเพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันการพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทาง การศึกษา รวมทั้งการสร้างความรู้ความเข้าใจและเครือข่ายความร่วมมือท้ังในและนอก ศธ. ให้ทุกภาคส่วน ทเ่ี กี่ยวข้องมีความรู้และความเข้าใจในทิศทางการพฒั นาท่ีถูกต้องและชัดเจน สามารถขับเคลอ่ื นการน�ำนโยบาย ไปสกู่ ารปฏิบตั ิได้อย่างเปน็ รปู ธรรม รายงานประจ�ำ ปี 2561 161

มหกรรม ปฏริ ปู การศกึ ษา ปฏริ ปู ประเทศ วันที่ 2 ยังคกึ คกั ยำ้� ปฏริ ูปการศกึ ษาดจิ ิทัล มุ่งสร้างสมรรถนะเจง๋ กวา่ คุณวุฒิ เร่งปัน้ คนไทย 4.0 เหนือกวา่ เอไอ เมื่อวันท่ี 11 กันยายน 2561 ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ได้รบั เกียรตจิ าก ศาสตราจารย์คลินกิ นายแพทย์ อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปาฐกถาพิเศษ “แนวทางการปฏิรูป การศึกษาสู่การพัฒนาประเทศ” ท่ามกลางแขกผู้มีเกียรติร่วมงาน ประกอบด้วย ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้แทนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา ท้ังการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย จ�ำนวนประมาณ 2,000 คน การปฏิรูปการศึกษาต้องการเห็นผลท่ีเป็นรูปธรรม เพราะเป็นสิ่งส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยภาพรวม เพื่อตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และนโยบายประเทศไทย 4.0 และเปลี่ยนแนวคิด การจัดการศึกษารูปแบบใหม่ ซ่ึงเป็นสังคมเศรษฐกิจฐานองค์ความรู้ เพ่ือสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่เป็นของ ตนเองให้ได้ สร้างองค์ความรู้ใหม่น�ำมาใช้สร้างมูลค่าเพ่ิม การเปลี่ยนแปลงของโลกดิจิทัลปัจจุบัน ส่งผลให้ ผู้ประกอบการให้ความส�ำคัญกับสมรรถนะของก�ำลังคนมากกว่าคุณวุฒิ ระบบการเรียนการสอนจึงต้องปรับตัว ครั้งใหญ่ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เองได้ และพัฒนาทักษะ และใช้ประสบการณ์เพื่อท�ำงานได้โดยใช้ส่ือดิจิทัล วัฒนธรรมการด�ำรงชีวิต การเรยี นรู้ และการท�ำงานเปลย่ี นแปลงไป 162 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

ความร่วมมือระหว่างหนว่ ยงาน “การบูรณาการความรว่ มมือดา้ นการศึกษา เพอ่ื ขบั เคลอื่ นบทบาทภารกจิ ของภาครัฐสรู่ ะบบราชการ 4.0” ในวนั องั คารที่ 10 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรม เคพี แกรนด์ จังหวดั จันทบรุ ี ในวนั พฤหัสบดีท่ี 19 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมอโี ค่ อนิ น์ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ในวันพฤหัสบดที ่ี 2 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมแพร่นครา จงั หวดั แพร่ ในวนั องั คารที่ 7 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมพนั ล้าน บูติค รีสอรท์ จังหวัดหนองคาย 163 รายงานประจ�ำ ปี 2561

การสรา้ งนวัตกรรม Innovation ThaiEdResearch ฐานขอ้ มลู การวจิ ัยทางการศึกษา 1. หลกั การ เหตผุ ล ความจ�ำเปน็ งานวิจัยและองค์ความรู้ทางวิชาการศึกษา เป็นส่วนในการขับเคล่ือนงานวิชาการต่าง ๆ ท้ัง ทางตรงและทางอ้อมให้กับผู้ท่ีเก่ียวข้องที่จะน�ำไปสู่ งานด้านการศึกษา ThaiEDResearch ฐานข้อมูล ผลงานวิจัยทางการศึกษาเป็นฐานข้อมูลท่ีพัฒนาขึ้น นอกจากนั้น ThaiEDResearch ยังมีเป้าหมายเพื่อ เป็นช่องทางการเผยแพร่ผลงานวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อให้กับบุคคลและ หน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับและประเภท การศึกษา ทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนผู้ใช้ ประโยชน์จากงานวิจัยได้เข้าถึงและน�ำไปใช้ประโยชน์ ในทางตรงเพื่อแก้ไขปัญหาหรือน�ำไปใช้ประโยชน์ใน การพฒั นาระบบการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาการศกึ ษา 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมผลงานวิจัย ทางการศึกษาจากการประชุมทางวิชาการการวิจัย ทางการศึกษาระดับชาติ รวมถึงผลงานวิจัยทางการ ศึกษาที่มีคุณภาพของนักวิจัยที่ประสงค์จะเผยแพร่ ผลงานวิจยั ของตนเอง 3. การดำ� เนนิ การ ส�ำ นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า ได้สนับสนุนให้นักวิจัยที่ประสงค์จะเผยแพร่ผลงาน วิจัยทางการศึกษา สามารถสมัครเป็นสมาชิก ThaiEDResearch เพื่อแจ้งความประสงค์และกรอก รายละเอียดข้ันตอนการแจ้งความประสงค์ขอเผยแพร่ ข้อมูลตามแบบฟอร์มที่ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการ ผลงานวิจัยทางการศึกษาได้จากคู่มือการใช้งานที่อยู่ ศกึ ษาก�ำหนด หากผลงานวิจัยผา่ นเกณฑ์การพจิ ารณา บนหน้าเว็บ จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จ ะ ไ ด ้ รั บ ก า ร เ ผ ย แ พ ร ่ ท า ง ThaiEDResearch ต่อไป ทง้ั นี้ นกั วจิ ยั สามารถศึกษา 164 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

4. ผลลัพธท์ ่ีคาดหวัง 1.เป็นฐานข้อมูลท่ีรวบรวมผลงานวิจัย 4. ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัยได้เข้าถึงและ ทางการศึกษาจากการประชุมทางวิชาการการวิจัย น�ำไปใช้ประโยชน์ในทางตรงเพ่ือแก้ไขปัญหาหรือ ทางการศึกษาระดับชาติ น�ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาระบบการเรียนรู้ 2. ผลงานวิจัยทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพของ เพอื่ พัฒนาการศกึ ษา นกั วิจัยที่ประสงค์จะเผยแพร่ผลงานวิจยั ของตนเอง 3. เป็นช่องทางการเผยแพร่ผลงานวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อให้ กับบุคคลและหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศกึ ษา ทั้งภาครัฐและเอกชน รายงานประจ�ำ ปี 2561 165

การปรับเข้าสูค่ วามเปน็ ดิจทิ ลั Digitization/Digitalization 166 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

การพฒั นาระบบคลงั ขอ้ มูลสารสนเทศส�ำหรับการประเมินผล และการวางแผนการศึกษา 1. หลกั การ เหตผุ ล ความจำ� เป็น สกศ. มีภารกิจหลักในการก�ำหนดนโยบายและแผน การศกึ ษาชาตปิ ระกอบกบั แนวโนม้ ภารกจิ ในอนาคตดา้ นการพฒั นา ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ และที่ผ่านมาหน่วยงานการศึกษา ประสบกับปัญหาด้านการจัดการข้อมูลเป็นอย่างมาก อาทิ การจัดเก็บ การเข้าถึงและการประมวลผลข้อมูล ซ่ึงสาเหตุหลัก มาจากการขาดการเชื่อมโยงข้อมูลรายบุคคลระหว่างหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องและระบบวิเคราะห์ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ปัญหา ดังกล่าวก่อให้เกิดผลเสียต่อการวางนโยบายและการพัฒนา ประเทศในแง่ที่ไม่สามารถน�ำข้อมูลสารสนเทศนอกเหนือจาก หน่วยงานของตนมาใช้ได้ ขณะเดียวกันการจัดเก็บและเรียกใช้ ข้อมูลภายในองค์กรยังขาดประสิทธิภาพคณะอนุกรรมการปฏิรูป ระบบข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษา จึงเห็นสมควร ให้มีระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีสามารถ ใช้งานได้สะดวกไม่ซ�้ำซ้อนมีความน่าเช่ือถือและเป็นเอกภาพ เพ่ือให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เชน่ สถานศกึ ษาและหน่วยงานการศกึ ษาทเ่ี ก่ยี วข้องทุกแห่งใช้ระบบเดียวกนั จากฐานข้อมลู เดียวกัน 2. วัตถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลระดับย่อยด้านการศึกษาท่ีมีอยู่ เพื่อใช้เครื่องมือประมวลผลข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาท่ีเป็นปัจจุบันท่ีผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและหน่วยงานการศึกษาที่เก่ียวข้อง สามารถเรียกใช้เพื่อวิเคราะห์และสร้างสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจในการก�ำหนดนโยบายและวางแผนได้อย่าง ถกู ตอ้ งและรวดเร็ว 3. การดำ� เนนิ การ 1. วิเคราะห์และออกแบบระบบวิเคราะห์ข้อมูลระดับย่อยด้านการศึกษา ซ่ึงมีลักษณะเป็น Web - Based Application ท่ีมีเคร่ืองมือทางสถิติส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลและการน�ำเสนอท่ีหลากหลาย เครื่องมือที่หลากหลายนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ก�ำหนดนโยบายที่ต้องการใช้ สถิติในการตัดสินใจอย่างมาก ฐานข้อมูลที่ติดตั้งมาพร้อมระบบวิเคราะห์ข้อมูลระดับย่อยส�ำหรับการวางแผน การศกึ ษา บน cloud server 2. ระบบวิเคราะห์ข้อมูลน้ีได้พัฒนาระบบแม่ข่ายแบบประมวลผลกลุ่มเมฆ (Cloud Computing Server) ท�ำให้ไม่ต้องรับภาระในการดูแลรักษาตัวบริการ (Server) ด้วยตนเองและไม่ต้องมีภาระต้นทุน ในการยกระดับ (Upgrade) ตัวบริการ ท้ังนี้เน่ืองจากผู้ให้บริการระบบแม่ข่ายแบบประมวลผลกลุ่มเมฆ จะรับผดิ ชอบในการยกระดับคณุ ภาพของระบบเอง 3. ระบบระบบฐานขอ้ มูลยงั ช่วยให้นักวเิ คราะห์สามารถคน้ หาตวั แปรและขอ้ มลู ที่สนใจได้อย่างรวดเรว็ (Searchable) ข้อมูลตรงกับความต้องการ และที่ส�ำคัญสนับสนุนการตัดสินใจส�ำหรับผู้บริหารได้อย่างรวดเร็ว ทนั เวลา ด้วยภาพข้อมูลสถติ ทิ ่ีดงู ่ายและเขา้ ใจ 168 สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

4. ผลลพั ธท์ ่ีคาดหวงั 1. มีระบบสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือประมวลผลข้อมูล สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 2. ช่วยในการวางแผนพฒั นา และก�ำหนดทศิ ทางการปฏิรูป การศกึ ษาให้ครอบคลมุ ทัง้ ระบบ 3. เกดิ การบรณู าการงานดา้ นระบบฐานขอ้ มลู และสารสนเทศ ทางการศกึ ษา ร่วมกับหนว่ ยงานข้อมูลสถิตริ ะดบั ประเทศ 4. สกศ.มีงบประมาณสนับสนุนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดา้ นระบบคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศส�ำหรบั การประเมนิ ผลและการวางแผน การศึกษาในปงี บประมาณต่อไป 5. ผลลัพธ์ทเี่ กิดขึ้นจรงิ อย่างเปน็ รูปธรรม 1. สกศ. สามารถจัดท�ำฐานข้อมูลระดับย่อยด้านการศึกษา ข้อมูลท่ีตรงกับความต้องการและสามารถใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจส�ำหรับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แต่ละกลุ่มตามความต้องการ เพ่ือเป็นการมุ่งด�ำเนินงานตามพันธกิจ และมุ่งเนน้ ค่านิยม OEC ของสกศ. ในการด�ำเนินงาน 2. ข้อมูลสถิติจ�ำนวนครู นักเรียน รายโรงเรียน ปีการศึกษา 2553 - 2558 จาก สกศ. 3. ขอ้ มลู คะแนน O - NET รายโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2554 - 2558 จากสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ 4. ข้อมูลคะแนนสอบ PISA รายบุคคล ปี ค.ศ. 2000 - 2015 จาก Organization for Economic Co - operation and Development (OECD) 5. ขอ้ มูลสดั ส่วนนกั เรยี นในสถานศึกษาเอกชน ปกี ารศึกษา 2533 - 2558 จากส�ำนกั งานปลดั กระทรวง ศึกษาธกิ าร 6. ขอ้ มลู งบประมาณรายจ่ายดา้ นการศกึ ษาจาก สกศ. 7. ขอ้ มลู การส�ำรวจภาวะการท�ำงานของประชาชน ปี พ.ศ. 2554 - 2559 จากส�ำนกั งานสถติ แิ ห่งชาติ ประมวลผลโดย สกศ. รายงานประจ�ำ ปี 2561 169

สกศ. เสรมิ ความพรอ้ มข้าราชการ จดั ประชมุ ใหค้ วามรู้ “รู้เทา่ ทันดจิ ิทลั ห่างไกลภัยไซเบอร”์ เมื่อวนั ที่ 13 มิถุนายน 2561 ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา จัดการประชุมเรอ่ื ง “รู้เท่าทันดิจทิ ลั ห่างไกลภัยไซเบอร์” เพื่อให้ข้าราชการและบุคลากรในหน่วยงานรู้เท่าทันเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถใช้งาน ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ปลอดภยั ไมต่ กเปน็ เหยื่อจากภัยและความเสีย่ งจากโลกออนไลน์ โดยมี ดร.ฐติ มิ า ธรรมบ�ำรงุ เจ้าหน้าท่ีสารสนเทศอาวุโส ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) เป็นวทิ ยากรบรรยาย เร่อื ง “รูเ้ ท่าทนั ดจิ ิทลั ห่างไกลภยั ไซเบอร”์ ในช่วงบ่าย ศูนย์ปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา ให้ความรู้เพ่ิมเติมในเร่ือง “แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ดา้ นสารสนเทศของส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา” ณ หอ้ งประชมุ OEC Knowledge and Data Centre ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา 170 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

สกศ.สานพลังความร่วมมอื ดา้ นการศึกษา เพ่ือการบริหารจดั การระบบข้อมูลสู่ความเป็นดจิ ทิ ัล เม่ือวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ร่วมกับ สถานภูมิภาคเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบบริหาร ราชการแบบบูรณาการขับเคล่ือนและผลเทียบเคียงมาตรฐานสากล การสร้างนวัตกรรมเพ่ือปรับสู่ความเป็น ดิจิทัล เรื่องการพัฒนา WEB GIS ด้วยซอฟต์แวร์รหัสเปิด โดยมี นางพิจารณา ศิริชานนท์ นักวิชาการศึกษา เชี่ยวชาญ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สกศ. เปิดการอบรมและให้การต้อนรับ โดยวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.ชฎา ณรงค์ฤทธิ์ รักษาการในต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.ชิงชัย หุมห้อง อ.ธีระยุทธ อินทร์จันทร์ อ.พิสิษฐ์ กัณหเนตร และ อ.วรฤทธิ์ ประเสริฐ การอบรมครง้ั น้มี ีผ้เู ขา้ รบั การอบรมมาจากภาคส่วนราชการ ได้แก่ สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จ�ำนวน 30 คน ระยะเวลาการอบรม ระหว่างวันที่ 24 - 26 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมอลั มริ อซ กรุงเทพฯ รายงานประจำ�ปี 2561 171

การพฒั นาบคุ ลากร สรปุ ผลการด�ำเนินงาน โครงการพัฒนาบุคลากรส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สู่การเปล่ียนแปลงเชิงบวก ดว้ ยการบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ ระหวา่ งวันที่ 20 – 21 กันยายน 2561 ณ โรงแรมพลู แมน พทั ยา จี จังหวัดชลบุรี รองเลขาธิการสภาการศึกษา (นายสมศักดิ์ ดลประสิทธ์ิ) กล่าวเปิดโครงการพัฒนาบุคลากรส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา สู่การเปลี่ยนแปลงเชิงบวก ด้วยการบูรณาการจัดการความรู้ และให้เกียรติบรรยาย ใหค้ วามรแู้ กบ่ คุ ลากรของส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา เรื่อง การแปลงนโยบาย สแู่ ผนงาน/โครงการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ดงั นี้ อาชีพข้าราชการถือเป็นอาชีพท่ีมีความมั่นคง เป็นอาชีพในฝันของผู้คนมาต้ังแต่อดีต สมัยก่อนพ่อแม่ส่วนใหญ่ต่างก็อยากให้ลูกเรียนจบมาเพ่ือรับราชการ เน่ืองจากเป็นอาชีพที่มีเกียรติ จนถึงสมัยปัจจุบันอาชีพข้าราชการนั้นยังคงมีภาพลักษณ์ท่ีดี เป็นอาชีพ ทม่ี บี ทบาทหนา้ ทแ่ี ละมคี วามรบั ผดิ ชอบสงู เพม่ิ ขนึ้ มาก หากแตว่ า่ ขา้ ราชการที่ “เปน็ คนด”ี และ “เปน็ คนเกง่ ” นน้ั จะต้องมีเน้ืองานและมีความก้าวหน้าในสายอาชีพที่ชัดเจน เพ่ือป้องกันและลดปัญหา “สมองไหล”ท่ีจะน�ำไปสู่ การท�ำงานในภาคเอกชนทม่ี ีอัตราเงินเดือนสูงกว่า และมีโอกาสความกา้ วหน้าในสายอาชีพท่ีชัดเจนกว่า ปัจจุบันส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มบี คุ ลากรหลายช่วงวัย โดยการจัดกลุ่มคนร่นุ ตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์ ช่วงอายุหรือท่ีเรียกกันว่า Generation ซึ่งเป็นความคิดริเร่ิมมาจากแนวคิดของชาวตะวันตก และมวี ตั ถปุ ระสงคต์ อ้ งการเขา้ ใจในทศั นคติ แรงจงู ใจ และคุณลักษณะของประชากรในแต่ละยุคสมัย ซ่ึงส่วนใหญ่ในทุกองค์กรได้น�ำแนวคิดนี้มาใช้ศึกษา วิเคราะห์ความแตกต่างด้านความคิด พฤติกรรมใน การใช้ชีวิต การบริโภคและการท�ำงาน และน�ำผล การศึกษาดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการหลายแขนง ดังน้ัน จึงต้องมีการปรับกลยุทธ์การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ให้เหมาะสมและพร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงท่ีก�ำลังเกิดข้ึน เพ่ือให้การบริหารจัดการกลุ่มคน ตามช่วงอายเุ กิดประสทิ ธิภาพสูงสุด โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มท่ีมีลักษณะความแตกตา่ ง ดังนี้ 172 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา

เน่อื งจากสภาพการท�ำงานในปจั จุบนั มีการเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับงบประมาณมีจ�ำกดั ส่งผลให้ภารกิจบางเร่ืองไม่สามารถด�ำเนินการต่อเน่ืองได้ ดังนั้น เพ่ือให้แผนปฏิบัติการและแผนการพัฒนา บุคลากรของส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นไปตามเป้าหมาย ส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษาจะต้องทบทวนบทบาทการปฏิบัติงาน โดยค�ำนึงถึงความรู้ ทักษะและสมรรถนะ ท่ีหลากหลาย และสร้างค่านิยมที่ดีสู่องค์กร โดยเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมรับการเปล่ียนแปลง มีวิถีการท�ำงานท่มี ีความผาสุก และฟน้ื ฟคู วามเปน็ “สภาการศกึ ษา” และเพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรทุกคนสามารถเข้าถงึ เข้าใจในการท�ำวิจัยเชิงนโยบายในระดับชาติได้ ผู้น�ำควรเป็นแบบอย่างที่ดี มีแผนงานท่ีชัดเจน ยอมรับ การเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการท�ำงานเป็นทีม เคารพผู้ใหญ่ ให้เกียรติน้อง ให้เกียรติเพ่ือนร่วมงาน รวมท้ัง การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และมุ่งเน้นวัดผลการปฏิบัติงานตามความเป็นจริง คนท�ำงาน มีผลงานและ มีความก้าวหน้าในสายอาชีพ บุคลากรเหมาะสมกับองค์กร และ “สร้างมูลค่า” ให้องค์กรได้ ดังน้ัน จึงควรให้ ความส�ำคัญกับบุคลากรที่มีความสามารถในการท�ำงานและต้ังใจท�ำงานอย่างเต็มที่ ดังนักเขียนนิยายก�ำลัง ภายในชื่อดัง “กิมย้ง” เคยเขียนข้อความให้ แจ็ค หม่า ว่า “การใช้คนให้เกิดประโยชน์สูงสุด คือ แก่นแท้ แหง่ ความส�ำเร็จของผนู้ �ำที่ย่ิงใหญ่ และเปน็ เหตุผลแหง่ ความส�ำเร็จคร้งั ใหญข่ องเล่าปังกับเล่าปี”่ รายงานประจำ�ปี 2561 173

การพฒั นาบคุ ลากรส�ำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ชว่ ง “พส่ี อนนอ้ ง” โดย รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (นายชยั ยศ อมิ่ สวุ รรณ)์ และ ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั มาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรยี นรู้ ด�ำเนินรายการ โดย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนากฎหมาย การศกึ ษา รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (นายชยั ยศ อม่ิ สวุ รรณ)์ ได้ให้ข้อคิดและแนวทางการพัฒนาข้าราชการส�ำนักงาน เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ชว่ ง “พสี่ อนนอ้ ง” ส�ำหรบั แลกเปลยี่ น เรียนรู้ สะท้อนความคิดจากประสบการณ์ ดังค�ำกลอน ตอ่ ไปน้ี • แลว้ สอนว่าอย่าไว้ใจมนษุ ย์ มันแสนสดุ ลึกล้ำ� เหลือก�ำหนด ถึงเถาวัลยพ์ ันเก่ยี วท่เี ลีย้ วลด กไ็ ม่คดเหมอื นหนึ่งในน�้ำใจคน มนุษยน์ ่ที ร่ี ักอย่สู องสถาน บิดามารดารกั มกั เป็นผล ที่พึ่งหนง่ึ พงึ่ ไดแ้ ต่กายตน เกิดเป็นคนคดิ เหน็ จงึ เจรจา (พระอภยั มณี : สนุ ทรภู่) • ท่สี อนให้ไว้หลังจะส่ังสอน จะสั่งสารการกลอนนะน้องหนา เปน็ ตำ� รับวิชารกั ษาตัว นะน้องหนอขอให้จ�ำเปน็ ตำ� รา อยา่ ใหพ้ อ้ งข้องติดในเชงิ ชวั่ รกั ษาตนพน้ ภัยอยา่ ใหผ้ ดิ ไมม่ หี มายกลายกลวั ท่ีพาลพา ในเชงิ เช่นวา่ นไ้ี มม่ ีมัว สละหลกี ปลีกหา่ งทางสมาน ทพี่ าลเภทเลยละสละล่าง ฉลาดกิจคดิ อ่านใหจ้ งดี ทางสมัครรักปราชญ์ฉลาดการ • คดิ จะทำ� ราชการงานของชาติ ตอ้ งเชย่ี วชาญสามารถในหน้าที่ จงครองตนรกั ษาตนเป็นคนดี อย่าให้มีเรื่องช่วั กลั้วอบาย จงรู้จริงในวชิ าทสี่ ามารถ จงฉลาดแสวงหาวชิ าทงั้ หลาย จงเรียนรตู้ ลอดชีวิตใหต้ ดิ กาย แสวงหามิตรสหายชว่ ยท�ำงาน อยา่ อิจฉาใครเขาใหเ้ ศร้าหมอง จงปรองดองสานรักสมคั รสมาน ปรับตัวให้ทนั ยคุ ทันเหตกุ ารณ์ จงท�ำงานให้สนุกทุกนาที อย่าเย่อหย่ิงจองหองท�ำพองขน อยา่ ถอื ตนวา่ ฉันแนก่ วา่ นอ้ งพี่ จงออ่ นนอ้ มถ่อมตนจนพอดี แต่ยงั คงศกั ด์ศิ รขี า้ ราชการ จงมงุ่ ม่ันขยนั อุตสาหะ รูจ้ กั กะวางแผนและประสาน สุจริตตงั้ ใจในการงาน ตลอดกาลเปน็ คนดีของสังคม 174 สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา

จากมุมมองและประสบการณ์ในการท�ำงานของบุคลากร “คนวัยหนุ่มสาว” เห็นว่า ทุกคนมีธาตุดี มีศักยภาพอยใู่ นตนเอง และมีความใฝร่ อู้ ยู่ในตัว แตจ่ ะสามารถน�ำออกมาใช้ไดม้ ากน้อยแค่ไหน จะใช้ประโยชน์ ได้อย่างไร ผู้บังคับบัญชาระดับต้น หรือ “หัวหน้างาน” จะต้องมีบทบาทส�ำคัญเพื่อท�ำหน้าที่ดึงศักยภาพ เหล่านั้นออกมา อย่าไปใช้กระต่ายไถนา อย่าใช้คนผิดหน้าที่ ทั้งนี้ การท�ำงานร่วมกันในแต่ละกลุ่ม/ส�ำนัก นั้น พบว่ามีปัญหาเกิดขึ้นและจ�ำเป็นต้องแก้ไขปัญหาเหล่านั้นแทบทุกวัน แต่ส่ิงท่ีจะท�ำให้ผ่านไปได้คือ ความรัก ความสามัคคี การให้ความช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในทีม การมีน�้ำใจไมตรีที่ดีต่อกนั เปน็ ท่ปี รกึ ษาทีด่ ี ไม่คิดอิจฉา รษิ ยากนั ให้เศร้าหมองใจ เพราะแม้ว่าปัญหาจะหนกั แค่ไหน หากไดเ้ พือ่ นรว่ มทีมทีด่ นี นั้ จะสามารถแก้ไขปัญหา และคล่ีคลายไปในทางที่ดี ดังค�ำว่า “การท�ำงานราชการน้ัน จะต้องมุ่งม่ันในหน้าท่ี ต้ังใจท�ำงานให้ดีท่ีสุด โดยยึดหลักความซ่ือสัตย์สุจริต” ผู้อ�ำนวยการส�ำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ กล่าวว่า ในการปฏิบัติราชการ 175 ที่ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีประสบการณ์และความทรงจ�ำท่ีดีมาโดยตลอดระยะเวลา 36 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบัน สมัยก่อนการท�ำวิจัยเชิงนโยบาย นักวิจัยจะต้องเดินทางลงพ้ืนท่ีไปท�ำงานวิจัย เพือ่ เก็บขอ้ มูล มกี ระบวนการหลายข้ันตอนในการพดู คยุ ซกั ถาม และตอ้ งไปฝังตัวเพื่อท�ำความรจู้ ักกับชาวบ้าน ในพื้นท่ีค่อนข้างทุรกันดาร การท�ำงานจะต้องรับผิดชอบและอุทิศตนท�ำงานในวันหยุดได้ หากยังท�ำงาน ไมแ่ ลว้ เสรจ็ เช่น การหาขอ้ มลู งานวิจยั การลงพ้ืนท่เี กบ็ ขอ้ มูล เป็นตน้ นอกจากนั้น ยังตระหนักถึงช่ือเสียงของส�ำนักงานฯ โดยการปฏิบัติตนในการมาท�ำงานแต่เช้าและ กลับบ้านดึกด้วยความเต็มใจ เพ่ือให้งานส�ำเร็จทันตามเวลาที่ก�ำหนด และได้ฝากข้อคิดผ่านประสบการณ์การ เรียนรู้ โดยขอให้ทุกคนต้ังใจท�ำงาน สามารถปรับตัวได้ ด้วยถ้อยทีถ้อยอาศัย ท�ำงานด้วยกัน อยู่ด้วยกัน แบบพน่ี อ้ ง ท�ำงานอยา่ งมีความสขุ ม่งุ มั่น ทุ่มเท และไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ อปุ สรรค รายงานประจำ�ปี 2561

กจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ชว่ ง “พส่ี อนนอ้ ง” ชว่ งที่ 2 โดย ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ด�ำเนินรายการ โดย ผ้อู �ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผนการศกึ ษา ผู้ช่วยเลขาธิการสภาการศึกษา ได้สะท้อนความคิดและประสบการณ์ พร้อมให้แนวทางการพัฒนา บุคลากร โดยให้ยึดหลักว่า การท�ำงานที่ดีด้วยการ “รู้ลึก” เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ แต่ควร “รู้กว้าง” โดย หัวหน้างานจะต้องมุ่งเน้นการสอนงาน และการถ่ายทอดงานเพื่อให้ลูกน้องและเพ่ือนร่วมงานได้รับทราบข้อมูล หากทมี งานคนหนึง่ ไม่อยจู่ ะต้องมีคนท�ำงานแทนกันได้ เพ่อื ไมใ่ ห้งานต้องสะดุดและคนอนื่ ในทมี สามารถท�ำงาน รับช่วงต่อได้อย่างทันท่วงที โดยสามารถแบ่งปันข้อมูลข่าวสารเพ่ือให้สอดคล้องกับการท�ำงาน และสิ่งที่ส�ำคัญ ท่ีสุด คือ การรับผิดชอบงานนอกเหนือหน้าที่ด้วยความเต็มใจ ข้าราชการท่ีดีจะต้องใฝ่ศึกษาเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ อยู่เสมอ รวมท้ังวิชาท่ีไม่เกี่ยวข้องกับภารงานของตนเองท่ีรับผิดชอบ ไม่ควรหยุดนิ่ง ควรสนใจเรียนรู้เพ่ิมเติม ควรกา้ วทนั โลกและสถานการณ์ในปจั จุบัน ในโลกยุคดจิ ิทลั 176 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

แนวทางการดำ� เนินงานและภารกิจของ สกศ. ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 เลขาธกิ ารสภาการศึกษา กลา่ วว่า แนวทางการด�ำเนินงานและภารกิจของ สกศ. ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส�ำนักงานมีภารกิจหลักในการด�ำเนินงาน 2 สว่ นใหญ่ ๆ คอื สว่ นท่ี 1 การปฏบิ ตั งิ าน ตามหลักภารกิจพื้นฐาน งานประจ�ำ งานตามหน้าที่ปกติ หรืองานตามหน้าที่ ความรับผิดชอบหลัก งานตามกฎหมาย นโยบายของรฐั บาล หรอื มตคิ ณะรฐั มนตรี (Function Base) ซงึ่ ส�ำนกั งานเลขาธกิ าร สภาการศึกษาจะได้ปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการภายใน เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจที่เพิ่มขึ้นและเหมาะสม กับสภาพของงานที่เปล่ียนแปลงไป อันจะท�ำให้การปฏิบัติภารกิจตามอ�ำนาจหน้าท่ีมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลย่ิงข้ึน ส�ำหรับส่วนที่ 2 การปฏิบัติงานตามหลักภารกิจยุทธศาสตร์แนวทางปฏิรูปภาครัฐ นโยบาย เร่งด่วน หรือภารกิจท่ีได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda Base) ซึ่งจะมีการแบ่งส่วนราชการภายในเพิ่มอีก 4 งาน เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ท้ัง 6 ด้าน และแผนการปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน ส�ำหรับส่วนงานท่ีเพ่ิมเติม จะประกอบไปด้วย งานข้อมูลเชิงสารสนเทศ (Big Data) งานส่งเสริม การมีส่วนร่วมของสมัชชา งานวิชาการเพ่ือเป็นฐานข้อมูลในการท�ำนโยบาย และงานขับเคลื่อนการปฏิรูป การศกึ ษา พฒั นาคน ลดความเหล่ือมล้ำ� ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรที ี่มงุ่ หวงั ใหส้ ร้างความตระหนักรู้ใหแ้ ก่ เจ้าหน้าที่ของรัฐว่าจะต้องท�ำงานแบบ Quick Win ท�ำงานเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน เป็นท่ีพ่ึงแก่ประชาชน การใหบ้ รกิ ารประชาชนตอ้ งสะดวกรวดเรว็ เปน็ ทพี่ อใจแก่ประชาชน ซ่งึ ตามกฎหมาย รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห ่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย พ.ศ. 2560 ก�ำหนดให้ประชาชนมีสิทธิ เสนอเรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ขต์ อ่ หนว่ ยงานของรฐั และรบั ทราบผลการพจิ ารณาอยา่ งรวดเรว็ ประชาชนหรือชุมชนมีสิทธิในการเข้าช่ือ เพ่ือเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐใน เร่ืองของคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ชมุ ชน และประชาชนตอ้ งไดร้ ับทราบผลการพจิ ารณาอยา่ งรวดเร็ว หน่วยงานของรฐั จะตอ้ งใหบ้ รกิ ารประชาชน ดว้ ยความสะดวก รวดเรว็ และต้องไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ รายงานประจ�ำ ปี 2561 177

นอกจากน้ัน ได้ให้แนวคิดในการท�ำงาน “ลูกบอล 5 ลูก” ซึ่งถือเสมือนหัวใจส�ำคัญในทางเดินชีวิต ซง่ึ ความสขุ ของมนษุ ยท์ กุ คนไมไ่ ดม้ คี วามสขุ แคห่ าเงนิ ไดม้ ากเพยี งอยา่ งเดยี ว ทกุ คนมขี นาดความตอ้ งการไมเ่ ทา่ กนั ขนาดความสุขย่อมไม่เท่ากัน โดยทุกช่วงชีวิตเรามองหาความสุขเสมือนเราได้ต่อลมหายใจให้ตัวเองผ่าน การเลอื กท�ำ ใหค้ วามส�ำคญั กบั สงิ่ ทมี่ คี ณุ ประโยชนใ์ นทกุ มติ ขิ องชวี ติ ทสี่ มดลุ กนั เปรยี บเสมอื นลกู บอล 5 ลกู ดงั น้ี ลูกที่ 1 คือ ครอบครวั ลูกที่ 2 คอื การงาน ธรุ กจิ ลกู ที่ 3 คอื สขุ ภาพกายใจ ลูกที่ 4 คือ สง่ิ ที่เรารัก ลกู ที่ 5 คอื การเงนิ การลงทนุ พรอ้ มกนั นเ้ี ลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาไดฝ้ ากขอ้ คดิ ในการท�ำงานวา่ “การเตรยี มตวั เขา้ สกู่ ารเปลย่ี นแปลง จาก Comfort Zone ไปสู่ Active Zone น้ัน ไม่ใช่เร่ืองง่าย ทั้งในเรื่องของโครงสร้าง บุคลากร และ การบริหารงาน ดังนั้น ควรมุ่งเน้นงานและเน้นบุคลากรเปน็ ล�ำดบั แรก ซ่งึ โดยทัว่ ไปการเปลีย่ นแปลงจะต้อง มีปัญหาและอุปสรรคบ้าง ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงควรเน้นการท�ำงานในเชิงวิชาการอย่าง มีแบบแผน เพ่ือให้สอดรับกับแผนการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ท่ีเพิ่มมากข้ึน และบุคลากรของ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ควรใช้เวลาราชการให้เป็นประโยชน์ต่อทางราชการอย่างเต็มท่ีเพื่อให้ บรรลุเป้าหมาย ท้ังน้ี การท�ำงานเปรียบเสมือนลูกบอลยางที่หล่นแล้วเด้งใหม่ ซ่ึงหมายถึงการท�ำงาน สามารถปรบั เปล่ยี น และแกไ้ ขใหม่ได้ตลอดเวลา” 178 ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

การแบง่ กลมุ่ บรู ณาการโครงการ/แผนงาน งบประมาณปี พ.ศ. 2562 การแบ่งกลุ่มบูรณาการโครงการ/แผนงาน งบประมาณปี พ.ศ. 2562 เป็นกิจกรรมหน่ึงท่ีด�ำเนินการ ด้วยการระดมความคิดเห็นและบูรณาการแผนงาน/โครงการ เพื่อเตรียมความพร้อมในการด�ำเนินงานในปี พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือการบรรลุเป้าหมายและภารกิจหลักขององค์กร และผลท่ีได้จากการ รว่ มระดมความคิดเหน็ คร้ังน้ี จะไดม้ ีการน�ำเสนอในการประชุมส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาคร้งั ตอ่ ไป รายงานประจำ�ปี 2561 179

ภาพการประชมุ ผบู้ รหิ าร 180 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

การศกึ ษาแหล่งเรียนร้ดู า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ ต่อยอดความคดิ สกู่ ารพัฒนา เรื่องทกั ษะดา้ นดจิ ิทัล ณ สำ� นกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (Geo - Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) – GISTDA) เป็นหนว่ ยงานของรฐั ใน รปู แบบองคก์ ารมหาชน มงุ่ เนน้ การบรหิ ารและด�ำเนนิ งานเพอื่ บรกิ ารขอ้ มลู ภมู สิ ารสนเทศ บรกิ ารวชิ าการตา่ ง ๆ ตลอดจนการวจิ ัย และพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ประชาชน การศึกษาแหล่งเรียนรู้คร้ังน้ี เป็นการเปิดมุมมองใหม่ในการเข้าถึงข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ยังไม่เคยรู้ และ เกิดแรงกระตุ้นทั้งเร่ืองภาวะโลกร้อนท่ีมีผลต่ออวกาศ การพัฒนาตนเองในเรื่องทักษะทางดิจิทัลต่าง ๆ ทสี่ ามารถน�ำมาประยกุ ตใ์ ช้หรอื ตอ่ ยอดความคิดไปสกู่ ารปฏิบตั ิงานและชีวิตประจ�ำวันได้ รายงานประจำ�ปี 2561 181

ขปราอรยงะจสง�ำา�ำ ปนนงีสักบถงปาารนนะเะมลกาขาณารธเงกิพนิ า.ศรส. ภ25า6ก1ารศกึ ษา Balance Sheet ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 วงเงนิ 205,058,000 บาท (สองรอ้ ยหา้ ลา้ นหา้ หม่นื แปดพันบาทถ้วน) เพอื่ ด�ำเนินงาน 4 แผนงาน ดังนี้ แผนงาน จ�ำนวนเงนิ (บาท) 1. แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพ 71,289,300 2. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ (ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน) 80,770,700 3. แผนบูรณาการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต 46,158,000 4. แผนงานบรู ณาการวจิ ัยและนวัตกรรม 6,840,000 205,058,000 รวม 182 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

บรรณาธิการ บรรณาธกิ ารบรหิ าร เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ดร.ชัยพฤกษ์ เสรรี กั ษ ์ รองเลขาธิการสภาการศึกษา ดร.ชัยยศ อม่ิ สุวรรณ์ ทป่ี รึกษาด้านระบบการศกึ ษา ดร.สมศกั ดิ์ ดลประสิทธ ์ิ ผ้อู �ำนวยการส�ำนกั งานเลขานกุ ารคณะกรรมการอิสระ นายเฉลมิ ชนม์ แนน่ หนา เพ่อื การปฏริ ปู การศกึ ษา ผชู้ ่วยเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นางเรอื งรัตน์ วงศป์ ราโมทย ์ บรรณาธิการ นกั วิชาการศกึ ษาเชี่ยวชาญ ผ้อู �ำนวยการกล่มุ พฒั นาระบบบริหาร ผ้อู �ำนวยการกลุ่มพฒั นานวัตกรรมและการบรหิ ารการเปล่ียนแปลง นางพิจารณา ศิริชานนท์ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ นางสาวใกล้ตา สดสมศรี นักวิชาการศกึ ษาปฏิบัตกิ าร นายบวรศกั ดิ์ ชุตนิ ทราศรี นักวิชาการศกึ ษาปฏิบัตกิ าร นางสาวดวงกมล นไิ ชยโยค นักวิชาการศกึ ษาปฏบิ ตั ิการ นางจุฑารัตน์ สายน้�ำเขียว นางสาวสุวิมล เสนานอก ผชู้ ว่ ยบรรณาธกิ าร เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน นางสาวนิษฐรศั มิ์ พมิ มะเสน ผู้ช่วยนกั วิชาการ ผู้ชว่ ยนักวิชาการ นางสาวธนั ยช์ นก ธ�ำรงชยั วรกลุ นายมิตรภาพ อภวิ งค์งาม พสิ ูจนอ์ กั ษร เจา้ พนกั งานธุรการปฏิบตั งิ าน ผ้ชู ว่ ยนักวชิ าการ นางสาวนษิ ฐรัศม์ิ พิมมะเสน ผ้ชู ว่ ยนกั วชิ าการ นางสาวธนั ยช์ นก ธ�ำรงชยั วรกลุ นายมติ รภาพ อภิวงค์งาม รายงานประจำ�ปี 2561 183

184 ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

4.0 สกาํรนะทักรงวางนศเลึกขษาาธธิกกิ าารรสภาการศกึ ษา 99/20 ถนนสุโขทัย เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300 โทร. 0 2668 7123 โทรสาร 0 2668 7975 Website : http://www.onec.go.th

การรักษาแบบประคับประคอง มีที่ไหนบ้าง

การดูแลแบบประคับประคองนั้น สามารถทำได้ทั้งที่บ้าน โรงพยาบาล หรือในสถานพยาบาลที่มีความพร้อม โดยขึ้นกับอาการของผู้ป่วยในขณะนั้น หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง เช่น มีภาวะติดเชื้อ อาจจำเป็นต้องได้รับการดูแลที่โรงพยาบาลเนื่องจากต้องให้การรักษาหรือให้ยาทางหลอดเลือดหรือสาเหตุอื่น จนเมื่ออาการของผู้ป่วยสงบลงก็อาจกลับมาดูแลที่บ้าน ...

ผู้ป่วยระยะสุดท้ายอยู่ได้นานแค่ไหน

ใครคือผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้ที่มีอาการป่วยที่ ทรุดลงเรื่อย ๆ และมีอาการแทรกซ้อน อื่น ๆ ที่ปรากฏร่วมด้วยโดยแพทย์คาดว่าผู้ป่วยอาจมีชีวิตอยู่ได้ไม่เกิน 1 ปี ผู้ที่มีอาการป่วยที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิตอย่างกะทันหันจากอาการที่กำเริบไปสู่ภาวะวิกฤต

Palliative care กับ End of life care ต่างกันอย่างไร

Palliative care \= End of life care? Palliative care คนละความหมายกับ end of life care. Palliative care คือแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีโรคคุกคามต่อชีวิต สามารถให้ดูแลผู้ป่วยได้ตั้งแต่เริ่มต้นวินิจฉัย End of Life Care คือ การดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายที่ถูกวินิจฉัยว่ามีเวลาที่เหลืออยู่

การดูแลแบบประคับประคองมีองค์ประกอบใดบ้าง

องค์ประกอบของการดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยจะได้รับการบรรเทาความไม่สุขสบายที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม ด้วยการใช้ยาที่มีประสิทธิภาพ และวิธีการอื่นๆที่ไม่ใช่ยาร่วมกัน การดูแลจิตใจ ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลทางจิตใจ ทั้งทางจิตสังคมและจิตวิญญาน เพื่อเพิ่มความผาสุกและช่วยปลดเปลื้องสิ่งที่ผู้ป่วยยังค้างคา