กรณ เปล ยนอะไหล ก นชนใหม ต องทำส ม ย

42

4.2 การจัดทำระบบบำรุงรักษาเชิงป้องกนั 4.2.1 จดั ทำแผนการซอ่ มบำรุงรายปี (PM Instruction)

ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงแผนการซอ่ มบำรุงรายปไี ลนก์ ารผลติ A

ตารางท่ี 4.2 ตารางแสดงแผนการซ่อมบำรงุ รายปีไลน์การผลติ B

43

ตารางท่ี 4.3 ตารางแสดงแผนการซอ่ มบำรุงรายปไี ลน์การผลติ C

44

4.2.2 จดั ทำใบแจ้งซอ่ ม

ภาพท่ี 4.4 ภาพแสดงตวั อย่างใบแจง้ ซอ่ ม

45

4.2.3 จัดทำใบบนั ทกึ การซอ่ มบำรุง

ภาพที่ 4.5 ภาพแสดงใบบันทกึ การซอ่ มบำรงุ

46

4.2.4 จดั ทำใบอนุญาตทำงานในบรษิ ัท

การเข้าไปปฏบิ ัตงิ าน ในงานบำรงุ รักษาเครอื่ งจักรทุกครง้ั สงิ่ ที่สำคญั ท่สี ดุ ในการบำรงุ รกั ษา นัน้ ก็คอื ความ ปลอดภัยเกี่ยวกบั การบำรงุ รักษา จึงจำเปน็ ต้องมใี บอนญุ าตการเข้าพนื้ ทไี่ ลน์ผลติ ทกุ ครง้ั ซ่ึงเปน็ กระบวนการท่ีใช้ใน การควบคมุ อนั ตราย เม่ือมีการซ่อมบำรงุ หรอื มเี หตทุ ำให้ตอ้ งปดิ เคร่อื งจกั ร หรืออปุ กรณท์ ี่จะตอ้ งปิดแหล่งจ่ายตา่ งๆ เชน่ ไฟฟา้ ความร้อน ความดัน เป็นตน้

ภาพท่ี 4.7 ภาพแสดงใบอนุญาตทำงานในบรษิ ทั

47

4.3 การบรหิ ารอะไหลง่ านบำรงุ รกั ษา การวางแผนการบรหิ ารอะไหล่จะมีความแตกตา่ งจากการวางแผนปัจจัยการผลิตในหลายประเดน็ อาทิ

ระดบั การให้บริการ (Service Level) ทต่ี ้องมคี วามพร้อมในการเบิกจ่ายอย่างรวดเร็วและความต้องการช้ินส่วน หรอื อะไหลไ่ มแ่ นน่ อนท่ียากในการคาดการณ์ โดยทัว่ ไปชน้ิ สว่ นอะไหลแ่ ต่ละรายการล้วนแต่มคี วามหลากหลาย โดยเฉพาะการจัดเก็บรายการสต็อกท่ีหลากหลายประเภทจะส่งผลต่อข้อจำกัดภาระงานของพนักงานและเกดิ ข้อจำกัดในการบริหารจัดการ ซงึ่ เป็นไปไม่ไดท้ จ่ี ะจดั สรรเวลาให้ใสใ่ จกบั ทุกรายการเท่ากนั ดังนน้ั การจำแนกกลุ่ม สต็อกมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใหเ้ กดิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั เกบ็ ตำ่ สดุ หากให้ความสนใจบางรายการในรายละเอียดมาก เกินไปจะทำให้ส้นิ เปลอื งทรัพยากรโดยใชเ่ หตุ แตห่ ากใหค้ วามสนใจกับบางรายการน้อยเกนิ ไปยอ่ มเปน็ เหตุใหเ้ กิด ความสูญเสียอยา่ งคาดไมถ่ งึ ทำใหจ้ ำเป็นต้องมแี นวทางปฏิบตั ทิ ีแ่ ตกตา่ งกันตามลำดับความสำคัญดว้ ย 60 การ วิเคราะหแ์ บบพาเรโต้หรือ ABC (ABC Analysis) โดยใหค้ วามสำคัญกบั สินค้ากลุ่ม A สงู สดุ ตามดว้ ย B และ C ตามลำดบั ดงั นี้

กลุ่ม A เปน็ สตอ็ กที่มีมลู ค่าต่อหน่วยสูงซึ่งมีปรมิ าณเพียงรอ้ ยละ 15–20 ของยอดรวม แต่มมี ูลค่าสูงถงึ ร้อย ละ 80 ทำให้มกี ารส่ังซ้ือเฉพาะส่วนที่ขาดหรือจำเป็นด้วยการประเมนิ จากปรมิ าณที่ตอ้ งใช้ตามแผนบำรุงรกั ษาและ การประเมินความน่าเช่อื ถอื ของระบบ

กลุม่ B เป็นสต็อกท่ีมีมูลคา่ ตอ่ หนว่ ยต่ำกวา่ กลุ่ม A โดยมีปรมิ าณรวมร้อยละ 25–30 ของยอดรวม ซึ่งมี มูลค่าการใช้งานราวรอ้ ยละ 15 ควรกำหนดจุดสั่งซื้อคงท่ีเมอ่ื ปรมิ าณสต็อกลดถึงจดุ สั่งซ้ือก็ให้ดำเนินการส่ังซื้อ ลว่ งหนา้

กลุ่ม C มมี ลู ค่าตอ่ หน่วยนอ้ ยทส่ี ุด มีปริมาณสตอ็ กราวรอ้ ยละ 50–60 (บางกรณอี าจสงู ถึงร้อยละ 80) ขณะทีม่ ีมลู ค่าเพียงรอ้ ยละ 5-10 ดังน้นั จึงมักใช้หลักการควบคมุ ดว้ ยสายตาดว้ ยระบบถาดคู่ (Two-Bin System) เพอ่ื กำหนดจดุ ส่งั ซือ้

4.3.1 การจัดการอะไหลเ่ พอ่ื เตรยี มความพรอ้ มในการซอ่ มแซมบำรุงรกั ษา

ตารางท่ี 4.4 ตารางอะไหลซ่ ่อมบำรงุ เครือ่ งจักร

48

ผลลัพธ์การวิเคราะห์แบบพาเรโต้หรอื ABC จะถกู ใช้ทบทวนการตรวจสอบเพือ่ พจิ ารณาวา่ ระดบั สตอ็ กที่ จัดเก็บไวเ้ หมาะสมหรือไม่ เช่น รายการกลุ่ม A ควรกำหนดรอบตรวจนบั ทกุ สัปดาห์ รายการกล่มุ B ทำการตรวจ นับรายเดือนและรายการกล่มุ C อาจตรวจนบั รายไตรมาส การตรวจนับมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือใช้เป็นเอกสารทางบญั ชี สำหรบั แจ้งยอดสตอ็ กและระบุสาเหตุปัญหาสต็อกไม่ตรงกับรายการในยอดบัญชีเพื่อระบุแนวทางบริหารอะไหล่ อย่างเหมาะสม แต่เนื่องจากกิจกรรมบำรงุ รกั ษาประกอบดว้ ยประเภทและปรมิ าณขอ้ มลู ทหี่ ลากหลาย ทำใหก้ าร จดั เก็บบนั ทึกข้อมูลเหล่านเี้ ปน็ เร่อื งยุ่งยากและต้องระบุวตั ถุประสงคก์ ารจัดเก็บใหช้ ดั เจนเพือ่ ความเหมาะสมตอ่ การ ใช้งานจรงิ การบนั ทึกข้อมลู มหี ลายรูปแบบทีไ่ ม่สามารถระบุเฉพาะได้ว่าต้องประกอบรายละเอยี ดอะไรบ้าง โดยทั่วไปจะกำหนดแนวทาง ดงั น้ี

4.3.1 กำหนดวิธีการและวตั ถุประสงคจ์ ัดเก็บขอ้ มลู ทชี่ ดั เจนเพ่อื ใช้เปน็ มาตรฐานปฏบิ ัตงิ าน 4.3.2 บนั ทึกข้อมลู ท่จี ำเปน็ ในการวิเคราะหป์ ระเมินผลและใช้ปรบั ปรงุ มาตรฐาน 4.3.3 จัดทำขอ้ มูลรายละเอยี ดเกยี่ วกับเครอื่ งจกั ร 4.3.4 บันทกึ รายละเอียดปญั หาความชำรดุ เสียหายอยา่ งถูกต้องและชดั เจนเพ่อื นำขอ้ มูลท่บี ันทกึ ไปใช้ งานอย่างเหมาะสม

ตารางท่ี 4.5 ตารางจัดลำดบั ความสำคญั ของอะไหล่คงคลงั การวดั ผล ดัชนีช้กี ารดำเนนิ งานการจดั การอะไหล่คงคลงั ดชั นีชี้วดั การดำเนินงานการจัดการอะไหลค่ งคลงั เปน็ การวัดผลการดำเนินงาน ในด้านปรมิ าณการสง่ั ซอ้ื อยา่ งประหยัด การสงั่ ซอ้ื ท่ีเหมาะสม จดุ สั่งซ้ือ และ อะไหล่ คงคลงั เพอ่ื ความปลอดภัยของอะไหล่คงคลงั เพื่อสะท้อน ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลในการปฏิบตั งิ านซ่ึงจากการ ตัวอย่าง ทดสอบข้อมูลในระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจการจดั การอะไหล่คงคลังพบว่า เครื่องซีเอ็นซี ไวร์คัท สามารถทำงานท่มี ปี ระสทิ ธิภาพเพิม่ มากขึ้น มคี า่ ใช้จ่ายในการสั่งซ้ืออะไหล่ลดนอ้ ยลง และมีอะไหล่สำรองท่ีความ เหมาะสมกบั การใชง้ าน โดยทค่ี ลังพัสดเุ พอ่ื ความปลอดภัย

49

บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

5.1 สรปุ ผลการดำเนินโครงการ

ทางผูจ้ ดั ทำได้ทำระบบการบำรุงรกั ษาต่างๆ จัดมีการอบรมทำความเขา้ ใจในเอกสารให้กับผู้ที่มีส่วน เกย่ี วข้อง โดยการวางแผนการใช้เอกสารระบบงาน PM ที่ได้จัดทำข้นึ ให้กบั หัวหนา้ ฝา่ ยซ่อมบำรุง เพ่ือท่ีจะได้ แผนการทำงานให้กบั บคุ ลากรในแผนกไดป้ ฏิบัตติ ามแผนงาน PM และได้ทำการอบรมไปยังส่วนงานฝา่ ยผลติ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติให้ไปในทางอันเดียวกัน ผลท่ีได้จากการเกบ็ ข้อมลู การศึกษาการดำเนินงาน หลังจากการนำ TPM มาดำเนนิ กิจกรรม และ หาแนวทางแกป้ ญั หา หลงั จากไดท้ ำระบบบำรงุ รกั ษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) บริหารจัดการแผนการบำรงุ รักษาเชิง ป้องกันอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และ ประสทิ ธิผล ตามแผนอย่างตอ่ เนื่องตามระยะเวลาทก่ี ำหนด ความพร้อมของ เครื่องจกั รสำหรบั การผลิต ได้มากขนึ้ และ ลด สภาพการเสอ่ื มของเครื่องจักรทำให้เครอ่ื งจกั รขัดขอ้ ง และ หยุดชะงัก Down Time ลดน้อยลง และ ลดอะไหล่ที่ จะตอ้ งเปลย่ี นตามความเสื่อมของเครื่องจกั รได้มากขน้ึ ทำให้ ฝ่ายผลติ ผลิตงานเสร็จทนั ตามเปา้ หมาย ทีไ่ ดว้ างไว้ จากข้อมลู เครอื่ งจักรหลังมีการนำระบบบำรงุ รักษาเชิงป้องกนั เข้ามาใน (Preventive Maintenance) การนำ TPM มาปรับปรุงประสทิ ธภิ าพโดยรวมของเครอื่ งจักร การวดั ผลจะต้องรวบรวม ขอ้ มูลทัง้ ก่อน และ หลังการปรับปรุง เพือ่ นำมาเปรียบเทียบผลทไ่ี ด้จากดำเนนิ งานโดย ใช้หลักการการบำรงุ รกั ษา TPM ตัง้ แต่เดอื น เมษายน 2564 – กันยายน 2565

50

ตารางที่ 5.1 ตารางแสดงการขัดข้องของเครอ่ื งจักรก่อนปรบั ปรุง (ตลุ าคม 2564 – มนี าคม 2565)

51

ตารางที่ 5.2 ตารางแสดงการขัดขอ้ งของเครือ่ งจกั รหลังปรบั ปรงุ (เมษายน 2565 – กนั ยายน 2565)

52

แผนภมู แิ สดงการเปรยี บเทียบคา่ ดัชนีการซ่อมบำรุงเครอื่ งจักร

แผนภมู ทิ ่ี 5.1 แผนภูมแิ สดงอัตราการเดินเครื่องจักร Availability (A) กอ่ นปรับปรุง – หลงั ปรับปรงุ

แผนภมู ทิ ่ี 5.2 แผนภูมิแสดงประสิทธภิ าพการเดนิ เคร่อื งจักร Preformance Efficiency (P) ก่อนปรบั ปรุง - หลัง ปรับปรงุ

53

แผนภมู ิที่ 5.3 แผนภมู แิ สดงอตั ราคุณภาพเครอ่ื งจักร Quality Rate (Q) ก่อนปรับปรงุ – หลังปรบั ปรงุ

แผนภูมิท่ี 5.4 แผนภูมิแสดงประสทิ ธิภาพการเดนิ เครอื่ งจกั ร Preformance Efficiency (P) กอ่ นปรบั ปรุง – หลัง ปรบั ปรุง

54

จากตารางและแผนภูมิข้างตน้ จะเห็นได้วา่ ระยะเวลาการทำงานเฉล่ียของเครอ่ื งจกั ร อัตราความพรอ้ มของ เครอื่ งจักร ประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองจักร รวมไปถงึ ค่าประสทิ ธผิ ลโดยรวมของเครื่องจักรต้ังแต่เดือน เมษายน - กนั ยายน 2565 นั้น มคี า่ ท่เี พิ่มขึ้นอยา่ งชัดเจนเม่ือเทียบกบั เดอื นตลุ าคม 2564 - มนี าคม 2565 ท้งั นมี้ ีผลมาจากมี การตรวจเช็คเครื่องจกั รกอ่ นเริ่มทำงาน รวมไปถึงแผนการบำรงุ รักษารกั ษาเครื่องจกั รประจำเดอื น จึงทำใหค้ ่าเฉล่ีย ของอัตราการเดนิ เคร่อื งจกั รมีค่าทส่ี งู ขึ้น การใชง้ านปจั จุบนั หลังจากมกี ารปรบั ปรุงจะเหน็ ไดว้ ่า การเดนิ เครอ่ื งจักรมี ประสิทธภิ าพเพม่ิ ขึน้ และมีการผลติ งานออกมามคี ณุ ภาพสูงข้ึน ซึ่งจะสง่ ผลถงึ คา่ ดชั นีช้วี ัด ค่าประสิทธิผล โดยรวม ของเครือ่ งจกั รในสายการผลิตเพ่ิมขึน้

จากการบำรงุ รกั ษาเครื่องเคร่อื งจักรภายในโรงงาน และ ทำการเก็บรวบรวมขอ้ มลู รายละเอียดระยะเวลา การเดนิ เครือ่ งจกั รทง้ั หมด การวเิ คราะหร์ ะบบ การบำรงุ รักษา ถา้ พิจารณาในดา้ นระยะเวลาเฉล่ียก่อนเกิด การ ขัดขอ้ งของระบบควบคุมกระบวนการ เครอื่ งจักรจากข้อมูลขา้ งตน้ จะพบวา่ ระยะเวลาเฉลยี่ เกดิ การขัดขอ้ ง ของ เครือ่ งจักร โดยการเกิดเหตุขัดข้องของเคร่อื งจกั รทีใ่ ชเ้ วลาในการซ่อมนานนั้นมกั เกดิ จากขึ้น สว่ นของระบบควบคมุ และ กลไก ส่งผลใหเ้ ครอื่ งจกั รท่มี คี วามสำคญั เสียหายหนัก ทำให้จำตอ้ งหยุดเคร่ืองและทำการซ่อมแซมอย่าง เร่งดว่ น หลังจากการนำระบบการซอ่ มบำรุงรกั ษา TPM เขา้ มาแก้ไขปญั หาการหยุดเครอื่ งจักรอยา่ งกะทนั หัน จะ พบได้ว่าเครื่องจักรมีสมรรถนะการเดินเครื่องจักรเพิม่ มากข้ึน โดยใช้แผนการบำรุงรกั ษาเชิงป้องกัน PM : Preventive maintenance ซ่ึงสามารถทำใหด้ ัชนีช้ีวัดคา่ ประสทิ ธภิ าพการทำงานของเครอ่ื งจักรสามารถวดั ไดจ้ าก ดชั นีช้ีวดั คา่ ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจกั ร (OEE) ดังน้ี

1. ค่าอตั ราความพรอ้ มเดินเคร่ือง (A) เฉลี่ยเพม่ิ ขน้ึ 1.78 % 2. คา่ อัตราประสิทธภิ าพการเดินเครอื่ ง (P) คงเดิม 3. คา่ อัตราคณุ ภาพ (Q) เฉล่ยี เพม่ิ ข้นึ 2.09 % 4. ค่าประสิทธภิ าพโดยรวมของเครื่องจกั ร (OEE) เฉลย่ี เพ่มิ ขึน้ 3.64 %

การนำหลกั การบำรงุ รักษาเชิงป้องกันมาใชใ้ นการบำรุงรกั ษาเคร่ืองจกั รจะสามารถทำให้ อัตราความพรอ้ ม เดินเคร่ือง เพิ่มข้ึน ประสทิ ธภิ าพโดยรวมของเครอ่ื งจักรสูงข้นึ ลดอตั ราการเกดิ เครอื่ งจกั รหยุดชะงกั (Brake down) ประหยัดคา่ ใช้จ่ายในการซอ่ มบำรงุ เพ่ิมผลกำไร และ ลดอัตราของเสยี ดังแผนภูมิ ดังนี้

55

แผนภมู ิที่ 5.5 แผนภูมิแสดงของเสียจากการหยุดชะงักของเครือ่ งจกั รไลน์การผลติ A ก่อนปรับปรุง – หลงั ปรบั ปรงุ

แผนภูมทิ ี่ 5.6 แผนภมู แิ สดงของเสียจากการหยดุ ชะงกั ของเคร่อื งจกั รไลน์การผลิต B กอ่ นปรับปรุง - หลงั ปรบั ปรงุ

56

แผนภูมทิ ่ี 5.6 แผนภมู ิแสดงของเสยี จากการหยุดชะงกั ของเคร่อื งจกั รไลนก์ ารผลิต C กอ่ นปรับปรงุ – หลงั ปรับปรงุ

จากตารางและแผนภมู แิ สดงของเสยี จากการหยุดชะงักของเครื่องจกั รในไลน์ผลติ ขา้ งต้น จะเห็นได้ว่าเม่ือ เครอ่ื งจักรขดั ข้อง อัตราการสญู เสียจะมากขึ้น และ เม่อื มกี ารตรวจเชค็ เครือ่ งจกั รกอ่ นเริ่มทำงาน รวมไปถงึ แผนการ บำรงุ รักษารกั ษาเครือ่ งจกั รประจำเดือน จงึ ทำใหข้ องเสยี ลดน้อยลง การใชง้ านปจั จบุ ันหลงั จากมีการปรับปรุงจะ เห็นได้วา่ การเดินเครอ่ื งจกั รมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และ มีการผลิตงานออกมามคี ณุ ภาพสูงข้ึนตามไปด้วย ซ่ึง สามารถทำใหโ้ ปรดักส์เสยี ลดนอ้ ยลงดังน้ี

1. ไลน์การผลิต A มโี ปรดกั สเ์ สยี ลดลง จำนวน 1,200 ขวด 2. ไลน์การผลติ B มีโปรดกั ส์เสยี ลดลง จำนวน 6,831,00 ขวด 3. ไลนก์ ารผลติ C มโี ปรดกั ส์เสยี ลดลง จำนวน 70,800 ขวด

การมีสว่ นร่วมของพนักงานในการดำเนนิ กจิกรรมการบำรงุ รกั ษาทวผี ลแบบทกุ คนมสี ว่ นร่วม (TPM) ของ พนักงาน ด้านการปรับปรงุ เพ่ือลดการสญเสยี ดา้ นการบำรงุ รกั ษาดว้ ยตนเอง ดา้ นการวางแผนการบำรงุ รักษา และ ด้านการให้การศึกษาและฝกึ อบรม โดยรวมพนกั งานมสี ว่ นรวมในระดบั มากทกุ ด้าน อาจเน่ืองมาจาก พนกั งาน ทกุ คนมสี ว่ นร่วม และ สามารถนำความสามารถมาใช้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เพือ่ ให้การดำเนินธรุ กจิ บรรลเุ ป้าหมาย อุบัติเหตุเปน็ ศนู ย์ เครอื่ งจักรขดั ขอ้ งเปน็ ศูนย์ ข้อรอ้ งเรียนเปน็ ศูนย์ และ ของเสยี เปน็ ศูนย์ เพ่ือใหใ้ ชเ้ ครื่องจกั ร และ อุปกรณอ์ ย่างมปี ระสิทธิภาพสูงสดุ ชว่ ยลดต้นทนุ ของสนิ ค้า และ สร้างบรรยากาศในสถานทท่ี ำงานใหด้ ยี ิง่ ข้นึ และ

57

จะสง่ ผลให้เกิดการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องไมห่ ยดุ ยั้ง และ ทำใหเ้ กดิ ความสามัคคีกนั ในหมคู่ ณะ ระบบการบำรุงรักษา แบบทวผี ลทท่ี ุกคนมสี ว่ นรว่ ม หรอื TPM เป็นระบบทไี่ ด้รบั การพสิ จู นจ์ ากหลายๆ อุตสาหกรรมแล้วว่ามีผลการ จัดการอยา่ งได้ผลใน การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านให้ดยี งิ่ ข้นึ อย่างตอ่ เนอื่ งประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการดำเนนิ งานครง้ั นี้ ทำให้สามารถลดเวลาสญู เสียและลดจำนวนครงั้ ในการเกิดข้อขดั ขอ้ ง เคร่ืองจกั รหยดุ ชะงกั ลงได้ อัตราการเดิน เครอ่ื งจกั รเฉลยี่ เพ่มิ สูงขึ้น อตั ราคุณภาพเฉลยี่ เพมิ่ สูงขึ้น คา่ เฉลีย่ ในการซอ่ มแซมลดลง ถือได้ว่าเปน็ ประโยชน์ท่ีได้ จากการวางแผนระบบการบำรงุ รกั ษาทด่ี ี และ เป็นประโยชนท์ างอ้อมทเี่ กดิ ข้นึ จากการดำเนินกจิ กรรม ซ่ึงได้แก่ พนักงานฝา่ ยผลิต และ ฝ่ายซอ่ มบำรงุ รกั ษามีการต่ืนตัวในการทำงานมากขน้ึ เนอื่ งจากเห็นผลการ เปล่ียนแปลงการ บำรงุ รักษาที่เปน็ รูปธรรม มีสภาพแวดล้อมการทำงานทดี่ ีข้ึนเนอ่ื งจากพ้นื ที่ และ เครือ่ งจักรสะอาด พนกั งานทำงาน อย่างมรี ะบบ และ มีความปลอดภยั ในการทำงานมากขึ้น เป็นสายการผลติ ตัวอย่างทสี่ ามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ ับ สายการผลิตอ่นื ได้

5.2 ปญั หาที่พบในการดำเนินโครงการ

5.2.1 เคร่อื งจักรทำงานตลอดเวลา มีปญั หาในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู 5.2.2 ควรมีการจดั ฝึกอบรมพนกั งานท่ีเขา้ มาทำงานใหม่ใหท้ ราบถึงระบบการทำงาน เอกสารในการ ปฏิบัติงานการบำรงุ รกั ษา 5.2.3 เครื่องจักรบางตวั เดินผลติ 24 ชวั่ โมง ทำการเก็บข้อมลู อะไหลไ่ ดล้ ่าชา้ จึงควรวางการเก็บขอ้ มลู ให้ เหมาะสมกบั เวลาการเดนิ ผลติ 5.2.4 ควรมีการควบคมุ อะไหล่สำรองใหเ้ หมาะสมตอ่ การซอ่ มบำรุงเพือ่ ลดเวลาการหยุด เครือ่ งจักร เพ่อื รออะไหล่

58

บรรณานกุ รม

วิวฒั นาการของการบำรงุ รกั ษา http://www.tpmconsulting.org/menu3_show.php?id=11

ชนดิ ของการบำรุงรกั ษาเครือ่ งจักร https://www.fiixsoftware.com/glossary/machine-maintenance/

ผลลัพธ์การวิเคราะห์แบบพาเรโต้ http://www.thailandindustry.com/indust_newweb/articles_preview.php?cid=12148

ความสำคญั ของ OEE https://www.sumipol.com/knowledge/what-is-oee/

ความสำคญั ของ MTBF , MTTR https://leantpm.co/2018/09/29/mtbf- mtt%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/

การวดั สมรรถนะองคก์ ารดา้ นการผลิต https://www.motadata.com/th/blog/incident-management-metrics/

การวดั ประสิทธิผลโดยรวมของเครอื่ งจักร https://www.sumipol.com/knowledge/what-is-oee/

ดชั นีชี้วัดประสทิ ธิภาพการบำรงุ รกั ษา KPI (Key Performance Indicator) https://ieprosoft.com/%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8 %8A%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%B8 %E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E- %E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99/

งานวิจัยทเี่ กย่ี วข้อง http://digital_collect.lib.buu.ac.th › dcms › files