336 ม.2 บ.คลองช มพล นาด ปราจ นบ ร

Urban Renewal Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises Conclusion พื้น ี่ทออกแบบ ีท่ 6 : โครงกำรรฟท. โซน A และ E 1 PAGE 301 2 3 URBAN REDEVELOPMENT 4

PAGE 302

ที่มารูปภาพ : earth.google.com

Urban Renewal Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises Conclusion 1 2

FIRE ZONE EXERCISES 3

แบบฝึก ัหด ออกแบบวางผัง ้ ืฟน ูฟ พื้น ่ีทประสบ ัภยพิ ับ ิตเพ ิลงไห ้ม

4

PAGE 303

SITE ANALYSIS

BTS พื้ น ที่ บ ริ เ ว ณ ชุ ม ช น ไ ผ่ ตั น มี ลักษณะกรรมสิทธ์ิท่ีดินที่เป็นเจ้าของ โดย สถานีสะพานควาย แบ่งตามขนาดได้ 2 ประเภทโดยท่ีท่ีดิน บรเิ วณหลังวัดไผ่ตันจะมีขนาดที่ใหญ่กว่า ขนาดแปลงท่ีดินบรเิ วณชุมชน

โดยการเข้าถึงจะพบได้ว่าขนาด ถนนนั้นยากต่อการเข้าถึงของรถดับเพลิง ซ่ึงควรมีขนาดผิวถนนไม่น้อยกวา่ 4.5 เมตร ส่งผลใหเ้ มื่อเกิดเหตเุ พลงิ ไหม้อาจทําให้ยาก ต่อการเข้าไประงับเหตเุ พลิงไหม้ได้

ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง บ้ า น ห รือ ค รัว เรือ น เดิมในพื้นท่ีมีลักษณะท่ีใช้วัสดุก่อสรา้ งคือ ไม้ สังกะสี และคอนกรตี บางส่วน รวมไปถึง แต่ละบ้านมีการปลูกต้นไม้ไว้ที่รมิ สวนข้าง บ้าน และมีระยะห่างระหว่างบ้านท่ีน้อย มี การใช้รว้ั รว่ มกัน ทําให้ไม่สามารถควบคุม การกระจายของเพลิงไหม้ได้ และเกิดการ ติดไฟลามไปทวั่ บรเิ วณ ซึ่งสาเหตุมาจากทั้ง สภาพอากาศ และไฟฟ้าลั ดวงจร หรือ อาจจะมีการก่อประกายไฟในบ้านหลังใด หลังหน่ึง

ที่ทำกำรตำรวจ ชมุ ชน วดั ไผต่ นั ชุมชนวดั ไผ่ตนั วัดไผต่ ัน โรงเรยี นวดั ไผต่ นั พื้นทร่ี อกำรพฒั นำ

เมนชัน่ เเละยูนติ พกั อำศัย

PAGE 304 FIRE ZONE

ขั้นตอนกำรประกำศเขตเพลิงไหม้ Urban Renewal

เกิดเหตุเพลิงไหม้

ไม่เข้าขา่ ย ท้องถ่ินต้องตรวจสอบวา่ เข้าขา่ ยทต่ี ้องดาเนินการ เข้าข่าย Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises1 เเจ้งหน่วยงานบังคับ ประกาศเขตเพลิงไหม้หรอื ไม่ 2 3 บัญชาเพื่อทราบ จัดทาเเผนท่สี ังเขปเเสดงเเนวเขตเพลิงไหม้

สน้ิ สดุ การดาเนินการ ติดประกาศเเสดงเขตเพลิงไหมพ้ รอ้ มเเผนทสี่ งั เขปโดยเเจ้ง การกระทาอันต้องห้ามต่างๆ ไว้ ณสานักงานของราชการ

ส่วนทอ้ งถิ่น เเละบรเิ วณทเ่ี กิดเพลิงไหม้

พิจารณาว่าสมควรจะมีการปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้หรอื ไม่

ส่งให้คณะกรรมการควบคุมอาคารพิจารณา ภายใน 15 วันนับต้ังเเต่วนั ทเ่ี กิดเพลิงไหม้

ทอ้ งถ่ินประกาศปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้ ณ สานักงานของ สมควรปรบั ปรุง คณะกรรมการควบคุมอาคารพิจารณา ราชการส่วนท้องถ่ิน เเละบรเิ วณท่เี กิดเพลิงไหม้ เเล้วส่งให้รฐั มนตรพี ิจารณาสัง่ การ

ไม่สมควรปรบั ปรุง 4

กรมโยธาธกิ ารเเละผงั เมอื งดาเนินการจัดทาเเผนผังปรบั ปรุงเขต ทอ้ งถ่ินประกาศไม่ปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้ Conclusion เพลิงไหม้เสนอต่อรฐั มนตรี เเละประกาศในราชกิจจานุเบกษา พรอ้ มทั้งยกเลิกเเผนผังเเนวเขตเพลิงไหม้ ภายใน 60 วัน นับต้ังเเต่วันท่ปี ระกาศปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้ สง่ สาเนาประกาศยกเลิกให้สานักงานคณะกรรมการ ทอ้ งถิ่นดาเนินการปรบั ปรุงภายใน 2 ปี ควบคุมอาคาร กรมโยธาธกิ ารเเละผังเมือง

เเจ้งผลการดาเนินการปรบั ปรุงต่อกรมโยธาธกิ ารเเละผังเมือง สิน้ สุดการดาเนินการ

สิ้นสดุ การดาเนินการ ทมี่ า : กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

FIRE ZONE PAGE 305

ประกำศเขตเพลิงไหม้

แผนผังแสดงเขตเพลิงไหม้ พระรำชบัญญตั ิควบคุมอำคำร พ.ศ. 2522

• บรเิ วณทีเ่ กิดเพลิงไหม้อาคารต้ังเเต่สามสิบหลังคาเรอื นข้ึนไป • หรอื มีเนื้อท่ีต้ังเเต่หน่ึงไรข่ ้ึนไป • รวมท้ังบรเิ วณที่อยู่ติดต่อภายในระยะสามสิบเมตรโดยรอบ

บรเิ วณท่ีเกิดเหตเุ พลิงไหม้ เนื่องจากพ้ืนท่ีที่ได้รับมอบหมาย มีอาคารที่ถูกเพลิงไหม้เกิน 30 หลังคาเรอื นหรอื มีพ้ืนที่ที่ได้รับความเสียหายมากกว่า 1 ไ่ร่ จึงเข้า ข่ายตามประกาศเขตเพลิงไหม้

บรเิ วณโดยรอบที่อยู่ติดต่อภายในระยะ 30 เมตร ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรก่อสรำ้ งในเขตเพลิงไหม้ ปี พ.ศ. 2543

กําหนดการดําเนินการกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ท่ีเข้าลักษณะ จะต้องประกาศเขตเพลิงไหม้ เพื่อดําเนินการเข้าปรบั ปรุงเขตเพลิง ไหม้ โดยการควบคุมการก่อสรา้ งอาคารท่ีจะปลูกขึ้นใหม่ ให้มีความ เป็นระเบียบเรียบร้อย เเละคํานึงถึงประโยชน์ในการป้องกัน เเละ ระงับอัคคีภัย ความปลอดภัยแก่ประชาชน การอํานวยความสะดวก แก่การจราจร การผังเมือง การสถาปัตยกรรม การรกั ษาคุณภาพส่ิง เเวดล้อม เเละสาธารณสุข

มำตรำ 56 เเละ 57 แห่งพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร ปี พ.ศ. 2522

• ห้ามผู้ใดก่อสรา้ งดัดเเปลง รอื้ ถอนหรอื เคลื่อนยา้ ยอาคาร ภายใน 45

วนั นับต้ังเเต่วันทเี่ กิดเหตเุ พลิงไหม้

• ห้ามผู้ใดก่อสรา้ งดัดเเปลง รอ้ื ถอนหรอื เคลื่อนย้ายอาคาร หรอื ผู้เเจ้ง

ตามมาตรา 39 ในเขตเพลิงไหม้ ให้ระงับการกระทําตามท่ีได้รับ ใบอนุญาต หรอื ใบเเจ้งไว้ภายใน 45 วนั นับตั้งเเต่วันท่ีเกิดเพลิงไหม้

PAGE 306 FIRE ZONE

Urban Renewal Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises Conclusion 1 2

STUDENT PROJECTS OF 3 FIRE ZONE EXERCISES

ัสญ ัลกษ ์ณ

000 หมาย ึถงร ัหสของ ิน ิสต ีท่ออกแบบวาง ัผง

4

PAGE 307

1. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

314

330

โ ค ร ง ข่ า ย ถ น น จ ะ ยึ ด จ า ก ถนนเส้นเดิมเป็น หลัก โดยที่มีการ ตั ด ถ น น เ พ่ิ ม เพ่ือให้กลายเป็น ร ะ บ บ ลู ป ภ า ย ใน พื้นที่

พ้ื น ที่ โ ล่ ง ถังดับเพลิงแบบมือถือ ประปาตัวแดงจะถูกวาง แ ล ะ จุ ด ร ว ม พ ล จะมีรศั มี 10 เมตร และแต่ละถัง ในตําแหน่งท่ีรถดับเพลิงเข้าถึงได้ เ ลื อ ก ต้ั ง อ ยู่ ใ น จะอยู่ห่างกันไม่เกิน 20 เมตร ยาก โดยมีรศั มีการให้บรกิ ารอยู่ที่ พื้นที่ที่รอบๆไม่มี โ ด ย ตํ า แห น่ ง ใ ห้ อ ยู่ ใ น บ ริเว ณ 3 0 เ ม ต ร เน่ื อ ง จ า ก ส า ย ย า ง สิ่งก่อสรา้ งขนาด ท า ง ส า ธ า ร ณ ะ ที่ เ มื่ อ เ กิ ด เห ตุ สําหรบั ดับไฟจะมีความยาวอยู่ท่ี ใหญ่ สามารถหยบิ ใช้งานได้ทนั ที 20-30 เมตร

0 20 40 80 160 m

2. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

313

316

0 20 40 80 160 m

PAGE 308 FIRE ZONE

3. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

319

335 Urban Renewal

4. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

324

337

Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises1 2 3 4

ตําแหน่งถังดับเพลิงมอื ถือ ในระยะทกุ 20 เมตร Conclusion ตําแหน่งหัวจ่ายน้าดบั เพลิง FIRE ZONE PAGE 309

5. ผงั ปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

305

318

332

0 20 40 80 160 m

6. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

334

336

0 20 40 80 160 m ผังแสดงพ้ืนที่วา่ งและจดุ รวมพล จะอยู่บรเิ วณทางเข้า ท่สี ามารถ PAGE 310 เช่ือมต่อไปยังพื้นทีภ่ ายนอกได้

FIRE ZONE

7. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

306

331 Urban Renewal

8. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

302

311

Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises1 2 3 4

0 20 40 80 160 m ทอี่ ยู่อาศยั หัวจ่ายนา้ ดับเพลิง ระยะรศั มบี รกิ าร 20 ม. Conclusion รา้ นคา้ ชุมชน ถังดบั เพลิงแบบมือถือ ระยะรศั มบี รกิ าร 10 ม. จดุ รวมพล 1,120 ตร.ม. จคุ นได้ 14,480 PAGE 311

FIRE ZONE

9. ผงั ปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

420

421

• ผังแสดงโครงข่ายถนน พื้นที่ว่างใหม่ และจุดรวมพลท่ีมีการป้องกันไม่ให้ เกิดอัคคีภัยในอนาคตและการให้บรกิ ารของเจ้าหน้าท่ดี ับเพลิง

• ผังแสดงระบบสาธารณูปโภคใหม่ เช่น ระบบดับเพลิง ระบบทว่ี า่ ง ฯลฯ • ผังแสดงระบบปอ้ งกันอัคคีภัย ตําแหน่งหัวจ่ายน้าดับเพลิง และถังดับเพลิง • ผังแม่บทการปรบั ปรุงฟ้ ืนฟูพื้นที่ พรอ้ มการกําหนด Zoning ของกิจกรรม

ตามผังใหม่ท่เี หมาะสม

0 20 40 80 160 m

10. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

310

321

0 20 40 80 160 m

PAGE 312 FIRE ZONE

11. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

325

419 Urban Renewal

0 20 40 80 160 m Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises1 2 12. ผงั ปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

301

307 3

4

Conclusion

FIRE ZONE PAGE 313

13. ผงั ปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

322

328

0 20 40 80 160 m

14. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

303

320

• แปลงท่ีดินขนาดเล็กพัฒนาใหม่ จุดรวมพลใช้งาน 2000 คน ทุก เป็นบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮม ท่ีใช้ จุ ด ร ว ม กั น 5 0 0 ต ร ม . ใช้ เป็ น พ้ื น ท่ี พ้ื น ท่ีน้ อ ย ไ ม่ แอ อั น จ น เกิ น ไป สาธารณะของชุมชน ที่จอดรถดับเพลิง วัสดุที่ใช้ติดไฟยาก และทตี่ ้ังของตําแหน่งหัวจ่ายน้า

• อยู่ในระยะ 500 ม. ของ BTS แ ป ล ง ท่ี ดิ น ข น า ด ป า น ก ล า ง สามารถเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น ปานกลาง เช่น คอนโด Low rise อพารต์ เม้นต์

• บรเิ วณซอยน้ีมีทอี่ ยู่อาศัยอยูเ่ ยอะ แ ล ะ ใ ก ล้ กั บ แห ล่ ง ง า น ส า ม า ร ถ พัฒนาเป็นท่ีอยู่กึ่งพาณิชยกรรม เ ช่ น โ ฮ ม ส์ อ อ ฟ ฟิ ต อ า ค า ร พาณิชย์

0 20 40 80 160 m

PAGE 314 FIRE ZONE

15. ผังปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

304

317 หัวดับเพลิง Urban Renewal

ถังดับเพลิง ถนนใหม่ 6 ม. ถนนเดิม Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises1 ถนนรมิ คลอง 2 ม. 2 ถนนเดิม จดุ รวมพล 3 4 จุดรวมพล

เพ่ิมถนนขนาดความกว้าง 6 เมตร เพ่ือการเข้าถึง แบ่งพื้นที่เปน็ 12 ส่วน แต่ละส่วนมี ถังดับเพลิง 1 ของรถดับเพลิง ได้ทุกทิศทางและครอบคลุมพ้ืนท่ีมากขึ้น จุด ห่างกัน 20 เมตร และทั้ง 4 ด้านของพ้ืนท่ี มี จุดหัว รวมถึงเพ่ิมถนนรมิ คลอง ความกว้าง 2 เมตร ท้ังสองฝ่ ั ง จ่ายน้าดับเพลงิ อยา่ งละ 1 จดุ เพ่ือเพิ่มการครอบคลุมของ เพื่อเปน็ พ้ืนทีท่ ่ผี ู้คนสามารถเข้าไปหลบภัย หรอื รวมพลได้ การควบคุมเพลิงไหม้ในพื้นท่ี

16. ผงั ปรบั ปรุงเขตเพลิงไหม้

308

312

การจัดรูปท่ีดินเพื่อทําให้เกิดพ้ืนที่โครงการ ในการออกแบบ ให้เกิดการจัดรูปตามพื้นท่ี เพื่อลด ความหนาแน่นตามพื้นที่โครงการให้ พรอ้ มที่สรา้ ง อาคารสูงเพ่ือลดความหนาแน่ของอาคารในพื้นที่ เดิมในการอยู่อาศยั

Conclusion

FIRE ZONE PAGE 315

PAGE 316

CONCLUSION Urban Renewal

วิธีรบั มือการเพิ่มขึ้นของประชากรในเมอื ง มที ้ังการขยายเนื้อเมอื งทางราบเเละการฟ้ ืนฟเู มอื งเดิม การขยายเมอื ง Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises1 จาเป็นต้องใช้การวางแผนท่ีมีประสิทธิภาพ เเละถ้าหากเมืองเดิมยังไม่ดี ก็คงยากท่ีจะทาให้เมืองใหม่ดีขึ้นได้ ท้ัง 2 สน้ิ เปลืองทรพั ยากรเงนิ เเละเวลาในการวางเเผนดาเนินการสรา้ งท่มี ากโข ยาวนาน 3 เมืองเดิมท่ีกล่าวถึงหรอื ย่านเมืองเก่าในปัจจุบนั มกั ไม่เอ้ือต่อการเพิ่มความหนาแน่นในการใช้ประโยชน์ท่ีดิน และ 4 กิจกรรมที่เข้มข้นจากการพัฒนาของเมือง ทาให้หลายพ้ืนท่ีในย่านเมืองเก่ามีสภาพเสื่อมโทรมหรอื ขาดการใช้ ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการที่จาเป็นคือการดาเนินการให้เกิดการฟ้ ืนฟูเมืองในย่านเมืองเก่าอย่างเป็น ระบบ มีความเหมาะสมกับบรบิ ทการพัฒนาท้ังทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและเทคโนโลยีใน อนาคต แต่ยังคงสามารถรกั ษาคุณค่าของพ้ืนท่ีไปพรอ้ มๆกับการตอบรบั การพัฒนาท่ีจะเกิดขึ้นใหม่ได้ซึ่งประเด็น เหล่าน้ีเอง คือหลักการและวัตถปุ ระสงค์ของการฟ้ นื ฟพู ืน้ ที่ยา่ นเมอื งเก่า

ในปที ี่ 3 ของภาคการศึกษาปลาย ปกี ารศึกษา 2563 สตูดิโอของเราได้เรยี นรูก้ ารฟ้ ืนฟเู มอื งท้ัง 4 รูปแบบ ท้ังการ ฟ้ ืนฟูบูรณะเมือง (Urban Rehabilitation) การอนุรกั ษ์ฟ้ ืนฟูเมือง (Urban Conservation) การพัฒนา ฟ้ ืนฟเู มือง (Urban Redevelopment) เเละการออกแบบผังไฟไหม้ยามเกิดภัยพิบัติ เป็นปีท่ีได้เรยี นรูส้ ่ิงแปลกใหม่ ที่มีความหลากหลายเป็นอย่างมาก สอดส่องเรยี นรู้ต้ังเเต่ประวัตศาสตร์ พื้นฐานการดารงชีวิตในปัจจุบัน ไป จนถึงเเนวทางสอู่ นาคต นับเป็นปที ไี่ ด้ความรูท้ ่ีมสี าระประโยชน์อย่างอัดเเน่น เเต่หากจะดีกวา่ น้ีถ้าได้ลงพื้นท่ีอย่าง จรงิ จัง ได้ศึกษาทาความเข้าใจวิถีชีวิตของผู้คนหลายๆช่วงเวลา หลายๆวันสาคัญ ได้เรยี นรูค้ วามเป็นไปของเมอื ง ด้วยตาตัวเอง ท้ังน้ีต้องขอเป็นตัวเเทนในการขอบคุณคณาจารย์ท่ีพยายามคิดค้นหลักสูตร ใช้ความอดทนเเละความพยายาม อยา่ งมากในการสอนเพ่ือให้สอดคล้องเข้ากับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโควิด 2019 ทไี่ มอ่ าจมีใครควบคุมได้เลย เเละด้วยความพยายามของทั้งอาจารยผ์ สู้ อนรวมไปถึงนิสติ ผู้รบั สารในสตูดิโอทุกคน ผเู้ ขียนเชื่อมนั่ ว่าส่ิงที่พวกเรา ได้เรยี นได้ตกผลึกเปน็ ชดุ ความรู้ ท่พี วกเราจะสามารถนาไปต่อยอดในอนาคตสืบไปได้อยา่ งเเน่นอน ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง

คณะผู้จัดทา

Conclusion

PAGE 317

PAGE 318 CONCLUSION

MEMBER Urban Renewal

หลักสตู รสถาปัตยกรรมศาสตรบ์ ัณฑติ (สถาปัตยกรรมผังเมือง) 1 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

Urban Rehabilitation Urban Conservation Urban Redevelopment Fire zone Exercises2

3 4

Conclusion

CONCLUSION PAGE _ PAGE 319