32 57 ม.เวอร เด ยน กาญจนาภ เศก บางใหญ

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

(Self – Assessment Report : SAR)

ปกี ารศึกษา 2564

โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สพุ รรณบุรี

ตำบลไผ่ขวาง อำเภอเมืองสุพรรณบรุ ี จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

บทสรปุ สำหรับผ้บู รหิ าร

ผู้จัดทำ : ผู้อำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สพุ รรณบุรี

บทนำ

โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สุพรรณบุรี ตง้ั อยู่เลขที่ 109..หม.ู่ .6.ตำบลไผข่ วาง.อำเภอเมือง สุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบรุ ี....สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี มีเน้ือท่ี จำนวน 94 ไร่ 3 งาน 58 ตารางวา โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี จัดตั้งขึ้นเนื่องในวโรกาสแห่งศุภมงคล วาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 50 ปี ในวันท่ี 9 มิถุนายน 2539 โดยกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต้องการจัดตั้งโรงเรียนที่มีลักษณะเดียวกับ โรงเรียน ภปร.ราชวิทยาลัย ซึ่งผลิตนักเรียนทีม่ ีระเบียบวินัย มีจรรยามารยาทเรียบร้อย มีความเป็นผู้นำ เป็น สุภาพบุรุษ มีร่างกายแข็งแรง มีความรู้ความสามารถเป็นแบบอย่างทีด่ ี จึงมีโครงการการจัดตั้งโรงเรียนเพอ่ื เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ขึ้นในเขตการศึกษาต่าง ๆทั่วประเทศ สำหรบั จงั หวดั สพุ รรณบุรี ซึง่ ตงั้ อย่ใู นเขตการศึกษา 5 ไดร้ ับการพิจารณาจากกรมสามัญศกึ ษาให้จดั ต้ังโรงเรียน ภปร.ราชวิทยาลัย เฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชฯ ได้รบั พระราชทานนามโดย ใช้ชื่อโรงเรียนครั้งแรกว่า “โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรง ครองราชย์ครบ 50 ปี จังหวัดสุพรรณบุรี ตำบลไผ่ขวาง อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี” ต่อมา ภายหลังได้รับพระมหากรณุ าธิคุณอันสูงยิ่งจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานนามโรงเรียนใหม่ ว่า “โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สุพรรณบุรี” เป็นโรงเรียนทีก่ ระทรวงศึกษาธิการประกาศจัดตั้งขึ้นเมอื่ วันท่ี 27 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2538 พร้อมกนั กับโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั ในจงั หวดั อ่ืนอกี 8 โรงเรยี น คือ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย นครปฐม(พระตำหนกั สวนกุหลาบ) โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สุราษฎร์ ธานี โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กระบี่ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย อุทัยธานี โรงเรียนกาญจนา ภิเษกวิทยาลัย เพชรบรู ณ์. โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย กาฬสินธุ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย ชัยภูมิ. และโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั ฉะเชงิ เทรา

ปัจจุบันโรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สุพรรณบุรี เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี ดร.วิโรจน์ ไชยภักดี เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน มีบุคลากรสายบริหาร ๕ คน ข้าราชการครู 117 คน พนักงานราชการ 2 คน ครูอัตราจ้าง 5 คน ครูต่างชาติ 8 คน ครูดูแลหอพกั 3 คน เจ้าหน้าที่สำนกั งาน 6 คน ลกู จา้ งประจำ 2 คน ลกู จา้ งชว่ั คราว 22 คน พนักงานรักษาความปลอดภัย 4 คน รวมครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท้ังส้ิน 174 คน และมีจำนวนนกั เรยี นทง้ั สิ้น 2,451 คน

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

ผลการประเมินตนเอง

โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุพรรณบรุ ี ไดด้ ำเนินงานด้านการสร้างความเขม้ แขง็ ตามระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านการจัดการศึกษาที่ดี โดยใช้รูปแบบโมเดลที่เป็นแบบเฉพาะของโรงเรียน และยึดแนวทางการดำเนินงานตามกฎกระทรวง เรื่อง

การประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 สำหรับในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สพุ รรณบุรี มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั น้ี

1. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน

มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รยี น 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรยี น ยอดเย่ยี ม 1.2 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รียน

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ยอดเยีย่ ม

2. ขอ้ มูลสนบั สนุนผลการประเมินคุณภาพ นักเรียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียน การสื่อสาร และการ

ดำรงชีวิตได้เป็นอย่างดี รู้จักแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่สมบูรณ์ แข็งแรง มี คุณธรรม จริยธรรม ได้รับการปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามเพื่อความเป็นสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี นักเรียนมี ความสามารถหลากหลายทั้งด้านวิชาการ ดนตรี กีฬา และศิลปะ ได้รับการส่งเสริมความสามารถเฉพาะทาง ต่าง ๆ ตามความถนดั ของแต่ละบคุ คล ได้รับการส่งเสริมการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงาน ได้รับ การสนับสนนุ ด้านการพฒั นาศกั ยภาพเพอ่ื เขา้ ร่วมการแข่งขันตา่ ง ๆ อยู่เสมอ

ครู มีทักษะวิชาชีพในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการปรับปรุงและ พัฒนาความรูเ้ พือ่ ใช้สื่อเทคโนโลยมี าจัดการเรียนการสอนในสภาวะที่โรงเรียนจัดการเรยี นรู้รปู แบบผสมผสาน (Hybrid Learning) มคี วามยืดหยุ่นในการบรหิ ารชั้นเรียนและการวดั และประเมนิ ผลผ้เู รยี น โดยใชร้ ูปแบบการ จดั การเรียนรู้และการประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาตขิ องแต่ละวิชา จดั การเรียนรู้คำนึงถึง ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล มคี วามกระตอื รือร้น สนใจ ดูแลช่วยเหลือนักเรยี นตามหลักและแนวทางวินัยเชิง บวก (Positive Discipline) ใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์ผู้เรียน และมีการ พัฒนาตนเองด้านวิชาการและความรู้ทางวิชาชีพด้วยการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน รวมทั้งจัดทำผลงานทาง วชิ าการเพ่อื ขอเล่อื นวิทยฐานะทางวิชาชพี อยู่เสมอ

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ผูบ้ ริหาร เปน็ ผู้นำในการเปล่ียนแปลงให้โรงเรยี นมกี ารบริหารจัดการท่ีดี โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) ภายใต้ข้อจำกัดและสภาวการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของระบบการศึกษา มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ในการ พัฒนา จัดทำจุดเน้นและแนวนโยบายในการพฒั นาสถานศึกษาที่ชัดเจน เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในการ พัฒนางานด้านวิชาการ พัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี นและสังคม มีแนวคิดในการนำ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการทุกส่วนงานอย่างมีประสิทธิภาพ และครอบคลุมความ ต้องการในการใช้งานของครูและนกั เรียน ให้ความสำคัญกับการปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ของ โรงเรียนใหม้ ีความเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน บริหารจดั การภายใตห้ ลกั ธรรมาภบิ าล โดยอาศัยการ มีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร และ ส่งเสริมการทำงานโดยใช้กระบวนการคุณภาพ PDCA สู่การปฏิบัติงานทุกกิจกรรม ให้คำแนะนำและให้ขวัญ กำลงั ใจแก่นกั เรยี นและบุคลากรในโรงเรียนอยู่เสมอ

โรงเรียน เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยี เพียงพอ มีห้องปฏิบัติการด้านดนตรี คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ หุ่นยนต์ ที่มีความพร้อมต่อการส่งเสริม ศกั ยภาพผู้เรยี น มบี รรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมตอ่ การเรยี นรู้ทงั้ ในและนอกห้องเรียน สถานท่ีทกุ แห่ง ภายในโรงเรยี นสามารถใชเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ได้ มรี ะบบการบรหิ ารจัดการท่มี ีคณุ ภาพ มเี ครอื ข่ายทางการศึกษา ได้รับความร่วมมือ ช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและปลอดภัย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองเครือข่าย ผู้ปกครองนักเรียน มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนให้เป็น ชุมชนแห่งการเรียนรู้ สามารถพัฒนาศกั ยภาพนกั เรยี นสมู่ าตรฐานสากลได้

ผู้ปกครอง มีความพร้อมในการส่งเสริมด้านการเรียนและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของ นักเรียน ให้ความสนใจติดตามพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน

3. จดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา และแผนการพฒั นาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพใหส้ งู ขึ้น จุดเดน่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเ้ รียน

1. ผ้เู รียนมที กั ษะในการทำงาน มกี ารวางแผนอย่างเป็นระบบ รกั การทำงาน สามารถทำงานร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้ ทำงานใหบ้ รรลุผลสำเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์และป้าหมายทกี่ ำหนดได้เปน็ อย่างดี และมเี จตคติท่ดี ตี ่อ อาชีพสุจริต โดยมีผลงานเป็นท่ปี ระจักษ์

2. โรงเรยี นมกี ิจกรรมหรอื โครงการท่ีสนับสนนุ ใหม้ ีการพัฒนาคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์และค่านิยม ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนดจำนวนหลายกิจกรรมและหลายโครงการ

3. มโี ครงการหรอื กิจกรรม ทีส่ ง่ เสริมให้ผู้เรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั จิ ริง มหี ลกั สตู รท่ีเสริมทักษะดา้ นอาชีพ ตามความสนใจ โดยจัดเป็นรายวชิ าเพิ่มเติมและกิจกรรมชมุ นมุ วิชาการ

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

4. มีการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในรายวชิ าตา่ งๆ ทีเ่ ปน็ การเสรมิ ทักษะให้ผู้เรียน สามารถสร้าง ผลงาน นำเสนอ และเผยแพรผ่ ลงานดว้ ยความมนั่ ใจในตนเอง และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการทำ กจิ กรรมอื่น ๆ ไดอ้ ย่างดี จนเกิดความภาคภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย เช่น ความสามารถทางด้านศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ เป็นต้น

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. มีแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2565 ภายใต้การมีสวนร่วม

ของ ผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย และมีแผนพัฒนารว่ มกบั กล่มุ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั เพ่ือสง่ เสรมิ ความเป็น เลศิ ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

2. มกี ารกำกับติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ การตามแผน นำผลหรอื ข้อมลู ท่ีได้จากการกำกับติดตาม มาปรับปรงุ และพัฒนางานอย่างต่อเนอื่ ง

3. การมีสว่ นรว่ มในการเสนอแนวทางแก้ไขปญั หาของผู้ปกครอง นกั เรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน ผู้ปกครองเครือข่าย

4. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพการศกึ ษาภายในโรงเรียนทีม่ คี ณุ ภาพภายใต้การมสี ว่ นรว่ มของทุก ภาคสว่ น

5. มหี ลกั สูตรสถานศกึ ษาทม่ี คี วามหลากหลาย ยกระดับและส่งเสรมิ ความสามารถผู้เรยี นในการ แขง่ ขนั ส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาและเทคโนโลยี ในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น และส่งเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั มุ่งสู่การเปน็ โรงเรยี นนวตั กรในอนาคต

6. ครแู ละบุคลากรแสวงหาความรูเ้ พ่อื พฒั นาใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพตามความสนใจหรือ ตามท่โี รงเรยี นจดั และเข้ารว่ มพฒั นาบุคลากรร่วมกบั กลุ่มโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั

7. โรงเรียนมีสภาพพน้ื ที่ภายในโรงเรียนมีความสะอาด สวยงาม เหมาะแก่การเรยี นรู้ และได้รับจดั สรร งบประมาณเพื่อกอ่ สรา้ งและปรับปรงุ อาคารสถานทอี่ ยู่เสมอ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 1. ครผู สู้ อนเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความคิดเหน็ ให้ความสำคัญกบั นักเรียนทกุ คน และจัด

บรรยากาศหอ้ งเรียนให้น่าเรียนอยู่เสมอ เช่น ครเู ปน็ กันเองกับนักเรยี น พูดคยุ เพอ่ื ละลายพฤตกิ รรมกอ่ นเริ่ม บทเรียน

2. การประเมินผลผู้เรียนเป็นไปตามสภาพจริง ใช้วิธีการที่หลากหลาย ยืดหยุ่น ใช้เทคโนโลยีและ ชอ่ งทางออนไลน์ทเ่ี ขา้ ถงึ งา่ ยตา่ งๆ มาใช้ในการวดั และประเมินผลผเู้ รยี น

3. โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุนให้ครูเยี่ยมบ้านนักเรียน ทางระบบออนไลน์ ทำให้สามารถวิเคราะห์ ปญั หาและความตอ้ งการของเรยี นเป็นรายบุคคลได้ รวมถึงสรา้ งเครือข่ายกับผ้ปู กครองในการติดตามแก้ปัญหา พฤติกรรม รวมถึงการส่งเสริมความสามารถผเู้ รียนได้อย่างถูกต้อง

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

4. ครสู ามารถปรบั ตวั ในการใช้สื่อและเทคโนโลยี ให้เข้ากบั สถานการณโ์ รคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID-19) ไดอ้ ยา่ งดีเยยี่ ม

จดุ ท่ีควรพฒั นา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น

1. การพัฒนาความสามารถในการอา่ น เขยี น การส่อื สารและการคดิ คำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละ ระดบั ชัน้ ควรมีการพัฒนาอยา่ งต่อเน่ืองและครอบคลมุ ทกุ ระดับช้ัน เพราะการพฒั นาทกั ษะยังระบเุ จาะจงกลุ่ม ควรมีการประเมนิ ตามศกั ยภาพและประชุมเพ่อื ร่วมกนั พฒั นาทั้งระบบ

2. วางแผนโครงการท่สี ง่ เสริมสนับสนนุ ดา้ นความรู้ และทักษะของผู้เรยี น เชน่ การจดั สภาพแวดล้อม ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมสรา้ งรายไดส้ ง่ เสริมอาชพี ระหว่างเรยี น

3. จดั กิจกรรมส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศดา้ นตา่ ง ๆ ในทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรูใ้ ห้เพมิ่ ขน้ึ ตามสถานการณ์ ท่เี หมาะสม

4. ปรับปรงุ ระบบการเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารเกย่ี วกับการจดั กจิ กรรมการพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึง ประสงคแ์ ละค่านิยมที่ดีของแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ให้บคุ ลากร นกั เรียน ผ้ปู กครอง และชมุ ชนได้ทราบ

5. การทำกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การพฒั นาคุณลกั ษณะและคา่ นิยมที่ดตี ามที่สถานศึกษากำหนดยงั ขาดความต่อเนือ่ ง

6. การกำกบั ตดิ ตามผลการพฒั นานกั เรยี นยงั ดำเนนิ การไมต่ ่อเน่อื ง 7. กจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีเจคติที่ดีต่อความไทย รักษค์ วามเป็นไทยและสืบสานวัฒนธรรมไทยมี จำนวนนอ้ ย

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. พัฒนาระบบการนำแผนสูก่ ารปฏบิ ัติในรปู แบบโปรแกรมอิเล็กทรอนกิ สห์ รอื รูปแบบออนไลน์ 2. นำระบบการสอื่ สารแบบออนไลน์เข้ามาใช้ในระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษาในทกุ ขัน้ ตอน

ภายใตก้ ารมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วนให้เพิม่ มากขึ้น 3. เพ่มิ ห้องปฏบิ ตั ิการต่างๆ เพ่ือรองรับกับจำนวนนักเรยี นในอนาคต 4. พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ให้ทนั สมยั จัดทำทะเบียนแหลง่ เรยี นรรู้ ะบบออนไลน์เพ่อื สง่ เสรมิ การใช้แหล่ง

เรียนรู้ 5. ปรับปรงุ อาคาร สถานที่ รวมทัง้ ระบบสาธารณูปโภค เชน่ ไฟฟา้ ประปา เพ่อื รองรบั กบั จำนวน

นกั เรียนในอนาคต 6. จำนวนบคุ ลากรที่เชยี่ วชาญดา้ นเทคโนโลยแี ละสารสนเทศมไี ม่เพียงพอ 7. ปรับปรงุ ระบบการเก็บขอ้ มลู สารสนเทศควรมีรูปแบบทช่ี ดั เจน ทันสมัยและสามารถเข้าถึงไดง้ า่ ย

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ๑. ครผู ู้สอนควรเสริมแรงนกั เรยี นเมือ่ นกั เรยี นแสดงพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ เชน่ ให้คำชมหรอื ใหร้ างวัล

มากยงิ่ ข้ึน และโรงเรียนควรจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ใหก้ บั นักเรยี นอย่างท่วั ถึง

๒. ศึกษาสื่อและเทคโนโลยีให้หลากหลายมากขึ้นเพื่อใช้กับบริบทในการจัดการเรียนการสอน ตาม สถานการณต์ า่ ง ๆ ท่ีหลากหลายมากข้ึน

๓. โรงเรยี นควรทำกิจกรรมครูผู้สอนพบปะผู้ปกครอง เพอื่ แก้ปัญหาด้านการเรียนของนกั เรียนกลุ่มท่ีมี ปัญหา อาจเปน็ กิจกรรมแบบออนไลน์ เพอ่ื ให้ครูผ้สู อนไดช้ ี้แจง ทำความเขา้ ใจ กับผปู้ กครองโดยตรง

แผนการพัฒนาเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพให้สูงขน้ึ 1. วางแผนพฒั นาคุณลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ตี ามที่สถานศึกษากำหนด 3 ระยะ คอื

แผนพฒั นาระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว และกำหนดจดุ เน้นการพฒั นาคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และค่านยิ มในแต่ละปีเพอื่ ให้บคุ ลากรในโรงเรยี นดำเนนิ การพัฒนาไปในแนวทางเดยี วกนั

2. วางระบบการกำกบั ติดตามการพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง นำผลของการพฒั นาแต่ละปีมาใชว้ างแผน ปรับปรุง พัฒนา โดยขอความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน ได้แก่ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนเพื่อให้มี ส่วนร่วมในการพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง

3. ส่งเสริมการประกวดแข่งขันคัดเลือกนักเรียนที่มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และมีค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด ที่โดดเด่นในแตล่ ะด้านเพื่อเป็นการยกย่องเชดิ ชูเกียรติ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจใน การทำความดี

4. จัดกิจกรรมเชิญบุคคลต้นแบบด้านการทำความดีมาร่วมจัดเสวนาแนวทางการสร้างความดี หรือจดั ตั้งเครือข่ายในการสร้างความดีตามคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละมีคา่ นยิ มตามทีส่ ถานศึกษากำหนด

5. จัดประกวดสอื่ สรา้ งสรรคใ์ นการเชญิ ชวนใหท้ ำความดีเพ่ือเป็นการรว่ มพฒั นาคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และคา่ นยิ มตามที่สถานศึกษากำหนด

6. จัดกิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยอย่างต่อเนื่อง โดยให้นักเรียน ทุกคนมีสว่ นรว่ มในการปฏบิ ัติกิจกรรมทม่ี คี วามหลากหลาย ท้งั ในและนอกสถานศกึ ษา

7. กำหนดจุดเนน้ และเปา้ หมายของสถานศกึ ษา เพื่อใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาสถานศกึ ษาให้มี คณุ ภาพตามมาตรฐาน

8. ส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรยี นรู้

9. สนับสนุนและพัฒนาการจัดทำห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์ และ Maker space เพื่อใช้ในการ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของผ้เู รียนในการสรา้ งช้ินงาน นวัตกรรมต่างๆ รวมทั้งท่กี ารวจิ ยั ทางดา้ นเทคโนโลยี ใหผ้ ู้เรยี น มที ักษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21

10. ส่งเสริมการจัดการเรียนตามแนวทาง STEM Education การสร้างรายได้ระหว่างเรียนเพ่ือ ฝึกทักษะชีวิตและอาชีพ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ตามความสามารถและความถนัดของ ตนเอง

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

11. วางแผนเปิดแผนการเรียน วทิ ย์-คณติ -วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ ท่เี น้นให้นักเรียนทม่ี ีความสนใจ หรอื ความถนัดด้านคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟแวร์ วทิ ยาศาสตร์ (โดยเฉพาะฟสิ ิกส์) และคณติ ศาสตร์ เพื่อ พัฒนาความสามารถและทักษะดา้ นวิชาชีพทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีดิจิทัลในด้านต่างๆ เช่น ปัญญาประดษิ ฐ์ นวัตกรรมดิจิทัล หุ่นยนต์ การพัฒนาโปรแกรม การพัฒนาสือ่ มัลติมเิ ดยี เป็นพื้นฐานที่สำคัญ ในการศึกษาต่อในระดบั อดุ มศึกษา

12. วางแผนการอบรมการพัฒนา website และพัฒนาทักษะการใช้ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการ เรยี นการสอนและเพือ่ จัดทำระบบสารสนเทศให้กบั บุคลากร

13. วางแผนพฒั นาการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่เี อื้อตอ่ การจัดการเรยี นรู้อย่างมี คณุ ภาพเพ่มิ ข้นึ พรอ้ มรองรบั การจัดการเรยี นรู้ในยุคดิจิทัล เชน่ การปรับปรงุ หม้อแปลงให้ไฟฟ้าให้มีขนาดเพิ่ม มากขน้ึ หรอื เพิ่มจำนวน เพ่อื ให้เพียงพอต่อความต้องการ

14. จัดกิจกรรมส่งเสริมการลดปริมาณขยะเพื่อสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับ นกั เรียนและบุคลากรในโรงเรยี น

15. โรงเรยี นจดั กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ให้นักเรยี น โดยคำนงึ ถงึ ความเหมาะสมในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของ covid-19 ให้มากย่งิ ข้ึน เชน่ จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้นอกหลักสตู รรปู แบบออนไลน์

16. ใหก้ ารส่งเสรมิ สนบั สนนุ การใช้เทคโนโลยี การทำสอ่ื ที่มีคณุ ภาพและมีประสทิ ธิภาพ เพ่ือการ จัดการเรียนการสอนที่รองรับสถานการณ์ต่าง ๆ ในอนาคต โดยมีโครงการอบรมพัฒนาบุคลากรด้านการใช้ โปรแกรมเพ่อื การจัดการเรยี นการสอน การสร้างสือ่ นวตั กรรมและการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียน

17. จัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตให้ทันสมัยมากขึ้นเพื่อประสิทธิภาพในการใช้สื่อและ เทคโนโลยีและการเรียนร้ขู องนกั เรียน

18. ส่งเสริมการทำวิจัยที่เกิดจากการนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนมาสร้างนวัตกรรมเพื่อ พฒั นาผูเ้ รยี นใหเ้ พิม่ มากข้ึน

4. การปฏบิ ัติที่เป็นเลิศของสถานศึกษา (ความโดดเดน่ ) โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สพุ รรณบรุ ี เป็นสถานศึกษาท่มี ีความโดดเด่นดา้ นการจัดกจิ กรรม

เพ่อื พัฒนาคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผเู้ รยี นตามเปา้ หมายของสถานศึกษาพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีระเบียบวนิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ มจี ิตอาสา กตัญญู โดยดำเนนิ การพฒั นาคุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นผา่ นกจิ กรรมและโครงการตา่ ง ๆ

ท่ีส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม จติ สำนกึ ที่ดี ตามกรอบแนวคดิ ของโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. โดยใช้รปู แบบ KPSP PERFECT school model มาเป็นกลไกสำคัญในการขบั เคลอื่ นการนำคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรียน

ไปสกู่ ารปฏิบัติในห้องเรียนกบั นักเรียนทกุ คน

“นวตั กรรมนำวิถสี รา้ งคนดศี รกี าญจนา”เปน็ โครงการทป่ี ระกอบด้วยการจดั กจิ กรรมท่มี ีความ หลากหลายเพ่ือพัฒนาคณุ ลักษณะท่ดี ีงามของผเู้ รียน ทงั้ ดา้ นการทำความดี การปฏิบตั ิตนตามกฎระเบยี บของ

โรงเรยี น การมวี นิ ยั มีความรบั ผดิ ชอบ การอยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มคี วามรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มีความเป็นผนู้ ำ มี ความเป็นสุภาพบุรุษ-สภุ าพสตรี มีการชว่ ยเหลือผอู้ ่นื ซึ่งกิจกรรมท่ดี ำเนนิ การจัดตามรปู แบบนวัตกรรมนำวถิ ี

สรา้ งคนดีศรีกาญจนา ในปกี ารศึกษา 2564 เช่น กจิ กรรมตามกรอบแนวคดิ ของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

กิจกรรมตามแนวทางโรงเรยี นวิถีพทุ ธ กจิ กรรมจติ อาสา กิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรม กิจกรรมเบญจวิถี กิจกรรมเลือกต้ังกรรมการสภานกั เรียน กจิ กรรมหอ้ งเรยี นสะอาด เปน็ ตน้

วัตถุประสงคข์ องวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ 1. เพ่อื ให้ผบู้ ริหาร ครู และนกั เรียน ตระหนกั รู้ เขา้ ใจ และมีกระบวนการคดิ อย่างมเี หตุผล ซึมซับ คุณค่าแหง่ คุณธรรมความดีอย่างเปน็ ธรรมชาติสร้างความรสู้ ึกผดิ ชอบช่วั ดี และภูมิใจในการทำความดี 2. เพื่อสง่ เสริมนักเรยี นให้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มอันพงึ ประสงค์ ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของ ศาสนา เปน็ สุภาพบุรษุ สุภาพสตรี มคี วามเปน็ ผ้นู ำ และมจี ิตสาธารณะ 3. เพื่อสง่ เสรมิ ประพฤติตนอยู่ในระเบยี บวินยั ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของโรงเรียน 4. เพอ่ื ฝกึ อบรมนักเรยี นในเป็นคนดีสามารถดำรงตนในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข 5. เพื่อพฒั นาพฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ของนักเรยี นให้เพิม่ ข้ึน และแกไ้ ขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงคใ์ หล้ ด นอ้ ยลง 6. เพอื่ ใหค้ รแู ละนกั เรียนนำคณุ ธรรมอัตลักษณข์ องโรงเรียนไปส่กู ารปฏบิ ตั ิในหอ้ งเรยี น จากผลการดำเนนิ งาน พบวา่

การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ด้วยนวัตกรรมนำวถิ ีสร้างคนดีศรกี าญจนา มาจัดทำเป็นนโยบาย ของสถานศึกษาและดำเนินการอย่างเป็นระบบด้วยความร่วมมือกันของบุคลากรในโรงเรียน นักเรียน และ ผปู้ กครอง เกดิ ผลลพั ธ์ดา้ นคุณลกั ษณะทด่ี ี ดังน้ี

ผลทีเ่ กดิ ขนึ้ กบั นักเรียน 1. นกั เรียนมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบมากขนึ้ ทำใหโ้ รงเรยี นมีความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย 2. นกั เรยี นมีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ีของตนเองท้ังทโ่ี รงเรยี นและท่บี า้ น 3. นกั เรียนมีความประหยดั มธั ยสั ถ์ มีความพอเพยี งไม่ฟุ่มเฟือย 4. นักเรียนท้ิงขยะลงถงั มากข้นึ และชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดดขี นึ้ 5. นกั เรยี นมีความกตัญญูรู้คณุ ตอ่ ผู้มพี ระคุณ ให้ความเคารพผใู้ หญแ่ ละผู้สงู อายมุ ากขน้ึ 6. นักเรยี นมีความซอื่ สัตยใ์ นการดำเนนิ ชีวิต ไมค่ ดิ เอาของผูอ้ น่ื มาเป็นของตน 7. นกั เรยี นเป็นผู้มีบคุ ลกิ ภาพทดี่ ี 8. นักเรียนมคี วามจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ผลทเ่ี กิดข้นึ กบั ครู 1. ครตู ระหนักและเห็นความสำคญั ในการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจริยธรรมมากข้นึ 2. ครูเปน็ ผู้นำแห่งการเปลีย่ นแปลงของนักเรยี น 3. ครมู คี วามภาคภูมิใจเมอื่ เห็นนกั เรียนมคี ุณธรรมจรยิ ธรรมในตนเองมากข้นึ 4. ครมู พี ฒั นาการเรอื่ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการดำรงชวี ิตมากข้ึน 5. ครูมีความเขา้ ใจเป็นแบบอย่างท่ีดีงามใหก้ ับนกั เรียน 6. ครมู ีความจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 7. ครเู ปน็ ผู้มบี คุ ลิกภาพท่ีดี

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

ผลที่เกิดขนึ้ กบั ผู้บรหิ าร 1. ผู้บรหิ ารตระหนักและเหน็ ความสำคัญในการปลูกฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม ค่านิยมทด่ี งี ามมากขน้ึ 2. ผบู้ รหิ ารนำหลกั คุณธรรมจริยธรรมมาใช้ในการดำรงชวี ิต 3. ผบู้ ริหารมคี วามภาคภูมิใจเม่ือเหน็ นักเรยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรมในตนเองมากข้นึ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กับโรงเรยี น 1. โรงเรียนมีความเป็นระบบ ระเบียบ เรยี บรอ้ ยมากย่ิงข้นึ 2. บรรยากาศในโรงเรยี นนา่ เรียนมากขนึ้ 3. เกิดเปน็ สงั คมแหง่ ความสงบสุขภายในโรงเรยี น 4. โรงเรยี นมคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งมากยง่ิ ขึ้น จะทำการสิง่ ใดก็สำเร็จไดด้ ว้ ยความร่วมมอื 5. โรงเรยี นคอื สถานท่ีทรงคณุ ค่าที่มากกว่าใหค้ วามรู้ สอนให้คนมคี ณุ ธรรมจริยธรรม สง่ ผลให้

โรงเรียนเปน็ ทนี่ ่าเชอื่ ถอื ไวว้ างใจ แกบ่ คุ คลท่วั ไป และเกดิ ความมัน่ ใจในการสง่ บตุ รหลานมาเรยี น ผลท่ีเกิดข้ึนกบั ครอบครวั ของนกั เรยี น 1. เกดิ เปน็ ครอบครวั แหง่ ความสขุ 2. คนในครอบครัวมีความรักความเข้าใจกนั มากยง่ิ ขึ้น 3. ผปู้ กครองคลายความหนกั ใจ และภาคภมู ใิ จในบตุ รหลาน ผลท่ีเกิดข้ึนกบั ชุมชน 1. เป็นชมุ ชนแหง่ คนดี นิยมยกย่องการทำความดี มศี ีลมีธรรม 2. ชุมชนมีความสงบสขุ อยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติ 3. ชุมชนมีความเจริญรงุ่ เรอื ง เพราะคนในชมุ ชนต่างมคี ุณธรรมจริยธรรม 4. เปน็ ชมุ ชนที่มีระบบ ระเบียบ เรียบร้อย 5. เป็นชมุ ชนทน่ี า่ อยู่ เพราะผู้คนตา่ งมีความดตี ่อกัน 6. ชุมชนพง่ึ พาตนเองได้เปน็ ชุมชนท่ีเขม็ แขง็ ตอ่ ไป

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สพุ รรณบรุ ี ประจำปีการศกึ ษา 2564

ตามที่โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี ได้ดำเนินการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ประจำปีการศึกษา 2564 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อ นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก บัดนี้การ ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา แสดงในตาราง สรปุ ผลไดด้ ังนี้

ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สรุปผลการประเมนิ ภาพรวม

กำลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ✓ ยอดเยีย่ ม

มาตรฐาน/ตัวบง่ ช้ี ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี ฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้ สถานศกึ ษาจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหแ้ กห่ น่วยงานต้นสงั กดั หรือหนว่ ยงานทก่ี ำกบั ดูแลสถานศึกษา เป็นประจำทุกปี เพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา ซง่ึ เป็นผลสำเร็จจากการบรหิ ารจัดการศกึ ษาท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้ัน พน้ื ฐาน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คณุ ภาพของผเู้ รยี น กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ และกระบวนการจัดการ เรยี นการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศกึ ษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงาน ตน้ สังกัด หนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง ตลอดจนเผยแพร่ตอ่ สาธารณชนไดร้ บั ทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับ การประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) ต่อไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทีม่ ีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพฒั นา คณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี ในปกี ารศึกษา 2565 ตอ่ ไป

(นายวิโรจน์ ไชยภักดี) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สพุ รรณบุรี

วนั ท่ี 18 เดือน เมษายน พ.ศ. 2565

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

สารบญั

เรอ่ื ง หน้า บทสรปุ สำหรับผบู้ รหิ าร.................................................................................................................... ก สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา………………………………………………………………… ญ ฎ คำนำ................................................................................................................................................. ฏ

สารบัญ.............................................................................................................................................. 1 สว่ นที่ 1 ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา......................................................................................... 1  ข้อมลู ท่วั ไป.................................................................................................................................... 1  ขอ้ มูลผู้บริหาร............................................................................................................................... 2  ขอ้ มลู ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา............................................................................................. 17  ข้อมลู นักเรยี น................................................................................................................................ 19  สรุปขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา..................................................................... 25  ข้อมลู นกั เรียนดา้ นอน่ื ๆ................................................................................................................ 25  ขอ้ มูลอาคารสถานท.่ี ...................................................................................................................... 26  สภาพชุมชนโดยรวม...................................................................................................................... 27  โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา...................................................................................................... 65  แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น..................................................................................................... 67  ผลงานดเี ดน่ ในรอบปีที่ผา่ นมา....................................................................................................... 84  ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาปีที่ผ่านมา (ปกี ารศกึ ษา 2563)................................ 89  ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสี่…......................................................................................  การนำผลการประเมนิ คุณภาพของสถานศึกษามาใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ 92 92 การศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง………………………………………………………………………………………………….. 100 การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีของสถานศึกษา........................ 100 สว่ นท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา............................................................................ 117 126 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รยี น.................................................................................................... 135 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ........................................................................... 140 189 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ......................................... สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการช่วยเหลอื .............................................. ส่วนท่ี 4 การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศของสถานศึกษา(ความโดดเด่น).......................................................

ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………………

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา

1. ข้อมูลท่ัวไป ช่ือสถานศึกษา: โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สพุ รรณบุรี ที่อยู่: เลขท่ี 109 หมู่ 6 ตำบลไผข่ วาง อำเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี จังหวดั สุพรรณบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 72000 สงั กัด: สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสพุ รรณบุรี โทรศัพท์: 035-494715 โทรสาร: 035-494718 E-mail: kpspstaff @hotmail.com เปิดสอน: ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ถึงระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6

2. ขอ้ มูลผบู้ รหิ าร 1. ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา นายวิโรจน์ ไชยภกั ดี วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ (ปร.ด.)

สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา โทรศัพท์ 081-8079948 E-mail : [email protected] ดำรงตำแหน่งทีโ่ รงเรียนน้ีตง้ั แต่ วันท่ี 1 ตุลาคม 2564 จนถึงปัจจุบัน เปน็ เวลา ๕ เดือน

2. รองผู้อำนวยการสถานศึกษา (ตามมาตรฐานตำแหนง่ ) จำนวน 4 คน 2.1 นางสาวบญุ ชู รกั ญาติ วุฒิการศกึ ษาสูงสุด .ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) . สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา โทรศพั ท์..081-7636113 E-mail : [email protected] รบั ผดิ ชอบ ฝ่ายวชิ าการ 2.2 นางศภุ ์พฒั นยิ า ปรีดิวรารตั น์. วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสุด. วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) . สาขา วทิ ยาศาสตร์ส่งิ แวดล้อม โทรศพั ท์..089-4003088 E-mail : [email protected] รบั ผิดชอบ ฝ่ายอำนวยการ 2.3 นางดวงเดือน รุ่งเรอื ง วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ .ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ (ศษ.ม.) . สาขา การบริหารการศกึ ษา และครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาหลกั สูตรและการสอน โทรศพั ท์..085-7034484 E-mail : 27duen27 @gmail.com รบั ผดิ ชอบ ฝา่ ยกจิ การนักเรยี น 2.4 นายพัฒนา โชติกันตะ วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ .ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต (ศษ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา โทรศพั ท์ ๐๘๐-๖๕๗๖๗๑๗ E-mail : [email protected] รบั ผดิ ชอบ ฝ่ายบรหิ ารทั่วไป

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

3. ข้อมูลครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 3.1 ขา้ ราชการครู พนักงานราชการ อตั ราจ้าง

ชอ่ื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วิทยฐานะ 1 นายวโิ รจน์ ไชยภักดี 2 นางสาวบุญชู รกั ญาติ 57 35 ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา/ ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศ 3 นางศุภพ์ ฒั นยิ า ปรดี ิวรารตั น์ รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา 4 นางดวงเดือน รุ่งเรอื ง 5 นายพัฒนา โชตกิ นั ตะ 55 28 รองผ้อู ำนวยการชำนาญการ 6 นางอภิรดา มขุ โต 7 นางญาณศิ า มที องคำ พิเศษ 8 นายวิชา อุ่นวรรณธรรม 9 นางสนุ ทราภรณ์ อนุ่ วรรณธรรม รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา

56 33 รองผอู้ ำนวยการชำนาญการ

พเิ ศษ

รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา

55 32 รองผ้อู ำนวยการชำนาญการ

พเิ ศษ

48 9 รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา รองผูอ้ ำนวยการชำนาญการ

39 13 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ

55 27 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 59 37 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ

60 33 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

2

วฒุ ิ สาขาวชิ า สอนกลมุ่ สาระ จำนวนชัว่ โมง การเรียนรู้ ภาระงานสอน ทเี่ ข้ารับการ ศษ ปร.ด. การบริหารการศกึ ษา (คาบ/สปั ดาห)์ พฒั นา า/ - ร ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา (ปปี จั จบุ ัน)

- 66

- - 40

า/ - - 36 ร วท.ม. วทิ ยาศาสตรส์ ิง่ แวดลอ้ ม

า/ - - 138 ร ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา

า/ ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา - - 148 ร คณิตศาสตร์ 23 93 คณติ ศาสตร์ 15 42 กศ.ม. การวจิ ยั และสถติ ิ คณติ ศาสตร์ 15 3 ทางการศกึ ษา คณติ ศาสตร์ 17 36

กศ.ม. คณติ ศาสตร์

ศษ.บ คณิตศาสตร์

ศษ.บ. คณิตศาสตร์

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกุล อายุ อายุ ตำแหน่ง/ ราชการ วิทยฐานะ

10 นายธที ัต ด้วยคมุ้ เกลา้ 58 35 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 11 นางบศุ รา อม่ิ ทรพั ย์ 44 20 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ

12 นางสาวสราญจิตร วงษ์ทองดี 38 13 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ

13 นางสาวกญั ญาพร อุ่นศรี 57 31 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 14 นางสาวปารวัณ รตั นทองคง 32 8 ครู/ครชู ำนาญการ 15 นางสาววาสนา ล้อมวงษ์ 42 18 16 นายธนพัฒน์ ลม้ิ ไพบูลย์ 30 5 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 17 นางสาวนชิ าภา เดชบญุ 29 5 ครู 18 นางรจุ จริ ชั ภักมี 36 13 ครู 19 นางสาวสร้อยสณุ ี มว่ งพันธ์ 32 4 20 นางสาวธลณั รชั ต์ ฐิติวลัญชญก์ ุล 43 4 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ 21 นางสาวธมี าภรณ์ โสภาธนัตถ์สกุล 25 1 ครู 22 นางสาวอารรี ัตน์ แสงสขุ ดี 30 7 ครู 23 นางสาววงษศ์ ิริ ชินสุวรรณ 30 7 ครูผชู้ ่วย ครู ครู

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

3

วฒุ ิ สาขาวชิ า สอนกลุ่มสาระ จำนวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ ภาระงานสอน ทเ่ี ข้ารับการ กศ.บ. การวดั ผลการศึกษา (คาบ/สัปดาห์) พฒั นา คณิตศาสตร์ กศ.ม. การมัธยมศึกษา คณติ ศาสตร์ (ปปี จั จุบนั )

กศ.ม. การวจิ ัยและสถิติ คณติ ศาสตร์ 20 30 ทางการศึกษา 20 67 คณติ ศาสตร์ ค.บ. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 17 51 คณิตศาสตร์ ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา คณิตศาสตร์ 20 39 คณิตศาสตร์ 20 78 กศ.ม. การสอนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ 20 66 คณติ ศาสตร์ 17 55 ค.ม. การบรหิ ารการศึกษา คณติ ศาสตร์ 17 29 คณิตศาสตร์ 20 72 ศษ.บ. การสอนคณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ 17 25 คณิตศาสตร์ 19 60 ค.ม. หลักสูตรและการสอน 18 54 20 62 ค.บ. คณิตศาสตร์ 20 50 ศษ.ม. หลกั สตู รและการสอน

ค.บ. คณิตศาสตร์

ศษ.บ. คณิตศาสตร์

ค.บ. คณติ ศาสตร์

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วทิ ยฐานะ 24 นายเอกพงศ์ เบญจกลุ 25 นางสาวภัสรก์ าญจน์ การสาลี 32 5 ครู 26 นางสาวลลติ า อ่อนศรี 32 7 ครู/ครชู ำนาญการ 27 นายรังสนั ติ์ บญุ เทยี น 29 3 เดือน 28 นางสำเริง พมิ พ์พนั ธ์ุ 59 33 ครผู ชู้ ว่ ย 29 นางสาวอรภัสสร์ โพธิ์ไพจิตร 55 30 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ 30 นางกัญญาภทั ร คำภิภาค 48 24 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 31 นายธนพัฒน์ มุขโต 39 14 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 32 นางสาวรษิกา นำ้ ใจดี 41 15 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ 33 นางสาวนนั ท์นรญิ พิสฐิ รชั ต์ 36 13 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 34 นางสาวศศิวมิ ล นาคสุวรรณ 36 10 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ 35 นายคณิตสรณ์ ใยบวั เอ่ยี ม 37 10 55 27 ครู/ครชู ำนาญการ คร/ู ชำนาญการ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

4

วุฒิ สาขาวิชา สอนกลมุ่ สาระ จำนวนช่วั โมง การเรียนรู้ ภาระงานสอน ทเ่ี ข้ารับการ ศศ.ม. คณิตศาสตร์ศกึ ษา (คาบ/สัปดาห์) พัฒนา ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา คณติ ศาสตร์ ค.บ. คณิตศาสตร์ (ปปี ัจจบุ นั ) กศ.บ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 18 71 ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 19 18 17 16 กศ.ม. วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา วิทยาศาสตร์และ (เคมี) เทคโนโลยี 22 5 วิทยาศาสตร์และ ศษ.ม. บรหิ ารการศึกษา เทคโนโลยี 20 30 วทิ ยาศาสตร์และ ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา เทคโนโลยี 21 20 วิทยาศาสตร์และ ศษ.ม. หลกั สตู รและการสอน เทคโนโลยี 16 20 วิทยาศาสตร์และ วท.ม. ฟิสิกสศ์ กึ ษา เทคโนโลยี 22 70 วิทยาศาสตร์และ ศษ.ม. วิทยาศาสตร์ศกึ ษา เทคโนโลยี 20 60 วทิ ยาศาสตร์และ วท.บ. ฟสิ ิกส์ เทคโนโลยี 24 105 วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 19 51 วิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี 20 15

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

ชอ่ื -นามสกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วิทยฐานะ

36 นางสาวขนิษฐา ปานชา 40 9 ครู/ครูชำนาญการ ครู/ครชู ำนาญการ 37 นางสธุ ามาศ ทวศี รี 33 9 ครู/ครชู ำนาญการ

38 นางสาวิตรี ถีระแกว้ 36 9 ครู ครู/ครชู ำนาญการ 39 นายปยิ ะณัฐ บอ่ พมิ าย 29 5 ครู 40 นางอญั ณกิ าร์ ตพู้ จิ ติ ร 35 8 ครู/ครูชำนาญการ ครู/ครูชำนาญการ 41 นางสาวปิยนนั ท์ ป่นิ วิเศษ 30 5 ครู 42 นางสาวก่ิงกาญจน์ เชวงภกั ดีเวทย์ 31 7 ครผู ชู้ ่วย

43 นายวศิ รตุ ศรนี วล 36 12 ครู ครผู ชู้ ่วย 44 นางสาวพมิ พศิ า สวา่ งศรี 32 6

45 นางสาวมนสั นันท์ จนั ทรด์ ิษฐ์ 25 4 เดือน

46 นางกานตน์ รี โพธิส์ กุลหอม 30 6

47 นางสาวลชั ฎาวัลย์ สรุ โิ ย 31 3 เดอื น

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

5

วุฒิ สาขาวิชา สอนกล่มุ สาระ จำนวนชวั่ โมง การเรยี นรู้ ภาระงานสอน ทเ่ี ข้ารับการ (คาบ/สัปดาห)์ พัฒนา วศ.ม. วศิ วกรรมเคมี วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (ปีปัจจบุ ัน)

ศษ.ม. นวตั กรรมหลกั สตู รและ วิทยาศาสตรแ์ ละ 20 54 การจดั การเรยี นรู้ เทคโนโลยี 15 40 วท.ม. เคมีอินทรยี ์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 21 60

วท.ม. ฟสิ ิกส์ศกึ ษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละ 20 20 เทคโนโลยี 20 20 ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา วิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี 17 45

ศษ.บ. เกษตรและส่งิ แวดลอ้ ม วทิ ยาศาสตรแ์ ละ 19 48 ศึกษา เทคโนโลยี 20 140 กศ.บ. วทิ ยาศาสตร์ - ชีววทิ ยา วิทยาศาสตร์และ (5 ปี) เทคโนโลยี 20 21

วท.ม. ฟิสิกสศ์ ึกษา วิทยาศาสตรแ์ ละ 16 51 เทคโนโลยี 17 44 ค.ม. การวดั และประเมนิ ผล วทิ ยาศาสตรแ์ ละ การศกึ ษา เทคโนโลยี 18 29

กศ.บ. ชวี วิทยา วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

วท.บ. เคมี วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

ชอ่ื -นามสกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วิทยฐานะ 48 นายภทั รพล กล่ันควู ัฒน์ 49 นางสาวเพญ็ ประภา ปานอุทัย 24 2 เดอื น ครูผชู้ ว่ ย 50 นางสาวพมิ พมิ ล จรเข้ 46 17 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 51 นายอาทติ ย์ แก้วรงุ่ เรือง 38 10 52 นายบุญชู กระฉอดนอก 38 10 ครู/ครชู ำนาญการ 53 นายภธรเดช วสุวีรกร 30 5 ครู/ครูชำนาญการ 54 นางสาวนฤมล มีมุข 42 10 55 นางสาวนศิ าชล ประทปี ทอง 27 3 ครู 56 นางกนั นกิ า อนุช 36 12 ครู/ครชู ำนาญการ 57 นางสาวชนกกมล เนยี มวรรณ์ 48 25 58 นางวรรณดี ทิวาวงษ์ 36 11 ครู 59 นางกานต์มณี คงเกือ้ 55 30 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 60 นางพชิ ญา จรยิ บุณสขุ 56 34 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 59 33 ครู/ครชู ำนาญการ คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

6

วุฒิ สาขาวชิ า สอนกล่มุ สาระ จำนวนช่วั โมง การเรียนรู้ ภาระงานสอน ทีเ่ ขา้ รับการ ศษ.บ. ฟิสิกส์ (คาบ/สัปดาห)์ พฒั นา ค.ม. หลักสูตรและการสอน วิทยาศาสตร์และ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา เทคโนโลยี (ปปี ัจจุบนั ) ศษ.ม. การบริหารการศึกษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละ ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา เทคโนโลยี -3 ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา วิทยาศาสตรแ์ ละ คบ. คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา เทคโนโลยี 21 168 ศศ.ม. ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ ศษ.ม. เทคโนโลยกี ารศึกษา เทคโนโลยี 22 20 ศษ.ม. การบริหารการศึกษา วิทยาศาสตร์และ ค.บ. ภาษาองั กฤษ เทคโนโลยี 21 20 ศษ.ม. การสอนภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์และ กศ.บ. ภาษาองั กฤษ เทคโนโลยี 24 62 วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี 22 20

ภาษาตา่ งประเทศ 21 51

ภาษาตา่ งประเทศ 20 80 23 35 ภาษาตา่ งประเทศ 15 75 20 18 ภาษาต่างประเทศ 21 32 20 92 ภาษาตา่ งประเทศ

ภาษาต่างประเทศ

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วิทยฐานะ 61 นางกาญจนา เทพคณุ 62 นางภทั รวดี บญุ เช้อื 59 34 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ 63 นางอริญรดา จบั ทอง 54 32 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 64 นางสาวศศิประภา กาฬภกั ดี 58 38 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 65 นายบณั ฑิต ขอสกุล 36 7 66 นางสาวครองขวญั ฉิมณรงค์ 38 11 ครู 67 นางสาวพรเพญ็ ศรดี อกคำ 31 4 ครู/ครูชำนาญการ 68 นางสาวภาสนิ ี ศรีสนุ ทรพนิ ติ 26 2 69 นางสาวสริ ิกานต์ ทิพยภ์ ักดี 32 1 ครู 70 นายอาทิตย์ เอกลาภ 31 5 ครผู ชู้ ่วย 71 นางบังอร จำปาเงิน 40 12 ครผู ชู้ ว่ ย 72 นางสาวธนั ยสร ศรีธัญญา 56 33 73 นางสาวสำเรยี ง บัวนาค 57 26 ครู 74 นางสาวสุพรรณษา พวงวงษ์ 59 39 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ 42 10 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ

ครู/ครูชำนาญการ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

7

วุฒิ สาขาวชิ า สอนกลมุ่ สาระ จำนวนชั่วโมง การเรียนรู้ ภาระงานสอน ท่ีเขา้ รับการ ค.บ. ภาษาอังกฤษ (คาบ/สัปดาห)์ พฒั นา ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาต่างประเทศ ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ งประเทศ (ปีปัจจุบัน) ศศ.บ. ภาษาจีน ภาษาตา่ งประเทศ ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา ภาษาต่างประเทศ 22 32 อ.บ. ภาษาเกาหลี ภาษาต่างประเทศ 22 39 ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาต่างประเทศ ศศ.ม. วฒั นธรรมจีนศึกษา ภาษาตา่ งประเทศ 23 18 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ งประเทศ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ภาษาต่างประเทศ 15 66 ค.บ. อุตสาหกรรมศลิ ป์ ภาษาไทย กศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 23 48 ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ภาษาไทย ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ภาษาไทย 15 26 ภาษาไทย 21 96

15 275

21 12

22 80

19 189

20 18

17 3

19 19

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วทิ ยฐานะ

75 นายเฉลิมยศ ญาดี 34 10 ครู/ครูชำนาญการ 76 นางสาวผกากรอง เอ่ยี มปั้น 30 5 ครู 77 นางสาวกรรณกิ าร์ ขมุ ทอง 29 2 ครู 78 นางสาวลภสั ธยาน์ วรกฤติประเสรฐิ 34 7 79 นางสาวชมพูนทุ หาญทนงค์ 31 8 คร/ู ครชู ำนาญการ 80 นางสาวสภุ าพร ภพู่ ุดตาล 31 7 คร/ู ครชู ำนาญการ 81 นางสาวนิศรา วงษส์ บุ รรณ์ 38 13 82 นางสาวพมิ พ์ชนก เนตรสวา่ ง ๒๔ ๒ เดอื น ครู 83 นายอาศเรศ กญุ ชร ณ อยธุ ยา 38 12 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 84 นางสาวชนดิ า ลมิ ปร์ ชั ดาวงศ์ 57 27 85 นางคำศรี สรอ้ ยสุวรรณ์ 52 28 ครูผชู้ ว่ ย 86 นางสาวสำเนียง อรุณรุ่ง 59 35 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ 87 นายสนชัย ศรโี มรา 59 34 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

8

วฒุ ิ สาขาวชิ า สอนกลุ่มสาระ จำนวนช่วั โมง ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา การเรียนรู้ ภาระงานสอน ทเ่ี ขา้ รับการ (คาบ/สัปดาห์) พัฒนา ภาษาไทย (ปีปัจจุบนั )

22 20

ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 20 20

ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 20 21

ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ภาษาไทย 18 48 20 20 ศษ.ม. นวัตกรรมหลกั สูตรและ ภาษาไทย 19 6 การจดั การเรียนรู้

ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย

ศษ.ม. การสอนภาษาไทย ภาษาไทย 20 20

กศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย - 4 ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา 20 29 ศษ.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา ศาสนา 15 36 ค.บ. สังคมศึกษา และวฒั นธรรม 17 57 ศศ.ม. การสอนสังคมศึกษา สังคมศึกษา ศาสนา 20 94 วท.บ. เกษตรกรรม และวัฒนธรรม 17 232 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สังคมศกึ ษาศาสนา และวฒั นธรรม สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วทิ ยฐานะ

88 นางสาวอรทัย แต่งงาม 54 26 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ 89 นายธนัทพล คณุ าวศิ รตุ 40 14 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ 90 นายเอกพงษ์ บุญญะอุทธยาน 32 6 91 นางถิรดา สะราคำ 36 6 ครู 92 นายธนาคาร ธนาววิ ัฒน์ 28 4 ครู 93 นางทศั นารนิ ทร์ นกสกุล 46 4 ครู 94 นางสาวกนกกร ไร่คลองครุ 30 4 ครู 95 นางสาวนรรี ตั น์ คงชาตรี 29 2 ครู 96 นายลทั ธวิทย์ พวงวรนิ ทร์ 24 4 เดอื น ครู 97 นายยทุ ธนา อมิ่ ทรพั ย์ 47 23 ครผู ชู้ ว่ ย 98 นายนิทัศน์ เอีย่ มสอาด 59 34 คร/ู ครชู ำนาญการพเิ ศษ 99 นางสาวมณรี ัตน์ พรหมใจรกั ษ์ 56 30 คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ คร/ู ครูชำนาญการพิเศษ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

9

วุฒิ สาขาวิชา สอนกลุ่มสาระ จำนวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ ภาระงานสอน ท่เี ข้ารับการ ศศ.บ. พฒั นาชุมชน (คาบ/สปั ดาห)์ พฒั นา สังคมศกึ ษา ศาสนา ศษ.ม. การบริหารการศึกษา และวัฒนธรรม (ปีปจั จุบนั ) สังคมศกึ ษา ศาสนา ค.บ. สงั คมศึกษา และวัฒนธรรม 18 35 สังคมศึกษา ศาสนา ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา และวัฒนธรรม 17 27 สงั คมศกึ ษา ศาสนา กศ.บ. สังคมศกึ ษา และวัฒนธรรม 19 20 สังคมศกึ ษา ศาสนา ศศ.บ. ไทยคดีศึกษา และวัฒนธรรม 17 117 สงั คมศกึ ษา ศาสนา ร.ม. รัฐศาสตร์มหาบณั ฑติ และวฒั นธรรม 17 30 สังคมศกึ ษา ศาสนา ค.บ. สงั คมศกึ ษา และวัฒนธรรม 22 69 สงั คมศกึ ษา ศาสนา ค.บ. สังคมศึกษา และวัฒนธรรม 20 36 สงั คมศึกษา ศาสนา ค.บ. อุตสาหกรรมศลิ ป์ และวฒั นธรรม 18 60

การงานอาชีพ 21 48

18 64

ค.บ. ออกแบบ/เขยี นแบบ การงานอาชีพ 16 60

ค.อ.ม. บรหิ ารอาชวี ะและ การงานอาชีพ 19 57 เทคนคิ ศกึ ษา

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วทิ ยฐานะ

100 นางบุญปลกู เขยี นดี 53 27 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ 101 นางสาวสวลี มะยรุ า 53 25 คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 102 นางสาวอรริษา พัฒนมาศ 39 4 103 นางณฐั หทัย เรือนทอง 39 4 ครู ครู 104 นางสาวอุบลวรรณา พันธป์ าน 43 5 ครู คร/ู ครูชำนาญการพเิ ศษ 105 นายธนัช อนิ ทแสน 59 32 ครู ครู 106 นายจตุพร เคนผาพงษ์ 40 6 ครู/ครูชำนาญการ ครู 107 นางสาวทพิ กมล สงวนศกั ดสิ์ กลุ 29 5 ครู/ครชู ำนาญการ คร/ู ครูชำนาญการ 108 นายวณิชย์ เอ้ือนอ้ มจิตต์กลุ 38 11 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ

109 นายสมพงษ์ ศรีขวัญเมือง 26 2

110 นายเทวพร ภฆู ัง 37 7

111 นายทศั นัย บุญลือ 39 10 112 นางวันเพ็ญ กติ ชิ ัยชาญ 60 38

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

10

วฒุ ิ สาขาวชิ า สอนกลมุ่ สาระ จำนวนช่วั โมง การเรยี นรู้ ภาระงานสอน ท่เี ขา้ รับการ (คาบ/สัปดาห์) พฒั นา วท.บ. ศกึ ษาศาสตรเ์ กษตร การงานอาชพี (ปปี จั จบุ นั ) ค.ม. การบริหารการศึกษา การงานอาชีพ 18 63 ค.ม. การบริหารการศึกษา การงานอาชีพ 21 30 18 69 บธ.บ. การจดั การทว่ั ไป การงานอาชพี 15 46 คศ.บ. คหกรรมศาสตรศ์ ึกษา - การงานอาชพี คหกรรมศาสตร์ท่ัวไป 18 20

ค.บ. พลศึกษา สขุ ศกึ ษาและ 22 5 พลศกึ ษา 23 15 กศ.บ. พลศกึ ษา สุขศกึ ษาและ พลศึกษา 24 26

ศษ.บ. พลศึกษา สขุ ศึกษาและ 26 30 พลศกึ ษา 26 81 ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา สุขศึกษาและ พลศึกษา 26 20

ค.บ. พลศกึ ษา สุขศกึ ษาและ 26 20 พลศกึ ษา 26 48

ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา สขุ ศกึ ษาและ พลศึกษา

กศ.บ. ดรุ ิยางคศาสตร์ไทย ศลิ ปะ

ป.กศ.สูง นาฏศลิ ป์ไทย ศิลปะ

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / ราชการ วิทยฐานะ

113 นางสาวศศปิ ระภา ยาวรี ะ 40 10 ครู/ครูชำนาญการ 114 นางดวงพร อุทรทวกิ าร ณ อยธุ ยา 51 11 ครู/ครูชำนาญการ 115 นางสาวเสาวรส พันธ์พชื 32 4 116 นายณัฎฐธ์ ภทั เอมโกษา 32 5 ครู 117 นายชินวฒั น์ ปานมัง่ มี 34 7 ครู 118 นางสาวอรณุ ีย์ พทิ ักษ์ 37 4 ครู/ครชู ำนาญการ 119 นางสาวชญาภา พินิจการ 53 28 ครู 120 นางสาวปานน้อย แพ่งบรรเทา 44 6 คร/ู ครชู ำนาญการพิเศษ 121 นางสาววรนิ ทร์ ออู่ รณุ 39 9 ครู 122 นางสาวปิยะธิดา ใจเอม 38 3 เดือน ครู/ครูชำนาญการ 123 นางสาวศันสนีย์ บาเปยี 39 - ครูผชู้ ่วย 124 นางสาวจณิ ห์วรา หงษโ์ ต 25 - พนักงานราชการ 125 นางอาภาภรณ์ ยอดอานนท์ 31 - พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

11

วุฒิ สาขาวิชา สอนกล่มุ สาระ จำนวนชั่วโมง การเรียนรู้ ภาระงานสอน ทเี่ ขา้ รบั การ ศษ.ม. บริหารการศกึ ษา (คาบ/สปั ดาห)์ พัฒนา ศศ.ม. ดนตรีศึกษา ศิลปะ ศษ.บ. นาฏศิลป์ไทยศึกษา (ปปี ัจจบุ ัน) ศป.บ ดนตรีสากล ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา 28 23

ศลิ ปะ 24 77

ศิลปะ 28 20

ศิลปะ 26 30

ศษ.บ. การแนะแนว ศลิ ปะ 28 75 16 36 กศ.ม. จติ วทิ ยาการแนะแนว กิจกรรมพฒั นา 18 290 ผู้เรียน 20 3 ศศ.บ. บรรณารกั ษศาสตร์ กิจกรรมพัฒนา 16 3 ผู้เรียน 20 117 ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา กจิ กรรมพัฒนา 16 6 ผู้เรียน 20 49 คบ. จติ วิทยาและการแนะ กิจกรรมพัฒนา 18 24 แนว ผู้เรยี น กิจกรรมพฒั นา บธ.บ. บัญชี ผ้เู รยี น

ศษ.บ. สังคมศกึ ษา การงานอาชพี

ค.บ. คณติ ศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คณิตศาสตร์

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

ชอ่ื -นามสกุล อายุ อายุ ตำแหน่ง/ ราชการ วทิ ยฐานะ

126 นางสาวธัญญลักษณ์ แสงหริ ญั 29 - ครอู ตั ราจา้ ง 127 นายจกั กติ ทาเพชร 26 - ครูอตั ราจ้าง - ครูอตั ราจา้ ง 128 นางสาวสริ พิ รรณ จฉู มิ 31 - ครูอัตราจา้ ง - ครูต่างชาติ 129 นางสาววรรณภัสสร พฒุ ซอ้ น 25 ครตู า่ งชาติ 130 Ms. Jacoba Johanna Coetzee 38

131 Ms. Rene Rice 37 -

132 Ms. Asha Deonarain 50 - ครูตา่ งชาติ

133 Mr. Angus Patterson 57 - ครูต่างชาติ 134 Mr.Samuel Dumornay 32 - ครตู า่ งชาติ 135 Mr.Andries Seyffert 31 - ครูตา่ งชาติ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

12

วฒุ ิ สาขาวิชา สอนกลมุ่ สาระ จำนวนชวั่ โมง การเรยี นรู้ ภาระงานสอน ท่ีเขา้ รับการ (คาบ/สัปดาห์) พัฒนา ศศ.บ. ภาษาญีป่ นุ่ ภาษาต่างประเทศ สขุ ศกึ ษาและพล (ปปี ัจจบุ นั ) ศษ.บ. พลศกึ ษา ศกึ ษา วิทยาศาสตร์และ 18 275 คบ. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี 15 3 วิทยาศาสตรแ์ ละ 19 20 คบ. วทิ ยาศาสตร์ทั่วไป เทคโนโลยี 23 48 ภาษาตา่ งประเทศ 26 - Master Semantic Language and of Art cultural studies ภาษาต่างประเทศ 24 - Master’s degree, Social work ภาษาตา่ งประเทศ 26 - bachelo r’s PGCE, and Bachelor of ภาษาตา่ งประเทศ 24 - degree Arts degree specializing ภาษาต่างประเทศ 24 - in Psychology, ภาษาต่างประเทศ 12 - Qualified sociology, health science and moral teacher education with Geology bachelor of science. teaching Science Sociology license English Bachelor’ s degree

Bachelor’s

degree

B.Ed in TESOL

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

ชอ่ื -นามสกลุ อายุ อายุ ตำแหน่ง/ ราชการ วิทยฐานะ 136 Mr.Jamyang Tshering 137 Mr.Xander Derborn 29 - ครตู ่างชาติ 42 - ครูต่างชาติ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

13

วฒุ ิ สาขาวิชา สอนกลุ่มสาระ จำนวนช่วั โมง การเรยี นรู้ ภาระงานสอน ท่ีเข้ารบั การ B.Ed Maths and Physics (คาบ/สปั ดาห์) พฒั นา Bs. Physics/Science ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ (ปีปัจจุบนั )

17 -

11 -

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

14

3.2 ขา้ ราชการ /พนักงานจ้าง /ลกู จา้ ง (สนับสนุนการสอน)

ท่ี ชอ่ื -นามสกลุ อายุ ตำแหนง่ วฒุ ิ สาขา ปฏิบตั ิหน้าที่ จา้ งดว้ ยเงิน

1 นายมานพ บาเปยี 60 ลูกจา้ งประจำ ป.7 - พนกั งานขับรถ งบประมาณ

2 นายประดษิ ฐ์ เปียบุญมี 58 ลกู จ้างประจำ ป.7 - พนักงานขับรถ งบประมาณ 3 นายสเุ มธ แยม้ สวุ รรณ 26 ครดู แู ลหอพกั ป.ตรี ดนตรีศึกษา ดูแลนกั เรียน นอก หอพัก งบประมาณ

คอมพิวเตอร์ ดแู ลนกั เรยี น นอก หอพกั งบประมาณ 4 นางสาววาสิตา มีทองคำ 31 ครดู ูแลหอพกั ป.ตรี และเทคโนโลยี สารสนเทศ

5 นางสาวสภุ าพร แช่มช้อย 25 ครดู แู ลหอพกั ป.ตรี คอมพิวเตอร์ ดแู ลนักเรียน นอก หอพัก งบประมาณ

6 นางสาวลัลน์ลลิต แย้มดีเลศิ 36 เจ้าหน้าท่ี ป.ตรี การจัดการทั่วไป งานกิจการ งบประมาณ สำนกั งาน นกั เรยี น นอก 7 นางสาวฉัฐมาภรณ์ ชาวห้วย 27 เจา้ หน้าท่ี ป.ตรี การตลาด งานสารบรรณ งบประมาณ หมาก สำนักงาน นอก งบประมาณ 8 นางสาวพนิดา สวุ รรณเวช 34 เจา้ หนา้ ท่ี ป.ตรี คอมพิวเตอร์ งานวิชาการ สำนกั งาน ธรุ กิจ

9 นางสาวพรสดุ า ศรปี ระยงค์ 26 เจา้ หน้าที่ ป.ตรี สารสนเทศทาง งานแผนงาน นอก สำนักงาน ธรุ กิจ งบประมาณ

10 นางสาวณชิ กมล สจุ ิตรมนัส 25 เจา้ หนา้ ท่ี ป.ตรี คอมพวิ เตอร์ งานพสั ดุ นอก 11 นางสาวอนุสรา โมพนั ธ์ สำนักงาน งบประมาณ 12 นายไสว จนิ โนพงษ์ 13 นางนิภา ขนั อาสา 23 เจ้าหน้าที่ ปวช. คอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่การเงนิ นอก 14 นายธานนิ ทร์ ฉัตรทอง สำนกั งาน ธรุ กจิ 15 นายนกุ ลู นาคกุลชร ของโรงเรยี น งบประมาณ 16 นางสาวลดั ดาวัลย์ โพธ์ปิ ่นิ 17 นายสมบตั ิ ขาวประเสริฐ 66 พนักงานขบั รถ ป.4 - พนักงานขบั รถ นอก งบประมาณ

60 เจ้าหนา้ ท่ี ม.ศ.5 - ดแู ลนักเรียนท่ี นอก พยาบาล เจ็บปว่ ย งบประมาณ

31 เจ้าหนา้ ที่หอ้ ง ม.6 - ทำสำเนาเอกสาร นอก ผลติ ส่ือ งบประมาณ

42 ชา่ งไฟฟ้า ปวส - ดูแลและซอ่ มบำรุง นอก

ไฟฟา้ ในโรงเรยี น งบประมาณ

28 เจา้ หนา้ ที่ห้อง ป.ตรี อาหารและ เตมิ เงินลงบัตร นอก บตั ร โภชนาการ จำหนา่ ยบตั ร งบประมาณ

56 คนสวน ป.4 - ทำความสะอาด นอก

และดแู ลตน้ ไม้ งบประมาณ

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

15

ท่ี ชอ่ื -นามสกลุ อายุ ตำแหนง่ วุฒิ สาขา ปฏิบตั หิ น้าที่ จ้างด้วยเงิน

18 นายพงศ์ศิริ ขาวประเสรฐิ 22 คนสวน ม.3 - ทำความสะอาด นอก และดูแลตน้ ไม้ งบประมาณ

19 นายไพโรจน์ วงษ์จันทร์ศรี 56 คนสวน ป.6 - ทำความสะอาด นอก และดูแลตน้ ไม้ งบประมาณ

20 นางวนั ทนีย์ ขาวประเสริฐ 51 แม่บา้ น ป.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

21 นางสมเกียรติ จินโนพงษ์ 58 แม่บา้ น ป.7 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

22 นางสาวนอ้ ย ทมิ ใจทัตร์ 61 แมบ่ ้าน ป.4 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

23 นางสมบรู ณ์ เมอื งแก้ว 50 แมบ่ ้าน ป.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

24 นางณรัตนนั ธ์ ปชุ ติ ะ 63 แม่บ้าน ป.4 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

25 นายคมณรงค์ โสภาภพ 58 พ่อบา้ น ม.ศ. 5 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

26 นางสาวขวัญชนก พ่ึงเจรญิ 45 แม่บ้าน ป.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

27 นางสาวนำ้ ฝน ดวงใจดี 53 แม่บ้าน ป.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

28 นางสาวนวพร แท่งเงิน 27 แม่บ้าน ม.3 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

29 นางมณเฑยี ร แผ่นทอง 48 แมบ่ ้าน ป.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

30 นางมัทนา ยูฮันเงาะ 35 แม่บา้ น ม.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

31 นางสาวสุภดิ า มูลพันธ์ 54 แมบ่ า้ น ป.5 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

32 นางชชู พี ชุ่มอว่ ม 60 แมบ่ ้าน ป.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

33 นางสาวนกน้อย สวัสดิศ์ รี 50 แม่บา้ น ป.6 - ทำความสะอาด นอก งบประมาณ

34 นายจำรัส แสงสวุ รรณ 63 เจ้าหน้าท่รี ักษา ป.6 - รกั ษาความ นอก ความปลอดภัย ปลอดภัยใน งบประมาณ โรงเรียน

35 นายปรชี า ชาวกงจักร 62 เจา้ หน้าท่ีรกั ษา ป.6 - รักษาความ นอก ความปลอดภัย ปลอดภยั ใน งบประมาณ โรงเรยี น

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

16

ที่ ชอ่ื -นามสกลุ อายุ ตำแหน่ง วุฒิ สาขา ปฏบิ ตั หิ น้าที่ จ้างดว้ ยเงนิ 36 นายสัมพนั ธ์ ทองโกมล ป.6 37 นายวิทยา เฉาหำ 52 เจา้ หน้าท่ีรักษา ป.6 - รักษาความ นอก ความปลอดภยั ปลอดภัยใน งบประมาณ โรงเรียน

57 เจ้าหน้าทีร่ กั ษา - รกั ษาความ นอก ความปลอดภัย ปลอดภยั ใน งบประมาณ โรงเรียน

3.3 สรุปจำนวนบคุ ลากร

3.3.1 จำนวนบุคลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหน่ง และวฒุ ิการศกึ ษา

ประเภท/ตำแหน่ง จำนวนบุคลากร (คน) รวม

ตำ่ กว่าปริญญา ปรญิ ญา ปริญญาโท ปริญญา 1 เอก 4 ตรี ตรี 5 1 1. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา - 117 1 2 - ผ้อู ำนวยการ - -- 5 - 8 - รองผู้อำนวยการ - -4 - 132 - รวม - - 4 - - - 37 2. สายงานการสอน 2 - - - ขา้ ราชการครู 1 59 57 - 37 - 174 - พนักงานราชการ - 2- - - - อัตราจา้ ง - 5- 1

- ครูต่างชาติ - 62

รวม 1 73 59

3. สายงานสนบั สนนุ

- ข้าราชการ - --

- พนักงานจา้ งทวั่ ไป 26 9 -

- ลูกจา้ งประจำ 2 --

- อน่ื ๆ - --

รวม 28 9 -

รวมทง้ั สิ้น 31 78 63

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

17

3.3.2 จำนวนครูจำแนกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ข้าราชการ)

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จำนวน คดิ เปน็ รอ้ ยละ จำนวนชวั่ โมงสอนเฉล่ยี ชั่วโมง/สัปดาห์ ภาษาไทย 12 10.44 คณิตศาสตร์ 21 18.26 ของครภู ายในกล่มุ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 27 23.48 18.50 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 14 12.17 16.90 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 6 5.22 18.76 ศิลปะ 7 6.08 17.28 การงานอาชีพ 8 6.96 23.00 ภาษาต่างประเทศ 15 13.04 25.42 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 5 4.35 16.12 18.26 รวมครูผู้สอน 115 100 16.60 ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 18.50

4. ข้อมูลนกั เรยี น (ณ วันที่ 10 มถิ ุนายน ของปีการศึกษาทร่ี ายงาน)

จำนวนนกั เรยี นในโรงเรียน ปกี ารศึกษา 2564 รวม 2,449 คน จำแนกตามระดับชัน้ ท่ีเปิดสอน

ระดบั ชัน้ เรียน จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลี่ยตอ่ หอ้ ง ชาย หญิง

ม.1 13 191 237 428 32.92

ม.2 13 202 240 442 34.00

ม.3 13 202 245 447 34.38

รวม 39 595 722 1,317 33.76

ม.4 12 148 234 382 31.83

ม.5 12 180 223 403 33.58

ม.6 12 141 206 347 28.91

รวม 36 469 663 1,132 31.44

รวมทงั้ หมด 75 1,064 1,385 2,449 32.65

จำนวนเด็กพเิ ศษในโรงเรยี น ชาย.....-......คน หญิง.....-.......คน รวม จำนวน......-........คน อัตราส่วนนักเรียน : ครู = 20.93 : 1 ✓ เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

18

จำนวนหอ้ งเรียนท่เี ปิดทำการเรยี นการสอนตามโครงสรา้ งหลักสตู ร ปกี ารศึกษา 2564 จำแนกตามระดับชั้น

จำนวนหอ้ งเรยี นและจำนวนนกั เรยี น

หอ้ งส่งเสริม หอ้ ง Mini หอ้ ง สสวท. ห้องเรียน ห้องเรยี นทั่วไป รวม ความเปน็ เลิศ English ดนตรี วิทยาศาสตร์ Program ระดับชน้ั คณิตศาสตร์

จำนวน ้หอง จำนวน ันกเรียน จำนวน ้หอง จำนวน ันกเรียน จำนวน ้หอง จำนวน ันกเรียน จำนวน ้หอง จำนวน ันกเรียน จำนวน ้หอง จำนวน ันกเรียน จำนวน ้หอง จำนวน ันกเรียน

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 2 71 1 30 - - 1 32 9 295 13 428 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 2 70 1 29 - - 1 22 9 321 13 442 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 2 72 1 27 - - 1 34 9 314 13 447 มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 2 72 - - 1 20 - - 9 290 12 382 มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 2 71 - - 1 28 - - 9 304 12 403 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 2 69 - - 1 29 1 7 8 242 12 347

รวม 12 425 3 86 3 77 4 95 53 1,766 75 2,449

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

5. ข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศึกษาปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวน จำนวนนักเรียนท่ีได นักเรยี น ภาษาไทย 4 3.5 3 2.5 2 คณติ ศาสตร์ 7,799 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9,199 5,095 994 632 366 351 สังคมศึกษา ศาสนาและ 17,571 4,887 1,330 1,039 697 495 วฒั นธรรม 2,137 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 11,626 1,800 972 523 ศลิ ปะ 1,151 การงานอาชีพ 9,389 5,716 923 514 374 ภาษาต่างประเทศ 714 8,564 7,256 420 452 52 39 รวม 552 ร้อยละ 6,371 5,242 1,454 333 117 84 5,386 3,880 8,752 430 151 258 13,612 7,729 11.24 1,281 1,004 715 51,431 6,890 3,873 2,83 77,891 66.03 8.85 4.97 3.6 100.00

รอ้ ยละ ผลการเรียนระดบั ดี (3) ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตำ่ (1) ถงึ คอ่ นข ไม่ผา่ นการประเมนิ

S A R '64 โรงเรยี นกาญ

19

ดผ้ ลการเรียน ผลการ S.D. นกั เรยี นทไ่ี ด้ 2 1.5 1 เรยี นเฉลย่ี 3 ข้ึนไป 0 รวม จำนวน ร้อยละ 1 153 200 8 7,799 3.56 0.76 6,721 86.18 5 306 430 15 9,199 3.36 0.89 7,256 78.88 3 281 227 5 17,571 3.61 0.67 15,563 88.57

4 297 343 71 9,389 3.46 0.88 7,790 82.97

9 23 28 0 8,564 3.87 0.37 8,422 98.34

4 51 123 1 6,371 3.78 0.58 5,995 94.10 8 58 57 0 5,386 3.67 0.64 4,862 90.27 5 569 813 47 13,612 3.34 0.96 10,464 76.87 39 1,738 2,221 147 77,891 64 2.23 2.85 0.19 100.00 67,073 86.11

ะของนักเรยี น 86.11 ป 13.70 ข้างดี (2.5) 0.19

ญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

20

  1. ร้อยละของนักเรียนท่มี ผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแตล่ ะรายวิชา ในระดับ 3 ข้ึนไป ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2564 รายวิชา(พน้ื ฐาน)

ระดับชั้น ภาษาไทย ค ิณตศาสต ์ร ิวทยาศาสต ์รฯ สังคม ึศกษา ภาษาอังกฤษ ุสข ึศกษาฯ

ิศลปะ การงานอา ีชพ

ม.1 659 560 1,442 1,353 526 1,690 739 727 ม.2 620 595 1,428 1,332 582 1,731 801 659 ม.3 732 686 1,486 1,352 492 1,311 799 820 รวม 2,011 1,841 4,356 4,037 1,600 4,732 2,339 2,206 รอ้ ยละ 76.23 69.79 82.56 76.52 60.65 89.69 88.67 83.62 ม.4 703 601 724 1,297 431 764 698 367 ม.5 714 669 553 1,447 578 805 745 384 ม.6 663 621 897 658 647 647 687 0 รวม 2,080 1,891 2,174 3,402 1,656 2,216 2,130 751 ร้อยละ 91.91 83.56 73.25 88.76 73.18 97.92 94.12 95.67

แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรยี นทีม่ ผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแตล่ ะรายวิชา ในระดับ 3 ขนึ้ ไป ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึง ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2564

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

ม.ต้น ม.ปลาย

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

21

  1. ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดบั ดี ขนึ้ ไป

ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2564

ระดบั ช้ัน จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมิน ดเี ย่ียม ระดบั ดีขนึ้ ไป รอ้ ยละ นกั เรยี น ผ่าน ดี 100.00 ม.1 431 - - - 431 431 99.10 ม.2 443 - 4 - 439 439 100.00 ม.3 446 - - 2 444 446 99.70 รวม 1,320 - 4 2 1,314 1,316 100.00 ม.4 382 - - - 382 382 100.00 ม.5 403 - - - 403 403 100.00 ม.6 346 - - - 346 346 100.00 รวม 1,131 - - - 1,131 1,131

แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ในระดบั ดี ข้นึ ไป ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2564

100 99.1 100 100 100 100

100

80

60

40

20

0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบุรี

22

  1. ร้อยละของนกั เรยี นท่มี ีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ดี ขึ้นไป

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดบั ช้ัน จำนวน ไม่ผา่ น ผลการประเมนิ ดีเยยี่ ม ระดับดีขึน้ ไป รอ้ ยละ นกั เรียน ผา่ น ดี 99.77 ม.1 431 - 1 - 430 430 99.32 ม.2 443 - 3 - 440 440 100.00 ม.3 446 - - - 446 446 99.70 รวม 1,320 - 4 - 1,316 1,316 100.00 ม.4 382 - - - 382 382 100.00 ม.5 403 - - - 403 403 100.00 ม.6 346 - - - 346 346 100.00 รวม 1,131 - - - 1,131 1,131

แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ ีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ในระดบั ดี ขน้ึ ไป ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึง ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564

99.77 99.32 100 100 100 100

100

80

60

40

20

0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี

23

  1. รอ้ ยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2564 ของผู้เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ในระดับผ่านข้นึ ไป

สมรรถนะสำคญั ผลการประเมิน ระดับผ่าน รอ้ ยละ ผา่ น ดี ขนึ้ ไป ไมผ่ า่ น ดเี ย่ียม

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร - - - 446 446 100

2. ความสามารถในการคดิ - - - 446 446 100

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา - - - 446 446 100

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต - - - 446 446 100

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - - - 446 446 100

รวม - - - 2,230 2,230 100

แผนภมู ิแสดงร้อยละของนกั เรียนทม่ี ผี ลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 ปีการศึกษา 2564

ของผู้เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ในระดบั ผา่ นข้ึนไป

ดเี ย่ยี ม

100 100 100 100 100

การส่อื สาร การคิด การแก้ปัญหา การใชท้ ักษะชวี ิต การใช้เทคโนโลยี

S A R '64 โรงเรยี นกาญจนาภเิษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี