ผลการเร ยนร ว ทยาศาสตร เพ มเต ม ม.3 ว 20235

ผลการเร ยนร ว ทยาศาสตร เพ มเต ม ม.3 ว 20235

Www.Prapasara Download

  • Publications :0
  • Followers :0

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 ล.1

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 ล.1

ก คำนำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนโพธ์ิชัยทองพิทยาคม พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็นแผน หรือแนวทาง หรือขอ้ กำาหนดการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนโพธชิ์ ยั ทองพทิ ยาคม ท่ใี ช้ในการ จัดการเรียนการสอน เพ่ือให้ผเู้ รียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วเิ คราะห์ มีการทำกิจกรรมเพื่อพัฒนา ความรู้ ความสามารถและทกั ษะ การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การสร้างวินัย การมีจติ สำนึกรับผิดชอบต่อสงั คม ยึด มัน่ ในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนการเรียนการสอนในวิชา ประวตั ิศาสตร์ และหน้าท่ีพลเมือง รวมถงึ การสอนศีลธรรมแก่นักเรยี น ส่งเสริม และพฒั นาผู้เรียนให้ก้าวสู่สังคม อนาคต Thailand 4.0 พฒั นาผู้เรียนเพื่อให้เกิดทักษะการดำรงชีวติ ในศตวรรษ ที่ 21 โรงเรียนโพธช์ิ ยั ทองพิทยาคม ได้ดำเนินการเพือ่ ให้เป็นไปตามคำสง่ั กระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สงิ หาคม 2560 เรอื่ ง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 จึงได้จัดทำหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนโพธ์ชิ ยั ทอง พทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) และมกี ารปรบั ปรุงสาระการเรียนรู้ มาตรฐานตวั ช้ีวดั ให้สอดคลอ้ งกับนโยบายของ กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยปรบั โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลักสูตรตามความพร้อมและจดุ เนน้ ของสถานศกึ ษา ในการ ดำเนินการจัดทำหลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร ได้ศกึ ษาเอกสาร ตำราที่เกย่ี วขอ้ ง กับการจัดทำหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 และได้สำรวจความต้องการของ นักเรียน ผูป้ กครอง ชมุ ชน และสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร มาเปน็ แนวทางในการจัดทำ ดังนัน้ คณะผู้จัดทำหวังเปน็ อย่างย่ิงว่า หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนโพธ์ชิ ัยทองพิทยาคม พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) นี้จะเกิดประโยชน์ ต่อ บุคคลท่ีต้องการนำหลักสูตรไปสู่การปฏบิ ตั กิ ารสอนได้อย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธิผล ขอขอบคุณ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการ โรงเรยี นวัดสิงห์ คณะครู และผู้เกย่ี วขอ้ งทกุ ท่าน ท่มี สี ว่ นรว่ มในการจัดทำหลักสตู รฉบับน้ีให้สำเร็จลุล่วง ด้วยดี สามารถนำไปใช้เพอื่ พัฒนา ผเู้ รยี นให้มีความรู้ ความสามารถ มที ักษะกระบวนการคิด เป็นคนดี มีคุณธรรม และดำรงชวี ติ ในสังคมได้อยา่ งเปน็ สุข มคี วามพรอ้ มส่สู งั คมอนาคต Thailand 4.0 เกดิ ทกั ษะ การดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกในอนาคต โรงเรยี นโพธิ์ชัยทองพิทยาคม 26 มนี าคม 2564

ข สารบญั หนา้ ก เรื่อง ข คำนำ ค สารบญั 1 ประกาศใช้หลกั สูตร 1 สว่ นที่ 1 ความนำ 3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 3 วิสยั ทัศน์ 4 หลกั การ 4 จุดมุง่ หมาย 6 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6 ส่วนที่ 2 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนโพธิ์ชยั ทองพิทยาคม 13 โครงสรา้ งหลกั สตู ร 13 ตวั ชวี้ ดั 14 สาระการเรยี นรู้ 19 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 19 การจดั หลักสูตร 20 การจัดเวลาเรยี น 21 ส่วนที่ 3 คำอธิบายรายวชิ า 48 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ชิ าภาษาไทย 75 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วชิ าคณติ ศาสตร์ 147 กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 198 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 218 กลุ่มสาระการเรียนรู้วชิ าสุขศึกษาและพลศกึ ษา 238 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ชิ าศิลปะ 254 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิชาการงานอาชพี 281 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วชิ าภาษาต่างประเทศ 290 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ส่วนที่ 4 เกณฑ์การวดั ประเมนิ ผลและจบหลกั สูตร 296 ภาคผนวก 298 คณะผ้จู ัดทำ คำสง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวชิ าการ

ค ประกาศโรงเรยี นโพธ์ิชัยทองพิทยาคม เร่อื ง ให้ใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นโพธชิ์ ัยทองพทิ ยาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ………………………………. ตามคำส่ังกระทรวงศึกษาธกิ ารที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เรอ่ื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ ภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และคำส่ังสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ เรื่อง ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชีว้ ัด กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อีกท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทยได้มีนโยบายการจัด การศึกษาให้กับโรงเรียนในสังกัด ดังนั้นเพ่ือให้สอดคล้องกับ นโยบายและคำสั่งหน่วยงานต้นสังกัด โรงเรียน โพธิ์ชัยทองพิทยาคม จึงได้จัดทำและพัฒนาหลักสูตร อิงมาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นทกุ คน ให้มคี วามสมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ มีความรู้และทักษะ พน้ื ฐาน รวมทงั้ เจตคติทีจ่ ำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเช่ือว่า ทุกคน สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนโพธ์ชิ ัยทองพิทยาคม ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการ และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เมื่อวันท่ี ๒๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๔ จึงประกาศให้ ใชห้ ลักสตู รโรงเรยี น ตัง้ แต่บัดน้ี เป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๖ เดือน มีนาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ (นายศภุ ชัย ทาสมบูรณ์) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน โรงเรยี นโพธ์ชิ ัยทองพิทยาคม (นายเดชา ศริ ดิ ล) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนโพธิ์ชัยทองพิทยาคม

1 ส่วนท่ี 1 ความนำ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ให้เปน็ หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ เมอื่ วันที่ 11 กรกฎคม 2551 เรม่ิ ใช้ในโรงเรียนต้นแบบการใชห้ ลกั สูตร และโรงเรียนทมี่ คี วามพร้อม ในปีการศึกษา 2552 และเริม่ ใช้ในโรงเรียนท่ัวไปในปีการศกึ ษา 2553 ซงึ่ ใช้มา เปน็ เวลากวา่ 8 ปีแล้ว สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา ได้ดำเนนิ การติดตามผลการนำหลักสูตรไปสกู่ ารปฏิบัตอิ ยา่ งตอ่ เนอื่ งในหลายรปู แบบ ท้ังการประชมุ รับฟงั ความคิดเหน็ การนิเทศตดิ ตามผลการใช้หลักสตู รของโรงเรยี น การรบั ฟงั ความคิดเหน็ ผ่านเว็บไซตข์ อง สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รายงานผลการวจิ ัยของหนว่ ยงานและองค์กรทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับหลกั สูตร และการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ผลจากการศึกษา พบวา่ หลักสตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 มขี อ้ ดใี นหลายประการ เช่น กำหนดเป้าหมายการพฒั นาไว้ ชดั เจน มีความยืดหยนุ่ เพียงพอใหส้ ถานศึกษาบริหารจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษาได้ สำหรับปญั หาทพี่ บสว่ น ใหญ่เกดิ จากการนำหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สูก่ ารปฏิบตั ใิ นสถานศกึ ษา และในหอ้ งเรียน นอกจากน้ี การศกึ ษาขอ้ มูลทิศทางและกรอบยทุ ธศาสตรข์ องแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งเกิด ข้ึนในช่วงเวลาของการปฏริ ูปประเทศ และสถานการณ์โลกท่ีเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และเชื่อมโยงใกล้ชิดกนั มากขนึ้ โดยจดั ทำบนพน้ื ฐาน ของกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึ่งเปน็ แผนหลักของการพฒั นาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาท่ยี ั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทัง้ การปรับโครงสรา้ งประเทศไปสูป่ ระเทศไทย 4.0 ซึง่ ยทุ ธศาสตร์ชาติท่จี ะใช้เปน็ กรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ 20 ปตี ่อจากนี้ ประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยทุ ธศาสตร์ด้านความ ม่นั คง (2) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน (3) ยุทธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกันทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ ดา้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อมและ (6) ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและ พฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ เพ่ือมงุ่ สวู่ ิสัยทศั น์ และทิศทางการพฒั นาประเทศ “ความมัน่ คง มง่ั คั่ง ยง่ั ยนื ” เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นท่สี ำคัญเพื่อแปลงแผนไปสู่การปฏิบตั ิให้เกดิ ผลสมั ฤทธิไ์ ดอ้ ย่างแท้จริงตามยทุ ธศาสตร์การ พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน คือ การเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสรา้ งศกั ยภาพของประชากร ในทกุ ชว่ งวัย มงุ่ เน้นการยกระดับคณุ ภาพทุนมนษุ ยข์ องประเทศ โดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามชว่ งวัย เพอื่ ให้ เตบิ โตอยา่ งมีคุณภาพ การพัฒนาทกั ษะที่สอดคล้องกบั ความตอ้ งการในตลาดแรงงานและทกั ษะทีจ่ ำเป็นต่อ การดำรงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม การเตรยี มความพร้อมของกำลงั คน ด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทจี่ ะเปลีย่ นแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาส่คู วาม เป็นเลศิ ดังน้ัน เพอ่ื ใหก้ ารขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช์ าติ เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มคนใหส้ ามารถปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงไดอ้ ย่างเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจงึ กำหนดเปน็ นโยบายสำคญั และ เรง่ ด่วนให้มกี ารปรบั ปรงุ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในกล่มุ สาระการเรียนรู้

2 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รวมทงั้ เทคโนโลยี ในกลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบันสง่ เสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดำเนนิ การปรับปรงุ กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการ เรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และสาระเก่ยี วกบั เทคโนโลยีในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ มอบหมายให้สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ดำเนินการปรับปรงุ สาระภูมศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระ การเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทั้งนี้ การดำเนินงานประกาศใช้หลักสูตรยังคงอยใู่ นความ รบั ผิดชอบของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน การปรับปรงุ หลักสตู รครัง้ น้ี ยังคงหลักการและโครงสรา้ งเดิมของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 คอื ประกอบดว้ ย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ แตม่ ่งุ เนน้ การปรับปรุงเน้ือหาให้มีความทนั สมัย ทันตอ่ การเปล่ียนแปลง และความเจริญก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการต่าง ๆ คำนึงถึงการสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี น มที กั ษะทีจ่ ำเปน็ สำหรับการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 เปน็ สำคัญ เตรียมผเู้ รียนให้มีความพรอ้ มทจี่ ะเรยี นรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ พรอ้ มทจ่ี ะประกอบอาชพี เมือ่ จบการศกึ ษา หรอื สามารถศึกษาตอ่ ในระดบั ทส่ี ูงข้ึน สามารถแขง่ ขัน และอยูร่ ่วมกับประชาคมโลกได้ กรอบในการปรับปรงุ คอื ใหม้ ีองค์ความรู้ท่ีเป็นสากลเทียบเท่านานาชาติ ปรบั มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชีว้ ัดให้ มีความชัดเจน ลดความซำ้ ซ้อน สอดคล้องและเชอ่ื มโยงกนั ภายในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และ ระหว่างกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตลอดจนเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เขา้ ด้วยกัน จดั เรียงลำดับความยากง่ายของเน้ือหาในแตล่ ะระดบั ชั้นตามพฒั นาการแต่ละชว่ งวัย ให้มคี วาม เชือ่ มโยงความรูแ้ ละกระบวนการเรยี นรู้ โดยใหเ้ รียนรูผ้ ่านการปฏิบัติท่สี ง่ เสริมให้ผู้เรียนพฒั นาความคดิ สาระสำคัญของการปรบั ปรงุ หลักสูตร มดี ังน้ี 1. กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 1.1 จัดกล่มุ ความรู้ใหม่และนำทกั ษะกระบวนการไปบรู ณาการกับตัวชีว้ ดั เน้นให้ผูเ้ รียนเกิด การคดิ วิเคราะห์ คดิ แก้ปญั หาและมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 1.2 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึงมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 กำหนดมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชวี้ ดั สำหรับผู้เรยี นทกุ คน ที่เป็นพืน้ ฐานทีเ่ กย่ี วข้องกับชีวติ ประจำวนั และเป็นพนื้ ฐานสำคญั ในการศกึ ษาตอ่ ระดบั ที่ สงู ขนึ้ 1.3 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4–6 กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั เฉพาะเจาะจง แยกส่วน ระหว่างผเู้ รยี นทเี่ ลอื กเรยี นใน แผนการเรียนทีไ่ ม่เนน้ วิทยาศาสตร์ และแผนการเรียนที่เน้น วทิ ยาศาสตรม์ าตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัด ในส่วนของ แผนการเรยี นท่ีไมเ่ น้นวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นพ้นื ฐาน ทีเ่ กย่ี วข้องกบั ชีวติ ประจำวนั และการศกึ ษาต่อระดบั ท่สี งู ขนึ้ สว่ นมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้วี ดั ของแผนการเรยี นทเ่ี นน้ วิทยาศาสตร์ ผ้เู รียน จะไดร้ บั การพัฒนาส่งเสริมให้มคี วามรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ด้านคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตรท์ ถ่ี ูกต้องลึกซ้งึ และกว้างขวางตามศักยภาพของตนเองใหม้ ากท่สี ุด อนั จะเป็น พนื้ ฐานสคู่ วามเปน็ เลิศทางด้านวิทยาศาสตร์ ศึกษาตอ่ ในวิชาชีพท่ตี อ้ งใช้วิทยาศาสตร์ได้ 1.4 ปรับจากตัวชี้วดั ชว่ งชนั้ ในระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4–6 เปน็ ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี 2. กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ไดเ้ พ่มิ สาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบด้วยการออกแบบ และเทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณ ท้ังน้ีเพอื่ เอ้ือตอ่ การจดั การเรียนรูบ้ ูรณาการสาระทางคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวศิ วกรรม ตามแนวคดิ สะเต็มศึกษา

3 3. สาระภมู ิศาสตร์ ซ่งึ เป็นสาระหน่งึ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ยังคงมาตรฐานการเรียนรู้เดิม แตป่ รับมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชีว้ ัดให้มคี วามชัดเจน สอดคล้องกบั พัฒนาการตามชว่ งวยั มอี งคค์ วามรทู้ ่ีเป็นสากล เพิ่มความสามารถทกั ษะ และกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ทช่ี ดั เจนขนึ้ วสิ ยั ทัศน์ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มุง่ พฒั นาผ้เู รียนทกุ คน ซึ่งเป็นกำลังของชาตใิ ห้เป็นมนุษย์ทม่ี ี ความสมดุลทั้งด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรแู้ ละทกั ษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติ ทจี่ ำเป็นต่อการศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ิต โดยมุ่งเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญบนพ้ืนฐาน ความเชือ่ วา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มหี ลกั การทสี่ ำคัญ ดงั น้ี 1. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพ่อื ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เปน็ เปา้ หมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความเป็น ไทยควบคู่กับความเปน็ สากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมคี ุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถิ่น 4. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาทีม่ โี ครงสร้างยืดหยนุ่ ทง้ั ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั 6. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาสำหรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนใหเ้ ปน็ คนดี มีปัญญา มคี วามสขุ มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเปน็ จดุ หมายเพือ่ ให้เกิดกบั ผู้เรยี น เม่อื จบการศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน ดังน้ี 1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ เหน็ คณุ ค่าของตนเอง มีวนิ ัยและปฏบิ ตั ติ น ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชวี ติ 3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มสี ุขนิสยั และรกั การออกกำลังกาย 4. มคี วามรักชาติ มจี ิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลกยดึ ม่นั ในวิถีชีวิต และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ

4 5. มีจิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพัฒนาสิง่ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะทมี่ ุง่ ทำประโยชน์และสร้างสงิ่ ท่ีดงี ามในสงั คม และอยู่รว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ในการพฒั นาผเู้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ม่งุ เนน้ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพ ตามมาตรฐานทก่ี ำหนด ซงึ่ จะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มุ่งให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการส่อื สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการ ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปลยี่ นขอ้ มูลขา่ วสาร และประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รองเพอื่ ขจดั และลด ปญั หาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลือกรบั หรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถกู ตอ้ ง ตลอดจนการ เลอื กใชว้ ธิ ีการสอื่ สาร ท่มี ีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิด อยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรอื สารสนเทศเพ่อื การตดั สินใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรค ตา่ ง ๆ ทเ่ี ผชิญได้อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใชใ้ นการ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจทมี่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สังคม และสงิ่ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ ง การทำงาน และการอยรู่ ว่ มกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จักหลกี เล่ยี งพฤติกรรม ไมพ่ ึงประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี ด้านตา่ ง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ม่งุ พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอื่ ให้ สามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ นื่ ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รกั ชาตศิ าสนก์ ษตั ริยเ์ ป็นคุณลกั ษณะในฐานะพลเมืองไทย ตอ้ งรคู้ ุณค่า หวงแหน และเทิดทูนสถาบันสูงสุดของชาติ 2. ซอ่ื สัตยส์ ุจริต เปน็ คุณลักษณะท่ีผ้เู รยี นมีจิตสำนกึ คา่ นยิ ม และมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการอยรู่ ่วมกันกับผูอ้ ่นื ในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ

5 3. มวี นิ ยั เปน็ คุณลักษณะของผู้เรียนเรยี นดา้ นการ ประพฤติปฏิบตั ติ าม กฎ ระเบียบ ของสังคม อยา่ งมีความรับผิดชอบ และความซ่ือสัตย์ต่อตนเองและผู้อ่นื 4. ใฝเ่ รยี นรูเ้ ป็นคณุ ลกั ษณะของนักเรียนด้านความกระตอื รือร้นในการแสวงหาความรู้ อยากรู้อยากเรยี น รกั การอา่ นการเขียน การฟัง รจู้ กั ตั้งคำถามเพ่ือหาเหตุผลท้ังด้วยตนเอง และร่วมกบั ผอู้ ่นื ดว้ ยความขยันหมน่ั เพยี ร และอดทน และเปดิ รบั ความคิด ใหม่ ๆ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง เปน็ คณุ ลักษณะ ของนกั เรยี นในการดำรงชีวติ อยา่ งมคี วาม พอประมาณใชส้ ่ิงของอย่างประหยดั พอใจในส่งิ ที่ตนมีอยู่บนหลักเหตุผล และมีภูมคิ ุม้ กนั ที่ดี 6. มุ่งม่ันในการทำงาน เป็นคณุ ลกั ษณะของผู้เรียนท่มี ีจิตสำนึกในการใช้บรหิ ารงาน และทรพั ยากรอย่างคุ้มค่าและยงั่ ยืน ในการทำงานตามความคดิ สรา้ งสรรค์มที ักษะและมงุ่ มั่นต่อความสำเร็จ ของงาน 7. รักความเป็นไทย เป็นคุณลกั ษณะของผ้เู รยี นท่ีรจู้ ักหวงแหน อนรุ ักษพ์ ฒั นาวถิ ชี วี ติ ของคนไทยประพฤตติ ามวฒั นธรรมไทยใหค้ งอยู่ค่ไู ทย 8. มีจติ สาธารณะ เป็นคุณลกั ษณะที่ผู้เรียนได้ทำประโยชนต์ ามความสามารถ ความถนัด และความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงความรบั ผิดชอบ ความเสียสละ มจี ิตมุ่งทำประโยชนต์ อ่ ครอบครวั ชมุ ชนสงั คม

6 ส่วนท่ี 2 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนโพธิช์ ยั ทองพิทยาคม โครงสรา้ งหลกั สูตร โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนโพธิ์ชยั ทองพิทยาคม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ประกอบดว้ ยโครงสร้างเวลา เรียนและโครงสร้างหลกั สตู รชนั้ ปี ดังน้ี 1. โครงสร้างเวลาเรียน เปน็ โครงสร้างทแ่ี สดงรายละเอยี ดในภาพรวม เวลาเรยี นของแตล่ ะกลุม่ สาระ การเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระการเรยี นร้ทู ี่ เปน็ เวลาเรียนพ้นื ฐาน เวลาเรยี นรายวิชาเพมิ่ เติม และเวลาในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน จำแนกแต่ละช้ันปีในระดับมธั ยมศึกษา ดังนี้

7 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นโพธช์ิ ัยทองพทิ ยาคม ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน นก. ชม. นก. ชม. รายวิชาพน้ื ฐาน 11.5 460 รายวิชาพืน้ ฐาน 10.5 420 ท21101 ภาษาไทย 1 1.5 60 ท21102 ภาษาไทย 2 1.5 60 ค21101 คณติ ศาสตร์1 1.5 60 ค21102 คณิตศาสตร์ 2 1.5 60 ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 1.5 60 ว21102 วิทยาศาสตร์ 2 1.5 60 ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 20 ว21104 วทิ ยาการคำนวณ 0.5 20 ส21101 สังคมศกึ ษา 1 1.5 60 ส21103 สังคมศึกษา 2 1.5 60 ส21102 ประวตั ศิ าสตร์ 1 0.5 20 ส21104 ประวัตศิ าสตร์ 2 0.5 20 พ21101 สุขศึกษา 1 0.5 20 พ21103 สุขศกึ ษา 2 0.5 20 พ21102 พลศึกษา 1 0.5 20 พ21104 พลศกึ ษา 2 0.5 20 ศ21101 ทศั นศลิ ป์ 1 0.5 20 ศ21103 ทัศนศิลป์ 2 0.5 20 ศ21102 ดนตรี นาฏศลิ ป์ 1 0.5 20 ศ21104 ดนตรี นาฏศลิ ป์ 2 0.5 20 ง21101 การงานอาชีพ 1 1.0 40 อ21102 ภาษาอังกฤษ 2 1.5 60 อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 1.5 60 รายวิชาเพ่มิ เตมิ 3 120 รายวิชาเพ่มิ เตมิ 4 160 ท20201 ภาษาไทยเพมิ่ เติม 1 0.5 20 ท20202 ภาษาไทยเพมิ่ เตมิ 2 0.5 20 ว20201 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 0.5 20 ว20202 ปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ 0.5 20 ว20207 การสรา้ งเอกสาร 0.5 20 ว20208 สื่อประสม 0.5 20 ส20231 หน้าท่ีพลเมือง 1 0.5 20 ง20209 การปลกู พชื สมนุ ไพร 0.5 20 อ20201 ภาษาองั กฤษเพ่มิ 1 0.5 20 ง20213 ชา่ งอาหารพนื้ เมือง 0.5 20 ส20205 การปอ้ งกันการทุจริต 1 0.5 20 ส20232 หน้าท่ีพลเมอื ง 2 0.5 20 อ20202 ภาษาอังกฤษเพม่ิ 2 0.5 20 ส20206 การป้องกันการทจุ ริต 2 0.5 20 กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 60 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 60 กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนักเรียน กจิ กรรมนักเรยี น 20 *ลกู เสอื -เนตรนารี 20 *ลกู เสือ-เนตรนารี 20 *ชุมนมุ 20 *ชุมนุม กิจกรรมเพ่อื สงั คมฯ 10 กิจกรรมเพื่อสังคมฯ 5 รวม 1 ภาคเรียน 14.5 640 รวม 1 ภาคเรียน 14.5 640 หมายเหตุ - กิจกรรมแนะแนว โฮมรมู นกั เรียนกอ่ นคาบแรก 15 นาที - กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนโ์ รงเรียนจดั บรู ณาการในกิจกรรมของโรงเรียนทง้ั ใน และนอกเวลาเรียน

8 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนโพธิ์ชัยทองพิทยาคม ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น นก. ชม. นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน 11.5 460 รายวิชาพนื้ ฐาน 10.5 420 ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 60 ท22102 ภาษาไทย 4 1.5 60 ค22101 คณติ ศาสตร3์ 1.5 60 ค22102 คณิตศาสตร์ 4 1.5 60 ว22101 วิทยาศาสตร์ 3 1.5 60 ว22102 วทิ ยาศาสตร์ 4 1.5 60 ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 20 ว22104 วิทยาการคำนวณ 0.5 20 ส22101 สงั คมศกึ ษา 3 1.5 60 ส22103 สังคมศกึ ษา 4 1.5 60 ส22102 ประวัตศิ าสตร์ 3 0.5 20 ส22104 ประวัติศาสตร์ 4 0.5 20 พ22101 สุขศึกษา 3 0.5 20 พ22103 สุขศึกษา 4 0.5 20 พ22102 พลศึกษา 3 0.5 20 พ22104 พลศกึ ษา 4 0.5 20 ศ22101 ทศั นศลิ ป์ 3 0.5 20 ศ22103 ทัศนศลิ ป์ 4 0.5 20 ศ22102 ดนตรี นาฏศิลป์ 3 0.5 20 ศ22104 ดนตรี นาฏศิลป์ 4 0.5 20 ง22101 การงานอาชีพ 2 1.0 40 อ22102 ภาษาองั กฤษ 4 1.5 60 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 1.5 60 รายวิชาเพิ่มเติม 3 120 รายวิชาเพม่ิ เตมิ 4 160 ท20203 ภาษาไทยเพมิ่ เติม 3 0.5 20 ท20204 ภาษาไทยเพมิ่ เตมิ 4 0.5 20 ค20201 คณิตศาสตร์ 1 0.5 20 ค20202 คณิตศาสตร์ 2 0.5 20 ว20203 สะเตม็ ศึกษา 1 0.5 20 ว20204 สะเตม็ ศึกษา 2 0.5 20 ส20233 หน้าทพี่ ลเมือง 3 0.5 20 ส20234 หน้าทพี่ ลเมือง 4 0.5 20 ส20201 อาเซยี นศกึ ษา 1 0.5 20 ง20207 การปลกู พืชผกั สวนครวั 0.5 20 ส20207 การปอ้ งกันการทุจริต 3 0.5 20 ง20225 ชา่ งประดิษฐ์ของใชจ้ ากเศษวัสดุ 0.5 20 ส20202 อาเซียนศกึ ษา 2 0.5 20 ส20208 การปอ้ งกันการทจุ ริต 4 0.5 20 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น 60 กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 60 กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมนักเรียน กจิ กรรมนกั เรียน 20 *ลกู เสอื -เนตรนารี 20 *ลูกเสือ-เนตรนารี *ชุมนุม 20 *ชุมนุม 20 กิจกรรมเพือ่ สงั คมฯ 10 กจิ กรรมเพื่อสงั คมฯ 5 รวม 1 ภาคเรยี น 14.5 640 รวม 1 ภาคเรียน 14.5 640 หมายเหตุ - กิจกรรมแนะแนว โฮมรูมนักเรยี นกอ่ นคาบแรก 15 นาที - กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชนโ์ รงเรียนจดั บรู ณาการในกิจกรรมของโรงเรียนทง้ั ใน และนอกเวลาเรียน

9 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นโพธช์ิ ัยทองพิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น นก. ชม. นก. ชม. รายวชิ าพน้ื ฐาน 11.5 460 รายวิชาพ้ืนฐาน 10.5 420 ท23101 ภาษาไทย 5 1.5 60 ท23102 ภาษาไทย 6 1.5 60 ค23101 คณติ ศาสตร์ 5 1.5 60 ค23102 คณิตศาสตร์ 6 1.5 60 ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 1.5 60 ว23102 วิทยาศาสตร์ 6 1.5 60 ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 20 ว23104 วทิ ยาการคำนวณ 0.5 20 ส23101 สงั คมศึกษา 5 1.5 60 ส23103 สังคมศึกษา 6 1.5 60 ส23102 ประวัตศิ าสตร์ 5 0.5 20 ส23104 ประวตั ิศาสตร์ 6 0.5 20 พ23101 สขุ ศึกษา 5 0.5 20 พ23103 สขุ ศึกษา 6 0.5 20 พ23102 พลศึกษา 5 0.5 20 พ23104 พลศึกษา 6 0.5 20 ศ23101 ทัศนศลิ ป์ 5 0.5 20 ศ23103 ทัศนศิลป์ 6 0.5 20 ศ23102 ดนตรี นาฏศลิ ป์ 5 0.5 20 ศ23104 ดนตรี นาฏศิลป์ 6 0.5 20 ง23101 การงานอาชพี 3 1.0 40 อ23102 ภาษาองั กฤษ 6 1.5 60 อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 1.5 60 รายวชิ าเพมิ่ เติม 3 120 รายวิชาเพมิ่ เติม 4 160 ท20205 ภาษาไทยเพ่มิ เติม 5 0.5 20 ท20206 ภาษาไทยเพ่มิ เติม 6 0.5 20 ค20203 คณติ ศาสตร์ 3 0.5 20 ค20204 คณติ ศาสตร์ 4 0.5 20 ว20205 โครงงานวิทยาศาสตร์ 1 0.5 20 ว20206 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2 0.5 20 ส20235 หนา้ ที่พลเมือง 5 0.5 20 ส20235 หน้าท่ีพลเมอื ง 5 0.5 20 อ20203 ภาษาอังกฤษเพิ่ม 3 0.5 20 ง20208 ไมด้ อกไมป้ ระดับ 0.5 20 ส20209 การปอ้ งกันการทจุ รติ 5 0.5 20 ง20215 ชา่ งประดิษฐ์ของชำร่วย 0.5 20 อ20204 ภาษาอังกฤษเพิ่ม 4 0.5 20 ส20210 การปอ้ งกนั การทุจริต 6 0.5 20 กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น 60 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 60 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนักเรียน กจิ กรรมนักเรยี น *ลูกเสอื -เนตรนารี 20 *ลูกเสือ-เนตรนารี 20 *ชุมนุม 20 *ชุมนุม 20 กิจกรรมเพือ่ สังคมฯ 10 กิจกรรมเพื่อสังคมฯ 5 รวม 1 ภาคเรียน 14.5 640 รวม 1 ภาคเรียน 14.5 640 หมายเหตุ - กิจกรรมแนะแนว โฮมรมู นกั เรยี นกอ่ นคาบแรก 15 นาที - กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์โรงเรยี นจดั บูรณาการในกจิ กรรมของโรงเรียนทง้ั ใน และนอกเวลาเรียน

10 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นโพธชิ์ ัยทองพิทยาคม ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน นก. ชม. นก. ชม. รายวชิ าพ้นื ฐาน 7.5 300 รายวิชาพ้นื ฐาน 7.0 340 ท31101 ภาษาไทย 1 1.0 40 ท31102 ภาษาไทย 2 1.0 40 ค31101 คณติ ศาสตร์ 1 1.0 40 ค31102 คณิตศาสตร์ 2 1.0 40 ว31101 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 1.5 60 ว31102 เทคโนโลยี 1.0 40 ส31101 สังคมศึกษา 1 1.0 40 ส31102 สังคมศึกษา 2 1.0 40 ส31103 ประวตั ิศาสตร์ 1 0.5 20 ส31104 ประวัตศิ าสตร์ 2 0.5 20 พ31101 สขุ ศึกษาพลศกึ ษา 1 0.5 20 พ31102 สขุ ศึกษาพลศกึ ษา 2 0.5 20 ศ31101 ดนตรี 0.5 20 ศ31102 ทัศนศิลป์ 0.5 20 ง31101 การงานอาชีพ 1 0.5 20 ง31102 การงานอาชพี 2 0.5 20 อ31101 ภาษาอังกฤษ 1 1.0 40 อ31102 ภาษาอังกฤษ 2 1.0 40 รายวชิ าเพม่ิ เติม 9.0 360 รายวชิ าเพิ่มเติม 9.0 360 ท30201 ภาษาไทยเพิม่ เติม 1 0.5 20 ท30202 ภาษาไทยเพ่มิ เติม 2 0.5 20 ค30201 คณิตศาสตร์เพิ่มเตมิ 1 1.5 60 ค30202 คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 2 1.5 60 ว31201 ฟิสิกส์ 1 1.5 60 ว31202 ฟิสิกส์ 2 1.5 60 ว31221 เคมี 1 1.5 60 ว31222 เคมี 2 1.5 60 ว31241 ชวี วิทยา 1 1.0 40 ว31242 ชวี วทิ ยา 2 1.5 60 ว31261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 1.0 40 ว31262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 2 1.0 40 ว30283 การตัดต่อสี 0.5 20 ส30232 หน้าท่พี ลเมือง 2 0.5 20 ส30231 หน้าท่ีพลเมือง 1 0.5 20 อ30202 ภาษาอังกฤษฟงั -พดู 0.5 20 อ30201 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 0.5 20 ส30206 การปอ้ งกันการทุจรติ 2 0.5 20 ส30205 การปอ้ งกนั การทจุ ริต 1 0.5 20 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 60 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนกั เรยี น กจิ กรรมนกั เรียน *ชุมนมุ 20 *ชุมนุม 20 กจิ กรรมเพือ่ สังคมฯ 20 กจิ กรรมเพ่อื สังคมฯ 20 รวม 1 ภาคเรยี น 16.5 720 รวม 1 ภาคเรียน 16 700 หมายเหตุ - กิจกรรมแนะแนว โฮมรูมนกั เรยี นกอ่ นคาบแรก 15 นาที - กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์โรงเรยี นจดั บูรณาการในกจิ กรรมของโรงเรียนทง้ั ใน และนอกเวลาเรยี น

11 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นโพธิ์ชัยทองพทิ ยาคม ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น นก. ชม. นก. ชม. รายวชิ าพื้นฐาน 7.0 280 รายวชิ าพืน้ ฐาน 7.0 280 ท32101 ภาษาไทย 3 1.0 40 ท32102 ภาษาไทย 4 1.0 40 ค32101 คณิตศาสตร์ 3 1.0 40 ค32102 คณติ ศาสตร์ 4 1.0 40 ว32101 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 1.5 60 ว32102 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 1.5 60 ส32101 สงั คมศกึ ษา 3 1.0 40 ส32103 สังคมศกึ ษา 4 1.0 40 ส32102 ประวัตศิ าสตร์ 3 0.5 20 ส32104 ประวัติศาสตร์ 4 0.5 20 พ32101 สขุ ศึกษาพลศกึ ษา 3 0.5 20 พ32102 สุขศึกษาพลศกึ ษา 4 0.5 20 ศ32101 ทศั นศิลป์ 0.5 20 ศ32102 ดนตรี 0.5 20 อ32101 ภาษาองั กฤษ 3 1.0 40 อ32102 ภาษาองั กฤษ 4 1.0 40 รายวชิ าเพม่ิ เติม 9.0 360 รายวิชาเพ่มิ เตมิ 9.5 380 ท30203 ภาษาไทยเพิ่มเติม 3 0.5 20 ท30204 ภาษาไทยเพ่มิ เติม 4 0.5 20 ค30203 คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 3 1.5 60 ค30204 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม 4 1.5 60 ว32203 ฟสิ กิ ส์ 3 1.5 60 ว32204 ฟสิ ิกส์ 4 1.5 60 ว32223 เคมี 3 1.0 40 ว32224 เคมี 4 1.5 60 ว32243 ชีววทิ ยา 3 1.5 60 ว32244 ชวี วิทยา 4 1.5 60 ว32263 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3 1.0 40 ว32264 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 4 1.0 40 ส30233 หนา้ ทีพ่ ลเมือง 3 0.5 20 ส30234 หน้าท่ีพลเมอื ง 4 0.5 20 ง30211 ช่างดอกไม้ประดิษฐ์ 0.5 20 ง30216 การปลกู พืชผกั สวนครัว 0.5 20 อ30203 ภาษาอังกฤษรอบรู้ 0.5 20 อ30204 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 0.5 20 ส30207 การปอ้ งกันการทุจริต 3 0.5 20 ส30208 การปอ้ งกนั การทจุ ริต 4 0.5 20 กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 60 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมนักเรียน กิจกรรมนกั เรยี น *ชุมนมุ 20 *ชุมนมุ 20 กจิ กรรมเพอ่ื สังคมฯ 20 กิจกรรมเพื่อสังคมฯ 20 รวม 1 ภาคเรียน 16 700 รวม 1 ภาคเรยี น 16.5 720 หมายเหตุ - กิจกรรมแนะแนว โฮมรมู นกั เรยี นกอ่ นคาบแรก 15 นาที - กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์โรงเรยี นจดั บูรณาการในกจิ กรรมของโรงเรียนทงั้ ใน และนอกเวลาเรยี น

12 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนโพธชิ์ ัยทองพทิ ยาคม ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น นก. ชม. นก. ชม. รายวิชาพื้นฐาน 6.5 260 รายวิชาพน้ื ฐาน 6.0 240 ท33101 ภาษาไทย 5 1.0 40 ท33102 ภาษาไทย 6 1.0 40 ค33101 คณิตศาสตร์ 5 1.0 40 ค33102 คณติ ศาสตร์ 6 1.0 40 ว33101 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกฯ 1.5 60 ว33102 เทคโนโลยี 1.0 40 ส33101 สังคมศึกษา 5 1.0 40 ส33102 สังคมศกึ ษา 6 1.0 40 พ33101 สุขศึกษาพลศกึ ษา 5 0.5 20 พ33101 สุขศึกษาพลศกึ ษา 6 0.5 20 ศ33101 นาฏศิลป์ 0.5 20 ศ33102 ทัศนศิลป์ 0.5 20 อ33101 ภาษาอังกฤษ 5 1.0 40 อ33102 ภาษาองั กฤษ 6 1.0 40 รายวิชาเพมิ่ เตมิ 10 400 รายวิชาเพมิ่ เตมิ 10.5 420 ท30205 ภาษาไทยเพมิ่ เติม 5 0.5 20 ท30206 ภาษาไทยเพิม่ เติม 6 0.5 20 ค30205 คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ 5 1.5 60 ค30206 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 1.5 60 ว33205 ฟิสิกส์ 5 1.5 60 ว33206 ฟสิ ิกส์ 6 1.5 60 ว33225 เคมี 5 1.5 60 ว33226 เคมี 6 1.5 60 ว33245 ชีววิทยา 5 1.5 60 ว33246 ชีววิทยา 6 1.5 60 ว33265 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 5 1.5 60 ว33266 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 6 1.5 60 ส30201 อาเซียนศกึ ษา 1 0.5 20 ว30282 คอมพวิ เตอรก์ ราฟฟิก 0.5 20 อ30205 การแปลเบ้ืองต้น 0.5 20 ส30202 อาเซียนศึกษา 2 0.5 20 ส30209 การป้องกนั การทจุ รติ 5 0.5 20 อ30206 การอา่ นอังกฤษเชงิ วเิ คราะห์ 0.5 20 ส30210 การปอ้ งกนั การทุจรติ 6 0.5 20 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 60 กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 60 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมนักเรียน กจิ กรรมนกั เรยี น *ชุมนุม 20 *ชุมนมุ 20 กิจกรรมเพอ่ื สังคมฯ 20 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมฯ 20 รวม 1 ภาคเรยี น 16 700 รวม 1 ภาคเรยี น 16 700 หมายเหตุ - กิจกรรมแนะแนว โฮมรมู นกั เรียนกอ่ นคาบแรก 15 นาที - กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชนโ์ รงเรยี นจดั บูรณาการในกจิ กรรมของโรงเรียนทง้ั ใน และนอกเวลาเรยี น

13 ตวั ชวี้ ัด ตัวชวี้ ดั ระบุสิ่งท่นี ักเรียนพงึ ร้แู ละปฏบิ ตั ไิ ด้ รวมท้ังคุณลกั ษณะของผ้เู รยี นในแตล่ ะระดบั ชั้นซง่ึ สะท้อน ถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรปู ธรรม นำไปใชใ้ นการกำหนดเน้ือหา จัดทำ หน่วยการเรียนรู้ จดั การเรยี นการสอน และเปน็ เกณฑส์ ำคญั สำหรบั การวดั ผลและประเมนิ ผลเพือ่ ตรวจสอบ คณุ ภาพผู้เรยี น 1. ตวั ชี้วดั ช้ันปี เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผเู้ รียนแต่ละชนั้ ปีในระดับการศกึ ษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปที ่ี 1–มัธยมศึกษาปีท่ี 3) 2. ตัวชวี้ ดั ชนั้ ปี เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาผู้เรียนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 4-6) สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ ประกอบด้วย องคค์ วามรู้ ทกั ษะหรอื กระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ซ่งึ กำหนดใหผ้ ู้เรยี นทุกคนในระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานจำเปน็ ต้องเรียนรู้ โดยแบง่ เปน็ 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ดงั น้ี ภาษาไทย : ความรู้ ทกั ษะและวฒั นธรรมการใช้ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร ความชน่ื ชม การเห็นคุณค่า ภมู ปิ ัญญาไทย และภมู ิใจในภาษาประจำชาติ คณติ ศาสตร์ : การนำความรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา การดำเนนิ ชวี ติ และศกึ ษาตอ่ การมเี หตุมีผล มเี จตคตทิ ี่ดีต่อคณติ ศาสตร์ พฒั นาการคิดอย่างเป็นระบบ และ สร้างสรรค์ วทิ ยาศาสตร์ : การนำความรแู้ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหา ความรู้ และแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบการคิดอย่างเปน็ เหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม : การอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสขุ การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย สขุ ศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ทักษะและเจตคตใิ นการสรา้ งเสรมิ สุขภาพพลานามยั ของตนเอง และผ้อู น่ื การปอ้ งกนั และปฏิบตั ิต่อสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีมผี ลตอ่ สขุ ภาพอยา่ งถกู วธิ แี ละทกั ษะในการดำเนินชวี ติ ศิลปะ : ความรแู้ ละทกั ษะในการคิดรเิ รม่ิ จินตนาการ สรา้ งสรรคง์ านศิลปะ สุนทรียภาพและ การเห็นคณุ ค่าทางศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทำงาน การจัดการ การดำรงชีวติ การประกอบอาชีพ และการใชเ้ ทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ : ความรู้ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใชภ้ าษาต่างประเทศในการ ส่อื สาร การแสวงหาความรู้ และการประกอบอาชีพ

14 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน 8 กล่มุ สาระ การเรียนรู้ จำนวน 64 มาตรฐาน ดังนี้ ภาษาไทย สาระที่ 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพื่อนำไปใช้ตดั สนิ ใจแก้ปญั หา ในการดำเนนิ ชวี ติ และมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรอ่ื งราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น คณุ ค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง คณติ ศาสตร์ สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของ จำนวนผลทีเ่ กดิ ขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสมั พันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ ิพจน์ สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ์ อธิบายความสัมพันธห์ รอื ช่วยแก้ปัญหา ที่กำหนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเกย่ี วกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ท่ีต้องการวัด และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.3 เข้าใจเรขาคณติ วเิ คราะห์ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.4 เขา้ ใจเวกเตอร์ การดำเนินการของเวกเตอร์ และนำไปใช้

15 สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนบั เบอื้ งตน้ ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้ สาระท่ี 4 แคลลูลสั มาตรฐาน ค 4.1 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน วทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหวา่ งสงิ่ ไมม่ ีชวี ิต กับสิง่ มชี ีวติ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมชี ีวิตกับส่ิงมีชีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของ ประชากร ปญั หาและผลกระทบทม่ี ตี อ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชีวิต หนว่ ยพ้นื ฐานของสง่ิ มชี วี ิต การลำเลยี งสาร เข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ยท์ ่ีทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้างและหน้าท่ี ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทำงานสัมพันธก์ นั รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม สารพนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพันธกุ รรมท่ีมผี ลตอ่ ส่งิ มชี วี ิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของส่งิ มชี วี ิต รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหว่างสมบตั ิ ของสสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนี่ยวระหวางอนภุ าค หลักและธรรมชาติ ของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ า เคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงที่กระทำต่อวตั ถุ ลกั ษณะ การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุรวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ ที่เก่ยี วข้องกบั เสียง แสง และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทง้ั นำ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลกซี่ ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมทงั้ ปฏิสัมพนั ธภ์ ายในระบบสุริยะ ท่สี ง่ ผลตอ่ ส่ิงมีชวี ิต และการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

16 มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลง ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พ่ือการดำรงชวี ติ ในสังคมที่มีการเปลยี่ นแปลง อย่างรวดเร็ว ใชค้ วามรแู้ ละทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ ่นื ๆ เพอ่ื แกป้ ัญหาหรือพัฒนางานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ดว้ ยกระบวนการ ออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวติ จริงอย่างเปน็ ขน้ั ตอน และเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมจี ริยธรรม สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตน นับถอื และศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาท่ีถูกต้อง ยดึ มั่น และปฏบิ ัติตาม หลักธรรม เพ่อื อยู่รว่ มกัน อย่างสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนักและปฏบิ ัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธำรงรักษาพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ สาระที่ 2 หนา้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหนา้ ที่ของการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านิยมท่ีดีงามและธำรง รกั ษา ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยรู่ ่วมกันในสังคมไทย และ สังคม โลกอยา่ งสนั ติ สขุ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจบุ นั ยึดมนั่ ศรัทธา และธำรง รกั ษาไวซ้ ึง่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใชท้ รพั ยากร ทีม่ ีอยู่อยา่ งจำกดั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและคมุ้ ค่า รวมทงั้ เขา้ ใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื การดำรงชวี ติ อย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ และความ จำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ

17 มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพฒั นาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดตี จนถงึ ปัจจุบนั ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างต่อเน่อื ง ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทย มคี วามรัก ความภูมใิ จ และธำรงความเปน็ ไทย สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลก และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมผี ลต่อกนั และการใช้แผนที่และเครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการค้นควา้ วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งมนษุ ยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพที่ก่อให้เกดิ การ สรา้ งสรรค์ วถิ ีการดำเนินชวี ิต มจี ติ สำนึก และมีส่วนร่วมในการจดั การทรพั ยากร และส่ิงแวดลอ้ ม เพ่อื การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื สขุ ศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 1 การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สาระท่ี 2 ชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต สาระท่ี 3 การเคลอ่ื นไหว การออกกำลงั กาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มที ักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกำลงั กาย การเล่นเกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบัตเิ ป็นประจำ อยา่ งสม่ำเสมอ มีวินยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีน้ำใจนักกีฬา มีจติ วิญญาณ ในการแขง่ ขนั และชนื่ ชมในสนุ ทรียภาพของการกฬี า สาระท่ี 4 การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมที กั ษะในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลกี เลยี่ งปัจจยั เส่ยี ง พฤตกิ รรมเสย่ี งต่อสขุ ภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง ศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่องานศลิ ปะ อยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน

18 มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างทศั นศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่า งาน ทศั นศิลป์ทเี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทย และสากล สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ ใชใ้ นชวี ิต ประจำวนั มาตรฐาน ศ 2.2 เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ ของ ดนตรที ่ี เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ คณุ ค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างนาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศลิ ป์ ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภมู ิปัญญาไทย และสากล การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 1 การดำรงชวี ิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 เขา้ ใจการทำงาน มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกนั และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม และลักษณะนสิ ยั ในการทำงาน มจี ติ สำนึก ในการใช้ พลังงาน ทรพั ยากร และส่ิงแวดลอ้ ม เพ่อื การดำรงชวี ติ และครอบครวั สาระที่ 4 การอาชพี มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะท่จี ำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเ้ ทคโนโลยี เพอื่ พัฒนาอาชพี มีคุณธรรม และมีเจตคติท่ดี ีต่ออาชีพ ภาษาต่างประเทศ สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรอ่ื งที่ฟงั และอา่ น จากสือ่ ประเภทต่าง ๆ และแสดงความคดิ เห็น อย่างมีเหตผุ ล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสอ่ื สารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เห็นในเร่อื งตา่ ง ๆ โดยการพูด และการเขียน

19 สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากบั วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของ ภาษากับ ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในการเชอื่ มโยงความรกู้ บั กลุ่มสาระการเรียนร้อู ื่น และเปน็ พนื้ ฐานใน การพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสมั พนั ธ์กับชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ ่าง ๆ ทัง้ ในสถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม มาตรฐาน ต 4.2 ใชภ้ าษาต่างประเทศเปน็ เคร่อื งมอื พื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้กบั สังคมโลก การจัดหลักสูตร โรงเรยี นโพธิช์ ยั ทองพิทยาคม ไดจ้ ัดหลักสูตรตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน โดยมี ระดบั การศึกษา 2 ระดับ ดงั น้ี 1. ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3) เปน็ ช่วงสุดท้ายของการศกึ ษาภาคบังคับ ม่งุ เน้นใหผ้ ู้เรียนได้สำรวจความถนดั และความสนใจของตนเอง สง่ เสรมิ การพฒั นาบุคลิกภาพสว่ นตน มีทกั ษะ ในการคดิ วจิ ารณญาณ คิดสรา้ งสรรค์ และคิดแกป้ ญั หา มีทักษะในการดำเนนิ ชีวิต มีทกั ษะการใช้เทคโนโลยี เพือ่ เป็นเครื่องมือในการเรยี นรู้ มีความรับผิดชอบต่อสงั คม มีความสมดุลทัง้ ดา้ นความรู้ ความคิด ความดี งาม และมีความภมู ิใจในความเปน็ ไทย ตลอดจนใช้เป็นพืน้ ฐาน ในการประกอบอาชีพหรอื การศึกษาต่อ 2. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6) การศึกษาระดับนี้เน้นการเพ่มิ พูน ความรู้ และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเ้ รียนแต่ละคนทัง้ ด้าน วชิ าการ และวชิ าชีพ มีทกั ษะในการใชว้ ิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคดิ ข้ันสงู สามารถนำความรู้ ไป ประยกุ ต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ มุง่ พัฒนาตนและประเทศตามบทบาท ของตน สามารถเป็นผ้นู ำ และผู้ใหบ้ รกิ ารชุมชนในดา้ นตา่ ง ๆ การจัดเวลาเรียน 1. ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) จัดเวลาเรยี นเปน็ รายภาค คิดน้ำหนักของ รายวิชาท่ีเรยี นเป็นหนว่ ยกติ ใชเ้ กณฑ์ 40 ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรียนมคี ่าน้ำหนกั วชิ า เท่ากับ 1 หน่วย กติ (นก.) 2. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6) ใหจ้ ัดเวลาเรยี นเป็นรายภาค คดิ น้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเปน็ หน่วยกติ ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมง ตอ่ ภาคเรยี น มีคา่ น้ำหนกั วิชา เท่ากบั 1 หนว่ ย กติ (นก.)

20 ส่วนท่ี 3 คำอธิบายรายวิชา หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นโพธิช์ ยั ทองพทิ ยาคม พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดคำอธิบายรายวิชาของวิชาต่าง ๆ ที่สอนในแตล่ ะปี การศกึ ษา ซงึ่ ประกอบดว้ ย ชอ่ื รหัสวิชา ชอ่ื รายวิชา จำนวนช่ัวโมงตอ่ ปีผลการเรียนรู้ที่ คาดหวงั และสาระการ เรียนร้รู ายปี คำอธิบายรายวชิ าจะชว่ ยให้ผู้สอนจดั หนว่ ยการเรียนรูใ้ นแตล่ ะชัน้ ปไี ดส้ อดคล้องกบั มาตรฐานการ เรยี นรเู้ น่ืองจากคำอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรยี นร้ทู ผ่ี ู้เรยี นต้องเรยี นรตู้ ลอดทั้งปขี องกลมุ่ สาระการ เรยี นรูต้ ลอดปีจะมีจำนวนมาก ดังนนั้ การจดั เป็นหนว่ ยการเรียนรู้หลาย ๆ หน่วย จะชว่ ยให้กลมุ่ ของสาระการ เรยี นรมู้ ขี นาดเลก็ ลง และบูรณาการไดห้ ลากหลายมากขนึ้ โรงเรยี นเทศบาลบ้านสามเหลี่ยม ได้กำหนด รายละเอียดของคำอธิบายรายวิชาเรียงตามลำดับไว้ ดังน้ี 1. คำอธบิ ายรายวชิ ากลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 2. คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 3. คำอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. คำอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. คำอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา 6. คำอธิบายรายวิชากลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ 7. คำอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี 8. คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ 9. กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

21 กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

22 รายวิชาพ้ืนฐาน

23 คำอธิบายรายวิชา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 1 รหัสวชิ า ท21101 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับเรื่องท่อี า่ น จับใจความสำคญั ระบเุ หตแุ ละผล ขอ้ เทจ็ จริงกับขอ้ คิดเห็น วเิ คราะหค์ ณุ คา่ ทไ่ี ดร้ บั จากเร่ืองทอี่ ่านงานเขยี นอย่างหลากหลาย เพอื่ นำไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวติ เขียนส่อื สารโดยใช้คำถูกต้องชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย เขยี นบรรยาย ประสบการณ์ โดยระบสุ าระสำคญั และรายละเอยี ดสนับสนนุ เขียนจดหมายส่วนตวั และจดหมายกจิ ธุระ พูดสรปุ ใจความสำคัญ เลา่ เร่ืองยอ่ แสดงความคิดเห็นอยา่ งสร้างสรรคเ์ ก่ียวกับเรอื่ งท่ีฟงั ดู อธบิ ายลักษณะของ เสยี งในภาษา สรา้ งคำในภาษาไทย วิเคราะหช์ นดิ และหนา้ ทีข่ องคำในประโยค สรปุ เนอื้ หา ความรู้ อธิบาย คณุ ค่าของวรรณคดี และวรรณกรรม และขอ้ คดิ เห็นจากการอ่านเพื่อประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ โดยใช้กระบวนการปฏบิ ตั ิ การอา่ นอย่างมวี จิ ารณญาณ กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการฝึก ปฏิบตั กิ ารเขยี น คัดลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การฟงั การดู การพูด เหน็ คุณค่าที่ไดร้ ับจากการอา่ น การเขียน อยา่ งหลากหลาย เพือ่ นำไปใช้แก้ปัญหาในชวี ิตประจำวนั มมี ารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ตัวชว้ี ัด ท 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/8, ม.1/9 ท 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/7, ม.1/9 ท 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/6 ท 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ท 5.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/4 รวม 20 ตัวช้ีวัด

24 คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 2 รหสั วชิ า ท21102 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จับใจความสำคญั จากเร่อื งที่อา่ น ระบุและอธบิ ายคำเปรยี บเทียบและคำท่ีมีหลายความหมายในบริบท ตา่ ง ๆ จากการอ่าน ตีความคำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบรบิ ท ระบุข้อสังเกต และความ สมเหตุสมผลของงานประเภทชักจูงโน้มนา้ วใจ ปฏิบัตติ ามคมู่ ือแนะนำวธิ ใี ช้ การใช้งานของเครอ่ื งมอื หรอื เครอ่ื งใชใ้ นระดบั ทย่ี ากขึ้น วเิ คราะห์คุณคา่ ทไ่ี ด้รบั จากการอา่ น งานเขียนอยา่ งหลากหลายเพอื่ นำไปใช้ แก้ปญั หาในชวี ติ และมมี ารยาทในการอา่ น เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั สาระจากส่ือท่ีได้รับ เขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ โครงงาน และมีมารยาทในการเขียน ประเมินความน่าเช่ือถือของส่ือที่มีเน้ือหาโน้มน้าวใจ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้า จากการฟัง การดู และการสนทนา มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด วิเคราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน แต่งบทร้อยกรอง (กาพยย์ านี 11) จำแนก และใช้สำนวนทเ่ี ป็นคำพังเพยและสุภาษติ วิเคราะห์วรรณคดี และวรรณกรรมท่อี ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ สรปุ ความรู้และข้อคดิ เหน็ จากการ อ่านเพื่อประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ ตวั ช้วี ัด ท 1.1 ม.1/2, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9 ท 2.1 ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/8, ม.1/9 ท 3.1 ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6 ท 4.1 ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6 ท 5.1 ม.1/2, ม.1/4, ม.1/5 รวม 21 ตัวช้ีวัด

25 คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 3 รหสั วิชา ท22101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชวั่ โมง อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง จับใจความสำคัญและ รายละเอียดของส่งิ ท่ีอ่าน เขียนผังความคิดจากสิ่งทอี่ ่านได้ วิเคราะหแ์ ละจำแนกขอ้ เท็จจรงิ อยา่ งมเี หตผุ ล ลำดบั ตามอย่างมีขั้นตอนและความเปน็ ไปได้ของเรื่องท่ีอา่ น เขยี นส่อื สารด้วยลายมอื ทอ่ี ่านงา่ ย ชัดเจน เขียน บรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เขยี นยอ่ ความ และเขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าได้ พูดสรุปความ ข้อเท็จจริง ขอ้ คดิ เห็น และความน่าเชื่อถอื ของข่าวสารจากเร่อื งทฟี่ งั และดูอยา่ งมเี หตุผล นำข้อคดิ ไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ และมมี ารยาทในการอ่าน เขียน และพดู สร้างคำในภาษาไทย รวบรวมอธิบายความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย และแตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนสภุ าพได้ สรปุ เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ า่ น วิถชี ีวิตไทยและคณุ ค่าท่ไี ด้รบั จากวรรณคดี วรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมท้ังสรุปความรู้ ข้อคิด เพ่ือนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรทู้ างภาษา สรา้ งเจตคติ ปฏิบตั ิการเรียนรู้ร่วมกนั การสร้างความคดิ รวบยอด การวิเคราะห์ การแยกแยะ การสงั เคราะห์ การสร้างความตระหนัก การเรียนรแู้ บบกระบวนการกล่มุ เพอ่ื ให้ เกดิ ทักษะ ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถใช้ภาษาส่ือสารไดอ้ ยา่ งมเี หตุผล ถูกตอ้ ง และมปี ระสิทธภิ าพ นำความรู้ ไปใชใ้ นการตัดสินใจแกป้ ญั หา และเปน็ ประโยชน์ในการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ มีจิต สาธารณะ รักความเปน็ ไทย มวี นิ ยั ซือ่ สัตย์สุจรติ อยู่อยา่ งพอเพียง มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่ เหมาะสม ตวั ชว้ี ดั ท 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/5, ม.2/8 ท 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/8 ท 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/4, ม.2/6 ท 4.1 ม.2/1, ม.2/3, ม.2/5 ท 5.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5 รวม 23 ตัวช้วี ัด

26 คำอธบิ ายรายวิชา กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 4 รหัสวชิ า ท22102 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง จบั ใจความสำคัญและ รายละเอียดของสง่ิ ท่ีอ่าน เขียนผังความคดิ จากสงิ่ ท่ีอ่านได้ อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และข้อโตแ้ ย้งเกย่ี วกบั เร่ืองท่อี า่ น วเิ คราะห์ วจิ ารณ์อยา่ งมเี หตุผล ระบุข้อสังเกตการโน้มนา้ วใจ หรอื ความสมเหตุสมผลของงานท่ี เขียน อ่านหนังสอื บทความหรอื คำประพันธ์อย่างหลากหลาย รวมทั้งประเมนิ คณุ คา่ หรอื แนวคดิ ที่ได้จากการ อ่านเพ่อื นำไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวิตประจำวัน เขียนสือ่ สารด้วยลายมือท่ีสวยงาม ชดั เจน เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ เขยี นรายงานการคน้ คว้า เขียนจดหมายกิจธุระ เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์และแสดงความรู้ ความเห็น หรอื โตแ้ ยง้ ในเร่ืองที่อ่านอย่างมีเหตผุ ล พดู สรปุ ความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ เรอื่ งที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรอื่ งหรือประเด็นท่ศี กึ ษาค้นควา้ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง ดูและพูด และมี มารยาทในการอ่าน เขียน และพดู เข้าใจและใช้คำราชาศัพท์ คำภาษาต่างประเทศ วเิ คราะห์โครงสรา้ งของ ประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน แต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ สรุปเนอ้ื หาของวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีอา่ น วเิ คราะห์ตวั ละครท่สี ำคญั วถิ ีชีวิตไทยและคุณค่าทไี่ ด้รบั จากวรรณคดี วรรณกรรมและ บทอาขยาน พรอ้ มทง้ั สรุปความรู้ ขอ้ คิด เพือ่ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ทางภาษา สรา้ งเจตคติ ปฏิบตั กิ ารเรยี นรรู้ ่วมกนั การสรา้ งความคิดรวบยอด การวิเคราะห์ การแยกแยะ การสังเคราะห์ การสร้างความตระหนัก เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถใช้ ภาษาสอ่ื สารไดอ้ ย่างมเี หตผุ ล ถูกตอ้ ง และมีประสิทธภิ าพ นำความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจแกป้ ญั หา และเป็น ประโยชน์ในการดำเนินชวี ิตประจำวัน รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มจี ติ สาธารณะ รกั ความเปน็ ไทย มีวนิ ัย ซ่อื สตั ย์ สุจริต อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่เี หมาะสม ตวั ชี้วดั ท 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8 ท 2.1 ม.2/1, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8 ท 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6 ท 4.1 ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ท 5.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5 รวม 29 ตวั ช้วี ัด

27 คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 5 รหัสวชิ า ท23101 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง อ่านออกเสยี งร้อยแก้วรอ้ ยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายของคำท้ังโดยตรงและ โดยนัย จบั ใจความสำคัญและรายละเอยี ดของเนอื้ เร่ืองท่ีอ่านได้ เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ บันทึกย่อ และเขยี นรายงานเรื่องทอ่ี า่ นด้วยลายมอื ทีอ่ า่ นงา่ ย วิเคราะห์ วิจารณ์และประเมนิ ค่าความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ใชถ้ อ้ ยคำภาษาไดถ้ ูกตอ้ งตามระดับของภาษา เขียนเลา่ เหตุการณ์ ชวี ประวัติ อัตชีวประวัติ เขยี นแสดง ข้อคดิ เห็น ทศั นคตใิ นเรื่องต่าง ๆ เขียนอธิบายและแสดงขอ้ โตแ้ ยง้ อยา่ งมเี หตุผลและย่อความเรอ่ื งต่าง ๆ ได้ พดู แสดงความคิดเหน็ และประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ คิดเห็นเกี่ยวกับเรือ่ งทฟ่ี ังและดู พูดรายงาน เร่ืองท่ศี ึกษาคน้ ควา้ และพูดในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ มีมารยาทในการอา่ น ฟัง ดู และพดู ศึกษาเข้าใจลกั ษณะของคำบาลี สนั สกฤต คำภาษาตา่ งประเทศอนื่ ๆตลอดจนภาษาถน่ิ คำทับศัพท์และศพั ท์ บญั ญัติ เขา้ ใจโครงสรา้ งของประโยคซบั ซอ้ น แต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนและกาพย์ สรุปเน้อื หา วเิ คราะหต์ วั ละคร วถิ ีชีวติ ไทยและคุณคา่ ของวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถ่นิ ท่องจำบทร้อยกรอง ทีม่ คี ณุ ค่าและนำไปประยกุ ตใ์ ช้อา้ งอิงในชวี ติ ได้ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางภาษา ทักษะกระบวนการคดิ วิเคราะห์ การฝกึ ปฏิบัติ การสืบคน้ ความรู้ การจดบันทึก เพอ่ื มุง่ แสวงหาความรูอ้ ย่างมีคุณธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รักความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ มีเจตคติท่ีดี ภาคภมู ิใจในภาษาไทยและความเป็นไทย ตัวชี้วดั ท 1.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3, ม3/4, ม3/5, ม3/6, ม3/10 ท 2.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3, ม3/4, ม3/6, ม3/10 ท 3.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3, ม3/4, ม3/6 ท 4.1 ม3/1, ม3/2, ม3/4, ม3/6 ท 5.1 ม3/1, ม3/2, ม3/4 รวม 25 ตัวชีว้ ดั

28 คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 6 รหัสวิชา ท23102 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง รับสารโดยการอา่ นออกเสียง บทความ ร้อยแก้ว ร้อยกรองถกู ต้องเหมาะสมกับเร่ืองที่อ่าน วิจารณ์ ความสมเหตผุ ล การลำดบั ความและความเปน็ ไปได้ วเิ คราะห์ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ย้งหรอื เหน็ ด้วยเก่ียวกับ เรอ่ื งท่อี า่ น ตีความและประเมินคา่ แนวคดิ จากงานเขยี น เพื่อนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคดิ เห็นในเรือ่ งต่าง ๆ กรอกแบบสมัครงานและเขียนบรรยายความรู้ความสามารถ และทักษะของตนเองทเี่ หมาะสมกับงาน เขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าและเขียนรายงานโครงงานด้วยลายมือ ทอี่ ่านงา่ ย พดู รายงานเรื่องที่ได้ศกึ ษาค้นควา้ พูดโนม้ น้าวใจอยา่ งมเี หตผุ ลและนา่ เชือ่ ถอื มมี ารยาทในการอ่าน เขียน ฟัง ดแู ละพูด ใช้คำศัพทไ์ ดถ้ ูกตอ้ งตามระดบั ของภาษา อธิบายความหมายของคำศัพท์ทางวิชาการและ วชิ าชพี ได้ถกู ตอ้ ง แต่งบทรอ้ ยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพไดถ้ กู ตอ้ งตามฉนั ทลักษณ์ วิเคราะหค์ ณุ คา่ และสรปุ ความรู้ ข้อคดิ จากวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถ่นิ เพอื่ นำไปประยกุ ต์ใช้ ทอ่ งจำบทประพนั ธ์ท่ีมี คุณค่าและนำไปใชอ้ า้ งองิ ในชีวิตได้ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางภาษา กระบวนการกลมุ่ สมั พันธ์ ทักษะกระบวนการคิดวเิ คราะห์ การฝกึ ปฏบิ ัติ การสืบค้นความรู้ การจดบนั ทึก จดั การเรียนรู้แบบโครงงาน ฝกึ การเป็นผ้นู ำและผ้ตู าม เพือ่ มงุ่ แสวงหาความรูอ้ ยา่ งมีคุณธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มคี วามซื่อสตั ยส์ ุจริต มุ่งมน่ั ในการทำงาน ใช้ชวี ิตอย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีเจตคติท่ีดี ภาคภูมใิ จในภาษาไทยและความเป็นไทย ตัวชี้วดั ท 1.1 ม3/1, ม3/7, ม3/8, ม3/9, ม3/10 ท 2.1 ม3/1, ม3/5, ม3/7, ม3/8, ม3/9, ม3/10 ท 3.1 ม3/3, ม3/5, ม3/6 ท 4.1 ม3/3, ม3/5, ม3/6 ท 5.1 ม3/2, ม3/3, ม3/4 รวม 20 ตัวชวี้ ดั

29 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย 1 รหสั วิชา ท31101 จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง ศกึ ษาการอา่ นจบั ใจความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น ข่าวจากหนงั สือพมิ พ์ ส่ืออเิ ลกทรอนิกส์และแหล่ง เรยี นร้ตู า่ ง ๆ เช่น บทความ นทิ าน เร่อื งสนั้ นวนยิ าย วรรณกรรมพน้ื บา้ น วรรณคดีในบทเรยี น บทโฆษณา มี มารยาทในการอา่ น การเขยี นส่ือสารในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะคติ โต้แย้ง โน้มนา้ ว การเขยี นย่อความจากสื่อต่าง ๆ เช่น กวนี พิ นธแ์ ละวรรณคดี เรอ่ื งส้ัน สารคดี นวนิยาย บทความเชงิ วิชาการและวรรณกรรมพืน้ บ้าน การประเมินคณุ ค่างานเขียนในดา้ นต่าง ๆ เชน่ แนวคิดของผ้เู ขียน การใชถ้ อ้ ยคำ การเรยี บเรียงถ้อยคำ การเขียนสำนวนโวหาร และมารยาทในการเขียนการพดู สรุปแนวคดิ และ การแสดงความคิดเห็นจากเรื่องทฟี่ ังและดู การเลือกเรือ่ งที่ฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ การประเมนิ เร่อื งทีฟ่ ังและดู การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ เชน่ การพดู ตอ่ ทช่ี มุ ชน การพูดอภปิ ราย การพดู แสดง ทรรศนะ มารยาทในการฟัง การดูและการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังภาษา ลกั ษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องคป์ ระกอบของภาษาและคำ การประเมนิ การใช้ภาษาจากสิง่ พิมพ์ หลกั และการ วิเคราะหว์ จิ ารณ์วรรณคดี จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดี และวรรณกรรมการพิจารณารูปแบบและเนอื้ หาของ วรรณกรรม วรรณกรรมพนื้ บ้านทแี่ สดงถึง เช่น ภาษากับวัฒนธรรม ภาษาถนิ่ โดยใช้ทักษะกระบวนการความรูค้ วามเขา้ ใจ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสรา้ งคา่ นิยม กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการ แก้ไขปญั หา เพอื่ ให้นักเรยี นเกิดคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตยส์ ุจริต มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ ม่ันในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ตัวช้ีวัด ท 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/5, ม.4-6/7, ม.4-6/9 ท 2.1 ม.4-6/1, ม.4-6/3, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7 ท 3.1 ม.4-6/1, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6 ท 4.1 ม.4-6/1, ม.4-6/5, ม.4-6/7 ท 5.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3 รวม 20 ตัวช้ีวัด

30 คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย 2 รหสั วชิ า ท31102 จำนวน 1.0 หน่วยกิต ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง ศกึ ษาการอ่านจับใจความจากสอื่ ต่าง ๆ เช่น ข่าวจากสอ่ื สิ่งพมิ พ์ และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน บทความ นทิ าน เรื่องสั้น นวนยิ าย วรรณกรรมพน้ื บ้าน วรรณคดีในบทเรียน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา การเขยี นในรปู แบบต่าง ๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมนิ คณุ ค่างานเขียนในด้านต่าง ๆ เช่น แนวคิดของผู้เขียน การใชถ้ อ้ ยคำ การเรยี บเรียงโวหาร กลวธิ ใี นการเขยี น การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนบนั ทึก ความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย การพูดสรปุ แนวคิดและการแสดงความคิดเห็นจากเรอ่ื ง ทีฟ่ ังและดู การวิเคราะหแ์ นวคิด การใช้ภาษาและความนา่ เชื่อถือจากเร่ืองที่ฟงั และดู การใช้คำและกลมุ่ คำ สร้างประโยค คำและสำนวน การร้อยเรยี งประโยค การเพิม่ คำ การใช้คำ การเขียนสะกดคำ กาพย์ โคลง รา่ ย และฉันท์ อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถน่ิ การประเมนิ การใช้ภาษาส่ิงพิมพ์ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการ ความรู้ความเขา้ ใจ กระบวนการกล่มุ กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการตระหนัก กระบวนการสรา้ งเจตคติ กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการปฏิบัติ แระบวนการ แก้ปญั หา เพอ่ื ให้นกั เรยี นเกิดคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซื่อสตั ว์สุจรติ มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ มั่นในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ ตวั ช้ีวัด ท 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/6, ม.4-6/8 ท 2.1 ม.4-6/2, ม.4-6/4, ม.4-6/5 ท 3.1 ม.4-6/3 ท 4.1 ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/6 ท 5.1 ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6 รวม 15 ตวั ชวี้ ัด

31 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย 3 รหสั วิชา ท32101 จำนวน 1.0 หน่วยกิต ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่วั โมง ศกึ ษาการอา่ นออกเสยี ง ประกอบด้วย บทรอ้ ยแก้วทีเ่ ปน็ บทความ นทิ าน เร่อื งสน้ั นวนิยาย วรรณกรรมพน้ื บ้าน วรรณคดีในบทเรียน รวมทัง้ บทร้อยกรองรว่ มสมยั และสามารถตคี วาม แปลความ ขยายความ วเิ คราะห-์ วิจารณ เรือ่ งที่อ่าน รวมทั้งเรียนสื่อสารในรูปแบบตา่ ง ๆ ไดต้ รงตาม วัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการเขยี น สามารถทจี่ ะสรปุ แนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเร่อื งทฟี่ งั และดู วิเคราะห์และประเมินเรื่องท่ีฟัง และดูได้อยา่ งมเี หตผุ ล เพอ่ื กำหนดแนวทางในการนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ ดำเนนิ ชีวิต นอกจากนั้นตอ้ งรู้จักใชค้ ำและกล่มุ คำสรา้ งประโยค เพื่อนำมาแตง่ บทร้อยกรอง ทำให้เห็นคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยโดยเฉพาะทางประวัตศิ าสตรแ์ ละวถิ ีชีวิตของสังคมไทยในอดตี ซง่ึ ถอื ว่าเป็น มรดกและวัฒนธรรมของชาติ โดยใช้ทักษะกระบวนการเรียนรูด้ ้วยตนเอง กระบวนการกล่มุ กระบวนการตระหนกั กระบวนการ สร้างเจตคติ กระบวนการสร้างคา่ นิยม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ปัญหา เพือ่ ใหน้ ักเรียนเกิดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คอื รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอื่ สัตยส์ จุ ริต มวี ินัย ใฝร่ ู้ ใฝเ่ รียน อยู่อยา่ งพอเพียง มุ่งม่ันในการทำงาน มีจติ สาธารณะ และปลอดสารเสพตดิ ตวั ชว้ี ัด ท 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3 ท 2.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/8 ท 3.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3 ท 4.1 ม.4-6/2, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/7 ท 5.1 ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4 รวม 18 ตวั ชีว้ ัด

32 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 4 รหสั วิชา ท32102 จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ช่วั โมง ศึกษาหลกั การ วธิ กี ารพดู ฝกึ การพดู ในรูปแบบของการสนทนา การสมั ภาษณ์ การพดู ในท่ีประชมุ การอภปิ รายในกลุ่มและในทป่ี ระชุม และการอา่ นให้ที่ประชุมฟัง เพอื่ พัฒนาสมรรถภาพในการพูดของตนเองให้ ถกู ตอ้ งตามหลักการและวธิ ีการ มีจรรยาบรรณความรบั ผดิ ชอบและคุณธรรมในการพูด โดยใชท้ กั ษะกระบวนการเรยี นความร้คู วามเขา้ ใจ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการวิจารณญาณ กระบวนการตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสรา้ งค่านิยม กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการแกป้ ญั หา เพื่อใหน้ ักเรยี นเกดิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ย์สุจรติ มีวนิ ยั ใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น อยู่อยา่ งพอเพยี ง มงุ่ ม่ันในการทำงาน มีจิตสาธารณะ และปลอดสารเสพติด ตวั ชว้ี ัด ท 1.1 ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/9 ท 2.1 ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7 ท 3.1 ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6 ท 4.1 ม.4-6/6 ท 5.1 ม.4-6/1, ม.4-6/5, ม.4-6/6 รวม 15 ตัวชว้ี ดั

33 คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย 5 รหสั วิชา ท33101 จำนวน 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชว่ั โมง ศกึ ษาการอา่ นออกเสียงประกอบดว้ ยบทรอ้ ยแก้วประเภทบทความ นวนิยาย บทรอ้ ยกรอง เช่น โคลงฉันท์ กาพย์ รา่ ย ลิลิต การอ่านจับใจความจากเร่ืองตา่ ง ๆ เช่น บทความ นวนยิ าย วรรณกรรมพืน้ บา้ น วรรณคดใี นบทเรยี น บันเทิงคดี บทร้อยกรองร่วมสมัย บทอาเศียรวาท ปาฐกถา การเขียนสอ่ื สารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น บรรยาย พรรณนา แสดงทัศนะ โต้แยง้ โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกจิ ธรุ ะ โครงการและ รายงานการดำเนินโครงการ รายงานการประชุม และ สอบยอ่ ความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ กวีนพิ นธ์ และวรรณคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพน้ื บา้ น การเขียนในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี มารยาทในการเขยี น การวิเคราะห์แนวคดิ การใชภ้ าษา และความน่าเชอื้ ถือจากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู การ ประเมินเรื่องทฟี่ งั และดู เพ่ือกำหนดแนวทางนำไปประยุกตใ์ ช้มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู การใชค้ ำ และกลุม่ คำสร้างประโยค คำ และ สำนวน การร้อยเรียงประโยค การเพิม่ คำ การใช้คำ ฉันท์ หลกั การวเิ คราะห์ และวิจารณ์ วรรณคดี และวรรณกรรมเบ้ืองตน้ จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดี และ วรรณกรรม การพจิ ารณารูปแบบ ของวรรณคดี และวรรณกรรม การพจิ ารณาเนอ้ื หาและกลวิธีใน วรรณคดี และวรรณกรรม การวิเคราะห์ และการวจิ ารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะหล์ ักษณะเด่น ของวรรณคดี และ วรรณกรรม เก่ยี วกบั เหตุการณ์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวถิ ชี ีวติ ของสงั คมในอดีต การวเิ คราะห์ และประเมนิ คา่ วรรณคดี และ วรรณกรรม ดา้ นวรรณศลิ ป์ ด้านสงั คม และวัฒนธรรม โดยใชท้ กั ษะกระบวนการเรียนความรคู้ วามเขา้ ใจ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการวิจารณญาณ กระบวนการตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสร้างค่านยิ ม กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการแกป้ ญั หา เพื่อใหน้ ักเรยี นเกิดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คอื รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สัตยส์ ุจริต มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มงุ่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ ตวั ชี้วัด ท 1.1 ม.4-6/, ม.4-6/2 ท 2.1 ม.4-6/1, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/8 ท 3.1 ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/6 ท 4.1 ม.4-6/2, ม.4-6/4 ท 5.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3 รวม 14 ตัวชีว้ ัด

34 คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำนวน 1.0 หน่วยกิต รายวิชา ภาษาไทย 6 รหัสวิชา ท33102 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง ท่องจำอาขยานหรือบทประพันธ์ทีม่ ีคุณคา่ อ่านจับใจความจากส่ือสง่ิ พมิ พ์ ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ วิเคราะหว์ จิ ารณ์ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ ด้วยถ้อยคำท่ีสุภาพ ประเมินค่างานเขยี น นำไปใช้ในชีวิตจรงิ เขยี น รายงายเชงิ วิชาการโดยใช้ขอ้ มูลสารสนเทศอ้างองิ เขยี นบนั ทกึ ความรจู้ ากแหลง่ เรียนรทู้ ี่หลากหลาย ร้จู ักเลือก เรอื่ งท่ีฟงั และดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ การพูดโนม้ น้าวใจ พูดโตแ้ ยง้ แสดงการทรรศนะโดยใชภ้ าษาท่ีถูกต้อง เหมาะสมตามหลกั การพดู ใชภ้ าษาในการแสดงความคิดเห็นดว้ ยถ้อยคำท่ีสุภาพวเิ คราะหอ์ ิทธิพลของ ภาษาตา่ งประเทศท่ีมีตอ่ ภาษาท้องถิน่ ประเมนิ การใช้ภาษาจากสอ่ื สงิ่ พมิ พ์และส่ืออเิ ล็กทรอนกิ สส์ งั เคราะห์ ขอ้ คิดทไี่ ดจ้ ากวรรณคดีและวรรณกรรมและรวบรวมวรรณกรรมพนื้ บา้ นรวมทั้งภูมิปัญญาทางภาษา โดยใช้ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางภาษากระบวนการสร้างคา่ นยิ ม กระบวนการ สร้างการตระหนัก กระบวนการปฏบิ ัติและกระบวนการแก้ปญั หา เพือ่ ใหน้ ักเรียนเกิดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคค์ อื รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซอ่ื สัตย์ สุจริต มีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ ม่นั ในการทำงานรักความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ ตวั ช้วี ัด ท 1.1 ม.4-6/5, ม.4-6/8 ท 2.1 ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7 ท 3.1 ม.4-6/4, ม.4-6/5 ท 4.1 ม.4-6/5, ม.4-6/7 ท. 5.1 ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6 รวม 12 ตัวชี้วัด

35 รายวชิ าเพ่ิมเตมิ

36 คำอธิบายรายวิชา รายวชิ า ภาษาไทยเพิ่มเตมิ 1 รหัสวชิ า ท20201 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จำนวน 1.0 หน่วยกติ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เวลา 40 ชวั่ โมง ฝกึ อา่ นออกเสียงร้อยแกว้ รอ้ ยกรองได้ถูกต้องเหมาะสม จับใจความสำคัญ ระบเุ หตุและผลและ ข้อเท็จจริงกบั ข้อคิดเหน็ จากเรอื่ งท่อี ่าน วิเคราะห์คุณค่าทีไ่ ดจ้ ากการอ่าน คดั ลายมือ เขียนส่ือสารโดยใช้ถอ้ ยคำ ทเี่ หมาะสมสละสลวย เขียนเรยี งความ เขียนย่อความ พูดสรุปใจความสำคัญจากการฟังและการดู แต่งบทรอ้ ยกรอง จำแนกและใชส้ ำนวนทเ่ี ป็นคำพังเพยและสุภาษิตทอ่ งจำบทอาขยานตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา การจดบันทึกใช้ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ เหน็ คณุ ค่าขงภาษาไทย นำความรไู้ ปใช้ในการแก้ปญั หาใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวติ เป็นผูม้ ีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟัง การดแู ละการพดู มีวินยั ใฝ่ เรียนรอู้ ยอู่ ยา่ งพอเพียง ภูมิใจในภาษาไทยและรกั ษาไว้เป็นสมบัติของชาติ ผลการเรยี นรู้ 1. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสมกบั เรื่องที่อา่ น 2. จบั ใจความสำคญั จากเรือ่ งทอ่ี ่านได้ 3. ระบเุ หตแุ ละผลและข้อเท็จจรงิ กับข้อคิดเหน็ จากเร่อื งทีอ่ ่านได้ 4. วเิ คราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอา่ นงานเขียนอย่างหลากหลายและนำไปใชแ้ กป้ ญั หาในชีวิต 5. คัดลายมือตัวบรรจงครึง่ บรรทดั ได้ 6. เขียนสื่อสารโดยใชถ้ อ้ ยคำถูกต้องชดั เจนเหมาะสมและสละสลวย 7. เขยี นเรยี งความเชิงสร้างสรรค์ได้ 8. เขยี นยอ่ ความจากเร่อื งทอ่ี า่ นได้ 9. พูดสรุปใจความสำคัญของเรือ่ งทีฟ่ ังและดไู ด้ 10. แต่งบทร้อยกรองได้ 11. จำแนกและใช้สำนวนที่เปน็ คำพงั เพยและสุภาษติ ได้ 12. สรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากการอ่านเพ่อื ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จริง 13. ทอ่ งจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่าตามความสนใจ 14. มมี ารยาทในการอ่าน การฟงั การดู การพูดและการเขียน รวม 14 ผลการเรยี นรู้

37 คำอธบิ ายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทยเพ่ิมเติม 2 รหัสวชิ า ท20202 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จำนวน 1.0 หน่วยกติ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3 เวลา 40 ชัว่ โมง ฝึกอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ รอ้ ยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสม จบั ใจความสำคัญ ระบเุ หตุและผลและ ขอ้ เทจ็ จรงิ กับข้อคดิ เห็นจากเรื่องทอ่ี ่าน วเิ คราะห์คุณค่าทไี่ ด้จากการอา่ น คดั ลายมอื เขยี นส่ือสารโดยใชถ้ ้อยคำ ที่เหมาะสมสละสลวย เขยี นบรรยายประสบการณ์ เขียนยอ่ ความ เล่าเรอ่ื งยอ่ จากการฟงั และการดู แต่งบทร้อยกรอง จำแนกและใชส้ ำนวนทเี่ ปน็ คำพังเพยและสุภาษิต สรุปเนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุม่ จัดการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาความคดิ ให้รู้วิธีการแก้ปัญหา อยา่ งเปน็ ระบบ วางแผนคิดวเิ คราะหป์ ระเมินผล เหน็ คุณค่าของการนำความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน มคี ุณธรรมจริยธรรมและมีมารยาทในการใช้ภาษา เป็นผู้มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดแู ละการพูด มงุ่ มนั่ ใน การทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจในความ เป็นไทย และรกั ษาไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ ผลการเรยี นรู้ 1. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ตอ้ งเหมาะสมกับเรอ่ื งทอ่ี า่ น 2. จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อา่ นได้ 3. ระบเุ หตุและผลและข้อเท็จจริงกบั ข้อคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ีอา่ นได้ 4. วิเคราะหค์ ุณคา่ ท่ไี ด้รบั จากการอ่านงานเขียนอยา่ งหลากหลายและนำไปใช้แก้ปัญหาในชวี ิต 5. คัดลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ได้ 6. เขยี นส่ือสารโดยใชถ้ อ้ ยคำถกู ต้องชดั เจนเหมาะสมและสละสลวย 7. เขียนบรรยายประสบการณโ์ ดยระบสุ าระสำคัญและรายละเอียดสนับสนนุ ได้ 8. เขยี นยอ่ ความจากเรอ่ื งท่ีอา่ นได้ 9. เล่าเรื่องยอ่ จากเรื่องท่ีฟังและดูได้ 10. แตง่ บทร้อยกรองได้ 11. จำแนกและใช้สำนวนท่เี ป็นคำพังเพยและสภุ าษิตได้ 12. สรปุ เนือ้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า่ นได้ 13. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ คา่ ตามความสนใจ 14. มมี ารยาทในการอ่าน การฟัง การดู การพดู และการเขียน รวม 14 ผลการเรยี นรู้

38 คำอธิบายรายวิชา รายวชิ า ภาษาไทยเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ท20203 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำนวน 1.0 หน่วยกติ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 เวลา 40 ชว่ั โมง ศกึ ษาหลกั การอ่านและพจิ ารณาหนังสอื ใหม้ คี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ความสำคัญของ การอา่ นและการพิจารณาหนังสอื ประเภทสารคดี ประกอบด้วย ขา่ ว โฆษณา บทความ ปกณิ กะสารคดี ให้เขา้ ใจบริบทในการอ่าน เข้าใจความหมายของคำศพั ท์ สำนวนโวหารที่ใช้ในการเขียน พจิ ารณาวรรณกรรม ดา้ นรูปแบบ เนื้อหา ขอ้ เท็จจรงิ ข้อคิดเห็น ประเมินข้อดี ข้อด้อยของเรือ่ ง ทอ่ี ่าน โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสบื ค้นความรู้ ใช้ความสามารถในการอา่ น การคิดวิเคราะห์ เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ เหน็ คุณค่าของภาษาไทยและนำความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์ ในชวี ิตประจำวัน ผลการเรยี นรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การอ่าน 2. รู้หลกั การวิเคราะหแ์ ละประเมินค่าเรอ่ื งทอี่ า่ น 3. มมี ารยาทในการอ่าน 4. มีทักษะในการเลือกหนังสืออ่านตามจุดประสงค์ 5. มคี วามรู้ความเขา้ ใจในเรื่องข่าว 6. วิเคราะหข์ า่ วได้ 7. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับบทความ 8. วิเคราะหบ์ ทความได้ 9. มคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับการโฆษณา 10. วจิ ารณ์ภาษาทีใ่ ช้ในโฆษณาได้ 11. มีความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกบั สารคดี 12. วิเคราะห์ วจิ ารณ์และประเมินคา่ สารคดที อี่ า่ นได้ รวม 12 ผลการเรยี นรู้

39 คำอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า ภาษาไทยเพิ่มเตมิ 4 รหสั วิชา ท20204 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 เวลา 40 ชวั่ โมง ศกึ ษาหลกั การอ่านและพิจารณาหนังสือ ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของ การอ่านและการพจิ ารณาหนงั สือประเภทบนั เทิงคดแี ละบทรอ้ ยกรอง ประกอบดว้ ย นทิ าน เรื่องสั้น นวนยิ ายและบทรอ้ ยกรอง ให้เข้าใจบริบทในการอ่าน เขา้ ใจความหมายของคำศัพท์ สำนวนโวหารทีใ่ ช้ในการ เขียน พจิ ารณาวรรณกรรมดา้ นรูปแบบ เนือ้ หา ข้อเท็จจริง ข้อคิดเหน็ ประเมนิ ขอ้ ดี ขอ้ ด้อยของเร่ืองทอี่ ่าน โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสืบค้นความรู้ ใชค้ วามสามารถในการอา่ น การคิดวิเคราะห์ เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจในการเรยี นรู้ เห็นคุณค่าของภาษาไทยและนำความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ใน ชีวิตประจำวนั ผลการเรียนรู้ 1. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับนิทาน 2. วเิ คราะห์และประเมินค่านทิ านท่ีอา่ นได้ 3. มีความรูเ้ ร่อื งลกั ษณะและองคป์ ระกอบของเร่ืองสน้ั 4. สามารถวจิ ารณ์และประเมินค่าเร่อื งสนั้ ท่ีอ่านได้ 5. มคี วามรู้เรื่องลกั ษณะและองค์ประกอบของนวนยิ าย 6. สามารถวิจารณ์และประเมินค่านวนิยายทอี่ า่ นได้ 7. มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั รอ้ ยกรอง 8. สามารถวิเคราะหว์ จิ ารณแ์ ละประเมนิ ค่าบทรอ้ ยกรองที่อา่ นได้ 9. มคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับการปฏิทัศน์หนังสือ รวม 9 ผลการเรียนรู้

40 คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ า ภาษาไทยเพม่ิ เตมิ 5 รหัสวิชา ท20205 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำนวน 1.0 หน่วยกิต ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 40 ช่วั โมง เขยี นข้อความโดยใช้ถ้อยคำใหถ้ กู ตอ้ งตามระดับภาษา เขียนยอ่ ความ เขียนอธบิ าย ชแ้ี จง แสดงความคิดเหน็ และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล เขียนวเิ คราะห์วิจารณแ์ ละแสดงความรู้ ความคดิ เหน็ หรือโตแ้ ย้ง ในเร่ืองต่าง ๆ เขียนรายงานค้นควา้ พดู แสดงความคิดเห็นและประเมินเรอื่ งจากการฟัง การพูดวิเคราะห์วจิ ารณ์ เรอื่ งท่ฟี งั และดู เพ่ือนำขอ้ คดิ มาประยุกตใ์ ช้ในการดำเนินชวี ิต ตลอดจนพดู ในโอกาสต่าง ๆ ไดต้ ามจุดประสงค์ ใชก้ ระบวนการทางภาษา การจดบันทึก ใช้ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ เพ่ือให้เกิดความรู้ความ เขา้ ใจในการเรยี นรู้ เห็นคณุ ค่าของภาษาไทย นำความรู้ไปใช้ในการแกป้ ัญหาใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวิต เปน็ ผ้มู คี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีมารยาทในการเขียน การฟัง และการพูดอยา่ งมีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง ภมู ิใจในภาษาไทย และรกั ษาไว้เป็นสมบัติของชาติ ผลการเรียนรู้ 1. สามารถเขยี นข้อความโดยใช้ถ้อยคำไดถ้ กู ตอ้ งตามระดบั ของภาษา 2. เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวตั ิโดยเล่าเหตกุ ารณข์ ้อคิดเห็นและทศั นคติในเรือ่ งตา่ ง ๆ ได้ 3. เขียนยอ่ ความได้ 4. เขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคดิ เหน็ และโตแ้ ย้งอยา่ งมีเหตผุ ล 5. เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เห็น หรือโต้แย้งในเรอ่ื งตา่ ง ๆ 6. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ได้ 7. แสดงความคดิ เหน็ และประเมนิ เร่อื งจากการฟังและดไู ด้ 8. วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์เร่อื งทฟ่ี ังและดู เพื่อนำขอ้ คดิ มาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั 9. พดู ในโอกาสต่าง ๆ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ 10. มีมารยาทในการพูด การเขยี น การฟัง และการพูด รวม 10 ผลการเรยี นรู้

41 คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ า ภาษาไทยเพม่ิ เติม 6 รหสั วิชา ท20206 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ฝกึ ทกั ษะการฟงั –พดู จากเรอ่ื งที่อา่ นฟงั และพบเห็น จากข่าวสาร ข้อมูล และสถานการณต์ ่าง ๆ ฝึกการตัง้ คำถาม การสนทนาโต้ตอบ และการแสดงความคดิ เห็น เพ่ือให้สามารถใช้ภาษาพดู ได้เหมาะสมถูกต้อง อย่างมีมารยาทในการฟัง ดู และพดู สามารถใช้ภาษาไทยไดถ้ ูกตอ้ งตาม สถานการณแ์ ละโอกาส ฝึกการเขียน คำศพั ท์ การเขยี นเรอ่ื งราวจากเรอ่ื งจริงและจินตนาการ ในรูปแบบร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง สามารถนำรทู้ ่ไี ด้ไป ปรับใช้ในชวี ิตประจำวันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ศกึ ษาและเข้าใจหลกั ภาษา และนำไปใชอ้ ย่าง ถกู ตอ้ ง ผลการเรยี นรู้ 1. ฟังเรอ่ื งต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. พูดเลา่ เรอื่ งจับใจความสำคญั ได้ 3. แสดงความคิดเหน็ จากเรอ่ื งทีฟ่ ังได้ 4. แสดงความคิดเหน็ จากเร่ืองท่ีอา่ นได้ 5. มีมารยาทในการฟงั และพูด รวมทง้ั หมด 5 ผลการเรียนรู้

42 คำอธิบายรายวิชา รายวชิ า ภาษาไทยเพ่ิมเติม 1 รหสั วิชา ท30201 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6 เวลา 20 ชัว่ โมง ศึกษาการอ่านงานประพันธป์ ระเภทชีวประวัติ บทความ บทละครพดู เร่ืองสั้น นวนิยาย บทรอ้ ยกรองขนาดสัน้ พิจารณาการใช้คำ ข้อความ สำนวนโวหาร ประเดน็ สำคญั ของเรอ่ื ง แยกเน้ือหาที่แสดง อารมณ์แสดงข้อเท็จจรงิ และความคดิ เห็น เพ่อื ใหเ้ ข้าใจสารของผู้แตง่ เกิดจนิ ตนาการ เขา้ ใจถงึ ความไพเราะ และความงามของวรรณกรรม มมี ารยาทในการอ่าน โดยใช้ทักษะกระบวนการเรียนความรู้ความเขา้ ใจ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการวจิ ารณญาณ กระบวนการตระหนกั กระบวนการสรา้ งเจตคติ กระบวนการสร้างคา่ นยิ ม กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการแกป้ ัญหา เพ่อื ให้นกั เรยี นเกดิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คือ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่อื สัตยส์ ุจริต มีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. อา่ นงามประพนั ธ์ประเภทตา่ งๆ 2. พิจารณาใช้คำ ประเดน็ สำคญั จากเร่ืองได้ 3. แยกเน้อื หาท่แี สดงอารมณ์ ขอ้ เท็จจริง ความคิดเห็นได้ 4. เขา้ ใจสารของผู้แต่งได้ 5. เกิดจิตนาการ เข้าใจความไพเราะ และความงามของวรรณกรรมได้ 6. มมี ารยาทในการอ่าน รวม 6 ผลการเรยี นรู้

43 คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา ภาษาไทยเพม่ิ เติม 2 รหสั วิชา ท30202 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำนวน 0.5 หน่วยกติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 เวลา 20 ชั่วโมง ศกึ ษาหลักการ วธิ ีการพดู ฝกึ การพดู ในรปู แบบของการสนทนา การสัมภาษณ์ การพดู ใน ท่ปี ระชมุ การอภปิ รายในกลมุ่ และในทีป่ ระชุม และการอา่ นใหท้ ปี่ ระชมุ ฟัง เพอ่ื พฒั นาสมรรถภาพในการพดู ของตนเองใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การและวธิ กี าร มีจรรยาบรรณความรบั ผิดชอบและคณุ ธรรมในการพดู โดยใช้ทักษะกระบวนการเรียนความรคู้ วามเขา้ ใจ กระบวนการกลุม่ กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการวิจารณญาณ กระบวนการตระหนัก กระบวนการสรา้ งเจตคติ กระบวนการสรา้ งค่านิยม กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการแก้ปญั หา เพื่อใหน้ กั เรียนเกดิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สัตย์สุจริต มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. บอกหลักการและวิธกี ารในการพดู ได้ 2. อธิบายรูปแบบการพดู ชนดิ ต่าง ๆ ได้ 3. พูดในท่ปี ระชุมได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ 4. พดู อภิปรายในกลุ่มและในที่ประชุมไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ 5. พัฒนาสมรรถภาพในการพดู ของตนเอง 6. ไดถ้ ูกต้องตามหลักการและวิธกี ารมีจรรยาบรรณความรับผิดชอบและคณุ ธรรมในการพดู รวม 6 ผลการเรยี นรู้

44 คำอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทยเพ่มิ เตมิ 3 รหสั วชิ า ท30203 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 เวลา 20 ชั่วโมง ศึกษาองค์ประกอบของการพดู มารยาทคุณธรรม ในการพูดและลักษณะการพูดท่ีดี และชนดิ ของ การพดู รวมทั้งการพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ เชน่ พูดแนะนำ การกลา่ วขอบคณุ การกล่าวต้อนรบั การพดู แสดงความ ยินดี การพูดแสดงความเสียใจ การพดู อวยพร และการพูดตอ่ ที่ประชมุ ชนในโอกาสพิเศษ เช่น การอภิปราย การโตว้ าที การเป็นโฆษกและพธิ ีกร โดยใชท้ ักษะกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสร้างคา่ นยิ ม กระบวนการแกป้ ัญหา เพือ่ ใหน้ กั เรยี นเกดิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คอื รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซือ่ สัตย์ มวี นิ ยั มคี วามรบั ผิดชอบ แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง มีความเมตตาและเอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่ รักษาสาธารณสมบัติ และปลอดสารเสพติด ผลการเรยี นรู้ 1. บอกองคป์ ระกอบของการพดู ได้ 2. เปน็ ผู้มีมารยาท คุณธรรมในการพูดและลักษณะการพดู ท่ีดีได้ 3. สามารถบอกการใชภ้ าษาในการพดู ได้ 4. สามารถใช้เสยี งพดู ให้มปี ระสิทธภิ าพได้ 5. การออกเสียงภาษาไทยให้ถกู ต้องได้ 6. บอกจดุ มุง่ หมายของการพูดได้ 7. บอกลักษณะของการพูดได้ 8. สามารถพดู แนะนำได้ 9. สามารถกลา่ วขอบคณุ ได้ 10. สามารถกลา่ วต้อนรับได้ รวม 10 ผลการเรียนรู้

45 คำอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทยเพิ่มเติม 4 รหสั วชิ า ท30204 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำนวน 0.5 หน่วยกติ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6 เวลา 20 ชั่วโมง ศึกษาอา่ นขอ้ เขยี นประเภทต่าง ๆ และวรรณกรรมรปู แบบต่าง ๆ ทัง้ บันเทิงคดี สารคดี ท่ีเปน็ รอ้ ย แก้วและรอ้ ยกรอง โดยการแบง่ ประเภทวรรณกรรม พจิ ารณาแยกข้อเท็จจรงิ ข้อคิดเห็นแยกองค์ประกอบ ของวรรณกรรมเพอ่ื ใหส้ ามารถแสดงความคดิ เห็นเชิงวจิ ารณ์ในเร่อื งทอ่ี ่าน เขา้ ใจถึงความไพเราะและความรวม ของวรรณกรรมโดยใช้กลวธิ ีการเปรียบเทยี บ โดยใช้ทักษะกระบวนการเรียนความรู้ความเขา้ ใจ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรยี นภาษา และกระบวนการปฏิบตั ิ เพื่อใหน้ ักเรียนเกดิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คือ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตยส์ จุ ริต มวี ินัย ใฝ่เรยี นรูอ้ ยู่อยา่ งพอเพียง มงุ่ ม่ันในการทำงาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ ผลการเรยี นรู้ 1. อ่านข้อเขียนประเภท บันเทิงคดี สารคดี 2. อา่ นข้อเขยี นทีเ่ ป็นบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง 3. แบง่ ประเภทของวรรณกรรม 4. แยกวรรณกรรมที่เป็นข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็น 5. อธบิ ายความหมายของวรรณกรรมแต่ละประเภท 6. พิจารณาการใช้ คำ สำนวน ประเดน็ สำคัญของวรรณกรรม 7. เขา้ ใจถึงความไพเราะและความรวมของวรรณกรรม 9. ตอบคำถามจากงานเขียนประเภทตา่ งๆภายในเวลากำหนด 10. วิจารณค์ วามสมเหตุ สมผล การลำดับความเป็นไปไดข้ องเรือ่ ง 11. วจิ ารณก์ ารอา่ นและประเมนิ วรรณกรรมทอี่ า่ นโดยใชก้ ลวธิ ีการเปรียบเทียบ รวม 11 ผลการเรียนรู้

46 คำอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทยเพิ่มเตมิ 5 รหสั วิชา ท30205 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำนวน 0.5 หน่วยกติ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 เวลา 20 ช่ัวโมง ศกึ ษาฝึกการพดู ตอ่ หนา้ ชุมชนทั้งท่ีเป็นการบรรยาย การพรรณนา ชักชวน ชแ้ี จง อภปิ ราย เตรยี มตัวในการพดู โดยดำเนินการอภปิ ราย สนทนา สัมภาษณ์ โตว้ าที ทำหน้าทพี่ ิธกี รโฆษณาทง้ั นีโ้ ดยเนน้ การ ใช้ถ้อยคำ น้ำเสยี ง มีศลิ ปะในการสนทนา ทา่ ทางท่เี หมาะสม เพอื่ ใหส้ ามารถพูดไดอ้ ยา่ งมเี นอ้ื หาสาระและ น่าสนใจ ทำให้ผฟู้ งั เกดิ ความเข้าใจ พอใจหรือ คล้อยตาม โดยใชท้ กั ษะกระบวนการเรียนความรู้ความเขา้ ใจ กระบวนการกลุม่ กระบวนการเรยี นทางภาษา และกระบวนการปฏิบตั ิ เพ่ือให้นกั เรียนเกดิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คือ รักชาติ ศาสนา กษตั รยิ ์ ซื่อสตั ย์ สุจรติ มวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นทำงาน รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ ผลการเรยี นรู้ 1. บอกปจั จัยทช่ี ่วยให้ การพดู สัมฤทธ์ิผล 2. บอกประเภทของการพูด 3. องคป์ ระกอบของการพดู 4. การเตรียมตัวในการพูด 5. วิเคราะหผ์ ้ฟู ังและสถานการณก์ ารพดู 6. บอกศิลปะในการสนทนา 7. สามารถพูดในโอกาสต่าง ๆ 8. บอกประเภทของการอภิปราย 9. บอกประเภทของการสมั ภาษณ์ รวม 9 ผลการเรียนรู้