22 เมษายน ว นเก ด ฟ ล ม thanapat

ทำความรู้จัก ฟิล์ม-ธนภัทร หนุ่มหล่อดาวรุ่ง เปิดประวัติ ฟิล์ม-ธนภัทร บอสวศิน จากละคร เมีย 2018 หนุ่มหน้าหล่อโปรไฟล์เริ่ด

22 เมษายน ว นเก ด ฟ ล ม thanapat

ฟิล์ม-ธนภัทร กาวิละ หนุ่มหน้าหล่อโปรไฟล์ดีคนนี้ เรียกว่าเป็นนักแสดงดาวรุ่งที่กำลังเป็นที่สนใจอย่างมาก จากบทบาท วศิน จากละครเรื่อง "เมีย 2018" ที่แฟนละครต่างติดกันงอมแงมนั่นเอง ซึ่งต้องบอกเลยว่าโปรไฟล์ของ ฟิล์ม-ธนภัทร หรือ วศิน เมีย 2018 คนนี้ ไม่ธรรมดาเลยจริงๆ ในครั้งนี้ Sanook! Campus เราก็จะพาเพื่อนๆ มารู้จักหนุ่มคนนี้ให้มากขึ้นอีกสักนิด

ฟิล์ม-ธนภัทร กาวิละ เป็นคนสระบุรี เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2536 จบการศึกษาจาก คณะบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยฟิล์มคว้าเกียรตินิยม อันดับ 2 อีกต่างหาก และนอกจากนั้นก่อนที่เขาจะมาเป็นดารานักแสดงแบบเต็มตัว เขาเป็น อดีตสจ๊วตหนุ่มสายการบิน Lion Air ด้วยนะ

เส้นทางวงการบันเทิงของ ฟิล์ม-ธนภัทร นั้นเริ่มจากการประกวด “DUTCHIE BOY & GIRL 2013” และเข้าวงการบันเทิงอย่างเต็มตัวจากโครงการ "รักฝุ่นตลบ Casting Project" เพื่อค้นหานักแสดงหน้าใหม่ที่จะเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงในสังกัด เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ และร่วมแสดงในซีรีส์ รักฝุ่นตลบ เป็นละครเรื่องแรก แต่มาเป็นที่รู้จักจากการรับบท “หมออินทัช” ใน เสน่หา Diary ตอน กับดักเสน่หา รวมถึง “เพชร” ใน เรือนเบญจพิษ และล่าสุดกับบทบาท "วศิน" ใน เมีย 2018 นั่นเอง

"...มีหลายกรณีที่พบเจ้าหน้าที่รัฐนำเอารถหลวงไปใช้ประโยชน์ในเรื่องส่วนตัว บางกรณีมีการนำรถหลวงเอื้อประโยชน์ในการกระทำความผิด เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของตนเอง นอกจากนี้ ยังมีข้าราชการบางหน่วยงาน ซึ่งไม่ได้ดำรงตำแหน่งที่ทางราชการจัดรถประจำตำแหน่งไว้ให้ ได้นำรถยนต์ส่วนกลางไปใช้เสมือนเป็นรถประจำตำแหน่ง และมีการเบิกค่าน้ำมันเชื้อเพลิงจากทางราชการ..."

Read more...

  • Read more...
  • Read more...
  • Read more...
  • Read more...
  • 22 เมษายน ว นเก ด ฟ ล ม thanapat

    คลิปหลักฐานมัดตัวแน่น เจ้าหน้าที่เขตราชเทวี รับเงินสินบนจริง ย้อนแย้งคำให้การถูกกลั่นแกล้ง

    เขียนวันที่ วันอังคาร ที่ 11 เมษายน 2566 เวลา 15:55 น. ...แม้ว่าคำให้การของนายประมวล นั้นจะยืนยันว่า ถูกกลั่นแกล้ง พร้อมอ้างว่าไม่ทราบว่าในถุงกระดาษที่ถือออกจากโรงแรมเป็นเงินคิดว่าเป็นเอกสาร แต่ทางเจ้าหน้าที่ก็ไม่ได้หนักใจแต่อย่างใด เนื่องจากมั่นใจในพยานหลักฐานที่มีอยู่ โดยเฉพาะคลิปภาพเหตุการณ์ก่อนตำรวจเข้าจับกุมผู้ต้องหา ซึ่งเป็นภาพภายในโรงแรมจุดเกิดเหตุ ขณะที่ฝ่ายผู้เสียหายพร้อมกับผู้ต้องหา เข้าไปส่งมอบเงินของกลางกันภายในห้อง แสดงให้เห็นว่าทั้ง 2 ฝ ... ฟิล์ม ธนภัทร มอบเงินบริจาคให้กับสถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการบ้านเฟื่องฟ้า หลังจัดงานวันเกิดและมีการประมูลของกับแฟนคลับ เป็นจำนวนเงิน 841,531.82 บาท เรียกได้ว่าเป็นพระเอกมากความสามารถอีกคน สำหรับหนุ่ม ฟิล์ม ธนภัทร และมีผลงานออกมาให้แฟนๆได้ชมมากมาย อีกทั่งยังฮอตและโด่งดังเอามากๆในช่วงนี้ หลังเล่นละคร คุณชาย แนวชายรักชายกับ แจม รชต ในเรื่อง ทำให้เป็นที่พูดถึงกันทั่วบ้านทั่วเมืองจนถึงตอนนี้ โดย หนุ่ม ฟิล์ม มีอายุครบ 30 ปี บริบูรณ์ เมื่อวันที่ 20 เมษายน ที่ผ่าน ซึ่งฟิล์ม ก็ได้จัดฉลองงานวันเกิดร่วมกับแฟนคลับมากมาย เพื่อขอบคุณทุกความรัก ความห่วงใย ที่แฟนมอบให้ อีกทั้งยัง เผยว่าเป็นการเข้าเลข 3 ที่มีความสุขจริงๆ น่าร๊ากกก นอกจากนี้ เจ้าตัว ยังได้เชิญชวนแฟนๆร่วมบริจาคเงินเพื่อนำไปมอบให้กับสถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการบ้านเฟื่องฟ้า

    22 เมษายน ว นเก ด ฟ ล ม thanapat
    ภาพจาก film.thanapat
    22 เมษายน ว นเก ด ฟ ล ม thanapat
    ภาพจาก film.thanapat

    ฟิล์ม โพสต์ อนุโมทนาบุญกับทุกคน

    ล่าสุด ฟิล์ม ธนภัทร ก็ออกมาโพสต์แจ้งให้กับแฟนคลับได้ทราบถึงเงินบริจาคที่ได้ พร้อมทั้งเจ้าตัวได้เดินทางไปมอบให้กับสถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการบ้านเฟื่องฟ้าแล้ว โดยบริจาครวม 841,531.82 บาท พร้อมระบุข้อความว่า อนุโมทนาบุญกับทุกคนด้วยนะครับ งานนี้เหล่าแฟนคลับต่างเข้าไปร่วมอนุโมทนาบุญในครั้งนี้เป็นจำนวนมาก เรียกได้ว่าเป็นพระเอกทั้งในจอและนอกจอจริงๆสำหรับหนุ่ม ฟิล์ม ธนภัทร เมื่อ วันที่ 18 ถึง 27 กันยายน 2023 ที่ผ่านมา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) ได้จัดให้มีการรับฟังคำร้องข้อคัดค้านเบื้องต้นซึ่งเสนอโดยรัสเซีย ในกรณีคดีข้อพิพาทกรณียูเครนยื่นฟ้องรัสเซียที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศประเด็นพิพาทเกี่ยวกับอนุสัญญาการห้ามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ มีประเด็นที่น่าสนใจหลายประเด็น อันพออธิบายได้ดังนี้ คำร้องข้อคัดค้านเบื้องต้นคืออะไร การร้องขอคัดค้านเบื้องต้น (preliminary objections) เป็นขั้นตอนภายหลังจากที่โจทก์ได้ยื่นคำฟ้อง (memorial) และจำเลยได้ยื่นเอกสารโต้แย้งคำฟ้อง (counter-memorial) แล้ว ในเอกสารโต้แย้งคำฟ้องนั้นก็อาจมีการร้องขอคัดค้านอำนาจศาล (preliminary objections to the jurisdiction) นั้น ซึ่งก็สามารถทำได้ โดยผู้ทำคำคัดค้านจะต้องทำเป็นหนังสืออย่างชัดเจนต่อศาลภายในกำหนดเวลาการโต้แย้งคำฟ้อง (เป็นไปตามข้อ 79, ข้อ 79ทวิ และข้อ 79ตรี ของระเบียบศาลฯ) และเช่นเดียวกัน หากมีการร้องข้อคัดค้านอำนาจศาล ก็จะเข้าสู่กระบวนการรับฟังและศาลจะอ่านคำพิพากษาในประเด็นเกี่ยวกับการคัดค้านอำนาจศาล รัสเซียคัดค้านว่าอะไร ในการพิจารณาเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2023 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายที่จัดให้มีการรับฟังคำร้องข้อคัดค้านเบื้องต้นนั้น ได้ข้อสรุปโดยมีรายละเอียดเบื้องต้นดังนี้ ในข้อสรุปซึ่งรัสเซียได้แถลงการณ์ด้วยวจาโดยผู้แทนของรัสเซียนั้น รัสเซียขอให้ศาลตัดสินและประกาศว่า ศาลไม่มีเขตอำนาจในการพิจารณาข้อกล่าวอ้างของยูเคตรนที่ได้มีการฟ้องรัสเซียในกระบวนการนี้ และ/หรือข้อกล่าวอ้างของยูเครนนั้นไม่สามารถรับไว้พิจารณาได้ ยูเครนแย้งว่าอะไร ยูเครนแย้งว่า … Continue reading [Ukraine crisis EP.10] – ศาลโลกจัดให้มีการรับฟังคำร้องข้อคัดค้านเบื้องต้นจากรัสเซียในกรณีพิพาทระหว่างยูเครนและรัสเซียตามอนุสัญญาการห้ามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2023 ที่ผ่านมา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือศาลโลก (International Court of Justice หรือ ICJ) ได้มีคำสั่งรับคำฟ้องแย้ง (declarations of intervention) จาก 33 รัฐในคดีข้อพิพาทกรณียูเครนยื่นฟ้องรัสเซียที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศประเด็นพิพาทเกี่ยวกับอนุสัญญาการห้ามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ โดยศาลได้มีคำสั่งแยกออกเป็น 3 ประเด็นดังนี้ ประเด็นแรก (เสียง 14:1 (เสียงที่ไม่เห็นด้วย คือ ผู้พิพากษาจากจีน)) ศาลมีคำสั่งรับคำฟ้องแย้งภายใต้ข้อ 63 ของธรรมนูญศาลซึ่งมีการยื่นฟ้องแย้งโดยออสเตรเลีย ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ โครเอเชีย ไซปรัส เช็ค เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอแลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิกเชนสไตล์ ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ … Continue reading [Ukraine crisis EP.9] – ศาลโลกตัดสินประเด็นคำฟ้องแย้งจาก 33 รัฐที่เสนอเข้าไปในคดียูเครนและรัสเซีย เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2023 ที่ผ่านมา สภาใหญ่ (Grand Chamber) ของศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปได้มีคำพิพากษารับคดีใหญ่ ทั้งหมด 3 คดีไว้พิจารณาบางส่วน ประกอบด้วย (1) คดีเครื่องบิน MH17 ตกตั้งแต่ปี 2014 (ฟ้องโดยยูเครน) (2) คดีลักพาตัวเด็กในยูเครนตะวันออกไปยังรัสเซีย (ฟ้องโดยยูเครน) และ (3) คดีเครื่องบิน MH17 ตก (ฟ้องโดยเนเธอร์แลนด์) มีรายละเอียดที่น่าสนใจมาก ๆ อันพอสรุปได้ดังนี้ *การสรุปเนื้อหาส่วนนี้นำมาจากแถลงข่าวของศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป สรุปข้อเท็จจริงเบื้องต้น ผู้ที่ฟ้องในคดีดังกล่าว คือ ยูเครน และเนเธอร์แลนด์ ในขณะที่ผู้ถูกฟ้องในทุกคดี คือ รัสเซีย ตามข้อเท็จจริงเมื่อเดือนมีนาคม 2014 กลุ่มผู้ประท้วงที่สนับสนุนรัสเซียเดินทางเข้ามาในพื้นที่ตะวันออกของยูเครน รวมถึงพื้นที่ในภูมิภาคดอนบาส (โดเนสก์และลูฮันก์) ผู้ประท้วงบางส่วนได้รวมตัวตั้งกลุ่มติดอาวุธและใช้ความรุนแรงในพื้นที่ดังกล่าว ต่อมาในช่วงกล่างเดือนเมษายน รัฐบาลยูเครนได้ประกาศจัดตั้งปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายขึ้นเพื่อจัดการควบคุมดินแดนดังกล่าวซึ่งถูกควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธ หลังจากนั้น เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2014 กลุ่มแบ่งแยกดินแดนได้จัดให้มีการลงประชามติเกี่ยวกับการควบคุมดินแดนและประกาศอิสระและตั้งสาธารณรัฐโดเนสก์ และสาธารณรัฐลูฮันก์ … Continue reading [Ukraine crisis EP.8] – Grand Chamber ของศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปรับคดีการละเมิดดินแดนยูเครนและคดีเครื่องบิน MH17 ตก ที่มีผู้ฟ้องรัสเซียไว้พิจารณา เมื่อวันที่ 22 และ 29 กรกฎาคม 2022 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลโลก (ICJ) ได้เผยแพร่ประกาศกรณีที่ลัตเวีย ลิทัวเนีย และนิวซีแลนด์ ได้ยื่นคำประกาศขอแทรกแซง (Declaration of Intervention) ในคดีข้อพิพาทกรณียูเครนยื่นคำฟ้องตั้งต้นคดีฟ้องรัสเซียที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเกี่ยวกับประเด็นพิพาทเกี่ยวกับการตีความอนุสัญญาการห้ามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ประเด็นดังกล่าวมีประเด็นเกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทศที่น่าสนใจ พอสรุปได้ดังนี้ สรุปข้อเท็จจริงกรณีทั้ง 3 ประเทศยื่นประกาศขอแทรกแซงคดี เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2022 ประเทศลัตเวีย ได้ยื่นคำร้องตามข้อ 63 ของธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ต่อนายทะเบียนศาลโลกเพื่อขอแทรกแซงในคดีที่ยูเครนฟ้องรัสเซียที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเกี่ยวกับประเด็นพิพาทเกี่ยวกับการตีความอนุสัญญาการห้ามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide Convention) ต่อมา ประเทศลิทัวเนีย (ในวันที่ 22 กรกฎาคม 2022) และประเทศนิวซีแลนด์ (ในวันที่ 29 กรกฎาคม 2022) ได้ยื่นคำร้องต่อศาลในลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้ ประกาศขอแทรกแซงคดีนั้นเป็นกระบวนการตามข้อ 63 ของธรรมนูญศาลฯ ซึ่งกำหนดให้เมื่อใดก็ตามซึ่งรัฐภาคีอื่นนอกเหนือจากภาคีคู่พิพาทมีประเด็นใด ๆ นอกเหนือจากประเด็นที่มีการตั้งประเด็นคำถามไว้ในคดีที่พิพาทกัน รัฐภาคีในอนุสัญญานั้นมีสิทธิที่จะเข้าไปแทรกแซงกระบวนการพิจารณาคดีได้ และหากมีการเข้าไปแทรกแซงในคดีแล้ว เมื่อใดที่ศาลมีคำพิพากษาออก คำพิพากษาดังกล่าวก็จะมีผลผูกพันต่อรัฐเหล่านั้นโดยเท่าเทียมกัน … Continue reading [Ukraine crisis EP.7] – ลัตเวีย ลิทัวเนีย และนิวซีแลนด์ ยื่นคำประกาศขอแทรกแซง (Declaration of Intervention) ในคดียูเครน-รัสเซียที่ศาลโลก: ทำความรู้จักประกาศขอแทรกแซงในกระบวนการศาลโลก นับเป็นข่าวใหญ่อีกข่าวหนึ่งพอสมควรที่เมื่อวานนี้ (7 เมษายน 2022) ที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (UN General Assembly) ได้ลงมติในวาระพิเศษเร่งด่วนเพื่อขับไล่รัสเซียออกจากการเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ดังนั้น วันนี้ แอดมินจึงขออนุญาตสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ประกอบกับอธิบายประเด็นที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจเกี่ยวกับการโหวตขับรัสเซียในครั้งนี้ครับ 1. ข้อเท็จจริงโดยสรุป เมื่อช่วงต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา คุณ Linda Thomas-Greenfield เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำองค์การสหประชาชาติได้ยื่นคำร้องให้ที่ประชุมสมัชชาใหญ่ของสหประชาชาติลงคะแนนเสียงขับรัสเซียออกจากการเป็นสมาชิกของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ โดยให้เหตุผลว่า ทหารของรัสเซียสังหารพลเรือนจำนวนมากในการบุกเมืองหลวงของยูเครน รวมถึงอาชญากรรมสงครามซึ่งรัสเซียได้ก่อขึ้นในยูเครนซึ่งรัสเซียจะต้องรับผิดชอบ ดังนั้น จึงไม่สามารถให้รัฐสมาชิกซึ่งได้ละเมิดหลักสิทธิมนุษยชนพื้นฐานเหล่านี้ในการนั่งเป็นสมาชิกของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติอีกต่อไป ทั้งนี้ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นภายหลังจากที่มีภาพถ่ายและวิดีโอเกี่ยวกับการสังหารหมู่ในเมืองบูชาปรากฎต่อสาธารณะ ในเนื้อหาของร่างข้อมติดังกล่าวนั้นได้อธิบายเกี่ยวกับความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนและวิกฤตด้านมนุษยธรรมในยูเครน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รายงานการฝ่าฝืนและละเมิดสิทธิมนุษยชน และการละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศโดยรัสเซีย ต่อมา โฆษกองค์การสหประชาชาติได้ออกมากล่าวว่า จะมีการจัดให้มีการประชุมวาระพิเศษเร่งด่วนครั้งที่ 11 (Emergency Special Session) ในวันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน 2022 ในช่วงเช้า ซึ่งจะมีการกล่าวถึงประเด็นเกี่ยวกับการระงับสิทธิเกี่ยวกับสมาชิกภาพของรัสเซียในคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ทั้งนี้ ในการอนุมัติข้อมตินั้น จะต้องได้รับคะแนนเสียงสนับสนุน 2 ใน 3 ของผู้ที่ลงคะแนนเสียงเห็นชอบและไม่เห็นชอบ โดยจะไม่นำคะแนนงดออกเสียงมานับคะแนน ในวันที่ 7 เมษายน … Continue reading [Ukraine crisis EP.6] – ที่ประชุมสมัชชาใหญ่ UN โหวตขับรัสเซียออกจากคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2022 ที่ผ่านมา ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ICJ) หรือที่รู้จักกันในนาม “ศาลโลก” ได้ออกคำสั่งมาตรการชั่วคราวให้รัสเซียระงับปฏิบัติการทางทหารในยูเครน รวมถึงมาตรการอื่น ๆ อีกหลายประการที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ในวันนี้เราจะมาสรุปข้อเท็จจริงจากคำสั่งมาตรการชั่วคราวของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศกันครับ ก่อนเข้าสู่เนื้อหา ขออนุญาตอธิบายคำว่า “มาตรการชั่วคราว (provisional measures)” ก่อนว่า คือ กระบวนการที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจะมีคำสั่งศาลออกมาระหว่างช่วงเวลาที่รอคำตัดสินของศาล มาตรการนี้ถูกออกแบบมาเพื่อปกป้องสิทธิของภาคีที่กำลังรอผลคำตัดสินสุดท้ายของศาล ซึ่งเป็นเพียงคำสั่งเป็นการชั่วคราวเท่านั้น โดยส่วนมากมักเป็นเรื่องที่จำเป็นเร่งด่วนเฉพาะหน้าและมีผลภายในระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ทั้งนี้ มาตรการชั่วคราวไม่ใช่คำพิพากษาซึ่งมีผลผูกพันเป็นที่สิ้นสุด ดังนั้น มาตรการชั่วคราวอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามเท่าที่เห็นว่าจำเป็น 1. สรุปข้อเท็จจริงเบื้องต้นกรณียูเครนฟ้องรัสเซียที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2022 ยูเครนยื่นคำฟ้องตั้งต้นคดี (application instituting proceedings) ฟ้องรัสเซียที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเกี่ยวกับประเด็นพิพาทเกี่ยวกับการตีความอนุสัญญาการห้ามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide Convention) ซึ่งยูเครนได้กล่าวว่า รัสเซียได้อ้างอย่างผิด ๆ ว่า การกระทำการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เกิดขึ้นในภูมิภาคลูฮันส์และโดเนสก์ในยูเครน และอ้างเหตุผลดังกล่าวเพื่อใช้ปฏิบัติการทางทหารต่อยูเครน ซึ่งยูเครนได้ปฏิเสธการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ดังกล่าว และยื่นคำฟ้องต่อศาลเพื่อกล่าวว่า รัสเซียไม่มีพื้นฐานทางกฎหมายใด ๆ โดยชอบด้วยกฎหมายในการดำเนินการต่อยูเครนเพื่อป้องกันและลงโทษการฆ่าล้างเผ่าพันธุ๋ในภูมิภาคดังกล่าวซึ่งไม่มีอยู่จริง นอกจากนั้น … Continue reading [Ukraine crisis EP.5] – ศาลโลกมีคำสั่งมาตรการชั่วคราวให้รัสเซียระงับปฏิบัติการทางทหารในยูเครนโดยทันที: สรุปประเด็นต่าง ๆ จากคำสั่งมาตรการชั่วคราวในกรณีที่ยูเครนฟ้องรัสเซียที่ศาลโลก ข่าวล่าสุด วันนี้ (10 มีนาคม 2565) มีรายงานว่า เมื่อวันพุธที่ 9 มีนาคม 2565 ที่ผ่านมา เครื่องบินรบของรัสเซียได้ทิ้งระเบิดที่โรงพยาบาลเด็ก และมีผู้ป่วยซึ่งเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเสียชีวิต ทั้ง ๆ ที่มีข้อตกลงหยุดยิงเป็นการชั่วคราวเพื่อให้ประชาชนหลบหนีออกจากเมืองมาริอูโปล ประเด็นดังกล่าวผิดหลักกฎหมายระหว่างประเทศอย่างรุนแรงมาก ดังนั้น วันนี้แอดมินจะขออนุญาตเล่าข้อเท็จจริงโดยสรุป ประกอบกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการห้ามโจมตีสถานพยาบาลในช่วงสถานการณ์สงครามไม่ว่ากรณีใด ๆ ครับ 1. ข้อเท็จจริงโดยสรุป เมื่อวันพุธที่ 9 มีนาคม 2565 ที่ผ่านมา เครื่องบินรบของรัสเซียได้ทิ้งระเบิดที่โรงพยาบาลเด็ก และมีผู้ป่วยซึ่งเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเสียชีวิต ทั้ง ๆ ที่มีข้อตกลงหยุดยิงเป็นการชั่วคราวเพื่อให้ประชาชนหลบหนีออกจากเมืองมาริอูโปล ทั้งนี้ การโจมตีดังกล่าวส่งผลให้มีทั้งผู้หญิงซึ่งเพิ่งคลอดบุตรได้รับบาดเจ็บ รวมทั้งมีเด็กติดอยู่ในซากปรักหักพังของโรงพยาบาล สภาเมืองอาริอูโปลได้กล่าวว่า โรงพยาบาลในเมืองถูกโจมตีหลายครั้ง และกล่าวว่า การกระทำดังกล่าว คือ การใช้กำลังทางทหารอย่างป่าเถื่อนเพื่อไล่ล่าพลเรือนผู้บริสุทธิ์ อย่างไรก็ดี ยูเครนได้ออกมาประณามการกระทำดังกล่าวของรัสเซียว่าไม่ต่างอะไรกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยูเครน รวมถึงการเผยแพร่ภาพวิดีโอบริเวณที่เคยเป็นโรงพยาบาลดังกล่าว โดยเหลือเพียกซากปรักหักพัง และกองหินขนาดใหญ่ในบริเวณที่เกิดเหตุ นอกจากนั้น หน่วยงานด้านสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติกำลังพยายามตรวจสอบจำนวนผู้เสียชีวิตในบริเวณดังกล่าว นอกเหนือจากความเสียหายต่อโรงพยาบาลแล้ว ยังปรากฏความเสียหายอื่น ๆ ต่ออาคารบ้านเรือน อพาร์ทเมนต์ … Continue reading [Ukraine crisis EP.4] – สถานพยาบาลและที่ดูแลผู้ป่วยเป็นสถานที่ต้องห้ามในการโจมตีในช่วงสงคราม: การโจมตีดังกล่าวผิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศอย่างรุนแรง เข้าสู่ตอนที่ 3 แล้วสำหรับวิกฤตรัสเซียโจมตียูเครน แอดมินต้องขออภัยที่ไม่ได้อัพเดตสถานการณ์มากนัก เนื่องจากอยากให้ข้อเท็จจริงออกมาชัดเจนเพียงพอก่อนครับ แต่อย่างไรก็ดี วันนี้จะขออนุญาตมาเล่าให้ฟังเกี่ยวกับหน่วยงานและองค์การระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วมทั้งในแง่ของการตัดสินใจ การให้ความเห็น และการออกคำสั่ง ข้อแนะนำ หรือมติต่าง ๆ โดยในวันนี้ แอดมินขอออกตัวก่อนว่า ก็คงยังไม่สามารถตัดสินได้อย่างชัดเจน เนื่องจากเหตุการณ์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ในวันนี้ ขออนุญาตเล่าถึงสถานการณ์ล่าสุดที่เกิดขึ้นจริงว่ามีอะไรเกิดขึ้นมาแล้วบ้างในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา และหน่วยงานและองค์การระหว่างประเทศต่าง ๆ ได้มีบทบาทเกี่ยวข้องอย่างไร เพียงใด และมีผลต่อการบรรเทาสถานการณ์ได้มากน้อยเพียงใดทั้งนี้ หากใครยังไม่ได้อ่านรายละเอียดใน 2 ตอนแรก สามารถไปอ่านย้อนหลังได้ดังนี้ [Ukraine crisis EP.1] – สรุปวิกฤตยูเครนสู่การรับรองการแบ่งแยกดินแดนโดยรัสเซีย ที่ https://thanapatofficial.wordpress.com/2022/02/22/ukraine-crisis-ep-1-crisis-summary-and-recognition/%5BUkraine crisis EP.2] – เมื่อรัสเซียบุกยูเครน: การละเมิดหลักการห้ามใช้กำลังซึ่งผิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างรุนแรง ที่ https://thanapatofficial.wordpress.com/2022/02/24/ukraine-crisis-ep-2-russia-use-of-force-and-exception/ 1. สรุปข้อเท็จจริงล่าสุดในรอบสัปดาห์ (ระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ถึงวันที่ 4 มีนาคม 2022) 25 กุมภาพันธ์ 2022: … Continue reading [Ukraine crisis EP.3] – วัดพลัง 6 แก๊งอเวนเจอร์: UNSC, UNGA, EU, ICJ, ICC, NATO ใครปัง? ใครพัง? ในวิกฤตรัสเซียโจมตียูเครน เนื้อหาในส่วนนี้เป็นตอนที่ 2 ต่อจาก EP.1 สรุปวิกฤตยูเครนสู่การรับรองการแบ่งแยกดินแดนโดยรัสเซียนะครับ ใครที่ยังไม่อ่าน สามารถไปอ่านสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับความเป็นมาของความขัดแย้งจนนำไปสู่การที่ประธานาธิบดีรัสเซียลงนามรับรองการแบ่งแยกภูมิภาคโดเนตสค์และลูฮันสค์ ได้ที่ https://thanapatofficial.wordpress.com/2022/02/22/ukraine-crisis-ep-1-crisis-summary-and-recognition/ สำหรับเนื้อหาในส่วนนี้ แอดมินอาจจะขออนุญาตไม่กล่าวถึงเหตุการณ์ทั้งหมด เพราะหลายท่านอาจจะพอเริ่มทราบกันแล้วว่า เกิดอะไรขึ้นบ้างเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2022 ที่ผ่านมา แต่จะขออนุญาตวิเคราะห์ประเด็นกฎหมายระหว่างประเทศที่น่าสนใจหลักการหนึ่ง กล่าวคือ หลักการห้ามใช้กำลัง (prohibition of the use of force) ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศนะครับโดยจะหยิบยกเพื่อประกอบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น 1. สรุปเหตุการณ์รัสเซียบุกยูเครนในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2022 ภายหลังจากที่ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูตินของรัสเซียได้กล่าวว่าตัดสินใจที่จะเริ่มปฏิบัติการทางทหารพิเศษ โดยให้เหตุผลว่าเพื่อเป็นการปกป้องประชาชนซึ่งตกเป็นเป้าและเหยื่อของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยรัฐบาลกรุงเคียฟในยูเครนในปัจจุบันที่กินระยะเวลายาวนานกว่า 8 ปี ซึ่งประธานาธิบดีรัสเซียก็ได้กล่าวอย่างชัดเจนว่า ไม่ได้มีเป้าหมายที่จะยึดดินแดนของยูเครนแต่อย่างใด ต่อมา ในช่วงเช้ามืดของวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2022 กองกำลังรัสเซียได้เริ่มปฏิบัติการโดยการยิงขีปนาวุธไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ใกล้เมืองเคียฟ (Kyiv) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศยูเครน รวมถึงการใช้อาวุธระยะไกลต่อเมืองทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองคาร์คิฟ (Kharkiv) ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ พรมแดนของรัสเซีย อย่างไรก็ดี … Continue reading [Ukraine crisis EP.2] – เมื่อรัสเซียบุกยูเครน: การละเมิดหลักการห้ามใช้กำลังซึ่งผิดกฎหมายระหว่างประเทศอย่างรุนแรง ช่วงนี้ ประเด็นเกี่ยวกับปัญหาวิกฤตภายในของยูเครนและรัสเซียเป็นประเด็นปัญหาที่ต้องจับตาอย่างมาก เพราะวิกฤติดังกล่าวไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อประเทศยูเครนเท่านั้น แต่ยังรวมประเทศรัสเซีย และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกต่างก็ได้รับผลกระทบจากวิกฤติการณ์ดังกล่าวเช่นกัน จนล่าสุดเมื่อวานนี้ (21 กุมภาพันธ์ 2022) ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูตินได้ตัดสินใจรับรองการแบ่งแยกดินแดนทางตะวันออกของยูเครน นับเป็นเหตุการณ์ที่ต้องเฝ้าระวังและติดตามอย่างมาก ดังนั้น วันนี้ แอดมินจะมาสรุปประเด็นต่าง ๆ ให้ฟังกันครับ 1. สรุปจุดเริ่มต้นของวิกฤต ประการแรกต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ประเทศยูเครนเป็นประเทศที่มีขนาดประมาณ 600,000 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างประเทศรัสเซียกับทวีปยุโรป โดยในอดีต ประเทศยูเครนนั้นเคยเป็นสมาชิกของสหภาพโซเวียต และได้กลายเป็นประเทศแยกต่างหากออกมาในช่วงปีค.ศ.1991 แต่อย่างไรก็ตาม แม้ว่า ประเทศยูเครนจะแยกตัวออกมาแล้ว แต่ก็ยังประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดการภายในประเทศ รวมถึงระบบเศรษฐกิจ และนโยบายด้านการต่างประเทศต่าง ๆ ที่ไม่แน่ชัด ต่อมาในช่วงปีค.ศ.2013 เกิดการประท้วงในประเทศยูเครนซึ่งประธานาธิบดีของยูเครนขณะนั้นปฏิเสธที่จะเข้าร่วมกลุ่มเศรษฐกิจกับสหภาพยุโรป โดยสิ่งที่เกิดขึ้น คือ ประเทศรัสเซียสนับสนุนฝ่ายประธานาธิบดีของยูเครน ในขณะที่ฝั่งสหภาพยุโรปสนับสนุนผู้ประท้วงในยูเครน ในปีค.ศ.2014 ประธานาธิบดียูเครนได้หลบหนีออกนอกประเทศ และดินแดนส่วนหนึ่งของยูเครน ได้แก่ ไครเมีย ได้ตัดสินใจแยกตัวออกมาผ่านการลงประชามติเพื่อกำหนดเจตจำนงของตนเองโดยได้รับการสนับสนุนจากรัสเซีย และรัสเซียจึงได้ดูแลไครเมียตั้งแต่ปีค.ศ.2014 เป็นต้นมา หลังจากนั้น ก็มีดินแดนอีกหลายดินแดนซึ่งสนับสนุนรัสเซีย พยายามที่จะแยกตัวออกมาจากยูเครนเช่นกัน โดยเฉพาะภูมิภาคโดเนตสค์ …