2024 ทำไม เวลาปร บระด บเส ยง ม นข นแถบข างขวา

  1. เครือ่ งหมายแฟลต (Flat) เปนเครือ่ งหมายแปลงเสียงที่ทำใหตวั โนตมรี ะดับเสยี งต่ำลงกวา ปกติครง่ึ เสียง

ตำแหนงของ ชารป และ แฟลต บนล่ิมคยี บอรด

  1. เนเจอรลั (Natural) ใชแปลงสภาพของตัวโนต ที่เคยถกู เคร่อื งหมาย ชารป หรือ แฟลต บังคับเสยี งใหส ูงขึ้น หรอื ตำ่ ลงกวาปกติไวแ ลว ใหกลบั มาใชเสยี งเดิม

ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

คำชแ้ี จง ใหนักเรยี นอา น เขียน และรองตามโนตสากล ตามขนั้ ตอนท่กี ำหนด การอาน เขียน และรองตามโนตในกุญแจซอล ในบันไดเสยี ง C Major เพลงฝนชมดาว

ด––– ––– – – –– – –– ประดบั เรอื งรอง ทอ้ ง น- ภา ลบิ ลบิ ลาน ตา ดา รา ราย

–– –– ––– – – –– – –– ฉนั ฝัน ชม ดาว พราว พรงิ พราย วบั วบั แวว วาว ดาว เรยี ง ราย

– – – – –– – –– –– – –– แต่ อยู่ ไกล กนั ฉนั เสยี ดาย แมน้ หมาย เชย ชม คง ตรอม เอย.

ขน้ั ตอนการฝก ปฏิบตั ิ 1. ใหนกั เรียนเติมเสียงใตต ัวโนต ทุกตัวบนบรรทดั ที่ 1 และ 2 ใหค รบ 2. ลอกตวั โนต ทกุ ตัวและเสยี งทุกเสียงจากบรรทัดที่ 1 ลงบนบรรทดั ที่ 3 3. นกั เรยี นรองเพลงฝนชมดาวตามโนตที่บนั ทึกทัง้ 3 บรรทัดพรอ มๆ กัน 2 เทย่ี ว 4. นกั เรียนรอ งเพลงฝนชมดาวตามเนื้อรองที่บันทกึ ทั้ง 3 บรรทัด พรอ มๆ กัน 2 เทย่ี ว

การอา น เขยี น และรอ งตามโนต ในกุญแจฟา ในบนั ไดเสยี ง C Major เพลงขนมปง กรอบ (Hot Cross Bun)

ม– – –– – – – –– – – –

ขนม ปง กรอบ ขนม ปง กรอบ กรอบ กรอบ มนั มนั ขนม ปง กรอบ

ขั้นตอนการฝก ปฏบิ ัติ 1. ใหน ักเรียนเตมิ เสยี งใตตัวโนต ทกุ ตัวในเพลงขนมปงกรอบ (บันทกึ ในกุญแจฟา) 2. นกั เรียนรองเพลงขนมปง กรอบตามโนตทบ่ี นั ทึกพรอมๆ กัน 2 เที่ยว 3. นักเรยี นรอ งเพลงขนมปง กรอบตามเนอ้ื รองท่ีบนั ทึก พรอ มๆ กนั 2 เทีย่ ว

แบบประเมินการอา น เขียน และรองตามโนต สากล

ลำดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321

1 การอานตวั โนต สากล 2 การเขียนตวั โนตสากล 3 การรองเพลงตามโนตสากล

รวม ลงช่ือ...................................................ผปู ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑการใหค ะแนน ดีมาก = 4 คะแนน ดี = 3 คะแนน พอใช = 2 คะแนน ปรบั ปรงุ = 1 คะแนน

เกณฑการตัดสินคุณภาพ

ชว งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 8 ดีมาก 6-7 ดี 4-5 พอใช ปรบั ปรงุ ตำ่ กวา 4

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

คำชี้แจง : ให ผูสอน ประเมินการนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกำหนด แลวขีด  ลงในชอง ทีต่ รงกบั ระดับคะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน

4321

1 ความถกู ตอ งของเนอื้ หา

2 ความคิดสรา งสรรค

3 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน

4 การนำไปใชประโยชน

5 การตรงตอเวลา

รวม

ลงชอ่ื .................................................... ผูประเมิน ................ /................ /................ เกณฑการใหคะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณช ัดเจน ให 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพรอ งบางสว น ให 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี อบกพรองเปน สวนใหญ ให 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อบกพรองมาก ให 1 คะแนน

เกณฑการตดั สินคณุ ภาพ ดมี าก ดี คะแนน 8 หมายถงึ พอใช คะแนน 6-7 หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน 4-5 หมายถงึ คะแนน ต่ำกวา 4 หมายถึง

แผนการจดั การเรียนรูท ่ี 3

รายวชิ าศลิ ปะ สาระ ท่ี 2 ดนตรี (สากล) รหสั วิชา ศ 22102 ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2

กลุม สาระการเรียนรู ศลิ ปะ ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

หนว ยการเรียนรูท่ี 3 เครื่องดนตรแี ละวงดนตรสี ากล เวลา 4 ช่วั โมง

เรอ่ื ง เครื่องดนตรสี ากล เวลา 2 ชัว่ โมง

ผสู อน นายสภุ ชยั จนั ทะโสม โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎรธานี

มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วัด ศ 2.2 ม2/1 บรรยายบทบาทและอิทธิพลของดนตรใี นวฒั นธรรมของประเทศตา งๆ

สาระสำคญั

การใชเ คร่ืองดนตรสี ากลแตละชนิดควรใหความสำคญั ในการดแู ลรักษาเครอื่ งดนตรีอยา งถูกวธิ ีและพรอ ม ใชงาน อยเู สมอ จุดประสงคการเรยี นรู

- อธิบายหลกั การใชแ ละบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรสี ากลได สาระการเรยี นรู

- การใชและการบำรงุ รักษาเคร่ืองดนตรีของตน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มงุ ม่นั ในการทำงาน เบญจวถิ กี าญจนา 1. เทดิ ทูนสถาบัน 2. กตญั ู 3. บุคลิกดี 4. มีวนิ ยั 5. ใหเกยี รติ สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผูเรยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกปญ หา

4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จดุ เนนสูการพัฒนาผูเรยี น ความสามารถและทกั ษะทจ่ี ำเปนในการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls) R1– Reading (อานออก) R2– (W)Riting (เขียนได) R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเปน) C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะดา นการคดิ อยางมีวิจารณญาณและทกั ษะในการ

แกปญหา) C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา นการสรา งสรรคและนวัตกรรม) C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา นความเขาใจตา งวฒั นธรรมตางกระบวนทศั น) C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา นความรว มมือ การทำงานเปน ทีมและ

ภาวะผูนำ) C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดานการส่อื สารสารสนเทศและรูเทา

ทนั สอื่ ) C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร) C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู) C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม)

L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู L2 – Leadership (ทักษะความเปน ผูนำ)

การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ

ดานความรู ภาระงาน/ชิน้ งาน

ตอบคำถามสะทอน ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมินการตอบ ระดับ 4 ดเี ย่ียม 4 คะแนน ความคิด เครื่องดนตรี สะทอนความคดิ ตาม คำถามสะทอนความคิด = ทำไดทุกตวั ชีว้ ดั สากล ตวั ช้วี ดั ตอ ไปน้ี ระดับ 3 ดี 3 คะแนน 1. ความถูกตอ งครอบคลุม = ทำไดม าก สงิ่ ทไี่ ดเรยี นรู ระดบั 2 พอใช 2 คะแนน 2. ความสมเหตุสมผล = ทำไดน อย 3. การตัง้ คำถามท่ีอยากรู ระดบั 1 ตอ งปรบั ปรุง 1 คะแนน \= ทำไมไ ดถ งึ ทำไดน อยมาก

ดานทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ช้ินงาน วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือ เกณฑทใ่ี ช ใบงานท่ี รอยละ 60 ผานเกณฑ ใบงานที่ 1 ประเภทเครอื่ ง ระดบั คุณภาพ 2 ผานเกณฑ ดนตรีสากล ตรวจใบงานท่ี

บนั ทึกความรูความรจู าก แบบบันทกึ การอาน การสรปุ เนอื้ หาลงในสมดุ ตรวจแบบบนั ทึกการอา น

ดา นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

ภาระงาน/ช้ินงาน วิธกี ารวดั เคร่อื งมอื เกณฑท ่ใี ช

บนั ทกึ การสงั เกตุ สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ระดบั คุณภาพ 2 ผา นเกณฑ พฤติกรรมนกั เรียน รายบคุ คล/รายกลุม ทำงานรายบุคคล/รายกลมุ

บนั ทึกการสงั เกตุ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอัน ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ พฤติกรรมนกั เรียน สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเ รยี นรู พึงประสงค และมุง มน่ั ในการทำงาน

กิจกรรมการเรยี นรู 1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอนเรียน 2. กจิ กรรมการเรยี นรู ข้นั นำเขา สูบทเรียน

1. ครนู ำภาพเคร่อื งดนตรสี ากลชนิดตางๆ มาใหนักเรียนดู แลว ให นักเรียนชวยกันจำแนกเครอ่ื งดนตรใี น ภาพตามวิธีการบรรเลง

2. ครูเฉลยคำตอบและอธิบายเพมิ่ เติมใหนกั เรยี นฟงเกี่ยวกับการแบง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล

ขนั้ สอน

1. ครูแบงนกั เรยี นเปนกลุม กลุมละ 5 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เกง ปานกลางคอ นขา งเกง ปาน กลางคอนขา งออน และออน

2. สมาชกิ แตล ะคนในกลุมเลือกหัวขอในการศึกษาความรูเ ร่ือง ประเภทของเครอ่ื งดนตรีสากล และ หลักการใชแ ละบำรุงรกั ษาเครอ่ื งดนตรีสากล จากหนังสือเรียน ดงั นี้

  1. เครื่องสาย
  2. เครอื่ งเปาลมไม
  3. เครอื่ งเปา ลมทองเหลอื ง
  4. เครอ่ื งดนตรีประเภทมลี ิ่มนิ้ว
  5. เครอื่ งดนตรปี ระเภทเครอ่ื งตี (สมาชิกท่ีเรยี นออ นจะไดเลอื กหัวขอตามความสนใจกอน) 3. เมื่อสมาชกิ แตละคนศกึ ษาความรูเ สร็จแลวใหผ ลัดกนั เลาความรทู ไ่ี ดจากการศกึ ษาใหสมาชกิ คนอ่นื ๆ ใน กลมุ ฟง และซกั ถามขอสงสัยจนเกิดความเขา ใจท่ีตรงกนั 4. สมาชกิ แตล ะกลุม ชวยกนั ทำใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง เครื่องดนตรสี ากล โดยใหสมาชกิ แตล ะคนปฏบิ ัติ ดงั น้ี - สมาชกิ คนที่ 1 เขยี นคำตอบขอ 1 แลว สงใบงานใหสมาชิก คนท่ี 2

- สมาชกิ คนที่ 2 อานคำตอบของสมาชิกคนท่ี 1 ถายงั ไมถูกตองใหเขียนเพิ่มเติม จากนัน้ เขยี น คำตอบขอ 2 แลว สง ใบงานใหสมาชิกคนที่ 3

- สมาชกิ คนท่ี 3 อา นคำตอบของสมาชิกคนท่ี 2 ถา ยังไมถูกตอ งใหเ ขยี นเพ่ิมเตมิ จากนน้ั เขยี นคำตอบ ขอ 3 แลวสง ใบงานใหส มาชกิ คนท่ี 4

- สมาชกิ คนที่ 4 อานคำตอบของสมาชิกคนที่ 3 ถายังไมถูกตอ งใหเ ขียนเพิ่มเติม จากนนั้ เขียนคำตอบ ขอ 4 แลวสง ใบงานใหสมาชิกคนท่ี 5

- สมาชกิ คนที่ 5 อานคำตอบของสมาชิกคนที่ 4 ถายังไมถกู ตองใหเ ขียนเพ่ิมเตมิ จากน้นั เขยี นคำตอบ ขอ 5 แลวสง ใบงานใหสมาชิกคนท่ี 1 5. ครแู ละนักเรียนชว ยกันเฉลยคำตอบในใบงาน

6. นกั เรียนตอบคำถามกระตุนความคดิ

ขนั้ สรปุ นกั เรียนรวมกันสรุปประเภทของเครื่องดนตรีสากล และหลกั การใชและบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรีสากล

ส่อื /แหลงเรยี นรู

ส่อื การเรียนรู

  1. หนงั สอื เรยี น ดนตร-ี นาฏศลิ ป ม.2

2)ใบงาน เร่ือง เครื่องดนตรีสากล

แหลง การเรียนรู

  1. หองปฏิบัตกิ ารดนตรีสากล สรปุ ผลการจดั การเรียนรู

ดา นความรู

กลุมผูเรยี น ชวงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปนรอยละ

ดี 8 - 10

ปานกลาง 6-7

ปรับปรุง ตำ่ กวา 5 คะแนน

ดานทกั ษะ/กระบวนการ ชว งคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน รอยละ 8 - 10 กลมุ ผูเรียน 6-7 ดี ต่ำกวา 5 คะแนน ปานกลาง ปรบั ปรุง

ดา นคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค

กลมุ ผเู รยี น ชว งระดับคณุ ภาพ จำนวน (คน) คิดเปน รอยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรับปรุง 0-1

บนั ทกึ ผลการจดั การเรียนการสอน

ดา นการจัดกิจกรรมการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….....……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญ หาทีพ่ บระหวา งหรือหลงั จัดกจิ กรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ..........................................................ผสู อน (นายสุภชัย จันทะโสม )

............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเห็นของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู  สอดคลอ งกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลกั สตู รฯ  กจิ กรรมการเรยี นรเู นน ผเู รยี นเปน สำคัญ  มกี ารวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผเู รียน  ใชส่อื หรือแหลงเรยี นรูท ีท่ นั สมยั และสง เสริมการเรียนรูไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ  สอดคลองตามจุดเนน ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเนน ของโรงเรียน  สง เสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  สงเสรมิ เบญจวถิ กี าญจนา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชอ่ื ................................................. (นางรชั นี หนเู พ็ง.)

หวั หนา กลมุ สาระการเรียนรู ศิลปะ

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนากลมุ บริหารวิชาการ

 ถกู ตองตามรปู แบบของโรงเรียน

 ผา นการนเิ ทศตรวจสอบจากหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู/กรรมการนเิ ทศ

 กอ นใชสอน  หลังใชส อน

 มบี นั ทกึ หลังจดั กิจกรรมการเรียนรู

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชื่อ............................................... (นายธนพนั ธ เพง็ สวัสด์ิ)

หวั หนากลมุ บริหารวิชาการ ความคดิ เห็นของรองผอู ำนวยการฝา ยวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงช่อื ..................................................... (นางกญั จนช ญาณัท วงศจิระศักด)ิ์

รองผูอ ำนวยการโรงเรยี น กลมุ บรหิ ารงานวชิ าการ

ความคิดเหน็ ของผอู ำนวยการโรงเรียน (สว นนี้ใชเฉพาะแผนการสอนทใ่ี ชสง ผลงานทางวิชาการ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงช่ือ..................................................... ( นางพรทิพย นุกลู กิจ )

ผูอำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สุราษฎรธานี

ใบความรูเ รอ่ื ง ประเภคของเครื่องดนตรสี ากล เครอื่ งดนตรสี ากลประเภทเครอื่ งสาย

1. ไวโอลนิ คอื เคร่ืองดนตรีท่กี ำเนดิ เสยี งในระดบั สูงมที งั้ หมด 4 ชนดิ คอื ไวโอลิน วิโอลา เชโล และดบั เบิล เบส เครื่องดนตรใี นตระกูลไวโอลนิ คือ เครื่องดนตรีหลกั ที่ใชในวงออรเคสตรา ลำตัวไวโอลนิ ทำดวยไม มี 4 สาย ตง้ั เสยี งตา งกันในระดับคู 5 (G , D , A และ E) ปกติจะเลนโดยใชค ันชกั สที สี่ ายใหสน่ั สะเทือน แตบางคร้งั ก็จะใชน ิว้ ดีด เพอื่ ใหเกิดเสียงสั่น ไวโอลินจะตองวางบนไหลข า งซายของผูเลน แลว ใชค างหนีบไวไมใหเ คล่อื นที่ มอื ขวาของผู

เลนใชส ีสายไวโอลนิ ดว ยคนั ชกั โดยท่วั ๆ ไปคนั ชักจะทำดว ยหางมา

2. กีตาร (Guitar) กตี าร คือ เคร่ืองดนตรปี ระเภทเครอื่ งสาย เลนโดยวิธกี ารดดี เกี่ยว ดงึ หรอื กรีด ลงบน สายกตี าร อาจใชน ว้ิ หรือ เพล็คทรัมก็ได กลองเสยี งของกีตารม ลี กั ษณะคลา ยไวโอลนิ ขนาดใหญ คอยาว มีเฟลท โลหะค่นั อยู มี 6 สาย และมหี มดุ ยดึ สายทป่ี ลายคอกีตาร สายชองกีตารม ีทง้ั ที่ทำดวยโลหะเเละไนลอ น เคร่อื งดนตรสี ากลประเภทเครอื่ งลมไม

1. คลาริเนต เปน เคร่อื งดนตรปี ระเภทเคร่ืองลมไม ใชล นิ้ เดียว ปคลารเิ นตในระดับเสียงบแี ฟลต็ ไดถกู ใช เปนตวั แทนเมื่อมกี ารกลาวถงึ ปค ลารเิ นตเสมอ คลาริเนตมีใชอยูหลายชนิด เชน บแี ฟล็ต คลารเิ นต เบส คลาริเนต อแี ฟล็ต คลารเิ นต เปนตน ลำตวั ป คลาริเนตทำดวยโลหะและไม หรือบางครงั้ ก็ทำดว ยยางหรอื พลาสติก ลำตวั ป

กลวง เปล่ยี นระดับเสยี งโดยใชน ิ้วและคียโลหะบนุ วมปดเกิดรู ป คลาริเนตมรี ปู รา งคลา ยกบั ปโ อโบ แตกตางกันที่ ปากเปา (กำพวด)คณุ ภาพเสียงของป คลารเิ นต มชี ว งเสยี งกวา งและทุมลกึ มนี ว้ิ พิเศษทท่ี ำเสยี งไดส งู มากเปน พเิ ศษ

2. แซก็ โซโฟน ใชก ำพวดทมี่ ีล้นิ เดียว เหมือนอยางปคลาริเนตแตล ำตวั จะเปนทรงกรวยเหมือนโอโบ ลำตัว ทำดวยโลหะเหมือนเครอ่ื งทองเหลือง ปากลำโพงเคง งอยอนข้ึนมา แซ็กโซโฟนขนาดเล็กใหเสียงสงู ขนาดใหญใ ห เสียงตำ่ เสียงของ แซ็กโซโฟนเปนลกั ษณะผสมผสานมที ง้ั ความพลวิ้ ไหว ความกลมกลอมและความเขมแข็งปะปน กัน

3. ฟลทุ คือ ขลยุ ชนดิ หน่ึงเปน เครอ่ื งดนตรอี ยูในกลมุ เคร่อื งลมไม ฟลุทมีทอกลวงเกดิ เสียงโดยการเปาลม ผา นสวนปากเปา ผูเลนตองถือฟลทุ ใหขนานกับพน้ื ฟลุทในระยะแรกทำดว ยไม ปจจุบันฟลุททำดวยโลหะผสม คุณภาพเสยี งของฟลทุ ในระดบั สูงมีเสียงแจม ใสเปาเสยี งในระดับสงู ไดดี เสยี งในระดบั ตำ่ มีความนมุ นวล เหมาะ สำหรบั ใชบรรเลงเดย่ี วบรรเลงทำนองหลักของบทเพลง และบรรเลงทำนองสอดแทรกตาง ๆ ในระดับเสียงสงู

4. ปค โคโล คือ เครือ่ งดนตรีในกลุมเครอื่ งลมไม เปนเคร่อื งดนตรใี นตระกูลฟลุท วิธีการเปา จึง เหมอื นกบั การเปา ฟลุท ปคโคโลมีระดบั เสยี งสงู กวาฟลุทอยู 1ชวงคูแปด มีขนาดเล็กกวาฟลทุ 4 เทา จึงทำใหมี คณุ ภาพเสียงท่สี ดใสและแหลมมาก เสียงในระดบั ตำ่ ของปคโคโลจะดังไมชัดเจน ปค โคโลจึงเหมาะทจ่ี ะใชในการ เลนในระดับเสยี งกลางและเสียงสงู มากกวาในระดับเสียงต่ำ

เคร่ืองดนตรสี ากลประเภทเครื่องลมทองเหลือง

1. ทรมั เปท คอื เคร่ืองดนตรที ีจ่ ัดอยใู นประเภทเคร่อื งลมทองเหลืองกำพวดสำหรบั เปามีลกั ษณะเปนทอ โลหะบานตรงปลาย คลา ยรูปถวย ทอลมทรัมเปทดานปลายทอ บานออกเปน ลำโพง เพอ่ื ขยายเสียงใหดงั ทรมั เปท มลี ูกสบู 3ลกู สูบสำหรับเปลีย่ นความสัน้ ยาวของทอ ลม เพื่อเปลีย่ นระดบั เสยี งดนตรที ่เี กิดขนึ้ บางครั้งกดเดยี ง 1 นิ้ว บางครงั้ 2 น้ิว หรือ 3 น้ิวพรอ มกันเปาโดยเมมรมิ ฝปาก แลวทำใหริมฝปากส่ันสะเทอื นในกำพวด เสียง ของทรัมเปทเปน เสียงทมี่ ีพงั และดังเจิดจา ในบทเพลงตา ง ๆ

2. ทบู า คอื เครอื่ งดนตรีประเภทเคร่ืองลมทองเหลอื งที่มรี ะดับเสยี งตำ่ สุด เครื่องเปาทองเหลืองที่มีระดับ เสียงตำ่ เชนเดียวกับทูบามีอกี จำนวนหน่ึง เชน บาริโทน ยโู ฟเนียม และซซู าโฟน ทบู ามีพัฒนาการมาจากการเปา เขาสตั วและการเปา สังข ทอลมของทบู ามลี ักษณะคอ ย ๆ บานออก สวนตรงปลายทอ บานเปนลำโพง กำพวดเปน โลหะรปู ถวย มลี ูกสบู 3 หรอื 4 ลกู สบู ทูบามีทั้งในระดับเสียงอีแฟลต็ และบีแฟลต็

3. ยูโฟเนียม คือ เคร่อื งดนตรีประเภทเครอ่ื งเปาทองเหลอื ง ลกั ษณะเสียงของยโู ฟเนยี มจะนมุ นวล ทุมลึก และมคี วามหนักแนน มาก สามารถเลนในระดบั เสยี งต่ำไดดี บางครง้ั นำไปใชใ นวงออรเคสตราแทนทบู า คำวา”ยโู ฟ เนียม” มาจากภาษากรีกหมายถึง ”เสยี งด”ี ลกั ษณะท่ัวไปของยโู ฟเนยี มเหมือนกบั เคร่อื งเปา ทองเหลอื งท่ัวไป จะมี ลกู สูบ 3 – 4 ลกู สูบมกี ำพวดเปนรปู ถวย ทอลมกลวงบานปลายเปน ลำโพงเสียง มเี ครือ่ งดนตรีชนิดหนงึ่ ชือ่ “บาริ โทน” มเี สียงใกลเคียงกบั ยูโฟเนยี ม แตท อ ลมมีขนาดเลก็ กวา เสยี งของบารโิ ทนจะมคี วามหา วมากกวายโู ฟเนยี ม พบวาบอยครัง้ ท่ีมีการเรียกช่ือสลับกนั ระหวางยโู ฟเนยี มและบารโิ ทน

4. ทรอมโบน คือ เคร่ืองลมทองเหลือง มีคนั ชักโคงเปนรปู ตัวยู สำหรบั เปลย่ี นความสน้ั ยาวของทอลม ตำแหนง ของการเล่ือนคันชักจะมีอยูท ง้ั หมด 7 ตำแหนง ใหระดบั เสียงดนตรีตางกันออกไป ทอลมกลวง ทรงกระบอก ปลายทอบานออกเปนลำโพง เปาโดยใชก ำพวดเปน รปู ถว ย

เครือ่ งดนตรีสากลประเภทเครื่องตกี ระทบ

1. กลองใหญ คือ เครอ่ื งตีกระทบ มี 2 หนา ขึงดว ยหนังกลอง กลองใหญทีใ่ ชใ นวงออรเคสตรา จะมีขนาด ใหญท ี่สดุ กวา 32 น้ิว ถา ใชใ นวงโยธวาทิตจะมีขนาดตั้งแต 20-32น้ิว ตดี ว ยไมตี ปลายไมขา งหนึง่ ทำเปนปมไว สำหรับใชต กี ระทบกับหนงั กลองปมน้ันอาจหมุ ดวยสกั หลาด ไมกอก ผานวม หรือ ฟองน้ำ เสียงกลองตีเนน ยำ้ จงั หวะเพื่อใหเกิดความหนักแนน หรอื อาจจะใชร วั เพือ่ ใหเกิดความต่ืนเตน รวั เพ่อื สรา งจุดสนใจในบทเพลงเพ่ิมข้ึน ก็ได

2. กลองเลก็ คือ เคร่ืองตกี ระทบ มี 2 หนา ขึงดวยหนังกลอง ลักษณะเฉพาะ คือ หนังกลองดานลา งตอ ง คาดไวดวยสายสะแนรมที ัง้ ท่ีทำดว ยไนลอนและทำดว ยเสนลวดโลหะ กลองเลก็ มีหลายชอื่ เชน Snare Drum และ Side Drum และ มีขาต้ังรองรบั ตวั กลองใชเ ปนสวนหนึง่ ของกลองชุด หรือนำมาใชบ รรเลงประกอบจังหวะสำหรบั วงออรเ คสตรา หรือวงอน่ื ๆท่นี ่ังบรรเลง สำหรบั วงโยธวาทิตและแตรวง มีตัวยึดกลองทำดวยโลหะคลอ งยดึ ไวก บั ลำตัวของผูตี กลองจะอยูด า นหนา ของผตู ใี ชส ำหรับดรยี กกลองเลก็ ท่ผี ตู ตี องใชสายสะพายคลองกลองไวข างลำตวั ตะขอที่อยตู ดิ กับขอบกลองใชคลอ งเกยี่ วกบั ตัวกลองไวก ับสายสะพาย ขอบกลองดานบนอยใู นระดบั เดยี วกบั เอว ชองผูตี ตวั กลองอยใู นลกั ษณะเฉียงกบั สำตวั ของผูต ี

3. กลองทิมปานี เปน กลองท่มี ลี กั ษณะเหมอื นกระทะหรอื กาตมนำ้ จงึ มีชื่อเรยี กอีกชื่อหนึง่ วา Kettle Drum ตวั กลองทำดว ทองแดง ตงั้ อยบู นขาหยง่ั กลองทิมปานมี ีระดับเสยี งแนนอน เทียบเทากับเสียงเบส มกี ระเดื่อง เหยียบเพื่อเปล่ียนระดบั เสียงตามตองการในการบรรเบงตองใชอยางนอย 2 ใบ เสยี งของกลองแสดงอำนาจ ทำให ความย่งิ ใหญ ตนื่ เตน เรา ใจ

4. กลองบองโก เปนกลองคู จะตองมี 2 ใบเสมอ เลก็ 1 ใบ ใหญ 1 ใบ ระดบั เสียงของกลอง 2 ใบ ตงั้ ใหห าง กนั ในระดบั คู 4 หรอื คู 5 โดยประมาณ หนังกลองบองโกตองตงั้ ใหตึงกวา กลองคองกา ตัวกลองตดิ ตงั้ อุปกรณ ยึด ติดใหอ ยูคกู นั ขณะทต่ี ีกลอง ผูตีจะตองหนบี กลองทัง้ 2 ใบใหอ ยูระหวา งขาทง้ั สองขางหนีบไวด ว ยหัวเขา หรอื วาง ไวบนขาตงั้ โลหะกไ็ ด กลองบองโกตองตดี ว ยปลายน้ิวมอื และฝามอื เชน เดียวกับกลองคองกา

5. แทมบูรนิ เปน เคร่อื งตกี ระทบ ประกอบชน้ิ ดวยขอบกลม เหมอื นขอบกลองขนาดเล็กประมาณ 10 นว้ิ ขอบทำดว ยไมพลาสตกิ หรือโลหะ รอบ ๆ ขอบติดดวยแผนโลหะประกบกัน 2 แผน หรอื ติดดว ยลกู กระพรวนเปน ระยะ ใชก ารตกี ระทบกับฝา มือหรือส่ันเขยา ใหเ กิดเสยี งดงั กรงุ กริ๋ง เพ่ือประกอบจังกวะใหเกดิ ความสนุกสนาน สด ชื่น แทมบูรินบางชนิดจะขึงดวยหนังเหมอื นกลอง 1 ดานใชฝา มือตที ี่หนัง

6. ฉาบ คือ เครื่องดนตรกี ระทบ มหี ลายลักษณะ บางชนิดใชต ีคูใ หเกดิ เสียง ผตู ีตอ งลอดมอื เขาไปท่ีหรู อ ย ฉาบซึ่งทำสายหนงั แบฝา มือใหป ระกบแนบกบั ฝาฉาบตรงสว นนูนกลางฉาบ แลวตกี ระทบฝาฉาบดวยมอื ท้งั สองขาง ฉาบบางชนดิ จะใชเ พียงขางเดียวตีดว ยไมตีฉาบประเภทนีต้ องตดิ ตง้ั บนขาต้งั เชน ฉาบทีใ่ ชส ำหรบั กลองชุด เปนตน ฉาบมีหลายขนาดเสน ผาศูนยกลางมากจะทำใหเ กดิ เสียงดังและความกองกงั วานมากขน้ึ

7. โซโลโฟน คือ เครือ่ งดนตรีกระทบทีรม รี ะดบั เสียงแนน อน เปนระนาดไมขนาดเลก็ ของดนตรนีตะวนั ตก ลกั ษณะท่วั ไปจะคลา ยกับมาริมบา หรอื ไวบราโฟน แตขนาดเลก็ กวา ลกู ระนาดทำดว ยไมเนอ้ื แข็ง ใตลกู ระนาดมี ทอ โลหะตดิ อยู เพ่ือเปนตวั ขยายเสยี ง เคร่อื งดนตรีสากลประเภทเครอื่ งล่ิมนิว้

1. เปยโน เปน เคร่ืองดนตรปี ระเภทคียบ อรด เกิดเสียงโดยการกดคียท่ีตองการ แลว คยี นั้นจะสงแรงไปท่ี กลไกตางๆภายในเครอื่ ง เพ่ือทจ่ี ะทำใหส ายโลหะทข่ี ึงตงึ สน่ั สะเทือนทำใหเกดิ เสียงดงั ขึ้น สายเสียงจะถกู ตีดวยคอน ซ่งึ เชื่อมโยงไปยังคียท กี่ ดโดยผา นเคร่อื งกลไกที่ซบั ซอนทเี่ รียกวา แอ็คชนั่ แตเดิมเปย โนมชี ื่อเรียกวา เปย โนฟอรเต ท้งั น้เี พราะ เปย โนสามารถบรรเลงดว ยเสยี งเบาและเสยี งดังไดอ ยา งเดน ชดั

2. ออรแกน เปนเครอื่ งดนตรีคยี บ อรดประเภทใชลม เมือ่ มลี มเปาผา นทอทำใหเ กิดเสยี งทอ ละหนง่ึ เสียง ออรแ กนมีแผงคยี สำหรับกดดวยนว้ิ และแผงคียเหยยี บดวยเทา แผงคียที่กดเลน ดว ยมือเรยี กวา แมนนวล แผงคียท ่ี เหยียบดวยเทา เรยี กวา เพดดัล การบังคบั กลุมทอ ตา งๆซ่งึ จะดไวเปนพวกเดยี วกันทำไดโดยการใชปุมกด หรือดนั ยกขึน้ ลง ท่ีเรยี กวา สต็อป ออรแ กนขนาดใหญจ ะมีกลมุ ทอเปลยี่ นเสยี งทเ่ี รยี กวา รีจสี เตอร เปนจำนวนมากเพื่อใช สรางสสี นั แหงเสยี งไดหลากหลาย ออรแ กนสมยั ใหมใชไ ฟฟาบงั คบั แกนลมซ่งึ ตามแบบด้ังเดมิ น้นั ลมทใ่ี ชก เ็ กิดจาก การอัดลมดวยเทา ของผูเลนหรอื ไมกม็ ีผชู ว ยอัดลมแทนให

คำชีแ้ จง ใบงานที่ 2.1 เร่อื ง เครือ่ งดนตรีสากล ใหนักเรยี นติดภาพเคร่ืองดนตรีสากลตามประเภทท่กี ำหนด พรอ มอธบิ ายหลักการใชแ ละบำรุงรกั ษา เคร่อื งดนตรีประเภทน้ัน

(ตดิ ภาพ) 1. เครือ่ งสาย หลกั การใชแ ละบำรงุ รักษาเครื่องดนตรสี ากลประเภน้ี

คอื

(ติดภาพ) 2. เครื่องเปา ลมไม หลักการใชแ ละบำรงุ รักษาเครอ่ื งดนตรสี ากลประเภน้ี

คือ

(ตดิ ภาพ) 3. เครื่องเปา ลมทองเหลือง หลักการใชและบำรงุ รักษาเครือ่ งดนตรีสากลประเภนี้

คอื

(ตดิ ภาพ) 4. เคร่อื งดนตรีประเภทมลี ่ิมน้วิ (ตดิ ภาพ) หลักการใชและบำรุงรกั ษาเคร่อื งดนตรสี ากประเภนี้ คือ

5. เครื่องดนตรปี ระเภทเคร่ืองตี หลักการใชและบำรุงรักษาเครื่องดนตรสี ากประเภน้ี คือ

คำชแี้ จง เฉลย ใบงานท่ี 2.1 เร่อื ง เคร่ืองดนตรสี ากล ใหนักเรยี นติดภาพเครือ่ งดนตรสี ากลตามประเภทท่ีกำหนด พรอ มอธบิ ายหลกั การใชและบำรุงรกั ษา เคร่อื งดนตรปี ระเภทน้ัน

(ตดิ ภาพ) 1. เครือ่ งสาย หลักการใชแ ละบำรงุ รกั ษาเคร่อื งดนตรีสากประเภทน้ี แหงทีม่ เี นื้อนุม ฝุน ท่ีเกาะอยู คอื กอนหรอื หลงั การเลน เครอ่ื งดนตรีใหใ ชผา จะตองปรับ ลูบเบาๆ ไปบนสายและตวั เคร่อื งดนตรเี พ่ือขจัด

และหลังใชเ ครอื่ งดนตรีเสร็จแลว กอนนำไปเก็บ

สายเพอื่ ผอ นสายใหหยอนทุกครั้ง

(ตดิ ภาพ) 2. เครื่องเปา ลมไม หลกั การใชแ ละบำรุงรักษาเครอ่ื งดนตรีสากลประเภทน้ี

คอื

(ติดภาพ) 3. เครื่องเปาลมทองเหลือง หลกั การใชแ ละบำรงุ รักษาเครอ่ื งดนตรีสากลประเภทน้ี

คอื

(ตดิ ภาพ) 4. เครื่องดนตรปี ระเภทมีล่ิมนว้ิ (ติดภาพ) หลกั การใชและบำรงุ รกั ษาเครอ่ื งดนตรีสากลประเภทน้ี

คอื

5. เครือ่ งดนตรปี ระเภทเครือ่ งตี หลักการใชและบำรุงรักษาเครื่องดนตรสี ากลประเภทนี้

คือ

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยใหอยใู นดุลยพินิจของครผู สู อน)

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบคุ คล

คำชแี้ จง :ให ผูสอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงในชอ งที่ตรง กบั ระดบั คะแนน

ลำดับ ชอ่ื -สกุล ความมวี ินัย ความมนี ำ้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอ รวม ท่ี ของผูรับการประเมนิ เอ้อื เฟอ ความคดิ เหน็ ความคิดเห็น เวลา 20 เสียสละ คะแนน

43214321432143214321

ลงช่อื .................................................... ผูป ระเมิน ................ /................ /................

เกณฑก ารใหคะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยางสม่ำเสมอ ให 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอยครง้ั ให 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก

14 - 17 ดี

ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 2 คะแนน 10 - 13 พอใช้

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ ยครงั้ ให 1 คะแนน ตํากว่า ปรบั ปรุง

คำชีแ้ จง : แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุม

ให ผูส อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงในชอง ทีต่ รงกับระดับคะแนน

ลำดบั ชอ่ื -สกุล การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมีนำ้ ใจ การมี รวม ที่ ของผรู บั การประเมิน ความคดิ เหน็ ฟงคนอืน่ ตามท่ีไดร ับ สว นรวมใน 20 มอบหมาย การปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกลุม

43214321 432 14321 4321

ลงช่อื .................................................... ผปู ระเมิน ................ /................ /................

เกณฑการใหค ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยางสมำ่ เสมอ ให 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก

ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให 2 คะแนน 14 - 17 ดี

ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอยครัง้ ให 1 คะแนน 10 - 13 พอใช้

ตํากว่า ปรบั ปรุง

แบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยการเรยี นรูที่ 2

คำช้แี จง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. เครือ่ งดนตรชี นดิ ใด จัดเปนประเภทเดยี วกับเครอื่ งดนตรี 6. วงเชมเบอรมวิ สคิ เปน วงดนตรที ม่ี ลี กั ษณะอยา งไร

ตระกลู ไวโอลิน ก. มีผูบรรเลง 10 คน

ก. ฮารป ข. มผี บู รรเลงต้ังแต 2-9 คน

ข. แบนโจ ค. มีผบู รรเลงต้ังแต 8-10 คน

ค. แมนโดลิน ง. มีผูบรรเลงตงั้ แต 10 คนขนึ้ ไป

ง. วโิ อลอนเชลโล 7. วงดนตรที ่ีใชใ นพิธีเดินสวนสนามของตำรวจและทหาร

2. เครือ่ งดนตรีท่ีมลี กั ษณะคลา ยฟลูต แตเล็กกวา โดยมผี ูถือคฑาสง สัญญาณใหผบู รรเลงทราบ

คอื เครอื่ งดนตรีชนิดใด คือวงดนตรีประเภทใด

ก. โอโบ ก. วงดรุ ิยางค ข. วงเคร่ืองสาย

ข. บาสซนู ค. แตรวง ง. วงคอมโบ

ค. พิกโคโล 8. อปุ กรณท ผ่ี ูอำนวยเพลงใชใหจงั หวะและควบคมุ การ

ง. ริคอรเดอร บรรเลง เรียกวา อะไร

3. กตี ารโปรงสายเอ็น มชี ่ือเรยี กอกี อยา งวา อะไร ก. ไมคฑา ข. ไมค ุมวง

ก. กีตารแจ็ส ค. ไมบ าตอง ง. ไมบ าซาร

ข. กีตารริท่ึม 9. วงดนตรขี นาดใหญท ่ีมเี ครอ่ื งดนตรคี รบทกุ ประเภท

ค. กีตารโ ฟลค มีผูบรรเลง 8-10 คน เรียกวา อะไร

ง. กีตารคลาสสิก ก. วงแจส

4. เครือ่ งดนตรที ม่ี ีสดั สว นใกลเ คยี งกบั ทรัมเปตมากทสี่ ดุ ข. วงสตริง

คอื เครอ่ื งดนตรชี นดิ ใด ค. วงเชมเบอรม ิวสคิ

ก. ทบู า ข. คอรเ น็ต ง. วงดรุ ยิ างคซมิ โฟนี

ค. ยโู ฟเนยี ม ง. ทรอมโบน 10. การปฏบิ ตั ใิ นขอใดเปนการดูแลรกั ษาเครือ่ งดนตรไี ดดี

5. เครอื่ งดนตรชี นดิ ใด ท่ีใหเสยี งต่ำมากท่ีสุด ทีส่ ุด

ก. ทบู า ก. โต นกั เปย โน หลงั จากฝก ซอมเพลงเสร็จใชผาคลมุ

ข. ทรัมเปต ข. จอหน เลนอเิ ล็กโทนไปดวยรบั ประทานขนมไปดว ย

ค. ยโู ฟเนียม ค. ปด ต้งั สายกตี ารเ สรจ็ แลวเกบ็ ใสในกลองเปน อยา งดี

ง. แซ็กโซโฟน ง. สมาชกิ วงโยธวาทิตใชผ า นมุ ๆ เชด็ เครือ่ งดนตรี

เบาๆ หลงั จากฝกซอมทุกวนั

1. ง 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก 6. ข 7. ค 8. ค 9. ง 10. ง

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4

รายวิชาศลิ ปะ สาระ ที่ 2 ดนตรี (สากล) รหัสวชิ า ศ 22102 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

หนว ยการเรียนรูท ่ี 3 เคร่ืองดนตรแี ละวงดนตรีสากล เวลา 4 ชว่ั โมง

เรอ่ื ง วงดนตรสี ากล เวลา 2 ชว่ั โมง

ผสู อน นายสุภชยั จนั ทะโสม โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธานี

มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ัด ทใ่ี ช

ศ 2.1 ม.2/4 รองเพลงและเลนดนตรีเดย่ี ว และบรรเลงรวมวง

สาระสำคญั

วงดนตรีสากลแตละประเภทจะมลี กั ษณะการผสมวงท่แี ตกตางกนั ทั้งชนิดของเคร่อื งดนตรีและจำนวนชิ้น ในการบรรเลง จดุ ประสงคก ารเรยี นรู

- อธบิ ายลกั ษณะการผสมวงของวงดนตรีสากลได สาระการเรียนรู

- วงดนตรสี ากล คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

1. มีวินยั 2. ใฝเรียนรู 3. มงุ มนั่ ในการทำงาน เบญจวถิ กี าญจนา 1. เทิดทนู สถาบนั 2. กตญั ู 3. บุคลกิ ดี 4. มวี ินยั 5. ใหเ กียรติ สมรรถนะท่สี ำคญั ของผเู รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกปญหา

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนนสกู ารพัฒนาผูเรยี น ความสามารถและทักษะทจ่ี ำเปนในการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls) R1– Reading (อานออก) R2– (W)Riting (เขยี นได) R3 – (A)Rithmetics (คิดเปน) C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะดานการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณและทักษะในการ

แกปญ หา) C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรางสรรคและนวตั กรรม) C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดานความเขาใจตางวฒั นธรรมตางกระบวนทัศน) C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา นความรวมมือ การทำงานเปนทีมและ

ภาวะผูน ำ) C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดา นการสือ่ สารสารสนเทศและรเู ทา

ทนั ส่ือ) C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร) C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรยี นร)ู C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม)

L1 – Learning (ทักษะการเรียนรู) L2 – Leadership (ทักษะความเปนผูน ำ)

การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมอื วัด เกณฑ ดานความรู

ภาระงาน/ชน้ิ งาน

ตอบคำถามสะทอน ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมินการตอบ ระดบั 4 ดีเยย่ี ม 4 คะแนน ความคดิ วงดนตรีสากล สะทอ นความคิด ตาม คำถามสะทอนความคิด = ทำไดท ุกตวั ชีว้ ดั ตัวช้ีวัดตอไปนี้ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน 1. ความถกู ตอ งครอบคลุม = ทำไดม าก ส่งิ ทไ่ี ดเ รยี นรู ระดบั 2 พอใช 2 คะแนน 2. ความสมเหตุสมผล = ทำไดนอย 3. การต้งั คำถามท่ีอยากรู ระดบั 1 ตอ งปรับปรงุ 1 คะแนน \= ทำไมไดถึงทำไดนอยมาก

ดา นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธกี ารวดั เคร่อื งมือ เกณฑทีใ่ ช ใบงานที่ รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ใบงานท่ี 1 ประเภทวง รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ดนตรีสากล ตรวจใบงานท่ี

ทดสอบหลงั เรียน

ทำแบบทดสอบหลงั เรียน แบบทดสอบ

ดานคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

ภาระงาน/ชิ้นงาน วธิ กี ารวัด เครอื่ งมอื เกณฑท ่ใี ช ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา นเกณฑ บนั ทึกการสงั เกตุ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมนักเรยี น รายบคุ คล/รายกลมุ ทำงานรายบุคคล/รายกลมุ

บนั ทกึ การสังเกตุ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั ระดบั คณุ ภาพ 2 ผานเกณฑ พฤติกรรมนกั เรียน สงั เกตความมีวินัย ใฝเรียนรู พงึ ประสงค และมุง ม่ันในการทำงาน

กจิ กรรมการเรยี นรู ขน้ั ท่ี 1 สังเกต

1.ครูเปด ซีดกี ารแสดงดนตรีวงโยธวาทิต ใหนกั เรียนดู แลวถามนักเรยี นวา การแสดงดนตรีชดุ นมี้ ีชอื่ เรียกวา อะไร

2.นกั เรียนตอบคำถามกระตุนความคิด 3.ครใู หน ักเรียนกลุมเดิม (จากแผนการจดั การเรียนรูท่ี 3) รวมกนั ศึกษาความรูเร่อื ง ลกั ษณะของวงดนตรี สากล จากหนงั สอื เรียน ดังนี้

  1. วงเชมเบอรมวิ สคิ
  1. วงดรุ ิยางค
  2. วงเครอ่ื งสาย
  3. แตรวง
  4. วงโยธวาทติ
  5. วงแจส
  6. วงคอมโบ
  7. วงสตรงิ คอมโบหรือวงกีตารค อมโบ 4. นกั เรียนแตละกลุมชว ยกนั สังเกตและพจิ ารณาตามประเด็นที่กำหนด ดงั นี้ - ลกั ษณะการผสมวง

- เครอื่ งดนตรีท่ีใชป ระกอบในวง

ขน้ั ที่ 2 จำแนกความแตกตา ง

1. สมาชิกแตละกลุมรว มกนั วิเคราะหความแตกตางของวงดนตรีแตล ะวงตามประเดน็ ทก่ี ำหนดในขัน้ ท่ี 1

2.ตวั แทนกลุมนำเสนอผลการวิเคราะหห นาชนั้ เรยี น แลวใหเพอื่ นกลมุ อื่นชวยเสนอแนะเพิ่มเตมิ ใหส มบรู ณ ถูกตอง

ขั้นที่ 3 หาลักษณะรว ม 1. สมาชิกในกลุมชวยกนั เปรยี บเทียบวา วงดนตรปี ระเภทใดท่ีมีลักษณะการผสมวง หรอื เครื่องดนตรที ี่ใช

ประกอบในวงเหมือนกันหรือคลา ยคลงึ กันบาง 2. อาสาสมัครนักเรียน 2-3 กลมุ นำเสนอผลการเปรยี บเทียบหนา ช้นั เรียน ครูและเพ่ือนกลมุ อื่นชวยกัน

ตรวจสอบความถูกตอง ขั้นท่ี 4 ระบุช่ือความคดิ รวบยอด นักเรียนแตละกลุมนำผลการวิเคราะหและเปรียบเทยี บมาเปน แนวทางในการสรปุ ลักษณะการผสมวง และ

เครือ่ งดนตรีทใี่ ชใ นวง ของวงดนตรสี ากลแตล ะประเภท ข้นั ที่ 5 ทดสอบและนำไปใช

1. สมาชิกแตละกลมุ ชวยกนั ทำใบงานที่ 2.2 เรื่อง วงดนตรีสากล 2. ครคู ดั เลอื กใบงานท่ี 2.2 ของนักเรียน 7-8 กลมุ (วงดนตรี ไมซ ้ำกัน) แลว ใหต วั แทนกลุมนำเสนอหนาชัน้

เรยี น เสรจ็ แลว เกบ็ รวบรวมใบงานสง ครู

 ครมู อบหมายใหน กั เรียนแตละกลุมจัดทำสมุดภาพวงดนตรีสากล โดยใหครอบคลมุ ประเด็นตามที่กำหนด ดงั นี้

  1. การจดั ประเภทของวงดนตรสี ากล
  2. การอธิบายเคร่ืองดนตรีท่ใี ชประกอบในวง
  3. การอธิบายหลักการใชและบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรีสากลแตละประเภท

3. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

สอื่ /แหลงเรยี นรู

ส่ือการเรยี นรู

  1. หนังสือเรยี น ดนตร-ี นาฏศลิ ป ม.2 2)ใบงาน เร่ือง วงดนตรสี ากล

แหลง การเรียนรู

  1. หองปฏิบตั กิ ารดนตรีสากล

สรุปผลการจัดการเรียนรู ชวงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปนรอยละ 8 - 10 ดา นความรู 6-7 กลมุ ผูเรยี น ดี ตำ่ กวา 5 คะแนน ปานกลาง ปรบั ปรุง

ดา นทกั ษะ/กระบวนการ ชวงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปน รอยละ

กลุมผเู รยี น 8 - 10 6-7 ดี ตำ่ กวา 5 คะแนน ปานกลาง ปรบั ปรงุ

ดานคุณลักษะอันพึงประสงค

กลมุ ผเู รียน ชวงระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คดิ เปนรอ ยละ

ดี 3

ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บนั ทึกผลการจดั การเรยี นการสอน

ดา นการจัดกิจกรรมการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….....……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญ หาท่ีพบระหวางหรอื หลังจดั กจิ กรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงชอ่ื ..........................................................ผูสอน (นายสภุ ชัย จันทะโสม )

............/........................../............. การตรวจสอบและความคิดเห็นของหวั หนากลุมสาระการเรยี นรู

 สอดคลอ งกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สตู รฯ  กจิ กรรมการเรียนรูเนนผูเรียนเปนสำคัญ  มีการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผเู รียน  ใชส อ่ื หรือแหลงเรยี นรทู ท่ี นั สมัยและสง เสรมิ การเรียนรูไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ  สอดคลองตามจดุ เนนของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจุดเนน ของโรงเรยี น  สงเสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  สงเสรมิ เบญจวิถกี าญจนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงชอ่ื ................................................. (นางรัชนี หนเู พ็ง.)

หวั หนากลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

การตรวจสอบและความคิดเห็นของหัวหนา กลมุ บรหิ ารวิชาการ

 ถูกตองตามรปู แบบของโรงเรียน

 ผา นการนิเทศตรวจสอบจากหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรู/กรรมการนิเทศ

 กอนใชสอน  หลงั ใชสอน

 มบี นั ทึกหลังจดั กจิ กรรมการเรียนรู

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................

ลงช่ือ............................................... (นายธนพนั ธ เพง็ สวัสด)ิ์

หวั หนากลุมบริหารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของรองผูอำนวยการฝายวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงชอ่ื ..................................................... (นางกญั จนชญาณัท วงศจริ ะศักด)ิ์

รองผอู ำนวยการโรงเรยี น กลมุ บริหารงานวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ของผูอ ำนวยการโรงเรียน (สว นน้ีใชเ ฉพาะแผนการสอนท่ใี ชส ง ผลงานทางวชิ าการ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….......................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..........................................................

ลงชื่อ..................................................... ( นางพรทิพย นกุ ลู กจิ )

ผอู ำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธ านี

ใบความรูเ ร่อื ง ประเภทของวงดนตรีสากล

วงดนตรีสากลในปจจุบนั มกี ารเรียกช่ือตาง ๆ กันออกไปหลายลักษณะ ดงั นี้ คือ

1. วงแชมเบอร (Chamber Music) เปน วงดนตรขี นาดเลก็ ใชบ รรเลงในหองโถงหรอื สถานท่ีไมใ หญโตนกั มนี กั ดนตรตี ้ังแต 2 – 9 คน มีช่อื เรยี กตาม จำนวนนักดนตรี ดงั นี้ คอื

 นกั ดนตรี 2 คน เรยี กวา ดเู อ็ด (Duet) นกั ดนตรี 3 คน เรียกวา ทรีโอ (Trio)  นกั ดนตรี 4 คน เรียกวา ควอเต็ด (Quartet) นกั ดนตรี 5 คน เรียกวา ควนิ เตด็ (Quintet)  นักดนตรี 6 คน เรียกวา เซกเตด็ (Sextet) นักดนตรี 7 คน เรียกวา เซพเตด็ (Seยtet)  นกั ดนตรี 8 คน เรยี กวา ออคเตด็ (Octet) นกั ดนตรี 9 คน เรียกวา โนเน็ด (Nonet) 2. วงออรเ คสตรา (Orchestra) เปนวงดนตรีขนาดใหญท่ีมีนักดนตรมี ากทส่ี ุด และมี วาทยกร หรอื ผอู ำนวยเพลง (Conductor) เปน ผูควบคุมวง ดนตรีเพอ่ื กำกบั จังหวะ ลลี า และความดงั เบาของบทเพลง แบงออกเปน 2 ลักษณะคือ วงแชมเบอรออรเคสตรา เปน วงดนตรที ใี่ ชเ ฉพาะเครอื่ งดนตรตี ระกลู ไวโอลเ ทาน้ัน มีผบู รรเลงจำนวน 20 – 30 คน วงซิมโฟนอี อรเ คสตรา เปน วงดนตรที ่มี เี คร่ืองดนตรีครบทัง้ 5 ประเภท คอื เครื่องสาย เครื่องลมไม เครอื่ งทองเหลอื ง เครื่องคยี บ อรด และ เครอื่ งกระทบ แบงขนาดของวงเปน 3 ขนาดคือ

 ขนาดเล็ก มีผูบ รรเลง 40 – 60 คน  ขนาดกลาง มผี บู รรเลง 60 – 80 คน  ขนาดใหญ มผี ูบรรเลงตัง้ แต 80 คน ขึน้ ไป 3. วงแบนด (Band)

เปนวงดนตรีทม่ี เี ครอื่ งดนตรีประเภทเคร่ืองลมไมแ ละเคร่ืองลมทองเหลืองเปน หลักในการบรรเลงมเี คร่อื งประกอบ จังหวะเปนสวนประกอบ แบง ออกไดดงั น้ี คือ

 วงซมิ โฟนิคแบนด เปน วงดนตรที ม่ี เี คร่ืองดนตรีเครอ่ื งเปาเปนหลกั และมดี ับเบ้ิลเบสมาบรรเลงประกอบ มักบรรเลงในรม ในหองประชมุ บทเพลงทบ่ี รรเลงเปน บทเพลงทีเ่ ขยี นขึ้นเฉพาะ

 วงมารช ชง่ิ แบนด เปนวงดนตรีที่มีอยตู ามหนวยงานสถานศึกษา เหมาะสำหรับบรรเลงกลางแจง

แบง ออกเปน 2 ประเภทคือ

 วงแตรวง เปนวงดนตรที มี่ เี ครอ่ื งเปา ทองเหลืองเปนหลักและมีเครื่องกำกับจังหวะประกอบ  วงโยธวาทติ วง เปนวงดนตรที มี่ ีเครื่องลมไมและเคร่ืองทองเหลืองเปน หลักและมีเครือ่ งกำกับจงั หวะ

ประกอบ แตเดิมเปนวงดนตรที ใ่ี ชใ นการกจิ การของทหาร ตอ มาไดแพรหลายไปสูส ถานศกึ ษา เปน วง ดนตรที ใี่ ชในการเดินสวนสนามใชบรรเลงกลางแจงประกอบการเดนิ สวนสนาม  วงบิกแบนด (Big Band) เปนวงดนตรแี จสประเภทหนงึ่ เกิดขึน้ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า จุดมุงหมายในการ บรรเลงคือ เพ่ือประกอบการเตน รำและฟงเพือ่ ความไพเราะ ประกอบดวยเครอื่ งดนตรี 3 กลมุ คือ เครื่อง ลมไม เครื่องลมทองเหลืองและเคร่ืองกำกับจงั หวะ  วงคอมโบ (Conbo) เปนวงดนตรขี นาดเลก็ ใชบ รรเลงประกอบการขบั รอง บรรเลงเพือ่ ฟง บรรเลง ประกอบการเตน รำและประกอบการแสดงตา ง ๆ 4. วงชาโดว (Shadow) เปนวงดนตรที ี่เกดิ ขนึ้ ในประเทศอังกฤษ เปนวงดนตรขี นาดเล็ก มีเคร่อื งดนตรีอยู 3 ชิ้นคอื กตี าร เบส และกลองชดุ ผขู บั รองก็เปนนักดนตรี 5. วงสตรงิ คอมโบ (String Combo) เปน วงดนตรที พ่ี ัฒนามาจากวงชาโดว ประกอบดว ยเคร่อื งดนตรีคือ กีตารคอรด กีตารลดี เบสคียบอรด กลองชดุ บางวงอาจเพิม่ เครอื่ งเปาเชน ทรัมเปต แซกโซโฟน ทรอมโบนเขา ไปดว ย 6. วงโฟลค ซอง (Folksong) ความหมายทแี่ ทจ ริงของ โฟลคซอง คือ เพลงพ้นื บาน เปนเพลงของชาวบานที่แตง ขนึ้ เพ่ือความบันเทิง สนกุ สนาน เครอื่ งดนตรีทีใ่ ชกเ็ ปนเครอ่ื งดนตรีทีอ่ ยูใ นทองถ่ิน ไมม ีแบบแผนการบรรเลงทีแ่ นนอน สำหรบั ประเทศไทย มผี ูเอาคำวา “โฟลคซอง” มาใชในความหมายวา การขบั รองเพลงยอดนยิ มท่วั ไป โดยมเี คร่ือง ดนตรกี ตี ารโ ปรงมาบรรเลงประกอบ และมีเครื่องดนตรมี าประสมคอื ขลยุ เมาทออรแ กน และเคร่ืองประกอบจงั หวะตาง ๆ 7. วงแตรวงชาวบาน เปน วงดนตรที ่เี กดิ ขนึ้ ในสงั คมไทยแถบชนบท มีรปู บแบบทไ่ี มแ นนอนเคร่ืองดนตรหี ลักคือเครอื่ งดนตรเี คร่อื งเปา ชนิดตาง ๆ เทา ทีจ่ ะหาได และเครื่องตีประกอบจังหวะ เพลงที่บรรเลงมีทั้งเพลงไทย เพลงลูกทุง และเพลงอน่ื ๆ มี ลลี าจงั หวะท่สี นกุ สนาน ใชบ รรเลงประกอบงานพิธีตา ง ๆ เ ชน งานแหต าง ๆ เปนตน

ใบงาน เรื่อง วงดนตรีสากล คำชแ้ี จง ใหน ักเรียนเลือกวงดนตรีทีช่ ื่นชอบ มา 1 วง แลวสบื คนขอมูลตามประเด็นท่กี ำหนด

วงดนตรปี ระเภทน้ี คือ

(ติดภาพ)

1. ประวัติความเปนมาของวงดนตรี มดี ังนี้ 2. เครื่องดนตรีทใ่ี ชประกอบในวง มีดังนี้

เฉลย ใบงาน เรือ่ ง วงดนตรีสากล คำชแ้ี จง ใหน ักเรียนเลือกวงดนตรที ่ชี ่ืนชอบ มา 1 วง แลวสบื คนขอมูลตามประเด็นที่กำหนด

วงดนตรีประเภทนี้ คือ

(ติดภาพ)

1. ประวตั คิ วามเปน มาของวงดนตรี มดี ังนี้ 2. เครื่องดนตรีที่ใชป ระกอบในวง มดี ังนี้

(พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยใหอยใู นดลุ ยพนิ ิจของครูผสู อน)

แบบประเมิน การนำเสนอผลงาน

คำช้ีแจง : ให ผูสอน ประเมินการนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการท่ีกำหนด แลวขีด  ลงในชอ ง ทตี่ รงกับระดับคะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน

4321

1 ความถกู ตอ งของเนอ้ื หา

2 ความคิดสรางสรรค

3 วิธีการนำเสนอผลงาน

4 การนำไปใชป ระโยชน

5 การตรงตอเวลา

รวม

ลงช่อื .................................................... ผูประเมิน ................ /................ /................ เกณฑก ารใหคะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสมบรู ณชดั เจน ให 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพรองบางสวน ให 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อบกพรอ งเปน สวนใหญ ให 2 คะแนน ให 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพรองมาก ดีมาก เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ ดี พอใช คะแนน 8 หมายถึง ปรับปรงุ คะแนน 6-7 หมายถงึ คะแนน 4-5 หมายถึง

คะแนน ต่ำกวา 4 หมายถงึ

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทำงานกลมุ ชอ่ื กลุม ช้นั

คำช้แี จง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน

4321

1 การแบงหนาท่ีกันอยา งเหมาะสม

2 ความรว มมอื กันทำงาน

3 การแสดงความคดิ เห็น

4 การรบั ฟง ความคิดเห็น

5 ความมีน้ำใจชว ยเหลือกนั

รวม ลงชือ่ .................................................... ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา งสมำ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครง้ั ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอ ยครั้ง ให 1 คะแนน

เกณฑก ารตดั สินคุณภาพ ดมี าก คะแนน 8 หมายถึง ดี คะแนน 6-7 หมายถึง พอใช คะแนน 4-5 หมายถงึ ปรับปรุง คะแนน ตำ่ กวา 4 หมายถึง

แบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยการเรียนรทู ่ี 2

คำช้แี จง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว

1. กีตารโ ปรง สายเอน็ มชี อ่ื เรยี กอกี อยางวา อะไร 6. อุปกรณท ่ผี อู ำนวยเพลงใชใ หจงั หวะและควบคุมการ

ก. กตี ารค ลาสสกิ บรรเลง เรียกวา อะไร

ข. กตี ารโฟลค ก. ไมบาซาร ข. ไมบาตอง

ค. กีตารรทิ ึม่ ค. ไมค ุมวง ง. ไมค ฑา

ง. กีตารแจส็ 7. การปฏิบตั ิในขอ ใดเปนการดแู ลรักษาเครอื่ งดนตรไี ดด ี

2. เครือ่ งดนตรชี นิดใด ท่ีใหเสยี งต่ำมากท่ีสดุ ทส่ี ดุ

ก. แซ็กโซโฟน ก. สมาชกิ วงโยธวาทิตใชผ า นมุ ๆ เช็ดเครื่องดนตรี

ข. ยโู ฟเนียม เบาๆ หลงั จากฝกซอมทุกวนั

ค. ทรัมเปต ข. ปด ตงั้ สายกีตารเ สรจ็ แลว เก็บใสใ นกลองเปน อยา งดี

ง. ทบู า ค. จอหน เลนอเิ ล็กโทนไปดว ยรับประทานขนมไปดวย

3. เครือ่ งดนตรีท่ีมสี ดั สวนใกลเ คียงกบั ทรัมเปตมากทส่ี ดุ ง. โต นักเปย โน หลังจากฝกซอ มเพลงเสร็จใชผา คลุม