13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

  • หน้าหลัก
  • * ถวายพระพร 2566
    • ๓ มิถุนายน ๒๕๖๖
    • ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๖
    • ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๖
      • ถวายพระพร 2565
    • ๓ มิถุนายน ๒๕๖๕
    • ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕
    • ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕
  • * TO BE NUMBER ONE VARITY
    • คุยถึงแก่น
    • NBT รวมใจ
    • เคลีย์คัดชัดเจน
    • ฟังชัดๆ ถนอมจัดให้
    • ชาญชรา
    • ถ่ายทอดสด
  • * รับชมข่าวย้อนหลัง
    • ข่าวพระราชสำนัก
    • การเมือง - ความมั่นคง
    • สังคม การศึกษา ศาสนา
    • ข่าวเศรษฐกิจ
    • เกษตร-สภาพอากาศ สถานการณ์น้ำ-ภัยพิบัติ
    • ข่าวกีฬา
  • รายการ
    • รับชมรายการย้อนหลัง
    • * ธรรมรส ธรรมรัฐ
      • ลีลาชีวิต
      • สยามปันสุข
      • มหัศจรรย์แห่งปัญญา
      • พุทธธรรมนำปัญญา
    • รอบภูมิภาค
    • * ตะวันยิ้ม
    • เมืองไทยดี๊ดี
    • รู้ไว้สุขใจจริงหนอ
    • คิดเป็นเห็นความจริง
    • ใต้สันติสุข
  • บทความ
    • บทความ
    • คลังความรู้
    • งานวิจัย
  • สถิติ
    • การเช่าเวลา
    • การให้บริการ
    • การให้บริการสาธารณะ
    • การควบคุมภายใน
    • รายงานประจำปี
    • บันทึกรายการถวายพระพร
    • ผลสำรวจความพึงพอใจ
  • * ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • สทท. ภูมิภาค
    • ถาม-ตอบ (Q&A)
    • คู่มือปฏิบัติงาน
    • การจัดการพลังงาน
    • .
  • Social Media

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

  1. หน้าหลัก

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

เกี่ยวกับเรา รายการ ข่าว บทความ

  • สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย
  • กรมประชาสัมพันธ์
  • สทท. ภูมิภาค
  • การบริการสาธารณะ
  • การควบคุมภายใน
  • คู่มือปฏิบัติงาน
  • รายงานประจำปี
  • แบบคำขอใช้บริการประชาสัมพันธ์
  • รับเรื่องร้องเรียน
  • แบบสอบถามความพึงพอใจ
  • บันทึกรายการถวายพระพร
  • ผลสำรวจความพึงพอใจ
  • ถาม-ตอบ(Q&A)
  • TO BE NUMBER ONE VARIETY
  • คุยถึงแก่น
  • NBT รวมใจ
  • เคลียร์คัดชัดเจน
  • ชาญชรา
  • ฟังชัดๆ ถนอมจัดให้
  • รอบภูมิภาค
  • ถ่ายทอดสด
  • ข่าวพระราชสำนัก
  • การเมือง - ความมั่นคง
  • เกษตร-สภาพอากาศ สถานการณ์น้ำ-ภัยพิบัติ
  • สังคม การศึกษา ศาสนา
  • เศรษฐกิจ
  • การปฏิรูประบบราชการ
  • เทคโนโลยี
  • เศรษฐกิจพอเพียง
  • การผลิตรายการโทรทัศน์
  • นานาสาระ

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์

236 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก

เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

โทร. 0 2275 2053

จำนวนการเข้าชม : 3,022,827

สโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ดฉายาแข้งเทพก่อตั้งพ.ศ. 2531 (ในชื่อ สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพ) พ.ศ. 2552 (ในชื่อ สโมสรฟุตบอลทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด)สนามสนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิตความจุ25,000 ที่นั่งเจ้าของบริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จำกัด (ในเครือ ทรู คอร์ปอเรชั่น)ประธานขจร เจียรวนนท์ผู้จัดการสุรเดช อนันทพงศ์ผู้ฝึกสอนธชตวัน ศรีปานลีกไทยลีก2565–66ไทยลีก, อันดับที่ 2เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

สีชุดทีมเหย้า

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

สีชุดทีมเยือน

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

สีชุดที่สาม

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส
ฤดูกาลปัจจุบัน

สโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย เคยชนะเลิศการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก 1 สมัยในปี พ.ศ. 2549 และได้รับสิทธิไปร่วมเล่นใน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ในอดีตเคยใช้ชื่อว่า สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับ กรุงเทพมหานคร ที่เข้ามาเป็นผู้สนับสนุน จึงมีการเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น แบงค็อก ยูไนเต็ด มาจนถึงปัจจุบัน

ประวัติสโมสร[แก้]

ยุคแรก[แก้]

สโมสรทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด ได้ถือกำเนิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2505 ซึ่งในขณะนั้นใช้ชื่อว่า สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพ จากปณิธานตั้งมั่นของผู้บริหารและคณาจารย์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่ต้องการสร้างสรรค์มหาวิทยาลัยให้เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพชั้นนำของประเทศ ซึ่งนอกเหนือจากมุ่งส่งเสริมด้านการเรียน เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสู่สังคมแล้ว มหาวิทยาลัยยังให้ความสำคัญกับการสนับสนุนกิจกรรมการกีฬา โดยจัดให้มีศูนย์กีฬาและสนามกีฬาเพื่อให้บริการแก่นักศึกษา บุคลากรตลอดจนบุคคลภายนอก และได้ส่งทีมนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันตามคำเชิญของหน่วยงานและองค์กรต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และฟุตบอลถือเป็นกีฬาหนึ่ง ที่มหาวิทยาลัยได้ส่งสโมสรฟุตบอลเข้าร่วมการแข่งขันเรื่อยมา

เข้าร่วมกับสมาคมฟุตบอล[แก้]

เมื่อเข้าสู่ปี พ.ศ. 2531 สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ร่วมเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง. ก่อนจะสามารถเลื่อนระดับชั้นสู่ถ้วยพระราชทานประเภท ค. ในปี พ.ศ. 2533 และเลื่อนขึ้นไปแข่งในถ้วยพระราชทานประเภท ข. ในปี พ.ศ. 2534 จากการบ่มเพาะฝึกฝนพัฒนาทักษะของทีมเรื่อยมา จนปี พ.ศ. 2543 สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ตำแหน่งรองชนะเลิศถ้วยพระราชทานประเภท ข. ทำให้ได้รับสิทธิ์ให้เข้าร่วมการแข่งขันในไทยลีกดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2544/2545 และจบที่อันดับ 3

ไทยพรีเมียร์ลีก[แก้]

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส
เสื้อแข่งขันของสโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพในปี 2549

ในฤดูกาล 2545/2546 สโมสรคว้าแชมป์ไทยลีกดิวิชั่น 1 ได้สำเร็จ ทำให้ได้รับสิทธิ์เลื่อนชั้นขึ้นไปเล่นในไทยพรีเมียร์ลีก ซึ่งถือเป็นผลงานในระดับที่ดีที่สุดครั้งแรกของการก่อตั้งสโมสร และถือเป็นทีมสโมสรเดียวจากสถาบันการศึกษาที่สามารถเลื่อนชั้นขึ้นไปแข่งขันในระดับลีกสูงสุดของประเทศได้โดยที่มีนักกีฬาส่วนใหญ่มาจากนักศึกษาและศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย จนมาถึงการเข้าร่วมแข่งขันในไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2549 สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพก็สามารถคว้าแชมป์ลีกสุงสุดของไทยได้สำเร็จ จากทีมร่วมแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม และได้สิทธิ์เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และยังได้รับเชิญจากสมาคมฟุตบอลประเทศสิงคโปร์ให้เข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลสิงคโปร์คัพ 2007 (ได้อันดับ 3) และจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 4 ในไทยพรีเมียร์ลีก ส่วนผลแข่งขันจากรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2008 จับฉลากได้อยู่ในสายเอฟ ซึ่งแข่งขันกับทีมคาวาซากิ ฟรอนตาเล่ จากญี่ปุ่น อาเรมามาลังจากอินโดนีเซีย และชุนนัม ดรากอนส์จากเกาหลีใต้ โดยมีการแข่งขันทั้งหมด 6 นัด ทีมมหาวิทยาลัยกรุงเทพเสมอ 3 และแพ้ 3 ตกรอบแบ่งกลุ่มของรายการนี้ แต่ก็ถือเป็นความภาคภูมิใจและเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาทีมสู่การแข่งขันอาชีพระดับนานาชาติ

เปลี่ยนชื่อเป็นแบงค็อก ยูไนเต็ด[แก้]

ปี พ.ศ. 2552 สโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยกรุงเทพได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น แบงค็อก ยูไนเต็ด จากการร่วมเป็นพันธมิตรกับกรุงเทพมหานคร ด้วยหลักการและเหตุผลที่ต้องการพัฒนาทีมของมหาวิทยาลัยให้เป็นทีมของชาวกรุงเทพฯ และเพื่อยกระดับมาตรฐานฟุตบอลอาชีพของไทยสู่ความเป็นมืออาชีพอย่างเต็มตัว ทำให้มีการปรับเปลี่ยนของสโมสรหลายอย่าง เช่น การเปลี่ยนตัวประธานสโมสรจากเรือโทหญิงสุธี บูรณธนิต เป็นนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน และเปลี่ยนสัญลักษณ์ตลอดจนสีชุดแข่งขันจากสีประจำมหาวิทยาลัยกรุงเทพเป็นสีประจำกรุงเทพมหานคร รวมทั้งย้ายสนามแข่งขันจากสนามมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต มาเป็นสนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง

และเมื่อเดือนต้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น ได้เข้าร่วมสนับสนุนโดยการถือหุ้นรายใหญ่ของสโมสรแบงค็อก ยูไนเต็ด ฟุตบอลคลับ เพื่อสร้างโอกาสเติบโตให้เกิดแก่วงการฟุตบอลไทย รวมทั้งได้เริ่มจัดตั้ง สถาบันสอนฟุตบอลกรุงเทพมหานคร หรือ แบงค็อก ฟุตบอล อคาเดมี จากความร่วมมือของกรุงเทพมหานคร พร้อมกับสร้างปูทางสู่ระดับนานาชาติให้กับทีมด้วยการดึงนักเตะต่างชาติมาเข้าร่วมทีม ตลอดจนรวมพลนักเตะระดับชาติที่มีชื่อหลายคนมาเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับทีม ด้วยเป้าหมายสำคัญกับการขึ้นสู่อันดับ 1 ใน 5 ของไทยพรีเมียร์ลีก แต่สโมสรก็ทำผลงานได้อย่างน่าผิดหวังจนจบฤดูกาล 2552 และฤดูกาล 2553 ด้วยอันดับ 13 และ 15 ตามลำดับ ตกชั้นสู่ ไทยลีกดิวิชั่น 1 ในฤดูกาลต่อมา

ตกชั้น[แก้]

หลังจากตกชั้นลงสู่ไทยลีกดิวิชั่น 1 สโมสรก็ได้ตั้งเป้าหมายในการกลับขึ้นไปแข่งขันในไทยพรีเมียร์ลีกซึ่งเป็นลีกสูงสุดของประเทศอีกครั้ง ด้วยการเปลี่ยนแปลงทีมใหม่ทั้งหมดเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งและสร้างรากฐานให้มีความพร้อมในการเป็นสโมสรฟุตบอลชั้นนำของประเทศ โดยในฤดูกาล 2554 สโมสรจบการแข่งขันด้วยอันดับ 6 ของไทยลีก ดิวิชั่น 1 พลาดการเลื่อนชั้นสู่ไทยพรีเมียร์ลีกอย่างน่าเสียดาย สำหรับในฤดูกาล 2555 ภายใต้การนำของ สะสม พบประเสริฐ แม้จะออกสตาร์ทช่วงต้นฤดูกาลไม่ดีนัก แต่ด้วยความร่วมมือร่วมใจกันของทุกฝ่ายสโมสรจึงกลับมาทำผลงานได้ดีในช่วงครึ่งหลังของฤดูกาล ส่งผลให้จบฤดูกาลด้วยอันดับ 3 คว้าตั๋วใบสุดท้ายเลื่อนชั้นสู่ไทยพรีเมียร์ลีกได้ในที่สุด

ยุคใหม่และการแข่งขันแชมเปียนส์ลีก[แก้]

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส
ผู้เล่นทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ในนัดที่เปิดบ้านพบกับเอสซีจี เมืองทองฯ ในปี 2558

ปี พ.ศ. 2556 ขจร เจียรวนนท์ ได้เข้ามาดำรงตำแหน่งประธานสโมสรแบงค็อก ยูไนเต็ด คนใหม่ ต่อจากนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ซึ่งมีการปรับปรุงสโมสรให้มีความแข็งแกร่งขึ้นในหลายๆ ด้านเพื่อสู้ศึกไทยพรีเมียร์ลีก โดยในปีเดียวกัน ผู้สนับสนุนหลักอย่าง ทรูวิชั่นส์ ได้ทุ่มงบประมาณก้อนใหญ่กว่า 60 ล้านบาทเพื่อใช้สนับสนุนสโมสร พร้อมกับเปิดตัวนักเตะหน้าใหม่ที่สโมสรดึงเข้ามาร่วมทีมอาทิเช่น รณชัย รังสิโย, ปกาศิต แสนสุข, พงษ์พิพัฒน์ คำนวณ, โทนี่ คอสต้า และ มาริโอ ดาซิลวา เข้ามาผนึกกำลังร่วมกับนักเตะชุดเก่าเมื่อฤดูกาลที่แล้วซึ่งช่วยให้ศักยภาพของทีมโดยรวมดีขึ้น สำหรับเป้าหมายในฤดูกาล 2556 สะสม พบประเสริฐ หัวหน้าผู้ฝึกสอนตั้งเป้าที่จะพาทีมให้อยู่รอดในลีกสูงสุดของประเทศไทยให้ได้ ก่อนที่จะก้าวขึ้นสู่เป้าหมายที่สูงกว่าในอันดับต่อไป

สำหรับผลการแข่งขันในฤดูกาล 2556 สโมสรออกสตาร์ทได้ไม่ดีนักเก็บได้เพียง 1 คะแนนจากการแข่งขัน 7 นัดแรก ทำให้ถูกมองว่าเป็นทีมเต็งในปีนี้ที่ต้องตกชั้นไปเล่น ไทยลีกดิวิชั่น 1 แต่ด้วยกำลังใจจากกองเชียร์ ประกอบกับความมุ่งมั่นของทีมงานและนักเตะ ส่งผลให้สโมสรมีผลงานที่ดีขึ้นตามลำดับในช่วงครึ่งหลังของฤดูกาล จนสามารถจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 13 และรักษาสถานะสโมสรในลีกสูงสุดของประเทศไทยได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ ก่อนจะไต่ขึ้นมาตามลำดับภายใต้การคุมทีมของ อาเลชังดรี ปอลกิง จนกระทั่งในฤดูกาล 2559 แข้งเทพ ก็ประสบความสำเร็จในการคว้าสิทธิ์ไปเล่นเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2017 หลังจากจบฤดูกาลด้วยรองแชมป์

ในการแข่งขันถ้วยสโมสรเอเชียของ แข้งเทพ ในปี 2560 เริ่มต้นที่รอบเพลย์ออฟ ซึ่งพวกเขาเปิดบ้านเจอกับสโมสรฟุตบอลยะโฮร์ดารุลตาซิม ทีมแชมป์มาเลเซียซูเปอร์ลีก แต่ แข้งเทพ กลับพลาดท่าดวลจุดโทษแพ้ไป 6-5 ตกรอบไปในที่สุด และถือเป็นการพ่ายแพ้ยะโฮร์ของทีมสโมสรจากไทยเป็นครั้งแรกอีกด้วย

ในปี 2566 สโมสรชนะเลิศไทยแลนด์แชมเปียนส์คัพ 2566 นับเป็นการชนะเลิศรายการแรกของสโมสรนับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อทีมจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพเป็นแบงค็อก ยูไนเต็ด

สัญลักษณ์สโมสร[แก้]

  • 13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส
    ฤดูกาล 2543–2551
  • 13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส
    ฤดูกาล 2552–2556
  • 13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส
    ฤดูกาล 2557–2560
  • 13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส
    ฤดูกาล 2561–ปัจจุบัน

สนามแข่งขัน[แก้]

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

13 ม.ค 15 00 ค ง-กร งเทพ พบ บางกอกกล าส

แบงค็อก ยูไนเต็ด ย้ายจากสนามกีฬาศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ไปใช้ สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึ่งมีความจุผู้ชม 20,000 ที่นั่ง และได้มาตรฐานจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2559 ถือเป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมความพร้อมเพื่อลงแข่งขันในรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ