อ ณหภ ม ฆ าเช ออาหารกรดต ำขวดแก ว 121.1 เวลา

น้ำดี ถึงขาดแคลนน้ำ และเกิดการชะล้างพังทลาย สูญเสียหน้าดนิ ในพืน้ ที่ท่ีมีความลาดชนั ลักษณะดินบนเป็นดนิ

ร่วนปนทรายหรือดินร่วน มีกรวดและเศษหินก้อนหินปนอยู่ตอนบนประมาณ 15-34 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร

53

สีน้ำตาลปนเทาถึงสีน้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินบนตอนล่างเป็นดินร่วน เหนยี วปนทราย ดนิ ร่วนปนดนิ เหนยี วหรือดินเหนียวปนทรายปนกรวดและเศษหนิ มปี รมิ าณมากกวา่ 35 เปอร์เซน็ ต์ โดยปริมาตร เพิม่ ขึ้นตามความลกึ จะพบชั้นดินปนกรวดปนเศษหินนี้ต้ืนกว่า 50 เซนติเมตร จากผวิ ดนิ ปฏกิ ิริยาดนิ เป็นกรดจดั ถึงกรดเลก็ น้อยถึงกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0 ) ดินลา่ งตอนล่างเปน็ ช้ันเศษหนิ กรวดของหินทราย

ขอ้ จำกัดในการใชป้ ระโยชน์ สภาพพื้นที่ความลาดชันสูง เป็นดินตื้นมีเศษหินมาก มี ขาดแคลนน้ำ ดินถูกชะล้างพังทลายได้ง่าย ทำให้ สูญเสยี หน้าดินไดง้ า่ ย และขาดแคลนนำ้ ขอ้ เสนอแนะในการใช้ประโยชน์

ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้ในการเกษตร ควรปล่อยไว้เป็นป่าธรรมชาติเพื่อเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร หรือ ใช้เปน็ พื้นท่เี ล้ยี งสัตว์ ปลกู ไม้ใชส้ อยโตเร็ว

สำหรับการปลูกพืชไรห่ รือพืชผัก เลือกพื้นที่ที่มหี น้าดินหนาและมีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ จัดระบบ การปลูกพืชให้หมุนเวียนตลอดท้ังปีและปลกู พืชบำรุงดินรว่ มอยู่ด้วย ปรับปรุงดินด้วยปุย๋ หมักหรือปุ๋ยคอก 3-4 ตัน ต่อไร่ หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด (หว่านเมล็ดถั่วพร้า 10-12 กิโลกรัมต่อไร่ เมล็ดถั่วพุ่ม 8-10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ ปอเทือง 6-8 กิโลกรัมต่อไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์) ร่วมกับการใช้ปุ๋ยเคมีหรอื ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ ไถพรวนและปลกู พชื ตามแนวระดบั มีวสั ดุคลมุ ดนิ หรอื ทำแนวร้วั หญา้ แฝก พัฒนาแหล่งน้ำและจัดระบบการให้น้ำ ในแปลงปลกู

หากปลูกไม้ผล ให้ขุดหลุมปลูกขนาด 75x75x75 เซนติเมตร ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินร่วมกับปุ๋ย หมักหรือป๋ยุ คอก 25-50 กิโลกรัมตอ่ หลมุ มรี ะบบอนุรกั ษ์ดินและน้ำ เชน่ การสรา้ งคนั ดิน ทำข้นั บันได ทำฐานปลูก เฉพาะต้น ปลูกพืชคลุมดิน ทำแนวรั้วหรือทำฐานเฉพาะต้นหญ้าแฝก ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตและ ภายหลังเก็บผลผลิต ใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้ำ ตามชนิดพืชที่ปลูก พัฒนาแหล่งน้ำ และจัดระบบการให้น้ำในแปลงปลกู (สำนักสำรวจดินและวางแผนการใชท้ ดี่ นิ , 2548)

อปุ กรณ์และวธิ ีการ

อุปกรณ์ 1. แปลงทดสอบขนาดเลก็ (Microplot) 2. อปุ กรณใ์ นการเก็บตวั อยา่ งดิน 3. อุปกรณใ์ นการเกบ็ ตัวอยา่ งนำ้ 4. อปุ กรณใ์ นการวเิ คราะห์ดินในหอ้ งปฏบิ ัติการ 5. อปุ กรณใ์ นการวเิ คราะห์นำ้ ในหอ้ งปฏบิ ัติการ 6. สารเคมี ตา่ ง ๆ ท่ีจำเป็นต้องใช้ในห้องปฏิบตั กิ าร

54

7. อปุ กรณ์ในการหาสิ่งมชี ีวิตในดนิ 8. อุปกรณใ์ นการหาพืชพรรณปกคลุมดนิ 9. อปุ กรณ์อ่นื ๆ ที่จำเป็น วิธีการ 1.1 การทำงานกบั แปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot)

1. คัดเลือกพื้นที่ที่จะทำการศึกษา เป็นพื้นท่ีท่ีมีการใช้ประโยชน์ทีด่ ิน คือ มีการปลูกข้าวโพด แล้ว เปลย่ี นมาปลูกยางพาราบนพน้ื ทด่ี อน โดยเลอื กพน้ื ที่ท่มี ีความลาดชัน (Slope) ประมาณ 0 - 20 เปอร์เซน็ ต์

2. ตดิ ต้งั เคร่ืองวัดปริมาณน้ำฝนอยา่ งง่ายในบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ที่วาง Microplot ทั้ง 2 พื้นที่ โดยการติดกญุ แจลอ๊ คไว้ เพอ่ื ปอ้ งกนั การสูญหายของเคร่ืองมือ

3. สร้างแปลงทดสอบการสูญเสียดินขนาดเล็ก (Microplot) โดยสร้างจากเหล็กความกว้างยาว เป็น 1 × 1 เมตร สูง 20 เซนติเมตร (ใช้ฝังลงดินประมาณ 10 เซนติเมตร) จำนวน 12 อัน นำ แผน่ อลูมเิ นียมมาปดิ บริเวณรางสะสมน้ำดา้ นล่างก่อนไหลลงสู่ถงั เก็บน้ำและตะกอน เพื่อปอ้ งกัน การรบกวนจากนำ้ หรือเศษดินภายนอก Microplot ทอี่ าจจะกระเดน็ มาปนกับนำ้ ที่เก็บได้ในแต่ ละแปลง

4. ขุดหลุมสำหรับวางถังเก็บน้ำและตะกอนขนาดความจุ 80 ลูกบาศก์เมตร ด้านล่างของ Microplot เพื่อรองรับน้ำที่มาจาก Microplot ผ่านท่อยางใส โดยใช้เข็มขัดรัดสายยางบิด เกลียวใหแ้ นน่ เพ่ือป้องกันนำ้ ไหลออกจากสายยาง ตามผงั แปลงท่วี างไว้

M1 M2 6 M12 M3 M6 M4 M5 7 M7 M11

M10 M8 M9

ภาพที่ 1 ผังแปลงการวางแปลงทดสอบขนาดเลก็ (Microplot) ในพนื้ ท่ศี กึ ษา

55

5. ทำหลังคาปิด – เปิด ถังเก็บน้ำและตะกอนที่วางในหลุม เพื่อใช้ป้องกันเศษใบไม้ หรือน้ำฝนตก ลงสูถ่ ังโดยตรง

6. เมื่อมีปริมาณฝนตกมากกว่า 20 มิลลิเมตรต่อวัน (เก็บและบันทึกข้อมูลโดยละเอียด) คนน้ำให้ เข้ากันดีในแต่ละถังเก็บนำ้ และตะกอน แล้วจึงใช้กระบอกตวงในการวัดปริมาณนำ้ ที่ไหลลงมาสู่ ถังในแต่ละแปลง ในการศึกษานี้จะสุ่มเก็บตัวอย่างในช่วงต้นฝนประมาณเดือนพฤษภาคม และ ปลายฝนประมาณเดือนกันยายนถึงตุลาคม

7. บนั ทึกระดบั น้ำ เกบ็ นำ้ และตะกอนท่รี องรับได้ภายในถังเกบ็ น้ำและตะกอนดนิ ทุกแปลง 8. ศึกษาขบวนการของส่ิงมีชีวิตในดินหรือบนพื้นผิวดิน และสิ่งปกคลุมดินอื่นๆ ในแปลงทดสอบ

ขนาดเล็ก ได้แก่ สิ่งมีชวี ิตในดนิ เช่น ไส้เดือน แมลง สิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวดิน เช่น เศษเหลือตา่ งๆ ของไสเ้ ดอื น การสร้างจอมปลวก เปอร์เซ็นต์การปกคลมุ ของไม้ยืนต้น พืช และวัชพชื เปน็ ต้น 9. บันทึกข้อมูลอุตุนิยมวิทยาอันประกอบด้วยปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็ว ลม และพลงั งานรวมจากแสงอาทติ ย์ จากสถานอี ุตุนิยมวิทยาทอี่ ยู่ใกล้เคยี งกับพนื้ ที่ศึกษา 10. ทำการคำนวณปรมิ าณน้ำที่รองรบั ไดร้ วมทั้งหมดในแต่ละแปลง 11. นำตัวอย่างน้ำมากรองตะกอนแขวนลอย อบ และชั่งหาน้ำหนักตะกอนเพื่อคำนวณยอ้ นกลบั ไป หาปรมิ าณตะกอนท่ถี ูกพัดพาออกจากแต่ละแปลง 12. วิเคราะหป์ ริมาณธาตุอาหารในตะกอนดนิ ท่สี ูญเสยี และในน้ำท่รี องรบั ไดใ้ นแต่ละแปลงทดสอบ ไดแ้ ก่ ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม 13. สำหรับการหาความชืน้ ในดินที่ระดับตา่ งๆ โดยการเก็บตัวอย่างดินแบบไม่รบกวนโครงสร้างดิน ที่ระดับความลึก 2 ระดบั ไดแ้ ก่ 1) 0-10 ซม. 2) 10-20 ซม. โดยจะตอ้ งเก็บก่อนท่ีจะวางแปลง ทดสอบขนาดเล็ก (หลังจากคัดเลือกพื้นที่แล้ว) และหลังจากการทดลองในปีที่ 2 ใกล้เสร็จสิ้น แลว้ เนอ่ื งจากในแปลงทดสอบขนาดเล็กต้องมีการศึกษากิจกรรมของสิ่งมีชีวติ บนผิวดินในระยะ 2 ปี (เพื่อจะไม่เปน็ การรบกวนกจิ กรรมของสง่ิ มีชีวิตเหลา่ นัน้ ) 1.2 การหาความหลากหลายทางชีวภาพในแปลงยางพารา 1. โดยการเก็บข้อมูลสมบัตดิ ินทางกายภาพ ได้แก่ ความหนาแน่นของดิน ค่าความจุความช้ืนสนาม ที่ 1/3 และ 15 บาร์ 2. โดยเก็บขอ้ มูลทางชีวภาพ ได้แก่ จุลนิ ทรยี ์ดนิ โดยวธิ ี MicroRespTM สิง่ มีชีวติ ขนาดเลก็ ในดนิ โดย วิธี TSBF (Tropical Soil Biology and Fertility) (Anderson and Ingram, 1989) และพืช

56

พรรณ โดยการปรับใช้วิธีการของ Daubenmire (1959) ในการหาเปอร์เซ็นต์การปกคลุมของ พืชในพื้นที่ 1 ตารางเมตร การหาองค์ประกอบของเศษใบไม้ การหาน้ำหนักรากพืชในปริมาตร ดิน 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร การหาเปอร์เซ็นต์การคลุมดินของเศษใบไม้ และเปอร์เซ็นต์ของแสง ทสี่ อ่ งผา่ นใบไมล้ งกระทบดนิ ในความยาว 4.5 เมตร 2. วธิ กี ารเก็บข้อมลู 1. เกบ็ นำ้ และตะกอน จากถงั เก็บน้ำและตะกอนดิน สำหรบั ยางพารา เก็บต้นฤดฝู น และปลายฤดู ฝน สำหรับขา้ วโพด เกบ็ กอ่ นปลกู และหลังเก็บเกยี่ ว 2. คนน้ำให้เข้ากัน แล้วใช้กระบอกตวงขนาด 500 มิลลิลิตร ถึง 1 ลิตร เพื่อตวงหาปริมาตรน้ำ จากนัน้ เกบ็ นำ้ ใส่ขวด 3. หานำ้ หนักตะกอนจากนำ้ ในข้อ 2 โดยนำน้ำไปอบ และหาน้ำหนกั ตะกอนดนิ เทยี บกับกอ่ นอบ 4. วเิ คราะหธ์ าตอุ าหารในดนิ ไดแ้ ก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซยี ม 5. วิเคราะห์หาสมบัติทางกายภาพของดิน ได้แก่ ค่าความหนาแน่น ค่าความจุความชื้นสนามที่ 1/3 และ 15 บาร์ 6. วิเคราะห์ สิ่งมีชีวิตในดิน เช่น ไส้เดือน แมลง สิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวดิน เช่น เศษเหลือต่างๆ ของ ไส้เดือน การสร้างจอมปลวก เปอร์เซ็นต์การปกคลุมของไม้ยืนต้น พืช และวัชพืช และหา ความสมั พนั ธ์ของข้อมูล 7. วิเคราะห์ข้อมูล โดยวิธที างสถิติ และเปรียบเทยี บความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้วธิ ี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) 8. การวิเคราะห์หาปริมาณตะกอนแขวนลอย โดยการชั่งน้ำหนักแห้งของตะกอนที่ค้างอยู่บนกระดาษกรอง โดยที่กระดาษกรองล้างให้ ปราศจากเกลือ และอบที่อณุ หภมู ิมาตรฐาน การคำนวณหาปรมิ าณตะกอนแขวนลอย

Suspended Solids (SS) mg/L = W’-W x 1000

V

เม่ือ W = น้ำหนักของกระดาษกรอง (มิลลกิ รัม) W’ = น้ำหนกั ของกระดาษกรองพร้อมตะกอน (มิลลกิ รมั ) V = ปริมาตรนำ้ ตัวอยา่ ง (มิลลลิ ติ ร)

9. ทำการวิเคราะห์สมบตั ทิ างกายภาพ ไดแ้ ก่ ขนาดอนภุ าคดนิ ความชน้ื ดิน

57

3. สถานท่ที ำการทดลอง/เก็บขอ้ มลู บา้ นตน้ ผง้ึ ตำบลทาแม่ลอบ อำเภอแมท่ า จังหวัดลำพนู

4. ระยะเวลาทำการวิจัย เริ่มตน้ เดอื นตลุ าคม 2559 สิน้ สดุ เดอื น กนั ยายน 2561

ผลการวจิ ัย

สมบัตทิ างกายภาพของดิน 1.1 การเปลีย่ นแปลงคา่ เฉลย่ี ความหนาแนน่ รวม (Bulk density) ของดินบนและดนิ ล่าง ในปี พ.ศ.

2560 และปี พ.ศ. 2561 ผลการวิเคราะห์ค่าความหนาแน่นดิน (Bulk density) โดยเป็นการเก็บตัวอย่างดินแบบไม่รบกวน

โครงสร้างด้วยการใช้กระป๋องเก็บดิน (core) ใน 2 ระดับความลึก ได้แก่ ดินบน เก็บดินที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร และดินล่าง เก็บดินที่ระดับความลึก 10- 20 เซนติเมตร ในทั้ง 2 ปีที่ทำการศึกษา พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 ดินบนมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นของดินเป็น 1.28 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในขณะที่ในปี พ.ศ. 2561 มีค่า มากกว่าเปน็ 1.34 กรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร นอกจากน้ใี นการเก็บตวั อยา่ งดินลา่ งยังใหผ้ ลท่ีสอดคล้องกนั คอื ในปี พ.ศ. 2561 มีค่าความหนาแน่นรวมของดินล่างมากกว่าในปี พ.ศ. 2560 เป็น 1.46 และ 1.36 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ เนื่องจากดินบนยังคงมีกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและรากพืชอยู่ ในขณะที่ดินล่างที่กิจกรรมของ สิ่งมีชีวิตในดินขนาดเล็กและรากพืชหยั่งไปได้ไม่ลึกมาก จึงทำให้โครงสร้างดินมีความแน่นทึบ ความหนาแน่นดิ น ล่างจึงมากกว่าดินบน และเมื่อเปรียบเทียบจากค่าเฉลีย่ ของทั้ง 2 ปี ไม่ว่าจะเป็นดนิ บนหรือดินล่าง พบว่าค่าเฉลย่ี ความหนาแนน่ รวมของดนิ บนและดินล่าง มีความแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติท่ีรอ้ ยละ 95 ดังตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ผลการวเิ คราะห์ ค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวม (Bulk density) ของดินบน และดินลา่ ง ในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

คา่ เฉล่ียความหนาแน่นดนิ รวม (กรมั ต่อลกู บาศก์เมตร)

ดนิ บน ดินลา่ ง แปลง ปี พ.ศ.

2560 2561 2560 2561

1 1.35 1.39 1.43 1.53

2 1.29 1.28 1.38 1.49

3 1.44 1.31 1.35 1.46

4 1.29 1.33 1.36 1.48

5 1.29 1.34 1.36 1.43

6 1.24 1.30 1.43 1.35

58

คา่ เฉลีย่ ความหนาแนน่ ดินรวม (กรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร)

ดินบน ดินลา่ ง แปลง ปี พ.ศ.

2560 2561 2560 2561

7 1.24 1.39 1.32 1.49

8 1.28 1.32 1.30 1.48

9 1.21 1.36 1.37 1.49

10 1.18 1.41 1.32 1.45

11 1.26 1.29 1.30 1.42

12 1.28 1.40 1.37 1.43

Mean 1.28 1.34 1.36 1.46

StDev 0.09 0.08 0.10 0.10

Variance 0.01 0.01 0.01 0.01

n 12 12 12 12

t-test 0.001* 5.34 × 10-5*

* หมายเหตุ มีความแตกต่างทางสถติ ทิ รี่ ะดับความเชอ่ื ม่ัน 95%

1.2 การเปล่ียนแปลงคา่ เฉล่ียปริมาณความชื้นภาคสนาม (Field moisture content % by wt.) ของดินบน และดนิ ลา่ ง ในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยปริมาณความชื้นภาคสนาม (Field moisture content % by wt.) ของดินบน และดินล่าง ในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561 โดยการเก็บตัวอย่างดินแบบไม่รบกวนโครงสร้างด้วยการใช้ กระป๋องเก็บดิน (core) ใน 2 ระดับความลึก ได้แก่ ดินบน เก็บดินที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร และดินล่าง เก็บดินที่ระดับความลึก 10- 20 เซนติเมตร ในทั้ง 2 ปีที่ทำการศึกษา พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 ดินบนมีค่าเฉล่ีย ปริมาณความชื้นภาคสนามเป็น 21.91 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ในปี พ.ศ.2561 มีค่าน้อยกว่ามากเป็น 14.75 เปอร์เซน็ ต์ สำหรับดนิ ล่างยงั ให้ผลท่ีเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับดินบน แตว่ า่ คา่ เฉลี่ยปริมาณความชื้นภาคสนามมี ค่าแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ในปี พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 คือ 15.27 และ 13.10 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ เนื่องจากในปี พ.ศ. 2560 การเก็บตวั อยา่ งดนิ อยูใ่ นช่วงฤดฝู น มีปรมิ าณนำ้ ฝนทม่ี ากกวา่ ดงั น้ันจงึ มีคา่ เฉล่ียปริมาณ ความช้ืนภาคสนามสูงกว่า ปี พ.ศ. 2561 ซึง่ เกบ็ ข้อมูลในช่วงฤดูแล้ง และเมือ่ เปรียบเทยี บจากค่าเฉล่ียของทั้ง 2 ปี ไม่ว่าจะเป็นดินบนหรือดินล่าง พบว่าค่าเฉลี่ยปริมาณความชื้นภาคสนามของดิน มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคญั ทางสถติ ิทรี่ อ้ ยละ 95 ดังตารางที่ 2

59

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยปริมาณความชื้นภาคสนาม (Field moisture content % by wt.) ของดิน บน และดนิ ล่าง ในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

ค่าเฉล่ยี ปริมาณความช้นื ภาคสนาม (% by wt.)

ดนิ บน ดินลา่ ง แปลง ปี พ.ศ.

2560 2561 2560 2561

1 20.70 10.93 12.04. 10.27

2 23.31 18.05 18.05 16.68

3 18.89 13.40 14.54 15.98

4 25.24 20.73 20.06 17.54

5 24.11 17.70 19.00 14.65

6 21.53 12.49 13.83 11.67

7 20.47 13.95 13.06 12.27

8 20.89 12.29 11.56 11.49

9 21.05 16.93 15.08 13.33

10 24.87 16.10 16.79 11.57

11 22.57 9.96 13.86 9.05

12 19.32 14.36 15.43 12.39

Mean 21.91 14.75 15.27 13.099

StDev 3.50 3.69 3.79 2.98

Variance 12.24 13.61 14.37 8.88

n 12 12 12 12

t-test 2.69 × 10-12* 0.009*

* หมายเหตุ มีความแตกตา่ งทางสถิตทิ ร่ี ะดับความเชือ่ ม่ัน 95%

60

1.ปริมาณนำ้ ฝน นำ้ หนักตะกอน ปรมิ าณธาตอุ าหาร P และ K และปรมิ าณโลหะหนัก

2.1 ปริมาณน้ำฝน

สภาพภมู อิ ากาศโดยทั่วไป

จังหวัดลำพูนอยู่ในภาคเหนือ ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนค่อนไปทางเขตอากาศอบอุ่น ในฤดูหนาวจึงมี อากาศเย็นค่อนขา้ งหนาว แต่เนอ่ื งจากอยู่ลึกเขา้ ไปในแผ่นดนิ ห่างไกลจากทะเลจึงมีฤดแู ล้งทยี่ าวนานและอากาศจะ รอ้ นถึงรอ้ นจดั ในฤดูร้อน จงั หวดั ลำพูนมสี ภาพภมู อิ ากาศแตกต่างกนั อย่างเดน่ ชัด 3 ช่วงฤดู คอื

ฤดูรอ้ น เร่ิมต้ังแตก่ ลางเดอื นกุมภาพันธถ์ ึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดฝู น เริ่มตง้ั แตก่ ลางเดอื นพฤษภาคมจนถึงกลางเดือนตุลาคม ฤดูหนาว เริ่มตัง้ แต่กลางเดอื นตุลาคมไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพนั ธ์

ข้อมูลด้านภูมิอากาศของจังหวัดลำพูนต้ังแต่ปี พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561 จะเห็นได้ว่า จำนวนวันฝน

ตกในทั้ง 2 ปี ไม่แตกต่างกันมาก เพียงแต่ในปี พ.ศ. 2561 จะมีจำนวนวันฝนตกที่มากกว่า แต่ปริมาณน้ำฝนรวม

กลับน้อยกว่าในปี พ.ศ. 2560 คือ 980.7 มิลลิเมตร เท่านั้น ในขณะที่ปี พ.ศ. 2560 มีปริมาณน้ำฝนรวมเป็น

1,076.1 มิลลิเมตร สำหรับอณุ หภูมติ ่ำสุด สูงสุด และอุณหภูมเิ ฉลีย่ ในทั้ง 2 ปี ไม่แตกต่างกนั มากนัก โดยอุณหภูมิ

ต่ำสุดและอุณหภูมิสูงสุดก็เช่นเดียวกัน อยู่ในปี พ.ศ. 2560 เป็น 13.3 และ 39.5 องศาเซลเซียส ทำให้อุณหภูมิ

เฉลี่ยสูงกว่าปี พ.ศ. 2561 เป็น 27.5 องศาเซลเซียส ส่วนความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยในปี พ.ศ. 2561 สูงกว่าปี พ.ศ.

2560 เป็น 72 และ 69.9 เปอร์เซน็ ต์ ตามลำดบั โดยสรุปจะเห็นว่าปริมาณน้ำฝนในปี พ.ศ. 2561 ไมส่ งู เท่าปี พ.ศ.

2560 แต่จำนวนวนั ฝนตกมีมากกวา่ อุณหภมู ิอากาศเฉลย่ี ที่ต่ำกว่า ทำให้ปรมิ าณความชน้ื สัมพัทธ์เฉล่ียในอากาศมี

มากกวา่ ดังตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 สถติ ิข้อมูลด้านภมู ิอากาศของจงั หวดั ลำพนู ตั้งแต่ปพี .ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

ปี พ.ศ. ขอ้ มลู 2560 2561

จำนวนวนั ท่ีฝนตก (วนั ) 101 108

ปรมิ าณนำ้ ฝนรวม (มลิ ลิเมตร) 1,076.1 980.7

อุณหภูมิตำ่ สุด (เซลเซียส) 13.3 14.2

อุณหภูมสิ ูงสดุ (เซลเซยี ส) 39.5 38.0

อณุ หภูมิเฉลีย่ (เซลเซียส) 27.5 26.8

ความชื้นสัมพทั ธเ์ ฉลี่ย (%) 69.9 72.0

ท่มี า : ดัดแปลงจาก กรมอตุ ุนิยมวทิ ยา 2561

นอกจากนี้ เมื่อศึกษาถึงปริมาณน้ำฝนรายเดือนเฉลี่ยของจังหวัดลำพูน ดังตารางที่ 4 จะเห็นได้ว่าปี พ.ศ. 2560 ปรมิ าณฝนเริม่ กระจายตกในชว่ งเดือนมีนาคม ถงึ 48.2 มิลลเิ มตร และมฝี นตกสงู สดุ ในช่วงเดือนสิงหาคมถึง 201.8 มลิ ลิเมตร ในขณะท่เี ดือนกุมภาพันธไ์ ม่มีฝนตกเลย ปริมาณนำ้ ฝนรวมท้งั ปเี ปน็ 1,076.1 มลิ ลเิ มตร ในขณะท่ี

61

ปี 2561 พบว่า มีปริมาณน้ำฝนในช่วงต้นปีมีไม่มากนัก แต่จะเร่ิมตกในเดือนเมษายน เป็น 41.1 มิลลิเมตร และ ปริมาณน้ำฝนมากที่สุดในเดือนกันยายน เป็น 190.2 มิลลิเมตร และไม่มีเดือนใดที่ไม่มีฝนตก โดยสรุปจะเห็นว่า คาบของฝนทตี่ กในปี 2561 จะชา้ ไปกว่าปี 2560 ไป 1 เดือน

ตารางที่ 4 ปรมิ าณนำ้ ฝนเฉล่ียรายเดือนของจังหวดั ลำพูน พ.ศ. 2560 และ 2561

พ.ศ. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 2560 62.2 0.0 48.2 98.1 121.9 68.2 120.3 201.8 176.6 105.6 67.3 5.9 1,076.1 2561 2.5 2.0 5.2 41.1 162.3 135.8 111.9 140.3 190.2 121.1 64.4 3.9 980.7

ที่มา : ดัดแปลงจาก กรมอุตุนิยมวิทยา 2561

อยา่ งไรกต็ าม ในช่วงระยะ 2 ปี ที่ใชเ้ พื่อการศกึ ษา ได้แก่ พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561 ในพน้ื ทอ่ี ำเภอแม่ ทา จังหวัดลำพูน ซึ่งเป็นข้อมูลปรมิ าณน้ำฝนใกล้กับพื้นที่ศกึ ษามากขึ้น พบว่าปริมาณน้ำฝนรวมทีต่ กในทั้ง 2 ปี มี ความแตกต่างกันมาก ได้แก่ 1,592.8 และ 786.5 มิลลิเมตร ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าในปีพ.ศ. 2560 มีปริมาณ น้ำฝนรวมมากกว่าในปี พ.ศ. 2561 เกินกว่า 2 เท่า ดังนั้นปริมาณน้ำฝนที่ตกในช่วงระหว่างปีก็จะแตกต่างกันไป ด้วย โดยในปี พ.ศ. 2560 นั้น ปริมาณน้ำฝนสูงสุดที่วัดได้อยู่ในช่วงเดือนตุลาคม คือ 316.1 มิลลิเมตร และ รองลงมาในเดือนพฤษภาคม คือ 304.2 มิลลิเมตร ปริมาณน้ำฝนที่ตกจะกระจายตกมากเกือบทั้งปี ยกเว้นในช่วง เดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม เท่านั้นที่ไม่มีฝนตก แต่ในปี พ.ศ. 2561 นั้นจะเห็นได้ว่าฝนจะเร่ิมตกในปริมาณมาก จากเดือนเมษายนเป็นต้นไป เป็น 86.5 มิลลิเมตร และยังคงตกไปอย่างต่อเนื่อง ในเดือนพฤษภาคมตกมากที่สุด เป็น 138.0 มิลลิเมตร รองลงมาจะเป็นเดือนกันยายน เป็น 133.0 มิลลิเมตร ขณะที่ในเดือนตุลาคมก็ยังมีปริมาณ น้ำฝนมากวัดไดเ้ ป็น 125 มิลลิเมตร ในช่วงต้นปจี ะมปี รมิ าณน้ำฝนน้อยในเดอื นมกราคมถึงเดือนมีนาคม ดังตาราง ที่ 5 และ ภาพที่ 1

ตารางที่ 5 ปรมิ าณน้ำฝนรายเดอื นของสถานตี รวจวัดน้ำฝน อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพนู ปี พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561

พ.ศ. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 2560 61.3 0.0 0.0 70.6 304.2 184.0 230.1 247.0 130.4 316.1 23.0 26.1 1,592.8 2561 1.0 1.0 2.0 86.5 138.0 98.5 88.0 75.5 133.0 125.0 20.5 17.5 786.5

ท่มี า : กรมอุตนุ ิยมวิทยา 2561

62

ปริมาณน้าฝน ( ิมลิลเมตร) 350 ปี 2560 300 250 200 150 100 50

0

ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ภาพท่ี 2 ปริมาณน้ำฝนรายเดือนสถานีตรวจวดั น้ำฝน อำเภอแม่ทา ปี พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561

1.2 ปริมาณน้ำหนกั ตะกอน จากการเก็บรวบรวมปริมาณน้ำจากถังที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot) แล้วนำไป กรองตะกอนในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ และช่งั ปรมิ าณนำ้ หนกั ตะกอนที่ได้ จะเห็นไดว้ ่า ในปี พ.ศ. 2560 มกี ารเก็บตัวอย่าง น้ำใน 3 เดือน โดยเก็บตั้งแต่เดือนกรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน ซึ่งในเดือนกรกฎาคมนั้น พบว่าในแปลง ทดสอบที่ 9 จะมีปริมาณน้ำหนักตะกอนเฉลี่ยสูงที่สุดเป็น 2.68 กรัมต่อลิตร ซึ่งยังถือว่ามีปริมาณน้อยมากเมื่อ เทียบกันเดือนสิงหาคม และกันยายน ที่มีปริมาณน้ำฝนตกมาก ทำให้มีปริมาณน้ำหนกั ตะกอนเฉลี่ยสูงสุดในแปลง ทดสอบที่ 5 เปน็ 7.07 กรมั ตอ่ ลติ ร หรอื 7.07 กรัมต่อตารางเมตร หรือ 11.31 กโิ ลกรมั ต่อไร่ และ แปลงทดสอบท่ี 4 เป็น 9.91 กรัมต่อลิตร หรือ 9.91 กรัมต่อตารางเมตร หรือ 15.86 กิโลกรัมตอ่ ไร่ เนื่องจากทั้งสองแปลงทดสอบ นี้ถูกวางไว้ในที่ค่อนข้างราบและอยู่ภายใต้ร่มเงาของทรงพุ่มต้นทำให้มีปริมาณตะกอนที่รองรับได้อยู่ในปริมาณ มากกว่าแปลงทดสอบอื่นๆ แต่เมื่อรวมปริมาณน้ำหนักตะกอนเฉล่ียของทั้ง 3 เดือนที่มีการเก็บข้อมูลจะเห็นได้ว่า เดือนที่มีปริมาณน้ำหนักตะกอนเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ แปลงทดสอบที่ 4 รวมเป็น 17.04 กรัมต่อลิตร หรือ 27.26 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะท่ี แปลงทดสอบท่ี 2 มคี ่าตำ่ ทสี่ ุดเปน็ 0.20 กรมั ต่อลติ ร หรอื 0.32 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ เทา่ นั้น ดัง ตารางที่ 6 เนอ่ื งจากแปลงทดสอบน้ีวางอยู่ในพื้นท่ีมคี วามลาดชันประมาณ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ เมอื่ มฝี นตกมีปริมาณน้ำ มาตกกระทบ ปกติการชะล้างในพื้นที่ลาดชันควรจะมีสูง แต่ในที่นี้กลับให้ผลตรงกันข้าม เป็นเพราะมีการล้นของ ปริมาณน้ำฝนที่รองรบั ไว้ จนถึงกน้ ถังที่รองรับน้ำถูกดนั ดว้ ยปริมาณดนิ ที่อยู่ก้นหลุมที่วางถัง ทำให้ถังเอียง ปริมาณ น้ำและตะกอนทร่ี องรบั ได้จึงเหลอื อยู่ไม่มากนัก

63

ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำหนักตะกอน (กรัมต่อลิตร) จากน้ำในถังที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot) ในปี พ.ศ. 2560

แปลง กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน รวม 1 0.70 0.52 1.74 2.96 2 nd* 0.2 nd 0.20 3 0.74 2.17 5.99 8.90 4 0.92 6.21 9.91 17.04 5 1.16 7.07 6.32 14.55 6 0.62 2.40 1.81 4.83 7 nd 3.50 6.03 9.53 8 1.19 2.89 5.60 9.68 9 2.68 1.70 0.08 4.46 10 1.28 5.58 3.36 10.22 11 1.08 3.57 5.14 9.79 12 nd 0.12 0.34 0.46

nd* = no data

ในปี พ.ศ. 2561 มีการเก็บตัวอย่างน้ำใน 4 เดือน โดยเก็บตั้งแต่เดือนมีนาคม เมษายน พฤษภาคม (เก็บ 2 ครั้ง ต้นและปลายเดือน) และสิงหาคม พบว่า ในเดือนมีนาคมนั้น เก็บรวบรวมปริมาณน้ำหนักตะกอนได้ ค่อนข้างน้อย เนื่องจากเป็นช่วงฤดูร้อนในจังหวัดมีปริมาณน้ำฝนน้อยมาก แต่อย่างไรก็ตาม สามารถเก็บปริมาณ ตะกอนเฉลี่ย ในแปลงทดสอบที่ 6 ได้สูงสุดเป็น 54.18 กรัมต่อลิตร หรือ 86.69 กิโลกรัมต่อไร่ สำหรับในเดือน เมษายน กลับพบว่ามีปรมิ าณฝนตกพอที่จะทำให้สามารถเก็บรวบรวมปริมาณตะกอนจากแปลงทดสอบที่ 2 ได้ถึง 21.86 กรัมต่อลิตร และในแปลงทดสอบท่ี 4 และ 8 ซึ่งตำแหน่งทีต่ ั้งอยู่ในระนาบเดียวกัน พบว่ามีปริมาณตะกอน ที่สะสมสูงใกล้เคียงกันในเดือนพฤษภาคม เป็น 28.86 และ 28.16 กรัมต่อลิตร หรือ 46.18 และ 45.06 กิโลกรัม ต่อไร่ ตามลำดับ ส่วนในเดือนสิงหาคมซึ่งอยู่ในช่วงฤดูฝนควรจะมีปริมาณของตะกอนที่สะสมได้มากขึ้น แต่กลับ เป็นไปในทางตรงกันข้าม พบว่ามีปริมาณตะกอนเฉลี่ยที่น้อยมากเมื่อเทียบกับเดือนอื่น ๆ ที่ทำการเก็บข้อมูล สำหรบั ในภาพรวมทงั้ หมดของการเกบ็ สะสมปริมาณตะกอนเฉลย่ี ของ สำหรับปี พ.ศ. 2561 พบวา่ ในแปลงทดสอบ ท่ี 6 มปี รมิ าณสูงท่สี ดุ เปน็ 74.87 กรัมตอ่ ลิตร หรอื 119.79 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ซง่ึ แปลงทดสอบนวี้ างอยู่ใต้ต้นยางพารา ที่ได้รับผลกระทบจากเม็ดฝนที่รวมได้จากทรงพุ่มของต้นยางพารา รองลงมาเป็นแปลงทดสอบที่ 2 และ 5 อยู่ท่ี ประมาณ 45 กรัมต่อลิตร หรอื 72 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ในขณะท่แี ปลงทดสอบท่ี 1 ให้คา่ ปริมาณน้ำหนักตะกอนต่ำท่ีสุด เปน็ 4.97 กรัมต่อลติ ร หรือเพยี ง 7.95 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ซึ่งแปลงนีว้ างอยใู่ นท่ีค่อนข้างโล่งแจ้ง ดงั ตารางท่ี 7

64

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำหนักตะกอน (กรัมต่อลิตร) จากน้ำในถังที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot) ในปี พ.ศ. 2561

แปลง มีนาคม เมษายน พฤษภาคม สงิ หาคม รวม 1 nd 0.15 4.52 0.30 4.97 2 nd 21.86 23.93 nd 45.79 3 nd 0.07 15.55 0.87 16.49 4 1.79 4.59 28.16 0.99 35.53 5 33.38 0.22 10.98 0.75 45.33 6 54.18 1.01 15.01 4.67 74.87 7 nd 0.12 10.62 1.04 11.78 8 0.42 0.18 28.85 3.31 32.76 9 nd 0.32 8.23 1.77 10.32 10 0.39 0.29 19.41 1.03 21.12 11 nd 0.13 11.69 1.31 13.13 12 1.89 3.69 3.34 2.11 11.03

nd* = no data

หากนำค่าปริมาณน้ำหนักตะกอนเฉลี่ยที่สะสมในน้ำที่รองรับได้จากแต่ละแปลงทดสอบที่ทำการศึกษาใน ภาพรวมของทั้ง 2 ปี จะพบว่า ในปี พ.ศ. 2561 มีค่าสูงกว่าปี พ.ศ. 2560 โดยแปลงทดสอบที่มีค่าสูงที่สุด ได้แก่ แปลงทดสอบที่ 6 มีค่าเป็น 74.87 กรัมต่อลิตร เมื่อคิดต่อพื้นที่ของ แปลงทดสอบท่ี มีขนาด 1 ตารางเมตร หมายความว่ามีการสูญเสียหน้าดินไปเป็นปริมาณ 74.87 กรัมต่อตารางเมตร หรือ คิดเป็น 119.79 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งการสูญเสียดินไปค่อนข้างมาก ในขณะที่ปี พ.ศ. 2560 มีปริมาณน้ำหนักตะกอนเฉลี่ยสูงที่สุดในแปลงทดสอบที่ 4 มีค่าเพียง 17.04 กรมั ตอ่ ลติ ร หรือ 17.04 กรัมต่อตารางเมตร หรอื 27.26 กิโลกรัมตอ่ ไร่ เท่านัน้ ซ่ึงถือว่าไม่มาก นกั และในแตล่ ะแปลงทดสอบกม็ ีค่าทล่ี ดลงไปตามลำดบั แตกต่างจากในปี พ.ศ. 2561 ซึ่งมคี ่าทส่ี งู กว่าในทุกแปลง ทดสอบซึ่งถ้าหากจะพิจารณาถึงปริมาณน้ำฝนที่ตกในช่วงปี พ.ศ. 2561 ตามตารางที่ 5 นั้นน้อยกว่าในปี พ.ศ. 2560 มาก แต่กลับมีการเก็บรวบรวมปริมาณตะกอนได้มากกว่า ดังตารางที่ 8 แสดงว่าจะเป็นที่ความเข้มของฝน (ปริมาณฝนทตี่ กลงบนพ้ืนท่ีรับน้ำฝนคิดเป็นความลกึ น้ำ ตอ่ 1 หน่วยเวลา เชน่ มลิ ลเิ มตรตอ่ ชั่วโมง) และขนาดเม็ด ฝนท่ตี กกระทบมีขนาดใหญก่ ว่า จงึ ทำใหเ้ กิดการชะลา้ งเอาตะกอนลงไปไดม้ ากกวา่ หรือในอกี ทางหนง่ึ เกดิ จากหน้า ดินมีความแหง้ มาก เม่ือไดถ้ กู กระทบดว้ ยเม็ดฝนขนาดใหญ่และรุนแรง ทำใหเ้ กดิ การแตกแยกของเม็ดดินอย่างมาก จงึ สะสมรวมออกมาเปน็ ตะกอนดนิ ปริมาณมากไปด้วย

65

ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำหนักตะกอนรวม (กรัมต่อลิตร) จากน้ำในถังที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot) ในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

ค่าเฉลี่ยปริมาณนำ้ หนกั ตะกอนรวม (กรมั ต่อลิตร)

แปลง ปี พ.ศ.

2560 2561 1 2.96 4.97 2 0.20 45.79 3 8.90 16.49 4 17.04 35.53 5 14.55 45.33 6 4.83 74.87 7 9.53 11.78 8 9.68 32.76 9 4.46 10.32 10 10.22 21.12 11 9.79 13.13 12 0.46 11.03

2.3 ปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซียม (K) ในนำ้ การหาปริมาณธาตุ อาหารจากน้ำที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot) เน่อื งจากเป็นน้ำ จากส่วนที่รองรับได้จากแต่ละแปลงทดสอบ ซึ่งหากจะต้องวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในดิน ทำได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากปริมาณตะกอนดินที่ได้จากการทดสอบแต่ละครั้งมีน้อยมาก จึงทำให้ไม่สามารถนำมาหาปริมาณธาตุ อาหารพืชได้ยากไปด้วย ดังนั้นจึงวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารจากน้ำได้ 2 ธาตุ ได้แก่ ฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซยี ม (K) เท่าน้นั ไมส่ ามารถหาปริมาณไนโตรเจน (N) ได้ เนอื่ งจากมกี ารเปลี่ยนแปลงรูปไปได้หลายรปู แบบ ทำให้การวัดค่าหรือให้ค่าวิเคราะห์ที่ไม่แน่นอน จึงไม่ได้นำมาใช้ในการศึกษา แต่อย่างไรก็ตาม ปริมาณธาตุ ฟอสฟอรัสทว่ี เิ คราะห์ได้มคี ่าค่อนข้างต่ำ ถึงต่ำมาก ดังตารางท่ี 9 เม่อื เทียบตามเกณฑ์ในตารางภาคผนวกท่ี 1 และ ปริมาณธาตุโพแทสเซียม มีค่าต่ำมากเช่นกัน ตามเกณฑ์ในตารางภาคผนวกที่ 2 จะเห็นได้ว่ามีการสูญเสียปริมาณ ธาตุอาหารท้ัง 2 ชนดิ ไปกบั นำ้ ทร่ี องรบั ได้ ไม่มากนัก ซ่ึงหมายถงึ ไมก่ ระทบการเจริญเตบิ โตของต้นยางพารามากนัก

66

ตารางที่ 9 ปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัส และโพแทสเซยี มในนำ้ (มิลลกิ รัมตอ่ กิโลกรัม) ท่รี องรบั จากแปลงทดสอบ ขนาดเล็ก (Microplot)

ปริมาณธาตอุ าหารในนำ้

แปลง (มลิ ลกิ รัมตอ่ กิโลกรมั )

ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซียม (K)

1 0.11 9.37

2 0.24 12.64

3 0.19 4.47

4 0.18 5.17

5 0.16 3.13

6 0.49 5.28

7 0.37 6.25

8 0.16 3.07

9 0.97 6.12

10 0.18 3.75

11 0.22 3.77

12 5.48 14.36

2.4 ปรมิ าณโลหะหนักในน้ำ การเก็บตัวอย่างน้ำในปี พ.ศ. 2560 ช่วงฤดูฝน ในระหว่างช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน แล้วนำมาวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักแล้วพบว่า ปริมาณค่าโลหะหนักในน้ำ ที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาด เล็ก (Microplot) ได้แก่ สารหนู (อารเ์ ซนคิ As) โดยทแ่ี ปลงทดสอบที่ 2 มีค่ามากท่สี ดุ เปน็ 0.008 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าน้อยที่สุดเป็น 0.003 มิลลิกรัมต่อลิตร ในแปลงทดสอบที่ 7 8 และ 12 แต่อย่างไรก็ตามในทกุ แปลงทดสอบพบ อาร์เซนิคต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่กำหนดของโลหะหนักในแหล่งน้ำผิวดินทั้งสิ้น ดังตารางภาคผนวกที่ 3 คือไม่เกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร แคดเมียม (Cd) ทองแดง (Cu) ตะกั่ว (Pb) และสังกะสี (Zn) พบว่ามีปริมาณต่ำกว่าค่า มาตรฐานที่กำหนดทุกแปลงทดสอบ จนถึงบางแปลงทดสอบไม่สามารถวัดค่าได้ (nd = no data) แสดงว่ามีการ ตกค้างของโลหะหนกั ในนำ้ อยูป่ ริมาณนอ้ ยมาก ไมถ่ งึ ระดับท่เี ปน็ อันตรายต่อมนุษย์ได้ ดังตารางที่ 10 และ แสดงวา่ ในแปลงปลูกยางพารานี้ มีการใช้ปุ๋ยและสารเคมีทางการเกษตรอยู่บ้าง แต่ไม่ได้มีปริมาณมากจนทำให้เกิดการ

67

ตกค้างและสะสมจนเป็นพิษเกษตรกรผู้ดูแล และจะส่งผลเสียค่อนข้างน้อยในการสะสมลงไปในดิน หรือไหลลงสู่ แหลง่ นำ้ สำหรบั สารหนูส่วนใหญ่มักพบตกค้างจากการใช้ปุ๋ยหมัก โดยเฉพาะเป็นปุ๋ยหมักท่หี มักจากมูลไก่

ตารางที่ 10 ปริมาณโลหะหนักในน้ำ (มิลลิกรัมต่อลิตร) ที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot) ในปี พ.ศ. 2560

ค่าเฉลีย่ ปริมาณโลหะหนักในน้ำ

แปลง (มลิ ลิกรมั ตอ่ ลิตร)

อาร์เซนคิ (As) แคดเมียม (Cd) โครเมียม(Cr) ทองแดง(Cu) ตะก่ัว (Pb) สงั กะส(ี Zn)

1 0.005 0.002 0.003 0.003 0.003 0.042 2 0.008 nd 0.001 nd 0.008 0.014 3 0.006 0.001 0.002 0.001 0.005 0.019 4 0.005 0.002 0.002 0.001 0.003 0.035 5 0.004 0.001 0.002 0.002 0.006 0.027 6 0.004 0.001 0.003 0.001 0.005 0.043 7 0.003 nd 0.001 0.001 0.002 0.008 8 0.003 0.002 0.015 0.002 0.003 0.045 9 0.004 0.001 0.001 0.002 0.005 0.019 10 0.006 0.001 0.003 0.001 0.004 0.023 11 0.005 nd 0.001 0.002 0.005 0.025 12 0.003 0.001 0.002 0.003 0.003 0.005

nd* = no data

การเก็บตัวอย่างน้ำในปีงบประมาณ 2561 เป็นช่วงฤดูแล้ง ระหว่างช่วงเดือนธันวาคม 2560 ถึงเดือน เมษายน 2561 แล้วนำมาวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักแล้วพบว่า ปริมาณค่าโลหะหนักในน้ำที่รองรับจากแปลง ทดสอบ ไดแ้ ก่ สารหนู (อารเ์ ซนิค As) โดยท่ีแปลงทดสอบท่ี 2 และ 12 มคี ่ามากที่สุดเป็น 0.007 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่านอ้ ยท่สี ุดเป็น 0.002 มลิ ลกิ รัมต่อลิตร ในแปลงทดสอบท่ี 5 และ 10 แต่อย่างไรก็ตามในทกุ แปลงทดสอบพบอาร์ เซนิคต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่กำหนด แคดเมียม (Cd) ทองแดง (Cu) และตะกั่ว (Pb) ยังคงมีค่าต่ำมาก จนถึงบาง แปลงทดสอบไม่สามารถวัดค่าได้ (nd = no data) แสดงว่ามีการตกค้างของโลหะหนักในน้ำอยู่ปริมาณน้อยมาก จนถึงระดับที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ สำหรับสังกะสี (Zn) มีค่าต่ำมากเช่นกัน แต่พบว่าในแปลงทดสอบที่ 12 มีค่ามากที่สุดเป็น 0.276 มิลลิกรัมต่อลิตร แต่คงต่ำกว่าค่ามาตรฐานของโลหะหนักในแหล่งน้ำผิวดิน ดังตาราง ที่ 11

68

ตารางที่ 11 ปริมาณโลหะหนักในน้ำ (มิลลิกรัมต่อลิตร) ที่รองรับจากแปลงทดสอบขนาดเล็ก (Microplot) ในปี พ.ศ. 2561

คา่ เฉล่ยี ปรมิ าณโลหะหนกั ในน้ำ

แปลง (มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลิตร)

อารเ์ ซนคิ แคดเมียม (Cd) โครเมียม(Cr) ทองแดง(Cu) ตะกั่ว (Pb) สงั กะส(ี Zn) (As) 0.001 0.023 0.002 0.050 1 0.003 nd 0.001 0.002 0.002 0.004 0.002 0.002 0.002 0.004 2 0.007 nd 0.001 0.002 0.001 0.014 0.001 0.001 0.001 0.009 3 0.004 0.001 0.003 0.002 0.002 0.015 0.001 0.001 0.002 0.002 4 0.004 0.001 0.003 0.001 0.001 0.018 0.002 0.001 0.002 0.030 5 0.002 0.001 0.001 0.003 0.001 0.003 0.002 0.001 0.002 0.029 6 0.005 0.001 0.001 0.026 0.003 0.276

7 0.003 0.001

8 0.003 nd

9 0.003 nd

10 0.002 0.001

11 0.004 nd

12 0.007 0.002

nd* = no data

2.ข้อมลู นิเวศวทิ ยา

3.1 จำนวนและชนดิ ส่ิงมชี ีวติ ขนาดเล็กในดนิ และความหลากหลาย จำนวนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดิน (แมลงชนิดต่าง ๆ) ที่สามารถจำแนกได้ในแต่ละฤดูกาล จะพบว่ามีความ แตกต่างกัน ในปี พ.ศ. 2560 ได้เก็บข้อมูลในช่วงเดือนสิงหาคม และได้ทำการตรวจนับจำนวนสิ่งมีชีวิตในดินซึ่งมี เปน็ จำนวนคอ่ นขา้ งมาก และหลากหลายชนิด โดยสว่ นมากท่ีพบ ไดแ้ ก่ ปลวกและไส้เดอื น ดังเชน่ ใน แปลงทดสอบ ที่ 1 11 และ 3 และที่พบได้น้อยในแต่ะละแปลงทดสอบ เช่น ตัวอ่อนมด เหาไม้ ตัวอ่อนด้วง แมงมุม เป็นต้น ในขณะท่ีแปลงทดสอบที่ 1 พบแมลงถึง 24 ชนิด จากจำนวนแมลงทั้งหมด 256 ตัว ถือว่ามีความหลากหลายของ ชนิดแมลงที่พบมากที่สุด แปลงทดสอบที่ 2 พบแมลง 13 ชนิดจากจำนวนแมลงทั้งหมด 129 ตัว และในแปลง ทดสอบที่ 9 และ 12 พบแมลงจำนวน 12 ชนิดเท่ากนั จากจำนวนแมลงท้งั หมด 20 และ 25 ตวั ตามลำดับ สำหรับ ความหลากหลายของแมลงที่พบน้อยที่สุด ได้แก่ แปลงทดสอบที่ 8 ซึ่งพบแมลงเพียง 2 ชนิดเท่านั้น แต่มีจำนวน มากถึง 135 ตัว ในขณะที่ แปลงทดสอบที่ 7 และ 6 พบแมลง 6 และ 7 ชนิด จากจำนวนแมลงทั้งหมด 10 และ

69

26 ตัว ตามลำดับ โดยพบแมลงทั้งหมดจำนวน 905 ตัว รายละเอียดดังตารางที่ 12 และตารางภาคผนวกที่ 4 จะ เหน็ ไดว้ ่าแปลงทดสอบสว่ นใหญจ่ ะพบว่ามีไส้เดือนอยู่ ซ่ึงไสเ้ ดอื น เป็นพวกผูบ้ ริโภคซากพืชซากสตั ว์ (Detritivore) ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่มีไม่มีกระดูกสันหลัง กินซากพืชซากสัตว์ที่เน่าสลาย และจุลินทรีย์ขนาดเล็กเป็นอาหาร มี ความทนทานต่อการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ ความชื้น หรือสมบตั ิทางกายภาพและทางเคมีในดินได้ค่อนข้างต่ำ ช่วย พลกิ กลับดา้ นดินด้านลา่ งขึ้นมาด้านบนโดยการกินดินทมี่ ีแรธ่ าตุบรเิ วณด้านล่างแล้วถ่ายมูลบริเวณผิวด้านบน ช่วย ให้เกิดการผสมคลุกเคล้าแร่ธาตุในดิน นำแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในชั้นใต้ดินขึ้นมาด้านบน ช่วยย่อยสลาย สารอินทรยี ใ์ นดิน ซากพชื ซากสตั วอ์ นิ ทรียวตั ถตุ า่ งๆทำใหธ้ าตุต่างๆอยู่ในรูปที่เปน็ ประโยชน์ต่อพืช เช่น ไนโตรเจน ในรูปแอมโมเนียมและไนเตรท ฟอสฟอรัสในรูปที่เป็นประโยชน์ โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้และธาตุอาหารพืช อื่นๆอีกหลายชนิด รวมทั้งสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและวิตามินจะถูกปลดปล่อยออกมา ช่วยเพิ่มและ แพร่กระจายจุลินทรีย์ในดินที่เป็นประโยชน์ต่อพืช เช่น ไรโซเบียม ไมคอร์ไรซา ในบริเวณรากพืชและการชอนไช ของไส้เดือนดิน ทำให้ดินร่วนซุย การถ่ายเทน้ำและอากาศดี ดินอุ้มน้ำได้ดีขึ้น เพิ่มช่องว่างในดินทำให้รากพืชชอน ไชได้ดี จงึ เปน็ เหตุใหใ้ ช้ไสเ้ ดือนเป็นตวั ชวี้ ัดของความอดุ มสมบูรณ์ของดิน (Shevanija. 2563) ดินในช่วงฤดูฝนจึงมี ความอดุ มสมบูรณ์มากกว่า

สำหรับในปี พ.ศ. 2561 น้นั ไดเ้ ก็บขอ้ มูลในชว่ งฤดูแล้ง เดือนมีนาคม ทำให้จำนวนแมลงและสง่ิ มชี ีวิตขนาด เล็กในดินมจี ำนวนคอ่ นข้างน้อย ดังตารางท่ี 12 ในแปลงทดสอบท่ี 2 พบปลวก ค่อนข้างมากถงึ 131 ตวั รวมแมลง อื่น ๆ เป็น 134 ตัว ในขณะที่แปลงทดสอบอื่น พบแมลงน้อยมากเพียง 1 ถึง 2 ชนิด ได้แก่ ตะขาบ ด้วง กิ้งกือ เพลยี้ อ่อน เปน็ ตน้ และพบแมลงท้ังหมดจำนวน 155 ตัว รายละเอยี ดดังตารางที่ 12 และตารางภาคผนวกที่ 5 จะ เห็นได้ว่าในช่วงฤดูฝนมีจำนวนแมลงในดิน และความหลากหลายที่มากกว่าช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากมีความอุดม สมบรู ณ์ของธรรมชาตติ ามฤดูกาลมากกว่า ทำใหส้ ิ่งมีชวี ติ ในดินมีเป็นจำนวนมาก แมลงทพ่ี บในทั้งสองช่วงของการ เก็บข้อมูลได้แก่ ปลวก ตะขาบ และกิ้งกือ ซึ่งอาจจะหมายถึงพบได้ตลอดทั้งปีด้วย ปลวก และกิ้งกือ เป็นพวก ผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์ (Detritivore) ซึ่งมีส่วนช่วยในการสลายตัว ในวัฏจักรสารและเกิดธาตุอาหารในระบบ นิเวศ ช่วยให้จุลินทรีย์ย่อยสลายอินทรียวัตถุได้เร็วยิ่งขึ้น ซึ่งมีส่วนช่วยให้พืชดูดธาตุอาหารไปใช้ได้ง่ายมากยิ่งข้ึน ทำให้ห่วงโซ่อาหารเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ทำให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของดินให้มากขึ้นไปด้วย ขณะที่ตะขาบ เป็น พวกบริโภคพชื (Herbivore) หมายถงึ สิง่ มชี ีวติ ท่ีกินพืชเปน็ อาหาร จดั เป็นผ้บู รโิ ภคลำดบั ที่ 1 หรือผบู้ ริโภคปฐมภมู ิ (Primary consumer) เพราะได้รับการถา่ ยทอดพลังงานจากพืชโดยตรง

อย่างไรก็ตามในทั้งสองปีที่ทำการวิจัย จะพบผบู้ ริโภคอ่นื ๆ อยอู่ ยา่ งครบถ้วน ได้แก่ พวกท่ีบริโภคสัตว์เป็น อาหาร (Carnivore) ผู้บริโภคทั้งพืชทั้งสัตว์ (Omnivore) และผู้ล่า (Predator) (คัดคณัฐ, 2563) อย่างเช่น มด ด้วย อันหมายมีความสมั พันธ์ เช่ือมโยงกนั ทำใหเ้ กิดความสมดุลทางธรรมชาตใิ นแต่ละพืน้ ทด่ี ว้ ย

70

ตารางท่ี 12 จำนวนและชนดิ ของสง่ิ มีชีวติ ในดินในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

ที่ ตวั อยา่ ง ปี 2560 จำนวน ปี 2561 จำนวน ชนดิ แมลง ชนดิ แมลง 2 ตัวออ่ นด้วงดิน (1) แมลงสาบ (1) 1 1 (1) ปลวก (70) ไสเ้ ดอื น (10) อนื่ ๆ (14) 94 ปลวก (131) อื่นๆ (3) 2 ตะขาบดนิ (1) ตะขาบฝอย (1) 134 2 1 (2) ปลวก (137) ไส้เดือน (2) อนื่ ๆ (11) 150 ด้วงหนอนนก (1) ตะขาบดนิ (1) 3 1 (3) ไส้เดอื น (4) ปลวก (3) อ่นื ๆ (5) 12 134 ดว้ งหนอนนก (1) ตะขาบดิน (1) 2 รวม 256 กิ้งกืออนั ดับ Julida (1) 2 4 2 (1) ปลวก (94) ตะขาบหลังแบน (10) อนื่ ๆ (12) 116 2 แมลงเมา่ มด (1) ดว้ งดนิ (1) 5 2 (2) ปลวก (2) ตะขาบดิน (2) อน่ื ๆ (6) 10 2 6 2 (3) ไส้เดือน (1) แมลงสองง่าม (1) อ่นื ๆ (1) 3 2

รวม 129 2 1 7 3 (1) ตะขาบดนิ (3) มด (3) อืน่ ๆ (9) 15 8 3 (2) มด (6) ไสเ้ ดือน (2) อื่นๆ (4) 12 1 9 3 (3) ปลวก (47) ไสเ้ ดอื น (6) อื่นๆ (4) 57 2

รวม 84

10 4 (1) ไส้เดือน (2) ตะขาบหลงั แบน (1) อ่ืนๆ (1) 4

11 4 (2) ตวั ออ่ นแมลงวนั ผลไม้ (42) มด (3) ด้วงมูล 55 12 4 (3) สัตว์ (3) อื่นๆ (7) 5

ปลวก (2) ดว้ งมลู สตั ว์ (1) อ่ืนๆ (2)

รวม 64

13 5 (1) ตะขาบหลังแบน (6) ปลวก (4) อื่นๆ (4) 14

14 5 (2) มด (16) ตะขาบดิน (2) อ่ืนๆ (9) 27

15 5 (3) ปลวก (1) ไส้เดือน (1) อืน่ ๆ (2) 4

รวม 45

16 6 (1) ปลวก (11) ไสเ้ ดอื น (2) อ่นื ๆ (6) 19

17 6 (2) แมงมมุ (4) 4

18 6 (3) ตะขาบหลังแบน (1) ตะขาบดิน (1) แมงมมุ 3 (1)

รวม 26

19 7 (1) หอยเลขหน่งึ (2) ไสเ้ ดือน (2) อื่นๆ (2) 6

71

ท่ี ตัวอยา่ ง ปี 2560 จำนวน ปี 2561 จำนวน 20 7 (2) ชนิดแมลง ชนิดแมลง ไสเ้ ดือน (1) ตะขาบหลังแบน (1) หนอนนก 2 21 7 (3) 3 2 (1) 22 8 (1) หนอนนก (1) 1 2 23 8 (2) 10 3 24 8 (3) รวม หนอนตวั กลม (122) ไสเ้ ดอื น (1) 123 มดงาน (1) แมงมมุ (1) 3 25 9 (1) 12 3 ไสเ้ ดือน (12) - 26 9 (2) - 135 3 27 9 (3) รวม 9 เพลยี้ อ่อน (1) กง้ิ กืออนั ดับ Julida 1

28 10 (1) ตะขาบดนิ (4) มด (2) อ่นื ๆ (3) (1) ด้วง (1) 1 6 1 29 10 (2) ตัวอ่อนดว้ งกระดก (2) อื่นๆ (4) 5 30 10 (3) ไส้เดือน (2) อ่นื ๆ (3) 20 1 รวม 7 ด้วงหนอนนก (1) กงิ้ กืออันดับ 155 31 11 (1) มด (4) อืน่ ๆ (3) 32 11 (2) Julida (1) ด้วงโรงเก็บเมล็ดพนั ธุ์ (1) 33 11 (3) ตะขาบดนิ (1) อ่นื ๆ (3) 4 ตวั สองง่าม (4) ตะขาบดิน (2) อ่นื ๆ (4) 10 34 12 (1) 35 12 (2) รวม 21 36 12 (3) มด (4) อ่ืนๆ (5) 9 กง้ิ กืออนั ดับ Julida (1) แมลงวันผลไม้ (1) 1 ปลวก (76) ตะขาบดิน (3) 80 อนื่ ๆ (1) รวม 90 7 แมลงเมา่ มด (1) ไส้เดือน (4) อน่ื ๆ (3) 11 ไส้เดือน (5) หนอนตวั กลม (2) อนื่ ๆ (4) 7 25 ไส้เดอื น (2) อน่ื ๆ (5) 905 รวม

รวมทัง้ หมด

72

3.2 พชื พรรณ 3.2.1 ชนดิ และจำนวนพชื พรรณ

ชนิดของพืชพรรณที่ขึ้นในแต่ละแปลงทดสอบขนาดเล็กทั้งในปี พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 โดยเก็บ ตัวอยา่ งในพ้นื ที่ 1 ตารางเมตร ซงึ่ มีขนาดเท่ากนั กับแปลงทดสอบขนาดเลก็ จำแนกไดเ้ ป็น 1) วชั พืชพวกหญ้า หรอื ใบเลี้ยงเดี่ยว 2) พืชใบเลี้ยงคู่แต่ขนาดเล็ก หรือเป็นใบประกอบ 3) พืชใบเลี้ยงคู่ขนาดใบใหญ่ และ 4) พืชที่เป็น เครือหรือเถา จะเห็นได้ว่าในปี พ.ศ. 2560 ซึ่งเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนกรกฎาคมนั้น พบว่า ค่าเฉลี่ยจำนวนพืช พรรณที่พบในแปลงทดสอบขนาดเล็กส่วนใหญ่จะเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ขนาดเล็ก โดยเฉพาะในแปลงทดสอบที่ 12 พบว่ามจี ำนวนพชื พรรณเฉลย่ี ถึง 47 ชนดิ สำหรับพืชใบเลยี้ งคขู่ นาดใหญ่ พบมากท่สี ดุ เกนิ ครึ่งหนงึ่ ในแปลงทดสอบ ที่ 12 คิดเป็น 51.57 เปอร์เซ็นต์ และ 42.70 เปอร์เซ็นต์ เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ขนาดเล็ก ในขณะที่แปลงทดสอบที่ 7 และ 8 พบพืชทุกชนิดมีค่าเฉลี่ยจำนวนพืชพรรณที่น้อยมาก ส่วนวัชพืชหรือพวกพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชที่เป็น เครือหรือเถามีคา่ เฉลี่ยจำนวนพืชพรรณนอ้ ยที่สุดในทุก ๆ แปลง ดงั ตารางท่ี 13 และตารางที่ 14

สำหรับในปี พ.ศ. 2561 มีการเก็บตวั อย่างในชว่ งเดอื นมีนาคม พชื ใบเลย้ี งคู่ขนาดใหญ่ และใบเล้ยี งคขู่ นาด เล็กมีค่าเฉลี่ยจำนวนพืชพรรณที่ใกล้เคียงกัน ในขณะที่แปลงทดสอบที่ 12 จะมีค่าเฉลี่ยของจำนวนพืชใบเลี้ยงคู่ ขนาดใหญ่มากที่สุดคือ 22 ชนิด คิดเป็น 66.40 เปอร์เซ็นต์ และพืชใบเลี้ยงคู่ขนาดเล็กพบว่ามีค่าค่าเฉลี่ยของ จำนวนพืชมากที่สุดในแปลงทดสอบที่ 2 ส่วนของพืชเครือเถา และ วัชพืชพบน้อยลงมาตามลำดับ โดยในแปลง ทดสอบท่ี 12 พบคา่ เฉล่ียของจำนวนพชื พรรณที่เปน็ เครือหรือเถามากท่ีสุด และแปลงทดสอบท่ี 5 พบว่ามีค่าเฉล่ีย จำนวนพืชพรรณมากที่สุดเป็น 9 ชนิด ในขณะที่ แปลงทดสอบที่ 12 พบวัชพืชหรือพืชใบเลี้ยงเดี่ยวน้อยมาก เนื่องจากในแปลงถูกปกคลุมด้วยพืชพรรณชนิดอื่นมากแล้วนั่นเอง นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าบางแปลงทดสอบก็มี จำนวนของพืชพรรณที่กระจายออกไป มีจำนวนชนิดของพืชพรรณที่แตกต่างกันไป มีจำนวนมากน้อยแตกต่างกัน ไป ดงั ตารางท่ี 13 และตารางท่ี 14

จะเห็นได้ว่าในทั้งสองปีของการวิจัย แปลงทดสอบที่ 12 จะพบจำนวนชนิดพืชใบเลี้ยงคู่ขนาดใหญ่ และ พืชใบเลี้ยงคู่ขนาดเล็ก จำนวนมาก เนื่องจากแปลงนี้วางอยู่ในตำแหน่งที่ไกลจากต้นยางพารา มีแสงสว่างส่องถึง แปลง ทำให้พืชพรรณในแปลงส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโตดี มีความหลากหลายของชนิดพืช แต่อาจจะบังแสงพวก วชั พืช และพวกท่ีเปน็ เถา จึงมีจำนวนนอ้ ยกว่า

73

ตารางที่ 13 ค่าเฉลย่ี ของจำนวนพืชพรรณในแปลงทดสอบปี พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561

แปลง หญา้ หรือพชื ใบเลีย้ งเดย่ี ว พชื ใบเลี้ยงคู่ขนาดเล็ก พชื ใบเลยี้ งคู่ขนาดใหญ่ พืชเครือเถา 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 1 7.33 1.33 5.67 4.33 2 5.33 2.67 15.00 19.00 7.33 5.33 1.67 3.33 3 10.33 2.33 12.33 7.67 4.33 1.00 2.00 4.33 4 1.67 6.00 26.00 5.33 9.00 12.00 5.00 5.67 5 9.67 9.33 26.67 7.00 13.67 6.00 0.33 0.67 6 8.33 4.67 12.00 6.00 15.67 11.67 1.67 4.33 7 4.67 1.33 18.67 6.67 3.00 3.00 5.33 5.00 8 0.67 2.33 8.00 2.67 2.00 2.67 2.67 4.67 9 0.00 2.67 5.33 5.33 2.33 2.33 0.67 2.33 10 0.67 1.67 12.33 0.00 4.33 2.33 2.00 3.00 11 0.67 1.00 5.00 1.33 0.67 4.00 0.67 4.33 12 1.33 0.67 4.00 0.67 51.33 22.00 0.67 3.33 ค่าเฉลย่ี 4.22 3.00 47.67 2.33 9.94 6.39 3.67 7.67 16.08 5.33 2.20 4.06

ตารางที่ 14 ค่าเฉลย่ี เปอร์เซน็ ตพ์ ืชพรรณในแปลงทดสอบปี พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561

แปลง หญา้ หรอื พชื ใบเล้ยี งคู่ พชื ใบเล้ยี งคู่ พชื เครอื เถา พืชใบเล้ียงเดย่ี ว ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่

2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561

1 17.57 3.33 45.27 73.73 30.00 13.10 7.23 9.87

2 10.47 10.50 45.23 34.57 30.00 30.50 8.33 24.43

3 11.50 12.50 54.63 41.77 17.70 5.47 16.17 40.30

4 2.13 19.43 52.00 21.33 45.43 53.80 0.43 5.40

5 28.73 38.27 31.23 21.80 34.27 23.70 5.80 16.23

6 14.77 19.73 33.00 18.87 31.67 40.17 20.57 21.20

7 23.93 11.23 45.10 22.50 18.20 26.03 12.83 40.27

8 9.53 22.70 51.40 33.80 31.77 15.30 7.33 28.13

9 0.00 33.30 67.77 0.00 14.47 27.80 17.77 38.90

10 6.07 19.53 42.30 12.23 45.50 20.57 6.07 47.70

11 5.57 11.10 58.33 7.03 22.20 42.30 13.87 39.53

12 1.30 1.93 42.70 8.03 51.57 66.40 4.43 23.60

คา่ เฉลยี่ 10.96 16.96 47.41 24.64 31.07 30.43 10.07 27.96

74

3.2.2 สว่ นของพชื และการยอ่ ยสลาย เมือ่ เวลาผ่านไป พืชพรรณต่าง ๆ ก็จะมีการร่วงหล่นมาบนพ้ืน ซง่ึ อาจจะใชเ้ วลาในการทบั ถมสะสมกันเป็น เวลานานมากน้อยต่าง ๆ กันไป ดงั นน้ั จะมีการถกู ย่อยสลายเปล่ยี นแปลงสภาพไปจากเดิมมากบา้ งน้อยบ้าง จึงได้มี การเก็บเศษพืชในส่วนเหนือดนิ ในพนื้ ที่ 25 ตารางเซนติเมตร และจำแนกประเภทออกมาเปน็ 5 กลมุ่ ได้แก่ 1) พืช สดสีเขียว (fresh leaves) 2) พืชแห้งเต็มใบ (entire leaves) 3) เศษพืช (พืชที่มีขนาดใหญ่กว่า 50 เปอร์เซ็นต์) fragmented leaves (leaf area > 50%) 4) เส้นใบ (skeleton leaves) และ 5) กิ่งไม้ (wood) โดยในปี พ.ศ. 2560 พบว่าค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ส่วนของพืชต่อเศษพืชในส่วนเหนือดินทั้งหมด ดังนี้ ใบพืช สดจะมคี า่ สูงสุดที่แปลงทดสอบที่ 6 เปน็ 9.08 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในขณะที่แปลงทดสอบที่ 11 มีคา่ ต่ำทส่ี ุดพบเพียง 0.04 เปอร์เซ็นต์ ส่วนของพืชแห้งเต็มใบแปลงทดสอบที่ 12 มีค่าสูงสุดเป็น 51.32 เปอร์เซ็นต์ และมีค่าต่ำที่สุดในแปลง ทดสอบที่ 4 เป็น 16.37 เปอร์เซ็นต์ ส่วนของเศษพืชที่มีขนาดใหญ่กว่า 50 เปอร์เซ็นต์ พบว่าแปลงทดสอบที่ 3 มี ค่าสงู ท่สี ดุ เป็น 38.94 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในขณะทม่ี ีคา่ ต่ำท่ีสุดในแปลงทดสอบท่ี 1 คือ 14.70 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในส่วนของเส้น ใบที่พบในแปลงทดสอบที่ 10 มีค่าต่ำที่สุดเพียง 0.63 เปอร์เซ็นต์ และมีค่าสูงที่สุดในแปลงทดสอบท่ี 4 คือ 16.62 เปอร์เซ็นต์ และกิ่งไม้ที่พบมคี ่าสงู ท่ีสุดในแปลงทดสอบที่ 7 และต่ำที่สุดในแปลงทดสอบที่ 12 คิดเป็น 49.44 และ 18.21 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดบั ดังตารางท่ี 15 โดยในปี พ.ศ. 2561 พบว่าค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ส่วนของพืชต่อเศษพืชในส่วนเหนือดินทั้งหมด ดังนี้ ใบพืช สดจะมีค่าสูงสุดที่แปลงทดสอบที่ 12 เป็น 1.23 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อีก 7 แปลงทดสอบไม่พบส่วนของใบพืชสด เลย ส่วนของพืชแห้งเต็มใบพบสูงสุดในแปลงทดสอบที่ 6 มีค่าเป็น 77.37 เปอร์เซ็นต์ และมีค่าต่ำที่สุดในแปลง ทดสอบท่ี 5 เปน็ 37.80 เปอรเ์ ซน็ ต์ สว่ นของเศษพชื ที่มีขนาดใหญ่กวา่ 50 เปอร์เซน็ ต์ พบว่าแปลงทดสอบท่ี 12 มี ค่าสูงที่สุดเป็น 25.51 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่มีค่าต่ำที่สุดในแปลงทดสอบที่ 3 คือ 2.15 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของเส้น ใบไม่พบในแปลงทดสอบที่ 3 และ 12 เลย ในขณะที่มีค่าสูงที่สุดในแปลงทดสอบที่ 9 คิดเป็น 2.81 เปอร์เซ็นต์ และกิ่งไม้ที่พบมีค่าสูงที่สุดในแปลงทดสอบที่ 5 และต่ำที่สุดในแปลงทดสอบที่ 6 คิดเป็น 58.93 และ 16.65 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดบั ดงั ตารางท่ี 15 จะเห็นได้ว่าในทั้ง 2 ปีของการเก็บข้อมูล ไม่ได้มีการทับถมสะสมของเศษพืชในส่วนเหนือดินที่เหมือนกนั ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่เก็บข้อมูล ในปี พ.ศ. 2560 เก็บข้อมูลในช่วงเดือนสิงหาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูฝนสภาพ อากาศมคี วามชุม่ ชื้นมากกวา่ ขณะทใ่ี นปี พ.ศ. 2561 เก็บขอ้ มูลในช่วงเดอื นมนี าคม ซง่ึ เปน็ ฤดูร้อนที่สภาพอากาศมี ความแห้งแล้ง จึงพบพืชใบแห้งเต็มใบได้มากกว่าในปี พ.ศ. 2560 แต่อย่างไรก็ตามในทั้ง 2 ปีที่ศึกษาจะพบส่วน ของใบแห้งพืชเต็มใบ และกิ่งไม้ในปริมาณที่มากกว่าส่วนอื่น ๆ ส่วนของใบพืชสดเต็มใบในปี พ.ศ. 2560 ในแปลง ทดสอบที่ 6 กลายสภาพมาเปน็ พชื แห้งเต็มใบในปี พ.ศ. 2561 จำนวนมากท่ีสดุ ด้วย ซงึ่ อาจเกดิ จากการแห้งของใบ จากแปลงในปีก่อนหน้า เช่นเดียวกบั ใบแห้งเต็มใบในแปลงทดสอบที่ 12 ในปี พ.ศ. 2560 เมื่อเวลาผ่านไปถกู ย่อย

75

สลายด้วยกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดิน จุลินทรีย์ดิน และสภาพภูมิอากาศจึงกลายเป็นเศษพืชขนาดใหญ่กว่า 50 เปอร์เซน็ ต์ ในปี พ.ศ. 2561 ด้วย

ตารางที่ 15 ค่าเฉลีย่ เปอรเ์ ซ็นตส์ ่วนของพืชในแปลงทดสอบปี พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561

แปลง พืชสด พชื เตม็ ใบ เศษพืช เสน้ ใบ กิง่ ไม้ 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 2560 2561 1 42.74 55.83 14.70 14.74 38.74 26.46 2 1.49 0.23 32.36 46.98 23.66 20.14 2.33 2.75 36.50 31.98 3 0.45 0.36 19.17 53.89 38.94 2.15 7.03 0.55 38.05 43.96 4 1.13 0.00 16.37 44.06 18.30 18.90 2.72 0.00 47.84 36.42 5 0.87 0.00 21.88 37.80 28.71 2.18 16.62 0.62 45.44 58.93 6 1.60 0.78 26.10 77.37 32.58 5.39 2.36 0.31 25.07 16.65 7 9.08 0.00 16.48 56.84 19.31 11.65 7.16 0.59 49.44 30.35 8 6.41 0.00 29.82 60.44 24.76 4.71 8.35 1.16 29.32 32.29 9 0.43 0.08 36.81 46.89 32.11 10.24 15.66 2.48 30.23 40.06 10 0.09 0.00 40.16 63.97 21.58 5.87 0.76 2.81 37.17 28.75 11 0.45 0.00 30.85 58.50 31.95 12.48 0.63 1.41 35.97 27.95 12 0.04 0.00 51.32 44.14 24.56 25.51 1.18 1.07 18.21 29.12 ค่าเฉลย่ี 2.93 1.23 30.34 53.89 25.93 11.16 2.97 0.00 36.00 33.58 2.08 0.22 5.65 1.15

3.2.3 น้ำหนักรากพชื การหาน้ำหนักรากพืชในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561 ในปริมาตรดิน 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 ซึ่งเก็บข้อมูลรากพืชในช่วงเดือนกรกฎาคม เป็นช่วงที่มีฝนตก น้ำหนักรากพืชที่มีปริมาณสูงกว่า ค่าเฉลี่ยของทุกแปลงทดสอบคือ 1.12 กรัม มีทั้งหมด 5 แปลง ได้แก่ แปลงทดสอบที่ 2 9 10 11 และ 12 โดย แปลงทดสอบท่ี 9 รากพืชมีน้ำหนักมากที่สุดเป็น 1.72 กรัม ในขณะที่เปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉลี่ยในรากพืชมีค่าสูง กว่าค่าเฉลีย่ ของทุกแปลงด้วยเชน่ กนั ต่างไปจากแปลงทดสอบอื่นทีม่ ีเปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉลี่ยในรากพืชมีค่าสูงแต่ น้ำหนักของรากพชื น้อยกว่า แสดงว่าในช่วงฤดฝู นน้ี ปริมาณนำ้ ในรากทดี่ ดู ซึมไวใ้ นแปลงทดสอบที่ 1 4 5 6 และ 7 มปี ริมาณมาก บรเิ วณนม้ี คี วามช่มุ ชืน้ สูงกวา่ ในพื้นท่ีอ่ืน ดงั ตารางท่ี 16 สำหรบั ปี พ.ศ. 2561 นั้นเก็บขอ้ มลู ในช่วงเดือนมีนาคม เป็นช่วงท่มี ปี รมิ าณนำ้ ฝนนอ้ ย เปอร์เซ็นต์ความชน้ื เฉล่ียของทุกแปลงทดสอบเป็น 0.05 เปอร์เซ็นต์ เท่านน้ั นำ้ หนกั ของรากพืชมีค่าเฉล่ียของทุกแปลงเปน็ 2.27 กรัม แปลงทดสอบท่ี 10 มีค่าเฉลย่ี มากทส่ี ุดเปน็ 3.75 กรัม มีค่าเฉลีย่ เปอร์เซ็นต์ความชื้นเปน็ 0.07 และแปลงทดสอบท่ี 7 และ 5 มีค่าเฉล่ียของน้ำหนกั รากพืชเป็น 3.69 และ 3.20 กรัม ตามลำดับ ซึ่งเปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉล่ียของท้ัง 2

76

แปลงทดสอบก็มีค่าท่ีสูงกวา่ ค่าเฉลี่ยเปน็ 0.08 และ 0.10 เปอร์เซ็นตด์ ว้ ย ซ่ึงหมายถงึ น้ำหนักของรากพืชท่ีมาก ทำ ให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความชื้นสูงไปด้วย แต่อย่างไรก็ตามแปลงทดสอบที่มีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ ความชื้นสูงกว่า ค่าเฉลี่ยของทุกแปลง แต่น้ำหนักของรากพืชเฉลี่ยไม่สูงมากได้แก่แปลงทดสอบที่ 1 และ 3 แสดงว่าเปอร์เซ็นต์ ความชน้ื ในดินในช่วงเวลาดงั กลา่ วไม่แตกตา่ งกนั มากนัก ดังตารางที่ 16

จะเห็นได้ว่าน้ำหนักรากพืชเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2560 ต่ำกว่า ปี พ.ศ. 2561 แสดงว่ารากพืชในช่วงฤดูแล้งหา อาหารได้ในบริเวณไม่ลึกมากนัก เนื่องจากต้องอาศัยความชืน้ หรือน้ำในดินในการช่วยละลายธาตอุ าหาร ดังนั้นจึง อยู่กนั หนาแน่นในส่วนของดนิ บน (เก็บตวั อย่างลึกไมเ่ กิน 10 เซนตเิ มตร) ในขณะทปี่ ี พ.ศ. 2560 ทมี่ ีปริมาณน้ำฝน มากกว่า จงึ มีนำ้ ทซี่ ึมลงไปในบริเวณรากพชื ไดล้ กึ กวา่ ทำใหร้ ากพชื ยดื ตัวลงไปหาน้ำและอาหารได้ในระดบั ที่ลึกกว่า จึงพบปริมาณรากจำนวนน้อยในระดับลึกไม่เกิน 10 เซนติเมตร แต่สำหรับเปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉลี่ยในดินมีค่าสูง กวา่ ในปี พ.ศ. 2561 สอดคลอ้ งกับปริมาณนำ้ ฝนที่ตกในปี พ.ศ. 2560 สูงกว่านนั่ เอง ตารางที่ 16 ค่าเฉลี่ยน้ำหนักของรากพืช และเปอร์เซ็นต์ความชื้นในรากพืช ปี พ.ศ. 2560 และ

ปี พ.ศ. 2561

ปี 2560 ปี 2561 น้ำหนกั รากพชื แปลง %ความชนื้ นำ้ หนกั รากพืช %ความชนื้ (กรัม) 1 1.01 6.74 (กรมั ) 2 1.57 3.89 3 1.07 5.34 1.64 0.06 4 1.00 8.14 5 1.03 10.38 2.55 0.05 6 0.80 7.99 7 0.87 11.96 1.30 0.06 8 0.73 2.86 9 1.72 6.63 2.03 0.05 10 1.19 4.17 11 1.16 5.27 3.20 0.10 12 1.29 4.71 ค่าเฉล่ีย 1.12 6.51 2.09 0.03

3.69 0.08

1.03 0.03

2.96 0.04

3.75 0.07

2.17 0.03

0.76 0.04

2.27 0.05

3.2.4 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องแสงทีส่ ่องผา่ นใบของต้นยางพาราลงกระทบดนิ ในพ้นื ท่ี 1 ตารางเมตร การหาเปอร์เซ็นต์ของแสงที่ส่องผ่านใบต้นยางพาราลงกระทบดินในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ในช่วงเดือน สิงหาคม ปี พ.ศ. 2560 ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูฝนคือในเดือนสิงหาคม โดยจะประเมินจากการให้คะแนนความสว่างของ

77

แสงที่ตกกระทบลงบนพื้นดิน พบว่า ในทุกจุดที่ทำการสุ่มในบริเวณที่วางแปลงทดสอบ จะมีการบังร่มเงาของใบ ของต้นยางพาราเป็นบริเวณกว้าง แสงสว่างสามารถลอดผ่านได้เพียง 20 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นท่ีเท่านั้น ดังตารางที่ 17 ตารางภาคผนวกที่ 6 การเก็บข้อมูลแสงสว่างที่ส่องลงมาที่แปลงยางพารา โดยให้คะแนน 0-5 และตาราง ภาคผนวกท่ี 7 เปอร์เซน็ ต์การบังร่มเงาของใบยางพารา ในปี พ.ศ. 2560

การหาเปอร์เซ็นต์ของแสงที่ส่องผ่านใบต้นยางพาราลงกระทบดินในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ในช่วงเดือน เมษายน ปี พ.ศ. 2561 ซึ่งถือว่าเป็นช่วงฤดูแลง้ โดยประเมินจากการให้คะแนนความสว่างของแสงท่ีตกกระทบลง บนพื้นดิน พบว่า การปกคลุมพื้นที่ของใบต้นยางพาราในแต่ละจุดที่วางใกล้แปลงทดสอบ มีความแตกต่างกันไป โดยมีแปลงทดสอบทีม่ ีการบงั ของร่มเงาของพืน้ ที่มากทส่ี ุดถึงโดยมีแสงสว่างส่องถึงได้ 40 เปอร์เซ็นต์ ท้งั หมด 8 จุด ที่วางพื้นที่ 1 ตารางเมตร บริเวณแปลงทดสอบ ได้แก่ แปลงทดสอบ ที่ 2 3 4 8 9 10 11 และ 12 คิดเป็นร้อยละ 67 ของจุดที่วางแปลงทดสอบทั้งหมด ส่วนแปลงทดสอบที่มีการบังร่มเงาของใบต้นยางพารามากที่สุด โดยมีแสง สว่างลอดผ่านไดเ้ พียง 20 เปอร์เซ็นต์ มีจำนวนที่วางใกล้กับบรเิ วณของ 2 แปลงทดสอบ ได้แก่ แปลงทดสอบ ที่ 1 และ 5 และ แปลงทดสอบท่ีมีแสงสว่างลอดผา่ นใบต้นยางพาราลงสู่พ้นื ดินมากที่สดุ ถึง 60 เปอรเ์ ซ็นต์ ได้แก่ แปลง ทดสอบท่ี 6 และ 7 คดิ เปน็ ร้อยละ 17 ของจุดทีว่ างแปลงทดสอบทงั้ หมด ดังตารางท่ี 17 และตารางภาคผนวกท่ี 8 เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารบังร่มเงาของใบยางพารา ในปี พ.ศ. 2561

ตารางที่ 17 เปอร์เซ็นต์ของแสงที่ส่องผ่านใบ ต้นยางพาราลงกระทบดิน (คะแนนความสว่าง) ในพ้นื ที่ 1 ตารางเมตร ในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

คะนนแสงสว่าง แปลง ปี พ.ศ.

2560 2561 1 11 2 12 3 12 4 12 5 11 6 13 7 13 8 12 9 12 10 1 2 11 1 2 12 1 2

78

3.2.5 พ้ืนทที่ ี่มีใบพืชปกคลุมหนา้ ดนิ การหาพื้นที่ที่มีใบพืชปกคลุมหน้าดินโดยวัดจากความยาวเชือกที่ 4.5 เมตร ในปี พ.ศ. 2560 พบว่า ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่มีใบพืชปกคลุมหน้าดินในแปลงทดสอบที่ 1 จะมีพืชปกคลุมน้อยกว่าแปลง ทดสอบอื่น ๆ คือ 64.44 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากพื้นทีม่ ีความลาดชันเล็กน้อย ทำให้เมื่อใบไม้ร่วงหล่นลงมาทับถมใน บางพื้นที่ได้ถูกพาไปทับถมในพื้นที่อื่นแทน บริเวณที่เก็บข้อมูลจึงถูกเปิดออกไม่มีพืชปกคลุม ในขณะที่แปลง ทดสอบอื่น ๆ ส่วนใหญ่จะมีใบพืชปกคลุมมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ โดยเฉพาะในแปลงทดสอบที่ 6 7 10 และ 12 ซึ่งตัวแปลงและพื้นที่ใกล้เคียงมีความราบเรียบของพื้นที่มากกว่า ดังนั้นโอกาสในการที่ใบจะถูกพัดพา หรือ เคลื่อนย้ายออกจากจุดที่ใบไม้ร่วงหล่นไปไม่มากนัก ทำให้พื้นที่มีพืชปกคลุมถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ในปี พ.ศ. 2561 จะพบว่าแปลงทดสอบที่ 1 และ 8 มีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่มีใบพืชปกคลุมหน้าดินต่ำกว่าแปลง ทดสอบอื่น ๆ เป็น 74.07 และ 77.78 เปอร์เซ็นต์ ในชณะที่แปลงทดสอบที่ 6 7 และ 10 ยังคงมีใบพืชปกคลุมอยู่ มากถงึ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์เชน่ กนั ดังตารางที่ 18

ตารางที่ 18 ค่าเฉลี่ยเปอรเ์ ซ็นต์ของพืน้ ที่ทมี่ ีใบพชื ปกคลมุ หน้าดิน ในปี พ.ศ. 2560 และปี พ.ศ. 2561

ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561

แปลง มพี ชื ปกคลุม ไมม่ พี ชื ปกคลมุ มีพืชปกคลมุ ไม่มพี ืชปกคลมุ

1 เปอร์เซ็นต์ (%) เปอรเ์ ซน็ ต์ (%) 2 3 64.44 35.56 74.07 25.93 4 5 98.52 1.48 96.30 3.70 6 7 84.44 15.56 93.33 6.67 8 9 88.89 11.11 92.59 7.41 10 11 75.56 24.44 94.07 5.93 12 ค่าเฉลีย่ 100.00 0.00 100.00 0.00

100.00 0.00 100.00 0.00

74.81 25.19 77.78 22.22

85.19 14.81 88.15 11.85

100.00 0.00 100.00 0.00

98.52 1.48 94.81 5.19

100.00 0.00 98.52 1.48

89.20 10.80 92.47 7.53

79

2.3 จุลินทรยี ด์ นิ ในการศกึ ษาน้พี บว่าในปี พ.ศ. 2560 จลุ ินทรยี ์สามารถย่อยสลายสารประกอบต่าง ๆ ไดด้ ังตารางท่ี 19 คือ กลุ่มของ carbohydrate พบว่า glucose ถูกย่อยสลายในปริมาณทีม่ ากท่ีสดุ เป็น 5.73 ไมโครกรัมคาร์บอนตอ่ ดนิ 1 กรัมตอ่ ชว่ั โมง (µg C-CO2 g-1 soil h-1) ในแปลงทดสอบที่ 4 น้อยที่สดุ ในแปลงทดสอบที่ 1 เปน็ 0.15 ไมโครกรัม คาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของทุกแปลงทดสอบอีก 2 แปลง ได้แก่ แปลงทดสอบที่ 9 และ 12 เป็น 3.39 และ 3.21 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง ซึ่งมีปริมาณใบไม้ที่ทับถมในบริเวณ แปลงทดสอบค่อนข้างมาก สำหรับ Cellulose และ Cellobiose มีค่าน้อยที่สุดในแปลงทดสอบที่ 1 เป็น 0.16 และ 0.23 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง และ Cellobiose มีค่ามากที่สุดในแปลงทดสอบที่ 4 เช่นเดียวกับ Glucose สำหรบั กลุม่ ของ N-rich compounds ซง่ึ ประกอบด้วย urea และ casein พบวา่ ในแปลงทดสอบท่ี 3 มี ค่าน้อยที่สุดเพียง 0.11 และ 0.24 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง แต่พบมากที่สุดในแปลงทดสอบท่ี 12 เป็น 0.53 และ 0.92 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง และหลายแปลงทดสอบที่มีค่ามากกว่า ค่าเฉลยี่ ของทุกแปลงทดสอบ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง แปลงทดสอบท่ี 4 7 9 และ 11 มคี า่ สงู กวา่ ค่าเฉลีย่ ทั้งสองซับสเต รท นน่ั หมายความวา่ แหล่งของไนโตรเจนมีอยู่สงู ในแปลงทดสอบเหล่านไ้ี ปด้วย กลุ่ม P-rich compound ประกอบด้วย phytate+glucose และ P phytate พบว่า มีค่าน้อยในแปลง ทดสอบที่ 1 เชน่ กัน เป็น 0.33 และ 0.33 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรมั ต่อชว่ั โมง แตม่ ีค่ามากในแปลงทดสอบ ท่ี 7 และ 4 เป็น 1.13 และ 2.73 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดนิ 1 กรัมตอ่ ชั่วโมง ตามลำดบั ในขณะท่ีแปลงทดสอบที่ 2 9 11 และ 12 มคี ่าสงู กวา่ ค่าเฉลย่ี ของทุกแปลงทดสอบ แสดงวา่ มสี ารประกอบจำพวกฟอสเฟตในดินอยู่ค่อนข้าง สูงกวา่ แปลงทดสอบอื่น ๆ ในขณะที่กลุ่มของ catabolic acid การย่อยสลายสารประกอบพวก Oxalic acid มากที่สุดในแปลง ทดสอบที่ 7 มีค่าเป็น 3.68 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง ในขณะที่ Malic acid มากที่สุดในแปลง ทดสอบที่ 4 มีค่าเป็น 7.64 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง แต่พบน้อยมากในแปลงทดสอบที่ 1 เป็น 0.25 และ 0.23 ไมโครกรมั คาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อช่วั โมง จะเห็นได้ว่าแปลงทดสอบที่ 4 มีการย่อยสลายสารประกอบต่าง ๆ มากที่สุด แสดงว่ามีกิจกรรมของ จลุ นิ ทรีย์มากในพน้ื ท่นี ้ัน ๆ อันหมายถึงมีปรมิ าณของจลุ นิ ทรียใ์ นบรเิ วณแปลงทดสอบมากดว้ ยเชน่ กัน

ตารางท่ี 19 คา่ เฉลยี่ การยอ่ ยสลายสารประกอบตา่ ง ๆ ในดินของจุลนิ ทรยี ์ ในปี พ.ศ. 2560 80

แปลง Glucose Cellobiose Cellulose Urea casein (P)phytate phytate Malic Oxalic +glucose acid acid 1 0.15 0.23 0.16 0.14 0.28 0.33 0.23 0.25 2 2.81 1.19 0.41 0.26 0.41 1.41 0.33 5.06 2.11 3 2.00 0.58 0.16 0.11 0.24 0.98 0.87 2.25 1.26 4 5.74 2.01 0.61 0.32 0.90 2.73 0.47 7.64 2.66 5 2.48 0.78 0.46 0.19 0.63 1.98 1.02 3.23 1.75 6 2.13 0.51 0.24 0.19 0.49 0.94 0.69 3.97 1.65 7 3.25 1.18 0.63 0.29 0.80 1.17 0.72 3.91 3.68 8 1.56 0.62 0.48 0.28 0.25 0.58 1.13 1.29 0.62 9 3.21 0.90 0.47 0.33 0.64 1.51 0.42 3.80 2.20 10 1.60 0.50 0.28 0.24 0.41 0.85 0.92 3.49 1.65 11 1.14 1.25 0.37 0.28 0.81 1.53 0.53 3.23 1.72 12 3.39 1.29 0.49 0.53 0.92 2.23 1.05 4.18 2.36 Max 5.74 2.01 0.63 0.53 0.92 2.73 1.04 7.64 3.68 Min 0.15 0.23 0.16 0.11 0.24 0.33 1.13 0.23 0.25 Avg 2.45 0.92 0.40 0.26 0.56 1.35 0.33 3.52 1.83 0.77

ในปี พ.ศ. 2561 ในช่วงฤดแู ล้ง จุลินทรยี ส์ ามารถยอ่ ยสลายสารประกอบตา่ ง ๆ ไดด้ งั ตารางที่ 20 คอื กลุ่ม ของ carbohydrate พบว่า glucose ถูกย่อยสลายในปริมาณที่น้อยที่สุดเป็น 0.86 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง (µg C-CO2 g-1 soil h-1) ในแปลงทดสอบที่ 4 มากที่สุดในแปลงทดสอบที่ 11 เป็น 3.22 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของทุกแปลงทดสอบอีก 5 แปลง ได้แก่ แปลง ทดสอบที่ 2 5 7 9 และ 12 เป็น 2.21 2.29 2.27 2.54 และ 2.27 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง ตามลำดับ ซึ่งมีปริมาณใบไม้ที่ทับถมในบริเวณแปลงทดสอบค่อนข้างมากแต่ยังน้อยกว่าในช่วงฤดูฝน สำหรับ Cellulose และ Cellobiose มีค่าน้อยที่สุดในแปลงทดสอบที่ 6 เป็น 0.57 และ 0.24 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรมั ตอ่ ชว่ั โมง และ Cellulose มคี า่ มากท่สี ดุ ในแปลงทดสอบที่ 11 เช่นเดยี วกับ Glucose

สำหรับกลุ่มของ N-rich compounds พบว่า Urea และ Casein ในแปลงทดสอบที่ 4 มีค่าน้อยที่สุด เชน่ กันเพียง 0.22 และ 0.44 ไมโครกรมั คาร์บอนต่อดิน 1 กรมั ต่อชั่วโมง แตพ่ บ Urea มากทีส่ ุดในแปลงทดสอบท่ี 9 เปน็ 0.50 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมตอ่ ชัว่ โมง และ Casein พบมากเป็น 0.85 ไมโครกรมั คาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง ในแปลงทดสอบที่ 2 และแปลงทดสอบที่ 1 5 และ 8 มีค่ามากกว่าค่าเฉลี่ยของทุกแปลงทดสอบ ทัง้ สองซบั สเตรท ซงึ่ หมายถึงแหล่งของไนโตรเจนมอี ยสู่ งู ในแปลงทดสอบเหล่านีด้ ้วย

81

กลุ่ม P-rich compound ประกอบด้วย P phytate พบว่า มีค่ามากในแปลงทดสอบที่ 10 เป็น 2.36 ไมโครกรมั คาร์บอนตอ่ ดิน 1 กรัมต่อช่ัวโมง และนอ้ ยทส่ี ุดในแปลงทดสอบที่ 4 เปน็ 0.55 ไมโครกรมั คารบ์ อนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง ในขณะที่ phytate+glucose มีค่ามากในแปลงทดสอบที่ 11 เป็น 1.34 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อ ดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง และน้อยที่สุดในแปลงทดสอบที่ 6 เป็น 0.50 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง แสดงวา่ ในแปลงทดสอบที่ 10 และ 11 มีสารประกอบจำพวกฟอสเฟตในดินอยู่ค่อนข้างสงู กวา่ แปลงทดสอบอื่น ๆ

กลุ่มของ catabolic acid การย่อยสลายสารประกอบพวก Oxalic acid มากที่สุดในแปลงทดสอบที่ 7 มี ค่าเป็น 2.83 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง ในขณะที่ Malic acid มากที่สุดในแปลงทดสอบท่ี 10 มี ค่าเป็น 4.56 ไมโครกรัมคาร์บอนต่อดิน 1 กรัมต่อชั่วโมง แต่พบน้อยมากในแปลงทดสอบที่ 3 และ 6 เป็น 0.72 และ 0.17 ไมโครกรมั คารบ์ อนตอ่ ดิน 1 กรมั ตอ่ ชั่วโมง ตามลำดบั

จะเห็นได้ว่าในช่วงฤดูแล้งแปลงทดสอบที่ 4 มีการย่อยสลายสารประกอบต่าง ๆ ได้น้อยกว่าในช่วงฤดูฝน และในแปลงทดสอบท่ี 6 กม็ ีสารประกอบหลายตัวทมี่ กี ารยอ่ ยสลายได้น้อย แสดงว่ามีกิจกรรมของจุลนิ ทรีย์น้อยลง ในพื้นทีแ่ ปลงทดสอบ

ตารางท่ี 20 ค่าเฉล่ียการยอ่ ยสลายสารประกอบตา่ ง ๆ ในดนิ ของจุลนิ ทรีย์ ในปี พ.ศ. 2561

แปลง Glucose Cellobiose Cellulose Urea casein (P)phytate phytate+ Malic Oxalic glucose acid acid 0.35 0.79 3.16 1.33 1 1.90 0.91 0.47 0.27 0.85 0.83 0.68 4.33 2.77 2 2.21 0.94 0.39 0.22 0.59 2.33 0.72 3 1.40 0.83 0.30 0.22 0.44 1.69 0.80 2.86 1.29 4 0.86 0.66 0.29 0.40 0.79 2.40 0.94 5 2.29 1.10 0.32 0.22 0.55 1.14 0.75 0.17 1.58 6 1.49 0.57 0.24 0.25 0.79 3.67 2.83 7 2.27 1.04 0.44 0.36 0.74 0.55 0.57 3.60 1.87 8 1.94 0.84 0.42 0.50 0.57 2.53 1.88 9 2.54 1.52 0.55 0.25 0.64 0.92 0.87 4.56 2.81 10 1.78 1.28 0.49 0.43 0.78 2.90 2.27 11 3.22 1.40 0.66 0.24 0.64 0.95 0.50 2.75 1.23 12 2.27 1.14 0.42 0.50 0.85 4.56 2.83 Max 3.22 1.52 0.66 0.22 0.44 1.53 1.24 0.17 0.72 Min 0.86 0.57 0.24 0.31 0.68 2.94 1.79 Avg 2.01 1.02 0.42 1.75 1.04

2.15 0.87

2.36 1.05

1.56 1.34

1.71 0.80

2.36 1.34

0.55 0.50

1.43 0.88

82

สรุปผล

จากผลการศกึ ษาการทั้งหมดพบว่า สมบตั กิ ายภาพของดิน ไดแ้ กค่ วามหนาแน่นรวมของดนิ บนมีค่าสูงกว่า ดินล่างในทั้งสองช่วงของการศึกษา ค่าเฉลี่ยปริมาณความชื้นภาคสนาม พบว่าดินบนและดินล่างให้ผลในทิศทาง เดียวกันท้งั ในปีที่ 1 (ฤดฝู น) และ 2 (ฤดูแลง้ ) ของการศกึ ษา

สำหรับปริมาณน้ำฝนในปี พ.ศ. 2560 สูงกว่าในปี พ.ศ. 2561 ปริมาณความชื้นเกือบ 70 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณนำ้ ฝนเรายเดอื นฉลย่ี พบวา่ ในเดอื นกรกฎาคม และสงิ หาคม มีปริมาณน้ำฝนสงู มากถึงเกือบ 250 มลิ ลเิ มตร ในขณะที่เดือนมีนาคม และเมษายน ปริมาณน้ำฝนเพียง 2.0 และ 86.5 มิลลิเมตรเท่านั้น ถึงแม้ว่าปริมาณน้ำฝ น รวมของปี พ.ศ. 2561 จะมคี ่าไม่สูงเท่าปีแรกของการศึกษา จำนวนวันฝนตก และความชนื้ สัมพัทธ์เฉลี่ยสูงกว่า ใน ปี พ.ศ. 2560 ส่วนของปริมาณตะกอนทีเ่ ก็บรองรับได้จากแปลงทดสอบ พบว่าในแปลงทดสอบท่ี 4 มีค่ามากที่สุด ในปี พ.ศ. 2561 มากท่ีสุดในแปลงทดสอบที่ 6 ซ่ึงทัง้ 2 แปลงทดสอบน้ีถูกวางไว้ในที่ค่อนข้างราบ แต่อยู่ในบริเวณ ชว่ งรอบทรงพุ่มของต้นยางพารา ทำให้มีการรวมปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมา และตกกระทบหน้าดินได้มากกว่า จึงทำ ให้เกิดการแตกของเม็ดดิน และถูกชะล้างออกไปได้มากที่สุด ในปี พ.ศ. 2561 มีปริมาณตะกอนมากกว่าปี พ.ศ. 2560 เน่ืองจากความเขม้ ของฝนสงู กว่า รวมถึงขนาดเม็ดฝนท่ีตกกระทบมขี นาดใหญก่ วา่ จงึ ทำให้ได้ผลดังกล่าว

ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในน้ำที่ได้จากแปลงทดสอบขนาดเล็ก พบว่ามีค่าต่ำถึงต่ำมาก ถึงแม้ จะถูกชะล้างออกไปกบั น้ำ กไ็ มม่ ีผลกระทบกับธาตุอาหารที่จะทำให้พชื เจรญิ เติบโตได้ สำหรับปรมิ าณโลหะหนักใน พื้นที่ศึกษา พบว่าผลการศึกษาในทั้ง 2 ปีที่ศึกษาไปในทิศทางเดียวกัน คือมีปริมาณโลหะหนัก ได้แก่ สารหนู สังกะสี แคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว อยู่ในปริมาณที่ต่ำมาก ยกเว้นในปี พ.ศ. 2561 มีปริมาณสังกะสีมากที่สุดใน แปลงทดสอบท่ี 12 แต่นอ้ ยกวา่ ค่ามาตรฐานท่ีกำหนดให้มีได้ในแหลง่ น้ำผิวดนิ

สำหรับดา้ นนเิ วศวิทยา ได้ศึกษาถึงจำนวนสิ่งมีชีวิตในดนิ (แมลงต่าง ๆ) และความหลากหลาย พบว่าในปี พ.ศ. 2560 มีจำนวนแมลงและชนิดที่หลากหลายกว่าในปี พ.ศ. 2561 เนื่องจากมีปริมาณน้ำฝนมากกว่า ทำให้มี ความชุ่มชื้นของพื้นที่มากกว่า มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติมากกว่า ปลวก เป็นแมลงที่พบมากที่สุด และ ไส้เดือนพบได้ในแปลงทดสอบส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นอย่างดี สำหรับ ปลวก กิ้งกือ และตะขาบ พบได้ในทั้งสองปีที่ศึกษา ในขณะที่ปี พ.ศ. 2560 มีจำนวนและความหลากหลายของชนิดแมลงน้อย กว่าปีแรก แต่อย่างไรก็ตามสามารถพบผู้บริโภคได้ครบทั้งสองปี อันได้แก่ Herbivore Carnivore Omnivore Detritivore และ Predator เช่น มดชนดิ ต่าง ๆ ด้วย

ในส่วนของพชื พรรณ ในพ้นื ที่ 1 ตารางเมตร ศึกษาถงึ จำนวนและชนดิ ของพชื พรรณ ท่ขี น้ึ ในแปลงทดสอบ พบว่า ปี พ.ศ. 2560 แปลงทดสอบที่ 12 มีจำนวนชนิดพืชหลากหลายที่สุดถงึ 47 ชนิด เป็นพืชที่มีใบเลี้ยงคูข่ นาด ใหญ่ถงึ 51.57 เปอรเ์ ซน็ ต์ พืชที่มีใบเลยี้ งคู่ขนาดเลก็ เป็น 42.70 เปอร์เซ็นต์ หญ้าหรือพืชใบเล้ยี งเดยี่ ว พืชเครือเถา พบน้อยในทุกแปลงทดสอบ เนื่องจากถูกพืชใบเลี้ยงคู่ทั้งสองขนาดบังแสงจึงเจริญเติบโตได้ไม่ดีนัก ส่วนในปี พ.ศ.

83

2561 พบว่า ในแปลงทดสอบที่ 12 ยังคงมีจำนวนและชนิดของพืชใบเลี้ยงคูข่ นาดใหญ่ถงึ 22 ชนิด คิดเป็น 66.40 เปอรเ์ ซ็นต์ และในแปลงทดสอบที่ 1 มีพชื ใบเลีย้ งคูข่ นาดเลก็ มากท่ีสดุ คิดเปน็ 73.73 เปอร์เซน็ ต์

ส่วนของพืชและการยอ่ ยสลายในพ้ืนที่ 25 ตารางเซนติเมตร พบว่า ในทั้ง 5 ส่วนที่ศึกษา ได้แก่ 1) พืชสด สีเขียว (fresh leaves) 2) พืชแห้งเต็มใบ (entire leaves) 3) เศษพืช (พืชที่มีขนาดใหญ่กว่า 50 เปอร์เซ็นต์) fragmented leaves (leaf area > 50%) 4) เส้นใบ (skeleton leaves) และ 5) กิ่งไม้ (wood) แปลงทดสอบท่ี 6 มีใบพืชสดสูงสุด เป็น 9.08 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ปี พ.ศ. 2561 แปลงทดสอบที่ 12 มีจำนวนใบพืชสดมากที่สุด เป็น 1.23 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ในปีนี้ ใบพืชสดในแปลงทดสอบที่ 6 แปรสภาพไปเป็นพืชแห้งเต็มใบจำนวนมาก และ ในปี พ.ศ. 2560 พืชท่ีเป็นใบแห้งเตม็ ใบในแปลงทดสอบที่ 12 ถกู ย่อยสลายโดยส่ิงมีชวี ิตในดนิ และภูมิอากาศ ท่เี ปลี่ยนแปลงไปกลายเปน็ เศษพืชขนาดใหญ่กว่า 50 เปอร์เซน็ ต์ ในปี พ.ศ. 2561

เปอร์เซ็นต์ของแสงที่ส่องผ่านใบต้นยางพาราลงกระทบดินในพื้นที่ 1 ตารางเมตร พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 เกดิ การบังแสงของต้นยางพาราในทุกแปลงทดสอบ โดยมแี สงสวา่ งส่องได้เพียง 20 เปอร์เซน็ ต์ เท่านั้น ในขณะท่ีปี พ.ศ. 2561 พบวา่ ในแปลงทดสอบที่ 1 และ 5 ถูกบังแสงมากทส่ี ุด มีแสงสอ่ งลอดได้ 20 เปอรเ์ ซน็ ต์ แปลงทดสอบที่ มีแสงสว่างลอดผา่ นใบต้นยางพาราลงสู่พืน้ ดินมากที่สุดถึง 60 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ แปลงทดสอบที่ 6 และ 7 คิดเป็น ร้อยละ 17 ของจุดท่วี างแปลงทดสอบทง้ั หมด

พื้นที่ที่มีใบพืชปกคลุมหน้าดิน โดยวัดจากความยาวเชือกที่ 4.5 เมตร พบว่าในปี พ.ศ. 2560 แปลง ทดสอบท่ี 1 จะมีพชื ปกคลุมน้อยกว่าแปลงทดสอบอ่ืน ๆ คอื 64.44 เปอรเ์ ซ็นต์ ในขณะท่ีแปลงทดสอบอ่ืน ๆ ส่วน ใหญ่จะมีใบพืชปกคลมุ มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ โดยเฉพาะในแปลงทดสอบท่ี 6 7 10 และ 12 ซ่ึงตัวแปลงและพื้นที่ ใกล้เคียงมีความราบเรียบของพื้นที่มากกว่า ขณะที่ในปี พ.ศ. 2561 จะพบว่าแปลงทดสอบที่ 1 และ 8 มีค่าเฉล่ีย เปอรเ์ ซน็ ตข์ องพื้นทที่ มี่ ใี บพชื ปกคลุมหนา้ ดนิ ต่ำกวา่ แปลงทดสอบอ่ืน ๆ เป็น 74.07 และ 77.78 เปอรเ์ ซ็นต์

ในส่วนของน้ำหนักรากพชื จากปรมิ าตรดนิ 10 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร พบว่าปี พ.ศ. 2560 แปลงทดสอบท่ี 9 มีค่ามากที่สุด เป็น 1.72 กรัม ปริมาณความชื้นเฉลี่ยสูงตามไปด้วยเป็น 6.63 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ปี พ.ศ. 2561 แปลงทดสอบที่ 10 มีน้ำหนักรากพืชมากที่สุดเป็น 3.75 กรัม และเปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉลี่ยต่ำกว่าปี พ.ศ. 2560 เพยี ง 0.07 เปอร์เซน็ ต์เท่านน้ั

สำหรับการศึกษาจุลินทรีย์ดินที่สามารถย่อยสลายซับสเตรทต่าง ๆ เป็นการบ่งบอกถึงกิจกรรมชอง จุลินทรีย์ในแต่ละกลุ่มนัน้ พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 กลุ่ม Carbohydrate โดยเฉพาะ Glucose ถูกย่อยมากที่สุดใน แปลงทดสอบที่ 4 เช่นเดยี วกับ Cellobiose สำหรับแปลงทดสอบท่ี 9 และ 12 มีค่าสงู กว่าค่าเฉล่ียเช่นเดียวกับใน ปี พ.ศ. 2561 และสำหรับกลุ่ม N-rich compounds และ P-rich compounds พบว่าแตกต่างกันไปในทั้งสองปี ที่ศึกษา ในขณะที่ Catabolic acid พบว่าในแปลงทดสอบที่ 7 Oxalic acid มีค่าสูง ในทั้งสองปีที่ทำการศึกษา เชน่ กนั

84

จะเห็นได้ว่าผลที่ได้เป็นไปตามลักษณะทางธรรมชาติแทบทั้งสิ้น สมบัติทางกายภาพของดินมีความ หนาแนน่ ดนิ บนน้อยกว่าดินลา่ งในทั้ง 2 ปที ศ่ี กึ ษา เนอ่ื งจากยังมีกิจกรรมของสง่ิ มีชวี ิตในดิน และรากพืชอยู่จำนวน มาก ในขณะที่ดินล่างมีความแน่นทึบกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดินและรากพืชมีจำนวนน้อยลงไปด้วย และในปีที่มี ปริมาณฝนตกมาก กิจกรรมของส่งิ มีชีวิตในดิน พชื พรรณ ทง้ั จำนวนและความหลากหลายจะมากตามไปดว้ ย ซงึ่ จะ แตกต่างไปจากในปีที่มีฝนน้อย (ฤดูแล้ง) อย่างเห็นได้ชัด ส่วนของจุลินทรีย์ดินจะมีความสามารถในการย่อยสลาย ซับเสตรทต่าง ๆ แสดงว่ามีกิจกรรมของจุลินทรีย์แตกต่างกันตามกลุ่มไป ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับต้นยางพารามาก ไปด้วย

ข้อเสนอแนะ

ในการศึกษาครั้งนี้ ต้องใช้พื้นที่ที่เปลี่ยนแปลงจากการปลูกข้าวโพดมาเป็นยางพารา แต่ในแปลงนี้มีการ เปลี่ยนแปลงมาเช่นกัน แต่เป็นเวลาย้อนหลังไปหลายปี ดังนั้นอาจจะไม่เห็นผลกระทบจากปัจจัยนี้มากนัก อกี ประการหนงึ่ คือ หากมพี ้นื ท่ศี ึกษาทตี่ ั้งอยใู่ นบริเวณท่ีไมห่ ่างไกล เข้าถึงได้ง่าย มีผู้ทเี่ กบ็ ข้อมูลให้เป็นระบบจะทำ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลทม่ี คี วามถกู ต้อง นำมาใช้ประโยชน์ไดม้ ากยง่ิ ขึ้น

ในส่วนของเครื่องมือทีใ่ ช้ในการจัดเก็บข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ได้แก่ ปริมาณน้ำฝน จำนวนวันฝนตก และ ความชื้นในดิน เป็นตน้ ท่ีสามารถจัดเก็บในระบบดจิ ิตลั ได้ และสง่ กลับทางระบบออนไลน์ได้ จะเป็นประโยชน์มาก เนื่องจากจะได้ข้อมูลที่เป็นเฉพาะพื้นที่มากยิ่งขึ้น ทำให้ผลการวิจัยน่าเชื่อถือมากขึ้นไปด้วย นอกจากนี้ยังเสียลด ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางได้ดว้ ย

สำหรับการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในดิน ควรจะทำการวิเคราะห์ธาตุอาหารในดินที่จำเป็นให้ได้ทุก ธาตุ เพอื่ จะนำไปสู่การคำนวณปริมาณการสญู เสยี ธาตุอาหารพืชทางเศรษฐกจิ ได้ ซึง่ จะทำใหแ้ นะนำเกษตรกรได้ว่า ขาดธาตุอาหารชนิดใด และจำเป็นจะต้องปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยเคมี หรือปุ๋ยอินทรีย์ ด้วยปริมาณมากน้อย อย่างไร เพ่ือให้การจัดการธาตุอาหารพชื ในแปลงปลกู ยางพารามีประสิทธภิ าพมากยิ่งข้ึน

ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ

1. ด้านวชิ าการ ได้ข้อมลู สมบตั ิทางกายภาพของดนิ การเปลี่ยนแปลงของส่ิงมชี ีวิตในผิวดิน จำนวน และ ชนิดของแมลง รากพืช ความหลากหลายของพืชพรรณ การคลุมดิน การบังแสงของต้นยางพารา กิจกรรมของ จลุ ินทรยี ์ ในพน้ื ท่ศี ึกษาท้ังสองปี ทง้ั สภาพทเ่ี ปน็ ตัวแทนของฤดฝู น และช่วงฤดแู ลง้ ทำให้ไดข้ ้อมูลท้ังสองด้าน เพ่ือ นำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการดนิ และนำ้ ให้แกย่ างพาราใหเ้ หมาะสม เพอ่ื ให้ได้คณุ ภาพนำ้ ยางท่ดี ตี ่อไป

2. ดา้ นสังคมและชมุ ชน สามารถใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การแปลงยางพาราให้เหมาะสม หลีกเลยี่ งการ ใชส้ ารเคมใี นแปลงปลกู เน่อื งจากจะมผี ลกระทบต่อชมุ ชน หรืออาจไหลลงส่แู หลง่ น้ำทอี่ ยใู่ นบริเวณใกลเ้ คียงได้

85

3. แนวทางการศึกษานี้ นักวิจัยหรือนักวิชาการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำผลงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ หรือนำไปต่อยอดหรือปรับใชใ้ นการศึกษาเก่ียวกบั การปลกู ยางพารา และจัดการส่งิ แวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้

เอกสารอ้างองิ

กรมควบคุมมลพิษ. 2556. รายงานสถานการณ์มลพิษทางน้ำจากการปลูกยางพารา. สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม. 50 หนา้ .

กรมวิชาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร : ปัจจัยการผลิต : ปริมาณ และมูลค่าการนำเข้าสารกำจัดศัตรูพืช. กรมวิชาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ.์ ค้นจาก http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=146 เมือ่ วนั ท่ี 28 สิงหาคม 2558.

กรมวชิ าการเกษตร. 2558. ข้อมลู สถติ ิ พรบ.ปยุ๋ : การนำเขา้ ปยุ๋ เคมี ปี 2557. สำนักควบคุมพืชและวสั ดุการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2 หนา้ . คน้ จาก http://www.doa.go.th เมอื่ วันที่ 27 สงิ หาคม 2558.

ค ั ด ค ณ ั ฐ ช ื ่ น ว ง ศ ์ อ ร ุณ . 2 5 6 2 . ร ะ บ บ น ิ เ ว ศ ( Ecosystem). https://ngthai.com/science/25251 /ecosystem/ คน้ เมือ่ สิงหาคม 2563

ชุติมันต์ พานิชศักดิ์พัฒนา โกมินทร์ วิโรจน์วัฒนกุล อดิศักดิ์ คำนวณศิลป์. 2558. เอกสารวิชาการโรคข้าวโพด และการป้องกันกำจัด. สถาบันวิจัยโรคพืช กรมวิชาการเกษตร. ค้นจาก http://www.arda.or.th/kasetinfo/north/plant/corn_disease.html เม่อื วนั ที่ 27 สงิ หาคม 2558

ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและ รักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 เรอื่ ง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดนิ ตีพิมพ์ ในราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 111 ตอนที่ 16 ง ลงวันท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2537

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. พื้นที่เพาะปลูกยางพาราแบ่งตามรายภาค. ศูนย์สารสนเทศและเสริมสร้าง ความรู้ สำนกั งานคณะกรรมการกำกบั การซื้อขายสินคา้ เกษตรล่วงหนา้ . สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 7 หน้า

Bandick, A.K., R.P. Dick. 1999. Field management effects on soil enzyme activities. Soil Biol. Biochem. 31: 1471-1479.

Campbell CD, Chapman SJ, Cameron CM, Davidson MS, Potts JM (2003): A rapid microtiter plate method to measure carbon dioxide evolved from carbon substrate amendments so as to determine the physiological profiles of soil microbial communities by using whole soil. Appl Environ Microbiol 69, 3593–3599.

86

Campbell CD, Grayston SJ, Hirst DJ (1997): Use of rhizosphere carbon sources in sole carbon source tests to discriminate soil microbial communities. J Microbiol Meth 30, 33–41.

Casenave, A. Valentin, C. 1992. A runoff capability classification system based on surface features criteria in semi-arid areas of West Africa. Journal of Hydrology. 130, 231 – 249.

Chang, E.H., R.S. Chung and Y.H. Tsai. 2007. Effect of different application rates of organic fertilizer on soil enzyme activity and microbial population. Soil Sci. Plant Nutr. 53: 132- 140.

Epstein, E., J.M. Taylor and R.L. Chaney. 1976. Effects of sewage sludge and sludge compost applied to soil on some soil physical and chemical properties. J. Environ. Qual. 5: 422-426.

FAO. 1987. Soil management: Compost production and use in tropical and subtropical environments. FAO Soil Bulletin 56, FAO, Rome.

Freebrairn, D.M. Gupta, S.C. Rawls, W.J. 1991. Influence of aggregate size and microrelief on development of surface soil crusts. Soil Science Society American Journal. 55, 188 – 195.

Janeau, J.L. Bricquet, J.P. Planchon, O. Valentin, C. 2003. Soil crusting and infiltration on steep slopes in northern Thailand. European Journal of Soil Science. 54, 543 – 553.

Janeau, J.L. Podwojewski, P. Orange D., Jouquet, P. Valentin, C. Nguyen, V.T. Tran D.C. 2008. Land-use impacts on surface runoff and soil detachment within agricultural lands in Northern Vietnam. Catena. 74, 109 – 118.

Leaungvutiviroj, C., S. Piriyaprin, P. Limtong and K. Sasaki. 2010. Relationships between soil microorganisms and nutrient contents of Vetiveria zizanioides (L) Nash and Vetiveria nemoralis (A.) Camus in some problem soils from Thailand. Appl. Soil Ecol. 46(1): 95-102.

Marvar, M.C. Parts, S.A. Nunes, J.P. Keizer,JJ. 2010. Micro-plot scale overland flow generation and soil erosion in two recently burnt eucalypt stands in north-central Portugal : measurement and modeling results for simulated and natural events. Distributed document. 4 p.

Milko, J., O. Martinez, F. Maruyama, P. Marshchner, and M. Mora. 2008. Current and future biotechnological applications of bacterial phytases and phytase-producing bacteria. Microbes Environ. 23: 182-191.

Norman, H. 1993. Field measurement of soil erosion and runoff. FAO Soils Bulletin. 68, 141 p.

87

Peng, L. Ahanbin, L. Kexin, L. 2004. Effect of vegetation cover types on soil infiltration under simulating rainfall. 13th International Soil Conservation Oganisation Conference. : Conserving Soil and Water for Society : Sharing Solution. Brisbane, 4 p.

Shevanija. 2563. ไส้เดือนดินกับระบบนิเวศ. https://sites.google.com/site/shevanija/sideuxn-din-kab- rabb-niwes คน้ เมือ่ สิงหาคม 2563.

Sylvia, D.M., J.J. Fuhrmann, P.G. Hartel and D.A. Zuberer. 2005. Principles and Applications of Soil Microbiology (2nd ed.). Pearson Education Inc., 640 p.

Valentine, C. Bresson, L.-M., 1997. Soil crusting. In : Lal, R. Blum, W.E.H., Valetin, C. Stewart, B.A. (Eds.). Methodology for Assessment of Soil Degrradation. Advances in Soil Science, pp. 89 – 107.

88

ทะเบยี นวจิ ยั 60 62 05 23 010000 018 102 01 11 ชื่อชุด โครงการวจิ ยั / การตดิ ตามสารเคมีกำจัดศตั รูพืชตกคา้ งในน้ำหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์พด. 2 โครงการวจิ ัย Monitoring Residual Effects of Pesticide in Biological Extract Production กลุ่มชดุ ดินท่ี with Microbial Activator. กลุ่มชุดดินท่ี สถานทด่ี ำเนนิ การ 30 ชุดดิน ดอยปุย (Doi Pui series: Dp) ผูด้ ำเนินการ ผรู้ ่วมดำเนินการ 29 ชดุ ดนิ หนองมด Nong Mot series: Nm)

บ้านโป่งแยงนอก หม่ทู ่ี 2 ตำบลโปง่ แยง อำเภอแม่ริม จงั หวัดเชียงใหม่

นางสาวทิวา ปาตคี ำ Miss Thiwa Pateekum

นางนงพงา โอลเสน Mrs. Nongpanga Olsen

บทคดั ยอ่

การติดตามสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในน้ำหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด. 2 โดยใช้พืชทดสอบ คอื ผักกาดหอมห่อ จากแปลงเกษตรกรบนพ้ืนที่สงู ในพื้นทีโ่ ครงการหลวงของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย ต.แม่แรม อ.แมร่ ิม จ.เชียงใหม่ ช่วงปี พ.ศ. 2560-2562 โดยมวี ตั ถุประสงค์ คือ เพอื่ ตรวจสอบสารเคมีกำจดั ศัตรูพืช ที่ตกค้างในน้ำหมักชีวภาพจาก สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 และเพื่อศึกษาระยะเวลาการสลายตัวของสารเคมีกำจัด ศัตรูพืชในการทำน้ำหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 แบ่งการทดลองเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ในแปลง ทดลองของเกษตรกร ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย จำนวน 7 วิธีการ จำนวน 3 ซ้ำ ส่วนที่ 2 นำพืช ทดสอบจากแต่ละวิธีการในส่วนที่ 1 มาทำน้ำหมักชีวภาพโดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ตามสูตรของกรมพัฒนา ที่ดิน จำนวน 3 ซ้ำ วิธีการที่ 1 ไม่พ่นสารเคมี วิธีการที่ 2 วิธีเกษตรกร วิธีการที่ 3 พ่นสารไซเปอร์เมทรินและสาร คลอไพริฟอส ตามคำแนะนำ คือ สารไซเปอร์เมทริน สูตร 35 % EC อัตรา 17 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร สารคลอ ไพรฟิ อส สูตร 40 % EC อตั รา 0.85 มลิ ลิลิตร ต่อนำ้ 1 ลติ ร วธิ กี ารท่ี 4 พน่ สารไซเปอร์เมทริน และสารคลอไพริ ฟอส สองเท่าของคำแนะนำ วิธีการที่ 5 พ่นสารไซเปอร์เมทริน และสารคลอไพริฟอส ตามคำแนะนำก่อนทำน้ำหมัก ชีวภาพ (ใช้ตัวอย่างพืชจากวิธีการที่ 1) วิธีการที่ 6 เศษผักตกแต่งจากโรงคัดบรรจุของศูนย์พัฒนาโครงการหลวง หนองหอย และ วิธีการที่ 7 เศษผักตกแต่งจากตลาดสดทั่วไป จากนั้นทำการตรวจวิเคราะห์สารเคมีกำจัดศัตรูพชื ตกค้างดว้ ยเคร่ือง แกส๊ โครมาโทรกราฟ ตอ่ กับ แมสสเปคโตรมิเตอร์ ชนิดควอดูโพล (GC – MS/MS) ในระยะเวลา การหมัก 30, 37, 44, 51, 58 และ 65 วัน พบว่า ไม่พบสารพิษตกค้างของสารไซเปอร์เมทริน และสารคลอไพริฟอสใน น้ำหมักชีวภาพ ซึ่งมีการสลายตัวไปจนไม่สามารถตรวจสอบการตกค้างของสารดังกล่าวหลังการหมัก 30 แต่ใน วิธีการที่ 5 พ่นสารไซเปอรเ์ มทรินและสารคลอไพริฟอส ตามคำแนะนำกอ่ นทำนำ้ หมักชวี ภาพ วนั แรกมีสารไซเปอร์ มีทริน ปริมาณ 2.84 2.10 1.76 1.35 1.01 0.83 มก./กก. ตามลำดบั สารไซเปอร์มที ริน มีค่าเฉลี่ยการสลายตัวไป

89

ร้อยละ 13.94 36.36 46.67 59.09 69.39 และ 74.85 ในระยะการหมักวันที่ 30, 37, 44, 51, 58 และ 65 วัน ตามลำดับ ส่วนสารคลอไพริฟอสมีปริมาณ 4.26 3.79 3.24 2.96 2.76 และ 1.70 มก./กก. ตามลำดับสารคลอไพริ ฟอส มีค่าเฉลี่ยการสลายตัวไปร้อยละ 15.64 24.95 35.84 41.39 45.35 และ 66.34 ในระยะการหมักวันที่ 30 , 37, 44, 51, 58 และ 65 วัน ตามลำดับ ข้อมูลที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการน้ำหมักชีวภาพอย่าง ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ทั้งนี้การนำพืชผักแต่ละชนิดไปทำน้ำหมักชีวภาพ และปริมาณสารเคมีกำจัด ศัตรพู ชื ตกคา้ งนั้นอาจข้นึ อยกู่ ับความสมบูรณ์ของกระบวนการหมกั รวมท้ังชนิดและปริมาณสารเคมีกำจัดศัตรูพืชใน วัตถทุ น่ี ำมาหมกั ดงั นั้นการนำไปใชป้ ระโยชน์จงึ ควรระมัดระวังและคำนงึ ถงึ ความปลอดภัยจากสารพิษตกค้างด้วย

หลักการและเหตผุ ล

การเกษตรของประเทศไทยในปัจจุบนั ยังคงพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากตา่ งประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง วัตถุ อันตรายทางการเกษตร จากข้อมูลของกรมวิชาการเกษตร (2558) รายงานว่า ประเทศไทยมีการนำเข้าวัตถุ อันตรายทางการเกษตรประมาณ 147,375 ตัน มูลค่ารวมกว่า 22,812 ล้านบาท ซึ่งมูลค่าและปริมาณสารวัตถุ อันตรายทางการเกษตรที่นำเข้ามาในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี การใช้สารเคมีอย่างกว้างขวางและ ต่อเนื่อง ซึ่งเกษตรกรยังขาดความรู้ความ เข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของสารพษิ เหล่านี้ ทำให้เกิดปัญหาสารพิษ ตกคา้ งในผลผลิตทางการเกษตรของไทย และส่งผลกระทบต่อสภาพของเกษตรกรโดยตรง จากการเฝ้าระวังโรคจา การประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมโดยสำนักระบาดวิทยา พบว่า ระหว่างปี พ.ศ. 2546-2555 มีรายงานผู้ป่วยท่ี ได้รบั สารพษิ จากสารปอ้ งกนั กำจดั ศัตรพู ชื ทัง้ สน้ิ 17,340 ราย มรี ายงานเฉลย่ี ปลี ะ 1,734 ราย อตั ราปว่ ย 2.35 ต่อ ประชากรแสนคน (แสงโฉม, 2556)

จากการตรวจสอบสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผัก และผลไม้ ของสำนกั วิจัยและพัฒนาการเกษตร กรม วิชาการเกษตร พบว่า มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักและผลไม้ ร้อยละ 27-36 ของตัวอย่างที่ยื่นขอรับรอง ระบบเกษตรดที ี่เหมาะสม (GAP) ชนดิ สารเคมีกำจัดศัตรูพชื ท่ีพบส่วนใหญ่ คอื cypermethrin, chlorpyifos และ ethoprophos

ดังน้นั ในเบ้อื งต้น ผ้บู ริโภคจึงเลอื กซื้อผักที่ปลอดภยั จากสารเคมี ทีม่ เี ครอ่ื งหมายรับรองมาตรฐาน เช่น ผัก อนามัยรับรองโดยกรมวิชาการเกษตร ผักเกษตรอินทรีย์ซึ่งเป็นผักที่ปลูกโดยไม่มีการใชป้ ุ๋ยเคมี และสารเคมีกำจัด ศัตรพู ชื โดยมีมาตรฐานเกษตรอินทรียเ์ ป็นผู้รับรอง เป็นต้น เพื่อความปลอดภยั ต่อสุขภาพของผู้บริโภค จำเป็นต้อง มีการตดิ ตามศกึ ษาสารเคมีกำจดั ศัตรูพชื ในเศษพืชผักทนี่ ำมาทำเป็นนำ้ หมักชวี ภาพ โดยมีการศึกษาตดิ ตามสารเคมี กำจดั ศัตรพู ืชทตี่ กค้างในน้ำหมักชวี ภาพจากเศษพชื ผัก เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลประเมนิ ความเส่ียงแลว้ นำไปใช้ประโยชน์ใน การใช้นำ้ หมกั ชีวภาพใหเ้ หมาะสมและปลอดภัยตอ่ ผู้บรโิ ภคตอ่ ไป

90

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือตรวจสอบสารเคมีกำจัดศัตรูพชื ท่ีตกคา้ งในน้ำหมักชีวภาพจาก สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 2. เพ่ือศกึ ษาระยะเวลาการสลายตัวของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการทำน้ำหมักชีวภาพจาก สารเร่งซุปเปอร์ พด.2

การตรวจเอกสาร

1. สารพษิ ตกค้างในผลผลติ การเกษตร ปจั จบุ ันสารเคมีปอ้ งกันกำจดั แมลงศัตรูพืชเข้ามามีบทบาทและใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง และส่งผล กระทบต่อสุขภาพแวดลอ้ ม เศรษฐกิจ และสังคมอยา่ งต่อเนือ่ ง สิ่งที่สะท้อนให้เห็นสถานการณ์ท่ีชัดเจน คือ ข้อมูล ปริมาณการนำเข้าสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชที่มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี จากการเปรียบเทียบการใช้สารเคมี กำจัดแมลงศัตรูพืชของประเทศไทยและต่างประเทศ พบว่า การใช้สารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืชในประเทศไทยมีค่า สูงกวา่ ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ เช่น ฝร่ังเศส โปรตุเกส ถงึ เทา่ ตวั เป็นผลให้ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2553-2554 ระบบแจ้ง เตือนสินค้าอาหาร (Rapid Alert System for Food: RASFF) ของสหภาพยุโรป (EU) มีการตรวจพบสารเคมี ตกค้างในพืชผักของประเทศไทยมากที่สุดถึง 55 ครั้ง และรองลงมา ได้แก่ ตุรกี อินเดีย และอียิปต์ (แสงโฉม,

  1. สารพิษตกคา้ ง หมายถึง สารตกค้างในสินค้าเกษตรท่ีเกดิ จากการใชว้ ัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ีเกิดจาก การใชว้ ตั ถอุ ันตรายทางการเกษตร และใหค้ วามหมายรวมถงึ กลมุ่ อนพุ ันธ์ของวัตถุอนั ตรายทางการเกษตรนั้น ไดแ้ ก่ สารจากกระบวนการเปลี่ยนแปลง สารจากกระบวนการสร้างและสลาย สารจากการทำปฏกิ ิริยา และสารที่ปนอยู่ ในวัตถุอันตรายทางการเกษตร ที่มีความเป็นพิษอย่างมีนัยสำคัญ (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แหง่ ชาติ, 2556) อนันต์ (2551) ศึกษาการใช้สารเคมีกำจัดแมลงศัตรพู ืชที่มีผลต่อการสะสมสารพิษตกค้างในกะหล่ำปลีใน เขตพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง โดยการเก็บตัวอย่างเพื่อสุ่มตรวจสารพิษตกค้างในกะหล่ำปลีในพื้นที่ ปลูกของชาวเขาเผ่าม้งจำนวน 20 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้างอยู่ในระดับปลอดภัย 4 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 20 โดยมปี รมิ าณสาร cypermithrin ตกคา้ งเฉล่ยี เทา่ กับ 1.06 มิลลกิ รัมตอ่ กโิ ลกรมั ตามลำดบั ประภัสสรา (2557) วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างในผลผลิตการเกษตรเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของ สารพิษตกค้าง 3 ชนิด ได้แก่ ไซเปอร์เมทริน, cabaryl และ methidathion ในพืชส่งออก 4 ชนิด ได้แก่ มะม่วง พรกิ สม้ โอ และส้มเขยี วหวาน โดยฉดี พ่นสารฆ่าแมลงศัตรูพืชตามอตั ราที่แนะนำ กอ่ นเกบ็ เกยี่ วผลผลิตประมาณ 1 เดือน รวม 3-4 ครั้ง ผลปรากฏว่า ตรวจพบสารพิษตกค้างแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช โดยเฉพาะใน ส้มเขียวหวานพบสารพษิ ตกค้างมากท้ังชนิดและปริมาณ อนั เน่อื งมาจากการใชส้ ารอย่างต่อเนื่องของเกษตรกรโดย ไม่คำนึงถึงระยะเก็บเกย่ี วทีป่ ลอดภัย

91

2. น้ำหมกั ชวี ภาพ ในปัจจุบันเกษตรกรได้นำวัสดุเหลือใช้ จากการเกษตรที่มีลักษณะสด ได้แก่ เศษปลา หอยเชอร่ี ผักและผลไม้ มาทำการหมักในรูปของเหลวเพื่อทำน้ำหมักชีวภาพ และได้นำมาใช้ประโยชน์เป็นสารอาหารเสริม เพอื่ สง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โตและเพมิ่ คุณภาพพืชเศรษฐกิจไดด้ ี กรมพัฒนาที่ดิน จึงได้ดำเนินการศึกษา วิจัยกลุ่มจุลินทรีย์ เพื่อน้ำหมักชีวภาพซุปเปอร์ พด.2 เพื่อเผยแพร่ใหเ้ กษตรกรที่ไดด้ ำเนนิ การอยู่ และเปน็ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรใช้สารเร่งทมี่ ีจลุ ินทรยี ์ท่ีถูกต้อง ในการ ยอ่ ยสลายเศษอนิ ทรยี วตั ถสุ ด และมีความชน้ื สงู เพอ่ื ใหไ้ ดน้ ำ้ หมักจากสารเรง่ ชวี ภาพซุปเปอรพ์ ด.2 ทมี่ คี ณุ ภาพ นำ้ หมกั ชีวภาพซปุ เปอร์ พด.2 หมายถึง น้ำหมักที่ประกอบดว้ ยกรดอนิ ทรยี ์ และฮอรโ์ มนหรือสารเสริมการ เจริญเติบโตของพืชหลายชนดิ ผลิตได้จากการย่อยสลายวัสดุเหลือใช้จากพืชหรือสัตว์ ซึ่งมีลักษณะสดหรืออวบนำ้ ใหเ้ ปน็ ของเหลวออกมา มปี ระโยชนค์ ือ ส่งเสรมิ การเจรญิ เติบโตของพืชโดยพบว่ามีฮอรโ์ มน และ กรดอินทรีย์หลาย ชนิด เช่น ออกซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน กรดแลคติก กรดอะซิติก กรดอะมิโน และกรดฮิวมิก (กรมพัฒนา ที่ดนิ , 2554) สุภาวดี และคณะ (2556) ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บรักษาน้ำหมักที่ยังคงประสิทธิภาพ จาก สูตรปลา ผัก และผลไม้ พบวา่ ฮอรโ์ มนในน้ำหมกั ชวี ภาพจะคงประสิทธิภาพในช่วงระยะของการเก็บรักษา 3 เดือน และธาตุอาหารพืชจะคงประสิทธิภาพในช่วงระยะของการเก็บรกั ษา 10 เดอื น ส่วนการใชภ้ าชนะทบึ แสงและโปร่ง แสงในการเก็บรักษานำ้ หมักชีวภาพไมม่ ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน จารุพงษ์ และ ชุลีมาศ (2555) ได้ติดตามสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในปุ๋ยหมัก ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน และน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์ โดยนำขยะอินทรีย์ชนิดเศษผักในตลาดสด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น มา เป็นวัตถุดิบ ได้ศึกษาการสลายตัวของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3 ชนิด คือ cypermethrin deltamethrin และ chlorpyrifos ทำการตรวจวเิ คราะหส์ ารพิษตกคา้ งในระยะการหมกั 60 วนั พบวา่ มี cypermethrin ตกค้างในปุ๋ย หมกั ปุ๋ยหมักมลู ไส้เดอื นดิน และน้ำหมักชีวภาพ ในปริมาณ 1.864 0.873 และ 0.85 มลิ ลิกรัมต่อกโิ ลกรมั หลังจาก 60 วัน มีค่าเฉลี่ยการสลายตัวไป ร้อยละ 94 100 และ 91 ตามลำดับ ส่วน chlorpyrifos ตกค้างในปุ๋ยหมัก ปุ๋ย หมักมูลไส้เดือนดิน และน้ำหมักชีวภาพ ในปริมาณ 0.392 0.814 และ 0.178 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หลังจาก 60 วัน มีคา่ เฉลี่ยการสลายตัวไป รอ้ ยละ 72 100 และ 73 ตามลำดับ

ระยะเวลา และสถานทีด่ ำเนนิ การ

ระยะเวลาดำเนนิ การ ตลุ าคม 2559 เร่มิ ต้นเดือน กนั ยายน 2562 สิน้ สดุ เดอื น ดำเนินการท่ี หมู่ที่ 2 ตำบลโปง่ แยง อำเภอแม่ริม จงั หวัดเชียงใหม่ สถานทดี ำเนนิ การ ปงี บประมาณ 2560

92

จุดพิกัด (ระบบ UTM) 481442E 2092712N ชุดดิน ชดุ ดนิ ดอยปยุ (Doi Pui series: Dp) กลุ่มชุดดิน 30 การจำแนกดิน ลักษณะทั่วไป Fine, kaolinitic, hyperthermic (isohyperthermic or thermic) Kandic Palehumults พืชพรรณธรรมชาติและ การใช้ประโยชน์ที่ดิน เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินชีสต์หรือไมก้าชีสต์ บริเวณพื้นที่ภูเขาและ การจัดเรียงชั้นดิน รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ ๆ โดยแรง ลักษณะและสมบัติดิน โนม้ ถ่วงบรเิ วณเชิงเขา สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นภูเขาสูงชันมาก ความลาดชัน 3 – ความอุดมสมบูรณ์ดิน มากกว่า 50 เปอร์เซน็ ต์ การระบายนำ้ ดี การไหลบา่ ของน้ำบนผวิ ดนิ ช้าถึงเร็วมาก การซึมผา่ นไดข้ องน้ำ ปานกลาง ป่าดิบเขา ป่าสนและป่าเบญจพรรณบางพื้นที่ใช้ทำไร่เลื่อนลอย ข้าวโพด ข้าวไร่ ไม้ตดั ดอก ไมผ้ ล และพชื ผักเมอื งหนาว Ap(A)-Bt เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ำตาลเข้มหรือสี น้ำตาลปนแดงเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดแก่ถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินล่างเป็นดินเหนียวสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-7.0)

ความลึก อินทรียวตั ถุ ความจุ ความ ฟอสฟอรัส โพแทสเซยี ม ความอดุ มสมบูรณ์ (ซม.) แลกเปลีย่ น ของดนิ แคตไอออน อม่ิ ตวั เบส ทเ่ี ปน็ ทีเ่ ปน็ 0-25 ปานกลาง 25-50 ปานกลาง สงู ประโยชน์ ประโยชน์ ปานกลาง 50-100 ตำ่ ปานกลาง ปานกลาง ตำ่ ปานกลาง ต่ำ ตำ่ สูง

ต่ำ ตำ่ สงู

ต่ำ ตำ่ สงู

ข้อจำกัดการใช้ประโยชน์ สภาพพืน้ ท่ีมีความลาดชนั สูง ดินถกู ชะล้างพงั ทลายได้ง่าย

93

ข้อเสนอแนะในการใช้ ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ และจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม ปรับปรุง ประโยชน์ บำรุงดินอยู่เสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพ่ิม ผลผลิตให้สูงขึ้น พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารควรสงวนไว้ เป็นพ้นื ท่ีป่าไม้

ปีงบประมาณ 2561- 2562 ดำเนนิ การท่ี หมู่ 2 ตำบลโปง่ แยง อำเภอแม่ริม จังหวดั เชียงใหม่

จุดพิกดั (ระบบ UTM) 481303E 2091238N

ชุดดิน ชุดดนิ หนองมด (Nong Mot series: Nm)

กลุ่มชุดดิน 29

การจำแนกดิน Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiustults

ลักษณะทั่วไป เกิดจากการผพุ งั สลายตวั ของหินแกรนิตบริเวณพน้ื ท่ีภเู ขา รวมถึงท่ีเกิดจากวสั ดุ ดินหรอื หินท่เี คลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกลๆ้ โดยแรงโนม้ ถว่ งบริเวณเชงิ เขา พืชพรรณธรรมชาติและ สภาพพน้ื ท่ี ลกู คลนื่ ลอนลาดเลก็ น้อยถงึ เป็นเนินเขา ความลาดชนั 4-35 การใช้ประโยชน์ที่ดิน เปอรเ์ ซ็นต์ การจัดเรียงชั้นดิน การระบายน้ำ ดี ความอุดมสมบูรณ์ดิน การไหลบ่าของนำ้ บนผิวดิน ช้าถงึ เร็ว การซมึ ผ่านได้ของน้ำ ปานกลาง ป่าเบญจพรรณ พืชไร่ เช่น ข้าวโพด ถั่ว มันสำปะหลัง หรือไม้ผล เช่น ลิ้นจ่ี ลำไย มะมว่ ง Ap(A)-Bt ลักษณะและสมบัติดิน

ความลึก อนิ ทรียวตั ถุ ความจุ ความ ฟอสฟอรัส โพแทสเซยี ม ความอุดมสมบูรณ์ (ซม.) แลกเปล่ียน ของดิน แคตไอออน อ่มิ ตวั เบส ทีเ่ ป็น ท่เี ป็น 0-25 ต่ำ 25-50 ต่ำ ปานกลาง ประโยชน์ ประโยชน์ ตำ่ 50-100 ตำ่ ต่ำ ตำ่ ต่ำ ตำ่ ต่ำ ต่ำ ปานกลาง

ตำ่ ตำ่ ต่ำ

ตำ่ ตำ่ ตำ่

ข้อจำกัดการใช้ประโยชน์ ความอดุ มสมบรู ณต์ ำ่ พื้นที่ที่มีความลาดชนั สูง ดนิ จะถูกชะล้างพังทลายไดง้ า่ ย