แบบฟอร์มยกเลิกประกันสังคม มาตรา 40

กองทุนประกันสังคม ม.40 เป็นอีกหนึ่งสวัสดิการของรัฐในภาคสมัครใจ ที่เหล่าฟรีแลนซ์ควรคิดถึง เพื่อสร้างหลักประกันให้อุ่นใจในวันที่ต้องใช้ เพราะมีสิทธิประโยชน์หลายด้าน เช่น เงินทดแทนรายวันยามเจ็บป่วย เงินสงเคราะห์รายเดือนเมื่อมีบุตร เงินบำเหน็จชราภาพ เงินค่าทำศพและเงินสงเคราะห์กรณีเสียชีวิต เป็นต้น จึงควรศึกษาหลักเกณฑ์การส่งเงินสมทบและเงื่อนไขการรับสิทธิประโยชน์ทดแทนต่าง ๆ เพื่อช่วยวางแผนคุ้มครองความเสี่ยงในชีวิตได้อย่างเหมาะสม

“เป็นฟรีแลนซ์มือใหม่ ควรสร้างหลักประกันอะไรให้ตัวเองบ้าง?”
“จำเป็นต้องส่งเงินประกันสังคมด้วยเหรอ? กลัวไม่ได้ใช้สิทธิ”

หากพูดถึงประกันสังคม หลายคนอาจเข้าใจผิดว่าเป็นสิทธิสำหรับพนักงานประจำเท่านั้น แต่จริงๆ แล้วเหล่าฟรีแลนซ์ที่ไม่มีนายจ้างก็สามารถเลือกเข้าระบบประกันสังคมได้เช่นกัน อย่างน้อยจะได้มีหลักประกันตนเองบ้างเวลาเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด เพียงแค่ศึกษา  “4 ข้อควรรู้ เรื่องประกันสังคมมาตรา 40” ก็จะเข้าใจหลักเกณฑ์การส่งเงินสมทบและเงื่อนไขการรับสิทธิประโยชน์ทดแทนต่าง ๆ เพื่อช่วยวางแผนคุ้มครองความเสี่ยงในชีวิตได้อย่างเหมาะสม

ความแตกต่างของประกันสังคม ม.33 / ม.39 / ม.40

หลัก ๆ ก็เป็นเรื่องสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ และคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครในแต่ละมาตรา โดยมนุษย์เงินเดือนจะถือเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 (ม.33) ซึ่งเป็นภาคบังคับ ส่วนฟรีแลนซ์จะแบ่งเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 (ม.39) สำหรับคนที่เคยเป็นมนุษย์เงินเดือน พอลาออกมาก็ส่งเงินสมทบต่อเอง แค่จะไม่ได้รับการคุ้มครองกรณีว่างงานเท่านั้น และผู้ประกันตนมาตรา 40 (ม.40) สำหรับคนที่ไม่เคยทำงานประจำมาก่อน ซึ่งทั้งสองมาตรานี้ถือเป็นภาคสมัครใจ

* ฐานเงินเดือนต่ำสุด 1,650 บาท สูงสุด 15,000 บาท

ผู้ประกันตน ม.39 จะได้รับความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลเหมือน ม.33 ในขณะที่ผู้ประกันตน ม.40 จะไม่ได้รับความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลจากประกันสังคม แต่สามารถใช้สิทธิจากหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) โดยสามารถขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้เมื่อนอนโรงพยาบาลจากประกันสังคม วันละ 300 บาท และกรณีหยุดพักรักษาตัวที่บ้านตามความเห็นแพทย์ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป วันละ 200 บาท แต่หากพักรักษาตัวที่บ้านตามความเห็นแพทย์ ไม่เกิน 2 วัน ผู้ประกันตน ม.40 ทางเลือกที่ 1 และ 2 ก็สามารถขอรับเงินทดแทนการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปี

ผู้ประกันตน ม.40 เฉพาะทางเลือกที่ 3 เท่านั้น ถึงจะสามารถขอรับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 200 บาทต่อบุตรหนึ่งคน คราวละไม่เกิน 2 คน ตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงบุตรอายุ 6 ปีบริบูรณ์ (รวมสูงสุด 14,400 บาท)

ผู้ประกันตน ม.40 ทางเลือกที่ 2 และ 3 ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป หากต้องการเกษียณอายุตนเอง สามารถแจ้งและหยุดส่งเงินสมทบเพื่อรับสิทธิประโยชน์ในรูปแบบเงินก้อน ซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนเงินที่ส่งสมทบและผลตอบแทนจากการลงทุนของประกันสังคม และสำหรับทางเลือกที่ 3 จะได้รับเพิ่มอีก 10,000 บาท หากส่งเงินสมทบประกันสังคมนานกว่า 15 ปีขึ้นไป

โดยทั่วไปแล้ว สิทธิประกันสังคมที่คาดว่าจะได้ใช้มากที่สุดคือ กรณีเจ็บป่วย ซึ่งหากคุณเป็นฟรีแลนซ์ที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตน ม.39 ก็อาจลองพิจารณาระหว่างส่งเงินสมทบประกันสังคม ม.40 สูงสุดปีละ 3,600 บาท (ทางเลือก 3) กับการซื้อประกันสุขภาพเพื่อคุ้มครองวงเงินค่ารักษาในสถานพยาบาลเอกชน แต่หากเงินที่ส่งสมทบไม่ใช่เงินที่มากมายเมื่อเทียบกับรายได้ การสมัครประกันสังคม ม. 40 ก็ถือว่าคุ้มค่า เพราะ ม.40 ทางเลือก 3 ยังได้รับสิทธิอื่นๆ เช่น เงินทดแทนรายวันยามเจ็บป่วย เงินสงเคราะห์รายเดือนเมื่อมีบุตร เป็นต้น นับได้ว่า ประกันสังคมเป็นอีกหนึ่งสวัสดิการของรัฐในภาคสมัครใจ ที่เหล่าฟรีแลนซ์ควรคิดถึง เพื่อให้อุ่นใจในวันที่ต้องใช้ ดีกว่าเสียใจที่เสียสิทธิ เพราะเสียดายเงิน 70 – 432 บาทต่อเดือน

หมายเหตุ: ศึกษาเพิ่มเติม ได้ที่สำนักงานประกันสังคม www.sso.go.th และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) www.nhso.go.th

สำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้การวางแผนการเงิน เพื่อเตรียมพร้อมเรื่องเงินอย่างเป็นระบบให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งใจไว้ สามารถเริ่มต้นด้วย e-Learning หลักสูตร “เงินทองต้องวางแผน” ได้ฟรี!!! >>> คลิกที่นี่

ท่านสามารถเลือกเนื้อหา รายการแบบฟอร์ม ได้โดยการคลิกจากหัวข้อด้านล่างนี้

  เลขที่เอกสาร รายการบัญชีรายชื่อแบบบัญชีรายชื่อระเบียบฯ ปี62บัญชีรายชื่อบัญชีรายชื่อผปตขอคืน(covid-19)บัญชีรายชื่อบัญชีรายชื่อผู้ประกันตนพร้อมจำนวนเงินที่ขอรับเงินคืน ฯ COVID19 (.docx)สปส. 1-01แบบขึ้นทะเบียนนายจ้างสปส. 1-02หนังสือนำส่งแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนสปส. 1-03แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนสปส. 1-04หนังสือนำส่งข้อมูลทะเบียนด้วยสื่อของสำนักงานประกันสังคมสปส. 1-05คำขอทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (สปส. 1-05) และข้อตกลงฯสปส. 1-10แบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบ (สปส. 1-10) ส่วนที่ 1 และ ส่วนที่ 2สปส. 1-10/1หนังสือนำส่งเงินสมทบสปส. 1-11แบบส่งเงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา 39สปส. 1-20แบบคำขอเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39สปส. 1-20/1แบบคำขอกลับเป็นผู้ประกันตนสปส. 1-21แบบแจ้งการสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจสปส. 1-23/1แบบคำขอรับเงินคืน สำหรับนายจ้างเป็นผู้ยื่นขอสปส. 1-23/2แบบคำขอรับเงินคืน สำหรับผู้ประกันตนที่ทำงานกับนายจ้างหลายรายสปส. 1-23/3แบบคำขอรับเงินคืน สำหรับผู้ประกันตนโดยสมัครใจสปส. 1-24แบบคำร้องขอรับเงินไม่พึงชำระคืนสปส. 1-34แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงสถานที่ติดต่อสปส. 1-40/1แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงและทางเลือกการนำส่งเงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส. 1-40/2แบบแจ้งความจำนงไม่ประสงค์เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส. 1-40/3แบบคำขอรับเงินสมทบล่วงหน้าคืน(กรณีผู้ประกันตนตามมาตรา 40 เสียชีวิต)สปส. 1-40/5แบบคำขอรับเงินไม่พึงชำระคืนผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส. 1-40/6แบบคำขอรับเงินสมทบ และเงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายล่วงหน้า กรณียกเลิกบำนาญชราภาพ (ผปต.40)สปส. 2-17/1แบบขอรับค่าบริการทางการแพทย์โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทางของผู้ป่วยประกันสังคม กรณีการรักษาโรคมะเร็งตามแนวทางที่กำหนดสปส. 2-18/1 งแบบคำขอรับค่าบริการทางการแพทย์กรณีค่าผ่าตัดเตรียมเส้นเลือดสาหรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมสปส. 2-18/1 งแบบคำขอรับค่าบริการทางการแพทย์กรณีค่าผ่าตัดเตรียมเส้นเลือดสาหรับค่าผ่าตัดวางท่อรับส่งน้ายาเข้าออกช่องท้องสปส. 2-19แบบคำขอรับค่าบริการทางการแพทย์ของผู้ประกันตนที่ทุพพลภาพกองทุนประกันสังคม (สาหรับสถานพยาบาล)สปส. 6-09แบบแจ้งการลาออกของผู้ประกันตนสปส. 6-10แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงของผู้ประกันตนสปส. 6-14รายชื่อผู้ประกันตนที่ไม่ได้รับบัตรประกันสังคม (ใช้เฉพาะผู้ที่ยื่น สปส. 1-03 เกินกว่า 6 เดือน)สปส. 6-15แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงนายจ้างสปส. 6-16แบบขอรับใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคมสปส. 6-17คำขอรับใบแทนบัตรประกันสังคมสปส. 9-02แบบเลือกสถานพยาบาลในการรับบริการทางการแพทย์สปส.1-40แบบคำขอสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40สปส.2-01/3สปส.2-01/ม.40แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตนตามมาตรา 40 (สปส.2-01/ม.40)หนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ (สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40)หนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ แบบคำร้องขอใบรายการรับเงินสมทบกองทุนประกันสังคมหนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ (สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 39)หนังสือมอบอำนาจหนังสือมอบอำนาจ (สำหรับสถานประกอบการ)แบบฟอร์มคำขอรับเงินทดแทนที่ได้ทดรองจ่ายคืนแบบฟอร์มแบบฟอร์มหนังสือยินยอมให้หักเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ประกันตนตามมาตรา 40แบบฟอร์มแบบคำอุทธรณ์ตามพระราชบัญัติประกันสังคม พ.ศ 2533แบบฟอร์มหนังสือแสดงความจำนงขอรับเงินบำเหน็จชราภาพระหว่างปีโดยไม่ขอรับผลประโยชน์ตอบแทนแบบฟอร์มหนังสือรับรองการเป็นผู้จัดการศพแบบฟอร์มหนังสือยินยอมให้หักเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ประกันตนตามมาตรา 39แบบฟอร์มคำร้องขอใบรายการรับเงินสมทบกองทุนประกันสังคมแบบฟอร์มคำขอแจ้งข้อมูลข่ำวสำรผ่ำนระบบบริกำรส่งข้อควำมผ่ำนทำงโทรศัพท์มือถือ SMSแบบฟอร์มหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินสมทบล่วงหน้าคืน (กรณีผู้ประกันตนตามมาตรา 40 เสียชีวิต)แบบฟอร์มแบบหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์กรณีตาย (ผปต.มาตรา 40)แบบฟอร์มแบบหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพ (ผปต.มาตรา 40)แบบฟอร์มแบบคำขอส่งเงินสมทบของผู้ประกันตนตามมาตรา 39 โดยหักบัญชีเงินฝากธนาคาร

Insso, sss, ประกันสังคม, แบบฟอร์ม

ประกันสังคมมาตรา 40 สามารถยกเลิกได้ไหม

ม. 40 เราอยากจ่ายตอนไหนก็ได้ครับไม่มียกเลิก แต่ถ้าอยากให้มีสิทธิเบิกสิทธิประโยชน์ต้องส่งเงินให้ครบจำนวนตามที่กำหนดไว้ครับ เช่น 3 เดือน 6 เดือน ต่อเนื่องกัน

ประกันสังคมม.40ขาดส่งได้กี่เดือน

โฆษกสำนักงานประกันสังคม เน้นย้ำว่า กรณีสมัครประกันสังคมมาตรา 40 ไว้ และไม่ได้จ่ายเงินสมทบอีกเลย สถานะยังคงเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 อยู่ แต่ขาดสิทธิรับเงินกรณีต่างๆ กรณีเช่นนี้ไม่จำเป็นต้องส่งย้อนหลัง แต่สามารถส่งเงินสมทบล่วงหน้าได้ 12 เดือน ส่วนวิธีป้องกันการลืมจ่ายเงินสมทบสามารถดำเนินการขอหักบัญชีธนาคารที่เข้าร่วม ...

ลาออกจากประกันสังคมที่ไหน

1.ต้องยื่นใบสมัครตามแบบคำขอเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39. (แบบ สปส. 1-20) ด้วยตนเอง ภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน 2.สถานที่ยื่นใบสมัคร ยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ / จังหวัด / สาขา (ยกเว้นสำนักงานใหญ่บริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

ประกันสังคม ม.40 ได้เงินคืนตอนไหน

สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่นำส่งเงินสมทบไว้เกินจำนวนที่ต้องชำระ สำนักงานประกันสังคม จะโอนคืนเงินสมทบ ผ่านบัญชีพร้อมเพย์ที่ผูกกับเลขบัตรประจำตัวประชาชนโดยมีกำหนดวันโอนดังนี้ ผู้ที่ผูกบัญชีก่อนวันที่ 1 ส.ค. 2565 จะได้รับการคืนเงินผ่านบัญชีพร้อมเพย์ ระหว่างวันที่ 8-11 ส.ค. 2565.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ไทยแปลอังกฤษ ประโยค แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan พจนานุกรมศัพท์ทหาร หยน แปลภาษา มาเลเซีย ไทย Bahasa Thailand ข้อสอบภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย pdf บบบย tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ชขภใ ยศทหารบก เรียงลําดับ ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง เขียน อาหรับ แปลไทย แปลภาษาอิสลามเป็นไทย Google map กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมออนไลน์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 8 ขั้นตอน ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย ค้นหา ประวัติ นามสกุล อาจารย์ ตจต แจ้ง ประกาศ น้ำประปาไม่ไหล แปลบาลีเป็นไทย แปลภาษา ถ่ายรูป แปลภาษาจีน แปลภาษามลายู ยาวี โรงพยาบาลภมูพลอดุยเดช ที่อยู่ Google Drive Info TOR คือ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างไฟฟ้า กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อบรมฟรี 2566 กลยุทธ์ทางการตลาด มีอะไรบ้าง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีอะไรบ้าง การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ขขขขบบบยข ่ส ข่าว น้ำประปา วันนี้ ข้อสอบโอเน็ต ม.6 มีกี่ตอน ตารางธาตุ ประปาไม่ไหล วันนี้